SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  65
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 3 ระบบต่างๆในร่างกาย
รายวิชาวิทยาศาสตร์ 4 (ว32102)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
ในร่างกายจะประกอบด้วยหน่วยของสิ่งมีชีวิตที่เล็กที่สุดคือ เซลล์
(cell) เซลล์ที่มีขนาดเล็กที่สุด คือ สเปิร์ม (sperm) และใหญ่ที่สุดคือไข่ (egg)
cell หลาย ๆ cell รวมกันกลายเป็น เนื้อเยื่อ (tissue)
เนื้อเยื่อ หลาย ๆ เนื้อเยื่อ รวมกันกลายเป็น อวัยวะ (Organ)
อวัยวะหลาย ๆ อวัยวะ รวมกันกลายเป็น ระบบอวัยวะ (Organ system)
ระบบอวัยวะหลาย ๆระบบ รวมกันกลายเป็น ร่างกาย (body)
ในร่างกายถ้าเปรียบระบบอวัยวะกับการทางานของระบบโรงงานสามารถ
เปรียบได้ดังนี้เช่น
ผิวหนัง, ขน, เล็บ เปรียบเหมือน กาแพง ด่านตรวจ
สมอง เปรียบเหมือน คอมพิวเตอร์
ตา เปรียบเหมือน กล้อง VDO/วงจรปิด
ลิ้น เปรียบเหมือน ผู้ตรวจสอบคุณภาพ
หัวใจ เปรียบเหมือน เครื่องปั้มน้า
ปอด เปรียบเหมือน แอร์ ( ก๊าช )
ไต ตับ เปรียบเหมือน เครื่องกาจัดของเสีย ถังขยะ
กระเพาะอาหาร,ลาไส้ เปรียบเหมือน ห้องครัว
เซลล์ที่เป็นองค์ประกอบของร่างกาย
1. เซลล์ร่างกาย (body cell) ลักษณะแบนบาง มีนิวเคลียสอยู่ตรงกลางพบตามร่างกาย
2. เซลล์เยื่อบุ (epidermis) ลักษณะแบนบาง มีนิวเคลียสตรงกลางนูนเหมือนไข่ดาว พบตามเยื่อบุที่ มี
ผนังบางมีเมือก (mucus) หล่อเลี้ยง เช่น ริมฝีปาก กระพุ้งแก้ม ดวงตา อวัยวะเพศภายใน
3. เซลล์กล้ามเนื้อ (muscle cell) มี 3 ชนิด
ก. เซลล์กล้ามเนื้อลาย (reticular muscle) พบตาม แขน ขา (ติดกระดูก)
ข. เซลล์กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle) พบตาม อวัยวะภายใน เช่น ไต
ค. เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac cell) พบเฉพาะที่หัวใจ
4. เซลล์เม็ดเลือดแดง (Red Blood Cell ; RBC)
5. เซลล์เม็ดเลือดขาว (White Blood Cell ; WBC)
6. เซลล์ประสาท
7. เซลล์กระดูก
8. เซลล์สมอง
9. เซลล์สืบพันธุ์
 ระบบต่างๆในร่างกายทางานประสานงานกันอย่างมีระบบ ถ้าระบบใดระบบหนึ่งผิดปรกติ ร่างกายก็จะ
แสดงความผิดปรกติออกมา เช่น พิการ เป็นโรค ฯลฯ
การทางานของระบบภายในร่างกาย อาจจาแนก
ออกได้เป็น10 ระบบ ดังนี้
 1. ระบบผิวหนัง (Intergumentary System) ทำหน้ำที่ห่อหุ้มปกคลุมร่ำงกำย
ประกอบด้วยผิวหนัง (Skin) และอวัยวะที่เปลี่ยนแปลงมำจำกผิวหนัง เช่น ขน ผม เล็บ
ต่อมเหงื่อ ต่อมน้ำมัน
 2. ระบบกล้ามเนื้อ (Muscular System) ทำหน้ำที่ช่วยทำให้ร่ำงกำยเกิดกำรเคลื่อนไหว
 3. ระบบโครงกระดูก (Skeletal System) ทำหน้ำที่ทำงำนร่วมกับระบบกล้ำมเนื้อ เพื่อช่วย
ให้ร่ำงกำยสำมำรถเคลื่อนไหวได้นอกจำกนี้ยังทำหน้ำที่เป็นโครงร่ำงของร่ำงกำยอีกด้วย
 4. ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) ทำหน้ำที่นำอำหำรและออกซิเจนไป
เลี้ยงเซลล์ต่ำง ๆ ทั่วร่ำงกำย และนำคำร์บอนไดออกไซด์กับของเสียจำกเซลล์มำขับทิ้ง
นอกจำกนี้ ยังนำฮอร์โมนที่ผลิตได้จำกต่อมไร้ท่อเพื่อส่งไปยังอวัยวะต่ำง ๆ ของร่ำงกำย
 5. ระบบหายใจ (Respiratory System) ทำหน้ำที่รับออกซิเจนจำกภำยนอกเข้ำสู่ร่ำงกำย
และนำคำร์บอนไดออกไซด์จำกภำยใน ออกมำขับทิ้งสู่ภำยนอกร่ำงกำย โดยอำศัยระบบ
ไหลเวียนโลหิตเป็นตัวกลำงในกำรลำเลียงแก๊ส
การทางานของระบบภายในร่างกาย อาจจาแนก
ออกได้เป็น10 ระบบ ดังนี้
 6. ระบบประสาท (Nervous System) เป็นระบบที่ทำหน้ำที่ควบคุมกำรทำงำน
ของทุกระบบในร่ำงกำย ให้สัมพันธ์กันโดยทำงำนร่วมกับระบบต่อมไร้ท่อ
นอกจำกนี้ยังทำหน้ำที่รับและ ตอบสนองต่อสิ่งเร้ำภำยนอก
 7. ระบบต่อมต่าง ๆ (glands System) ทำหน้ำที่สร้ำงฮอร์โมน (hormone) ซึ่ง
เป็นสำรเคมีและของเหลวโดยทำงำนร่วมกับระบบประสำทในกำรควบคุม
ปฏิกริยำกำร เผำผลำญต่ำง ๆ ในร่ำงกำย
 8. ระบบย่อยอาหาร (Digestive System) ทำหน้ำที่ย่อยสลำยอำหำรที่
รับประทำนเข้ำไปให้เป็นสำรอำหำร และดูดซึมเข้ำสู่กระแสเลือดเพื่อไปเลี้ยง
ส่วนต่ำง ๆ ของร่ำงกำย
 9. ระบบขับถ่าย (Excretory System) ทำหน้ำที่ขับถ่ำยของเสียที่ร่ำงกำยไม่
ต้องกำรให้ออกจำกร่ำงกำย
 10. ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System) ทำหน้ำที่สืบทอด ดำรงและขยำย
เผ่ำพันธุ์ ให้มีจำนวนมำกขึ้น เพื่อไม่ให้สิ่งมีชีวิตสูญพันธุ์
1. ระบบย่อยอาหาร (Digestion)
 ทาหน้าที่เปลี่ยนอาหารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ให้เป็นสารอาหารที่มีโมเลกุลขนาดเล็กซึ่งร่างกาย
นาไปใช้ประโยชน์ในการสร้างพลังงาน สร้างความเจริญ ขั้นตอนต่างๆ ที่จะเปลี่ยนจากอาหารให้
เป็นสารอาหารก่อนที่จะถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดบริเวณผนังของลาไส้เล็ก
 การย่อยอาหารประกอบด้วย อวัยวะที่เกี่ยวข้อง น้าย่อย และ ตัวเร่งปฏิกิริยา
1. ปากและฟัน (mouth and teeth) เป็นอวัยวะแรกของระบบย่อยอาหาร ภายในประกอบด้วย ฟัน ทา
หน้าที่บดเคี้ยวอาหารให้ละเอียด ลิ้น ทาหน้าที่ส่งอาหารให้ฟันบดเคี้ยว และคลุกเคล้าอาหารให้อ่อนตัว
ง่ายต่อการบดเคี้ยวของฟัน ต่อมน้าลาย ทาหน้าที่ขับน้าลายออกมาคลุกเคล้า กับอาหาร ในน้าลายมี
เอนไซม์อะไมเลส ซึ่งสามารถย่อยแป้ งให้เป็นน้าตาล ดังนั้นเมื่อเราอมข้าวเปล่าไว้นาน จึงรู้สึกหวาน
2. คอหอย (pharynx) เป็นท่ออยู่ระหว่างด้านหลังของช่องปากและหลอดลม บริเวณนี้เป็น จุดเชื่อม
ระหว่างหลอดลมกับหลอดอาหารโดยมีกลไกควบคุมการส่งอาหารหรืออากาศคนละเวลากัน
นอกจากนี้ยังประกอบด้วยต่อน้าเหลือง 3 คู่อยู่รอบ ๆ คอหอย มีหน้าที่ดักจับเชื้อโรค เรียกว่า “ต่อม
ทอนซิล” (tonsil)
3. หลอดอาหาร (oesophagus) อยู่ต่อจากคอหอยอยู่ด้านหลังหลอดลม (trachea) ส่วนบนเป็น
กล้ามเนื้อลายมีหูรูด ช่วยปิดเปิดหลอดอาหารระหว่างกลืนอาหารส่วนท้ายเป็นกล้ามเนื้อ เรียบ ช่วยบีบ
ส่งอาหารเป็นระยะ เรียกว่า เพอรีสตัลซีส (peristalsis) ช่วยให้อาหารเคลื่อนที่ ได้สะดวก
4. กระเพาะอาหาร (stomach) อยู่บริเวณด้านซ้ายของช่องท้องกว้างประมาณ 5 นิ้ว ยาว 10 นิ้ว แบ่ง
ออกเป็น 3 ส่วน
***หมายเหตุ กระเพาะอาหารมีปริมาณ 50 cc แต่เมื่อได้รับอาหารจะยาวถึง 2000 cc หรือ 2 ลิตร ทา
หน้าที่พักอาหารบริเวณเยื่อบุภายในจะมีต่อมผลิตน้าย่อย (Grastric gland) ทาหน้าที่ ผลิตน้าย่อยและ
กรดเกลือ (HCl) ซึ่งทาให้อาหารโปรตีนมีอนุภาคเล็กลง
5. ลาไส้เล็ก (Small Intestine) ยาวประมาณ 10 m แบ่งออกเป็น 3 ตอน เกิดการย่อยและดูดซึมมาก
ที่สุด มีตับและตับอ่อนเป็นอวัยวะช่วยในการย่อยอาหาร
6. ลาไส้ใหญ่ (Large Intestine) ยาวประมาณ 1.5 เมตร เริ่มตั้งแต่ส่วนของอิเลียมจนถึงทวารหนัก
หน้าที่ของลาไส้ใหญ่ @ไส้ติ่งบริเวณส่วนต้น (ท้องล่างขวา)
1. สะสมกากอาหาร 2. ดูดซึมแร่ธาตุ น้า กลูโคส
3. มีจุลินทรีย์ช่วยในการย่อยกากอาหารโดยเฉพาะเซลลูโลส ให้มีสภาพเหลวหรืออ่อนนุ่ม
1. ระบบย่อยอาหาร (Digestion)
อวัยวะที่เกี่ยวข้องโดยอ้อม
1. ตับ (Liver) เป็นอวัยวะที่ใหญ่ที่สุดของร่างกายมี 2 ซีก ซ้าย-ขวา มีสีน้าตาลเนื้อแน่น มีถุงน้าดีอยู่
ด้วย (น้าดีไม่ใช้น้าย่อยแต่เป็นสารช่วยในการแตกตัวของไขมัน)
2. ตับอ่อน (Pancreas) มีลักษณะคล้ายใบไม้ยาวประมาณ 20-25 ซม. สีแดงหรือสีเทา ทาหน้าที่เป็น
ต่อมมี ท่อและต่อมไร้ท่อ ผลิตของเหลวได้ประมาณ 2 ลิตร ซึ่งประกอบด้วย
ก. น้าย่อย ซึ่งทาหน้าที่ย่อยโปรตีน คาร์โบไฮเดรท และไขมัน
ข. โซเดียมไบคาร์บอเนต มีคุณสมบัติเป็นเบส (ด่าง) เพื่อปรับสภาพอาหารที่มาจากกระเพาะ
อาหารซึ่งมีสภาพเป็นกรด ให้มีสภาพเป็นกลางหรือเป็นเบสอ่อน ๆ เพื่อจะไม่ทาลายเยื่อบุของลาไส้เล็ก
* น้าย่อย (enzyme) ประกอบด้วย อะไมเลส ในน้าลาย เปปซินในกระเพาะอาหาร ทริปซินจากตับอ่อน
มอลเทส ซูเครส แลกเทสจากลาไส้เล็ก ไลเปสจากตับอ่อนและลาไส้เล็ก น้าย่อยอื่น ๆ * ตัวเร่งปฏิกิริยา
ประกอบด้วย น้า น้าดีจากตับ กรดเกลือจากกระเพาะอาหาร
1. ระบบย่อยอาหาร (Digestion)
1. ระบบย่อยอาหาร (Digestion)
 การเจริญเติบโตของหญิงและชายช่วงอายุ 10 - 17 ปี เพศหญิงจะมีอัตราการเจริญ เติบโตมากกว่าชาย
หลังจากนั้นเพศชายจะเจริญเติบโตมากกว่าเพศหญิง และจะหยุดการเจริญประมาณ 20 ปี สาหรับเพศ
หญิง และ 25 ปีสาหรับเพศชาย อัตราการเจริญเติบโต จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ
ก. การแสดงออกจากพันธุกรรม (ยีโนไทพ์ ; Genotype) เป็นลักษณะที่ถ่ายทอดมาจากบรรพ
บุรุษ คือ มาจาก ยีน (Gene) นั่นเอง ได้แก่ สีผิว ผม ดวงตา ฯลฯ
* ยีน (Gene) คือ หน่วยที่ควบคุมการแสดงออกของลักษณะต่าง ที่อยู่บนโครโมโซม
ข. การแสดงออกจากสิ่งแวดล้อม (ฟีโนไทพ์ ; Phenotype) เป็นลักษณะที่ได้รับอิทธิพลมาจาก
สิ่ง แวดล้อม (Enviroment) ได้แก่ อาหาร โรค จิตใจ การเลี้ยงดู ความรู้ ฯลฯ เมื่อร่างกาย
เข้าสู่วัยรุ่น ต่อมใต้สมองจะหลั่งฮอร์โมน (Hormone) มากระตุ้นต่อมเพศให้ผลิต ฮอร์โมนเพศ แล้วทา
ให้ร่างกายเปลี่ยนแปลงเข้าสู่วัยหนุ่มสาว ต่อมเพศของเพศชายจะอยู่ที่ อัณฑะ (Testis) ส่วนต่อมเพศ
ของเพศหญิงจะอยู่ที่ รังไข่ (Ovary)
2. ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ก. อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก ได้แก่
1. ถุงอัณฑะ (Scrotum) ห่อหุ้มลูกอัณฑะให้อุณหภูมิต่ากว่า 37 องศาเซลเซียส
2. องคชาติ (Penis)
ข. อวัยวะสืบพันธุ์ภายใน ประกอบด้วย
1. อัณฑะ (Testis) ตอนเด็กจะอยู่ในช่องท้อง พอโตขึ้นจะเลื่อนลงมาอยู่ที่ถุงอัณฑะ ทา หน้าที่
ผลิต สเปิร์ม (Sperm) และฮอร์โมนเพศชาย
2. หลอดนาสเปิร์ม (Sperm) ทาหน้าที่ลาเลียงสเปิร์ม ไปเก็บที่ต่อมเก็บ คือต่อมเคาว์เปอร์
3. ต่อมเคาว์เปอร์ (Cowper gland) ทาหน้าที่สร้าง อาหารให้กับสเปิร์ม ประกอบด้วยน้าตาลฟ
รุกโตสและปรับ สภาพให้เป็นเบสอ่อน ๆ
4. ต่อมลูกหมาก (Prostate gland) ทาหน้าที่สร้างสารให้มีปริมาณมากขึ้น และเก็บน้าเชื้อ
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
 ประกอบด้วยอวัยวะสืบพันธุ์ 2 ส่วน
ก. อวัยวะสืบพันธุ์ ภายนอก ประกอบด้วย
1. แคมนอก (Major cam) มี 2 ข้าง ทาหน้าที่ปกปิดไม่สิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ภายใน
2. แคมใน (Minor cam) มี 2 ข้าง เป็นเนื้อเยื่อบางติดกับแคมนอก
3. คลิตอรีส (Clitoris) ทาหน้าที่รับความรู้สึกทางเพศ
4. เยื่อพรหมจารี (Hymen)เป็นเยื่อบาง ๆ ปิดปากช่องคลอด
5. ท่อปัสสาวะ อยู่ตรงกลางระหว่าง Clitoris กับ ช่องคลอด
ข. อวัยวะสืบพันธุ์ ภายใน ประกอบด้วย
1. รังไข่ (Ovary) ทาหน้าที่ผลิตไข่ และฮอร์โมนเพศ อยู่ลึกเข้าไปในอุ้งเชิงกราน มีเนื้อเยื่อยึด มี
ขนาดเท่าหัวแม่มือ หนัก 2- 3 กรัม
2. ท่อนาไข่ หรือปีกมดลูก (Oviduct) เป็นท่อเชื่อมระหว่างมดลูกกับรังไข่ ภายในมีขนเล็ก ๆ
มากมาย เรียกว่า ซีเลีย (Celia) ท่อนาไข่มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.2 cm ยาวประมาณ 6-7 cm เป็น
บริเวณที่มีการปฏิสนธิ
3. มดลูก (Uterus) มีลักษณะคล้ายผลชมพู่ กว้างประมาณ 4 ซ.ม.ยาว 6-8 ซ.ม.หนาประมาณ 2
ซ.ม.ส่วนล่างแคบเข้าหากันเรียกว่า “ ปากมดลูก” ต่อกับส่วนของช่องคลอดมดลูกประกอบด้วย
เนื้อเยื่อ หลายชั้นคล้ายฟองน้าทาหน้าที่ในการสร้างรก รองรับการฝังตัวของไข่ที่ผสมแล้ว (Zygote)
เป็นที่ แลกเปลี่ยนก๊าซและส่งอาหารให้กับตัวอ่อน (Embryo)
4. ช่องคลอด (Vagina) เป็นทางผ่านของสเปิร์มเข้าสู่มดลูก ลึกประมาณ 1.5- 2.0 นิ้ว
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
3. ระบบหมุนเวียนของเลือด
 ตัวจักรสาคัญของระบบนี้คือ หัวใจ และหลอดเลือด
 หัวใจประกอบด้วย กล้ามเนื้อมีขนาดใหญ่ ทาหน้าที่สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกาย ทุกๆวันหัวใจจะเต้น
ประมาณ 100,000 ครั้ง สูบฉีดเลือดประมาณวันละ 2,000 แกลลอน
 หลอดเลือดเชื่อมติดต่อกันเป็นโครงข่ายทั่วร่างกาย โดยเริ่มต้นจากหัวใจห้องซ้ายล่าง Left Ventricle
ฉีดเลือดไปยังหลอดเลือดแดงใหญ่ที่เรียกว่า Aorta แล้ว ต่อไปยังหลอดเลือดแดง Artery ,Aterioles ต่อ
เส้นเลือดฝอย capillaries เลือด ณ.บริเวณนี้จะอุดมไปด้วย อาหารและออกซิเจนซึ่งแลกเปลี่ยนกับ
เนื้อเยื่อ แล้วไหลกลับสู่หลอดเลือดดา vein ซึ่งนาเข้าหลอดเลือดดาใหญ่และเข้าสู่หัวใจ
 หัวใจของเราประกอบด้วย 4 ห้อง ห้องข้างบนเรียก atrium มีทั้งซ้ายและขวา ส่วนห้องข้างล่างเรียก
ventricle ซึ่งก็มีทั้งซ้ายและขวา ระหว่างหัวใจห้องข้างบนและล่างจะมีลิ้นหัวใจกั้นอยู่
◦ Tricuspid valve กั้นระหว่างหัวใจห้องบนขวา และล่างขวา
◦ Pulmonary or pulmonic valveกั้นระหว่างหัวใจห้องบนขวากับหลอดเลือดดา
◦ Bicuspid valve กั้นระหว่างหัวใจห้องบนและล่างซ้าย
◦ Aortic semilunar valve กั้นระหว่างหัวใจห้องล่างซ้ายและหลอดเลือด aorta
การทางานของหัวใจ
- หัวใจจะรับเลือดดาเข้าสู่หัวใจห้องบนขวา Right atrium ไหลผ่านลงหัวใจห้องล่างขวา Right
ventricle ซึ่งจะฉีดเลือดไปยังปอดเพื่อฟอกเลือด เลือดที่ฟอกแล้วจะไหลกลับเข้าหัวใจที่ห้องซ้ายบน
Left Atrium แล้วไหลลง Left ventricle ซึ่งจะสูบเลือดไปเลี้ยงร่างกายทางหลอดเลือดแดง
- ลิ้นหัวใจ (Valve) ประกอบด้วยเนื้อเยื่อเกี่ยวพันทาหน้าที่ ปิด-เปิด ไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับ มี ลักษณะ
คล้ายถุง นายวิลเลียม ฮาร์วีย์ ชาวอังกฤษ ค้นพบว่าเลือดไหลไปทางเดียว และมีลิ้นควบคุมอยู่ 2 กลุ่ม 4
ลิ้น
- ชีพจร (Pulse) คือ การหดและคลายตัวของหลอดเลือดในจังหวะเดียวกับการหดและคลายตัวของ หัวใจ
- อัตราชีพจร (Pulse rate) เป็นค่าที่บอกอัตราการเต้นของหัวใจ โดยการจับที่หลอดเลือดแดงที่อยู่ ตื้น ๆ
เช่น ข้อมือ ซอกคอ ขาหนีบ เพศชายประมาณ 70 ครั้ง/นาที หญิงประมาณ 75 ครั้ง/นาที
หน้าที่ของเลือด
1. ลาเลียง O2 และ CO2 2. ลาเลียงสารอาหารที่ลาไส้เล็ก ไปสู่ เซลล์
3. ลาเลียงของเสียออกจากเซลล์ ไปสู่ อวัยวะขับถ่าย 4. ลาเลียงภูมิคุ้มกัน
5. รักษาอุณหภูมิของร่างกาย
4. ระบบน้าเหลือง ( Lymphatic system )
- น้าเหลือง ( Lymph ) เป็นของเหลวที่ซึมผ่านเส้นเลือดฝอยออกมาหล่อเลี้ยงอยู่รอบๆเซลล์
ประกอบด้วย กลูโคส อัลบูมิน ฮอร์โมน เอนไซม์ ก๊าซ เซลล์เม็ดเลือดขาว ( แต่ไม่มีเซลล์เม็ดเลือดแดง
และเพลตเลต )
- ท่อน้าเหลือง ( Lymph vessel ) มีหน้าที่ลาเลียงน้าเหลืองทั่วร่างกายเข้าสู่เส้นเวนใหญ่ใกล้หัวใจ
(Subclavian vein) ปนกับเลือดที่มีออกซิเจนน้อย ท่อน้าเหลืองมีลิ้นกั้นคล้ายเส้นเวนและมีอัตราการ
ไหลช้ามากประมาณ 1.5 มิลลิเมตรต่อนาที
- อวัยวะน้าเหลือง ( Lymphatic organ )
1) ต่อมน้าเหลือง ( Lymph node ) พบทั่วร่างกาย ภายในมีลิมโฟไซต์อยู่เป็นกระจุก บริเวณคอ มี 5 ต่อม
เรียกว่า ทอนซิล (Tonsil) มีหน้าที่ป้ องกันจุลินทรีย์ที่ผ่านมาในอากาศไม่ให้เข้าสู่หลอดอาหารและกล่อง
เสียงจนอาจเกิดอักเสบขึ้นมาได้
2) ม้าม ( Spleen ) เป็นอวัยวะน้าเหลืองที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ผลิตเซลล์เม็ดเลือด ( เฉพาะในระยะเอมบริโอ )
ป้ องกันสิ่งแปลกปลอมและเชื้อโรคเข้าสู่กระแสเลือด สร้างแอนติบอดี ทาลายเซลล์เม็ดเลือดแดงและ
เพลตเลตที่หมดอายุ
3) ต่อมไทมัส ( Thymus gland ) เป็นเนื้อเยื่อน้าเหลืองที่เป็นต่อมไร้ท่อ สร้างลิมโฟไซต์ชนิดเซลล์ที เพื่อ
ต่อต้านเชื้อโรคและอวัยวะปลูกถ่ายจากผู้อื่น
ข้อควรจา : การไหลของน้าเหลืองในท่อเหลือง เกิดขึ้นจากการหดและคลายตัวของกล้ามเนื้อที่อยู่รอบๆ ท่อ
น้าเหลืองนั้น
5. ระบบหายใจ (Respiratory System)
 ทาหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ในระบบนี้ ประกอบด้วยอวัยวะสาคัญ ได้แก่
1. จมูก เป็นอวัยวะส่วนต้นของระบบหายใจ ทาหน้าที่เป็นทางผ่านของอากาศ ช่วยกรองฝุ่ น ละออง และเชื้อโรค
บางส่วนก่อนอากาศจะผ่านไปสู่อวัยวะอื่นต่อไป
2. หลอดคอ (Pharynx) เมื่ออากาศผ่านรูจมูกแล้วก็ผ่านเข้าสู่หลอดคอ ซึ่งเป็นหลอดตั้งตรงยาวประมาณยาว
ประมาณ 5 นิ้ว หลอดคอติดต่อทั้งช่องปากและช่องจมูก จึงแบ่งเป็นหลอดคอส่วนจมูก กับ หลอดคอส่วนปาก
โดยมีเพดานอ่อนเป็นตัวแยกสองส่วนนี้ออกจากกัน โครงของหลอดคอประกอบด้วยกระดูกอ่อน 9 ชิ้นด้วยกัน
ชิ้นที่ใหญ่ทีสุด คือกระดูกธัยรอยด์ ที่เราเรียกว่า "ลูกกระเดือก" ในผู้ชายเห็นได้ชัดกว่าผู้หญิง
3. หลอดเสียง (Larynx) เป็นหลอดยาวประมาณ 4.5 cm ในผู้ชาย และ 3.5 cm ในผู้หญิง หลอดเสียงเจริญเติยโต
ขึ้นมาเรื่อยๆ ตามอายุ ในวัยเริ่มเป็นหนุ่มสาว หลอดเสียงเจริญขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในผู้ชาย เนื่องจาก
สายเสียง (Vocal cord) ซึ่งอยู่ภายในหลอดเสียงนี้ยาวและหนาขึ้นอย่างรวดเร็วเกินไป จึงทาให้เสียงแตกพร่า
การเปลี่ยนแปลงนี้เกิดจากฮอร์โมนของเพศชาย
4. หลอดลม (Trachea) เป็นส่วนที่ต่ออกมาจากหลอดเสียง ยาวลงไปในทรวงอก ลักษณะรูปร่างของหลอดลมเป็น
หลอดกลมๆ ประกอบด้วยกระดูกอ่อนรูปวงแหวน หรือรูปตัว U ซึ่งมีอยู่ 20 ชิ้น วางอยู่ทางด้านหลังของ
หลอดลม
5. ปอด (Lung) เป็นอวัยวะที่สาคัญที่สุดของระบบหายใจ มีอยู่สองข้าง วางอยู่ในทรวงอก มีรูปร่างคล้ายกรวย มี
ปลายหรือยอดชี้ขึ้นไปข้างบนและไปสวมพอดีกับช่องเปิดแคบๆของทรวงอก ซึ่งช่องเปิดแคบๆนี้ประกอบด้วย
ซี่โครงบนของกระดูกสันอกและกระดูกสันหลัง ฐานของปอดแต่ละข้างจะใหญ่และวางแนบสนิทกับกระบังลม
ระหว่างปอด 2 ข้าง มีหัวใจอยู่ ปอดข้างขวาจะโตกว่าปอดข้างซ้ายเล็กน้อย และมีอยู่ 3 ก้อน ส่วนข้างซ้ายมี 2 ก้อน
หน้าที่ของปอด คือ การนาก๊าซ CO2 ออกจากเลือด และนาออกซิเจนเข้าสู่เลือด ปอดจึงมีรูปร่างใหญ่ มีลักษณะ
ยืดหยุ่นคล้ายฟองน้า
6. เยื่อหุ้มปอด (Pleura) เป็นเยื่อที่บางและละเอียดอ่อน เปียกชื้น และเป็นมันลื่น หุ้มผิวภายนอกของปอด เยื่อหุ้มนี้
ไม่เพียงคลุมปอดเท่านั้น ยังไปบุผิวหนังด้านในของทรวงอกอีก
เครื่องมือ spirometer
กลไกการทางานของระบบหายใจ
 1. การหายใจเข้า (Inspiration) กะบังลมจะเลื่อนต่ำลง กระดูกซี่โครงจะเลื่อนสูงขึ้น ทำให้
ปริมำตรของช่องอกเพิ่มขึ้น ควำมดันอำกำศในบริเวณรอบ ๆ ปอดลดต่ำลงกว่ำอำกำศ
ภำยนอก อำกำศภำยนอกจึงเคลื่อนเข้ำสู่จมูก หลอดลม และไปยังถุงลมปอด
 2. การหายใจออก (Expiration) กะบังลมจะเลื่อนสูง กระดูกซี่โครงจะเลื่อนต่ำลง ทำให้
ปริมำตรของช่องอกลดน้อยลง ควำมดันอำกำศในบริเวณรอบ ๆ ปอดสูงกว่ำอำกำศ
ภำยนอก อำกำศภำยในถุงลมปอดจึงเคลื่อนที่จำกถุงลมปอดไปสู่หลอดลมและออกทำง
จมูก
 สิ่งที่กำหนดอัตรำกำรหำยใจเข้ำและ ออก คือ ปริมำณก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ในเลือด
 ถ้ำปริมำณก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ในเลือดใน เลือดต่ำจะทำให้กำรหำยใจช้ำลง เช่น กำร
นอนหลับ ถ้ำปริมำณก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ในเลือดในเลือดสูงจะทำให้กำรหำยใจเร็ว
ขึ้น เช่น กำรออกกำลังกำย
5. ระบบหายใจ
6. ระบบขับถ่ายของเสีย
 ระบบขับถ่ายมีอวัยวะต่าง ๆ ทาหน้าที่ขับถ่ายหรือกาจัดของเสียที่ร่างกายไม่
ต้องการออกจากร่างกาย คือ ปัสสาวะและเหงื่อขับออกโดย ไตและต่อมเหงื่อ
อุจจาระขับออกโดยลาไส้ใหญ่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ขับออกโดยปอด
อวัยวะ หน้าที่ในระบบขับถ่าย
ปอด ขับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ผิวหนัง ขับน้าและเกลือ ออกในรูปของ เหงื่อ
ไต ขับปัสสาวะ
ลาไส้ ขับกากที่เป็นของแข็งจากอาหารออกทาง
ทวารหนัก
 ไต (Kidney) ทาหน้าที่กาจัดของเสียในรูปของน้าปัสสาวะ มี 1 คู่ รูปร่างคล้ายเมล็ดถั่วดา อยู่ในช่อง
ท้องสองข้างของกระดูกสันหลังระดับเอว ถ้าผ่าไตตามยาวจะพบว่าไตประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชั้น คือ
เปลือกไตชั้นนอกกับเปลือกไตชั้นใน มีขนาดยาวประมาณ 10 เซนติเมตร กว้าง 6 เซนติเมตร หนา 3
เซนติเมตร บริเวณตรงกลางของไตมีส่วนเว้าเป็นกรวยไต มีหลอดไตต่อไปยังกระเพาะปัสสาวะ
ไตแต่ละข้างประกอบด้วยหน่วยไต (nephron) นับล้านหน่วยเป็นท่อที่ขดไปมาโดยมีปลายท่อ
ข้างหนึ่งต้น เรียกปลายท่อที่ตันนี้ว่า “ โบว์แมนส์แคปซูล (Bowman scapsule)” ซึ่งมีลักษณะเป็นแอ่ง
คล้ายถ้วยภายในแอ่งจะมีกลุ่มเลือดฝอยพันกันเป็นกระจุกเรียกว่า “ โกลเมอรูลัส (glomerulus)” ซึ่งทา
หน้าที่กรองของเสียออกจากเลือดที่ไหลผ่านไต
 ระบบขับถ่ายปัสสาวะ
ระบบขับถ่ายปัสสาวะเป็นระบบหลักของร่างกายที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการขจัดสิ่งที่
ร่างกายไม่ต้องการ ปอดและผิวหนังรวมอยู่ในกระบวนการนี้ด้วย ซึ่งทาหน้าขจัดแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์และเหงื่อตามลาดับ
 อวัยวะที่ทาหน้าที่ขับถ่ายปัสสาวะประกอบด้วย ไต หลอดไต กระเพาะปัสสาวะ และท่อ
ปัสสาวะ ไตเป็นอวัยวะที่สาคัญที่สุด มีรูปร่างคล้ายเมล็ดถั่วแดง ทาหน้าที่ดูดซึม สารอาหารที่
เป็นประโยชน์ต่อร่างกายกลับคืนสู่กระแสเลือด และขับถ่ายของเสียออกจากเลือด คือ น้า
ปัสสาวะให้ไหลไปตามหลอดไต เข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ เมื่อมีปริมาณมากก็จะถูกขับออกจาก
ร่างกายทางท่อปัสสาวะ
การบารุงและดูแลรักษาไต ควรปฏิบัติดังนี้
1. ดื่มน้าสะอาดให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
2. ไม่รับประทานอาหารที่มีรสเค็มจัด
3. ไม่กลั้นปัสสาวะเป็นเวลานาน ๆ
4. หากมีอาการผิดปกติควรรีบปรึกษาแพทย์
 ระบบการขับถ่ายเหงื่อ
อวัยวะสาคัญที่ทาหน้าที่ขับเหงื่อออกจากร่างกาย คือ ต่อมเหงื่อ ซึ่งอยู่ใต้ ผิวหนัง ทา
หน้าที่กลั่นกรองเอาเกลือแร่และน้าที่เป็นของเสียที่ปนอยู่ในกระแสเลือด และขับ ออกในรูปของ
เหงื่อไปตามท่อของต่อมเหงื่อ ออกทางรูเหงื่อที่ผิวหนัง การขับถ่ายดังกล่าวยัง เป็นการระบาย
ความร้อนออกนอกร่างกายด้วย ฉะนั้นเราจึงควรออกกาลังกายสม่าเสมอ เพื่อให้ ร่างกายแข็งแรง
มีสุขภาพสมบูรณ์ดี
7. ระบบโครงกระดูก (skeleton system)
 ระบบโครงกระดูก เป็นระบบที่ทาหน้าที่เป็นเครื่องค้าจุนร่างกายให้คงรูปอยู่ได้ และช่วยใน
การเคลื่อนไหวและเคลื่อนที่
 ส่วนประกอบของระบบโครงกระดูก คือ กระดูก กระดูกอ่อน เอ็นลิกาเมนต์ เอ็นเท็นดอน
 โครงกระดูกทาหน้าที่เป็นโครงหลักสาหรับให้กล้ามเนื้อและเอ็นมายึดเพื่อให้ร่างกายคงรูปอยู่
ได้ และป้ องกันอันตรายให้แก่วัยวะบางส่วนของร่างกายนอกจากนี้ยังเป็นที่อยู่ของเนื้อสร้าง
เม็ดเลือดด้วย
 โครงกระดูกของคนมี 206 ชิ้น แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มตามตาแหน่งที่อยู่ ได้แก่
1. โครงกระดูกแกน ในผู้ใหญ่ประกอบด้วยกระดูกจานวน 80 ชิ้น ซึ่งวางตัวในแนวแกนกลาง
ของลาตัว ซึ่งได้แก่ กะโหลกศีรษะ กระดูกหู กระดูกโคนลิ้น กระดูกสันหลัง กระดูกซี่โครง
กระดูกอก
2. โครงกระดูกรยางค์ ในผู้ใหญ่จะมีทั้งหมด 126 ชิ้น ซึ่งจะอยู่ในส่วนแขนและขาของร่างกายเพื่อ
ช่วยในการเคลื่อนไหว โดยจะแบ่งออกเป็น 6 ส่วน ได้แก่ กระดูกส่วนไหล่ กระดูกแขน
กระดูกมือ กระดูกเชิงกราน กระดูกขา กระดูกเท้า
ชนิดของกระดูก
 เราสามารถจาแนกรูปร่างของกระดูกในมนุษย์ได้เป็นห้าแบบด้วยกัน ได้แก่
 กระดูกแบบยาว (Long bone) เป็นกระดูกที่มีความยาวมากกว่าความกว้าง และ
ประกอบด้วยส่วนกลางกระดูก หรือไดอะไฟซิส (diaphysis) และส่วนปลายกระดูก
หรืออิพิไฟซิส (epiphyses) กระดูกชนิดนี้เป็นชนิดที่พบได้ทั่วไปในกระดูกรยางค์
 กระดูกแบบสั้น (Short bone) เป็นกระดูกที่มีลักษณะคล้ายลูกบาศก์ เช่นกระดูกของ
ข้อมือและข้อเท้า
 กระดูกแบบแบน (Flat bone) เป็นกระดูกที่มีลักษณะเป็นระนาบหรือโค้ง แต่จะมีชั้น
ของกระดูกเนื้อแน่นขนานไปกับกระดูกเนื้อโปร่ง ตัวอย่างเช่นกระดูกของกะโหลก
ศีรษะ และกระดูกอก
 กระดูกรูปร่างไม่แน่นอน (Irregular bone) เป็นกระดูกที่มีรูปร่างพิเศษ เช่นที่พบใน
กระดูกสันหลัง และกระดูกเชิงกราน
 กระดูกเซซามอยด์ (Sesamoid bone) จัดเป็นกระดูกแบบสั้นรูปแบบหนึ่ง แต่เป็น
กระดูกที่ฝังตัวอยู่ในเอ็น ตัวอย่างที่เห็นชัดคือกระดูกสะบ้า (patella) ที่ฝังอยู่ในเอ็น
ของบริเวณเข่า
หน้าที่ของกระดูก
 หน้าที่หลักของกระดูก ได้แก่
 การป้ องกันอวัยวะภายในที่สาคัญ เช่น กะโหลกศีรษะที่ป้ องกันสมอง หรือ
กระดูกซี่โครงที่ป้ องกันอวัยวะในทรวงอกจากอันตรายและการกระทบกระเทือน
 การค้าจุนโครงร่างของร่างกาย
 การเคลื่อนไหว โดยกระดูกทาหน้าที่เป็นจุดเกาะของกล้ามเนื้อและเอ็นต่างๆ และ
ยังประกอบเข้าด้วยกันเป็นข้อต่อที่ทาให้ร่างกายเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆได้
 การผลิตเม็ดเลือด โดยไขกระดูกที่อยู่ภายใน เป็นแหล่งผลิตเม็ดเลือดแดงและเม็ด
เลือดขาวที่สาคัญ
 การเก็บสะสมแร่ธาตุ โดยเฉพาะแคลเซียมและฟอสฟอรัส นอกจากนี้ยังดึงเอา
โลหะหนักบางชนิดที่อยู่ในกระแสเลือดมาเก็บไว้ เพื่อลดความเป็นพิษลง
8. ระบบกล้ามเนื้อ (Muscular system)
 ในร่างกายมนุษย์ มีกล้ามเนื้อมากกว่า 500 มัด น้าหนักรวมกันประมาณครึ่งหนึ่งของ
ร่างกาย การเคลื่อนไหวส่วนใหญ่ของร่างกายสัตว์และส่วนต่างๆ ของร่างกายมีต้นเหตุ
มาจากการทางานของกล้ามเนื้อด้วยการหดตัว (contraction) จะมีข้อยกเว้นบ้างบาง
อย่างเช่นการเคลื่อนไหวนั้นอาจเกิดจากแรงโน้มถ่วงของโลก (gravity) หรือ แรง
ภายนอกร่างกายได้ นอกจากนี้กล้ามเนื้อยังทาหน้าที่ช่วยป้ องกันการเคลื่อนไหวของข้อ
ต่อ (ช่วยให้ข้อต่อมีความแข็งแรงทนทาน), ทาให้กระเพาะปัสสาวะคงรูปอยู่ได้, ทาให้
ร่างกายเกิดความร้อนด้วยการสั่นเนื่องจากภาวะอากาศเย็น
ชนิดของกล้ามเนื้อ
 กล้ามเนื้อสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด ได้แก่
 กล้ามเนื้อโครงร่าง (Skeletal Muscle) เป็นกล้ามเนื้อที่อยู่ใต้อานาจจิตใจ (Voluntary) สามารถ
ควบคุมได้ ยึดติดกับกระดูก (bone) โดยเอ็นกล้ามเนื้อ (tendon) ทาหน้าที่เคลื่อนไหวโครงกระดูก
เพื่อการเคลื่อนที่ของร่างกายและเพื่อรักษาท่าทาง (posture) ของร่างกาย การควบคุมการคงท่าทาง
ของร่างกายอาศัยรีเฟล็กซ์ (reflex) ที่อยู่นอกอานาจจิตใจ เมื่อขยายเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อลายดูจะพบว่า
มีลักษณะเป็นลาย โดยทั่วไปร่างกายผู้ชายประกอบด้วยกล้ามเนื้อโครงร่าง 40-50% ส่วนผู้หญิงจะ
ประกอบด้วยกล้ามเนื้อโครงร่าง 30-40%
 กล้ามเนื้อเรียบ (Smooth Muscle) เป็นกล้ามเนื้อที่อยู่นอกอานาจจิตใจ (Involuntary) ไม่สามารถ
ควบคุมได้ พบดาดอยู่ที่ผนังของอวัยวะภายใน (Viseral Organ) เช่น หลอดอาหาร (esophagus) ,
กระเพาะอาหาร (stomach) , ลาไส้ (intestine) , หลอดลม (bronchi) , มดลูก (uterus) , ท่อปัสสาวะ
(urethra) , กระเพาะปัสสาวะ (bladder) , และหลอดเลือด (blood vessel)
 กล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac Muscle) เป็นกล้ามเนื้อที่อยู่นอกอานาจจิตใจเช่นกัน แต่เป็นกล้ามเนื้อ
ชนิดพิเศษที่พบเฉพาะในหัวใจ เป็นกล้ามเนื้อที่บีบตัวให้หัวใจเต้น
1. กล้ามเนื้อลาย (Striated Muscles)
2. กล้ามเนื้อเรียบ (Smooth Muscles)
3. กล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac Muscles)
 ความสาคัญของกล้ามเนื้อ (The Muscle)
การเคลื่อนไหวส่วนใหญ่ของร่างกายสัตว์
และส่วนต่างๆ ของร่างกายมีต้นเหตุมา จากการ
ทางานของกล้ามเนื้อด้วยการหดตัว
(contraction) จะมีข้อยกเว้นบ้างบางอย่าง เช่น
การเคลื่อนไหวนั้นอาจเกิดจากแรงโน้มถ่วงของ
โลก (gravity) หรือ แรงภายนอก ร่างกายได้
นอกจากนี้กล้ามเนื้อยังทาหน้าที่ช่วยป้ องกันการ
เคลื่อนไหวของข้อต่อ (ช่วย ให้ข้อต่อมีความ
แข็งแรงทนทาน), ทาให้กระเพาะปัสสาวะคงรูป
อยู่ได้, ทาให้ร่างกาย เกิดความร้อนด้วยการสั่น
เนื่องจากภาวะอากาศเย็น
9. ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system)
 สิ่งแวดล้อมรอบตัวเรา ทั้งภายในและภายนอกร่างกายเต็มไปด้วยจุลินทรีย์ขนาดเล็กที่มอง
ด้วยตาเปล่าไม่เห็น ส่วนใหญ่จุลินทรีย์ที่อยู่รอบตัวเราเหล่านี้ไม่ใช่เชื้อก่อโรคแต่ประการใด
แต่ก็มีจุลินทรีย์อีกมากมายที่ก่อให้เกิดโรคติดเชื้อ เรียกว่าเชื้อโรค
 เพื่อป้ องกันร่างกายจากเชื้อโรคเหล่านี้ มนุษย์เรามีระบบภูมิคุ้มกันที่ทาหน้าที่อย่างทรง
ประสิทธิภาพในการกาจัดเชื้อโรคออกไป หากภูมิคุ้มกันบกพร่อง แม้จะพัฒนายาต้านจุลชีพ
ที่ดีเลิศเพียงใด ก็อาจจะไม่สามารถรักษาชีวิตคนเราจากโรคติดเชื้อไว้ได้ เพราะการที่จะหาย
จากโรคติดเชื้อได้นั้น ภูมิคุ้มกันในร่างกายเป็นผู้ช่วยตัวสาคัญที่สุด
 ระบบภูมิคุ้มกัน หรือ Immune system คือระบบที่คอยปกป้ องร่างกายของเราจากสิ่ง
แปลกปลอมต่างๆ ที่อาจเข้ามาทาอันตรายร่างกายเราได้ เช่น เชื้อโรคชนิดต่างๆ ได้แก่
แบคทีเรีย ไวรัส ปรสิต รา พยาธิ รวมถึงสิ่งแปลกปลอมอื่นๆ เช่น เซลล์ที่กาลังเจริญเติบโต
ไปเป็นมะเร็ง อวัยวะของผู้อื่นที่ปลูกถ่ายเข้ามาในร่างกาย การได้รับเลือดผิดหมู่ สารก่อ
ภูมิแพ้ ฯลฯ สิ่งต่างๆ เหล่านี้มีคุณสมบัติเป็นสิ่งแปลกปลอมที่ร่างกายยังไม่รู้จัก เรียกว่า
antigen
ชนิดเซลล์เม็ดเลือดขาวในระบบภูมิคุ้มกัน
1. เซลล์เม็ดเลือดขาวชนิด ลิมโฟไซต์ ในต่อมน้าเหลือง สามารถสร้างสาร แอนติทอกซิน เพื่อทาลาย
สารพิษที่เชื้อโรคสร้างขึ้นได้ด้วย
2. เซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดฟาโกไซต์ สามารถ ทาลายเชื้อโรคได้ด้วย เรียกว่า “ฟาโกไซโตซีส” เมื่อมีข้าศึก
คือเชื้อโรค หรือสิ่งแปลกปลอมบุกรุกร่างกาย หน่วย รบแนวหน้าฟาโกไซต์จะตรงไปโอบล้อม และ
กาจัดสิ่งแปลกปลอมหรือเชื้อโรคที่ หลุดรอดเข้ามาในร่างกาย เชื้อโรคที่หลุดเข้าไปถูก ย่อยทาลาย
และขับออกนอกเซลล์ แต่หากผู้บุกรุกมีจานวนมากหรือร้ายกาจจนหน่วยรบแนวหน้าสู้ไม่ไหว
ร่างกายจาเป็นต้องพึ่ง ทหารหน่วยรบแนวหลังอีกกลุ่มร่วมด้วย คือ ลิมโฟไซต์ (Lymphocyte) ซึ่ง
แบ่งเป็น 2 ฝ่ าย คือ
-- ทีเซลล์ (T-lymphocyte หรือ Killer cell) ซึ่งเป็นเซลล์นักฆ่า ที่ออกตามล่าศัตรูที่ยังเหลือ
-- บีเซลล์ (B-Lymphocyte) จะช่วยทีเซลล์ เมื่อทีเซลล์รับมือกับเชื้อโรคไม่ได้ ทาหน้าที่เฉพาะ
กิจที่สามารถกวาดล้างเชื้อโรค โดยการสร้างสารภูมิคุ้มกันเฉพาะโรคหรือแอนติบอดีขึ้นมาเพื่อทาลาย
ผู้รุกรานให้หมดไปจากร่างกาย นอกจากนี้ยังสามารถสามารถจดจาเชื้อโรคที่เคยบุกรุกเข้ามาใน
ร่างกายได้อย่างแม่นยา
ภูมิคุ้มกันของร่างกายมนุษย์ ได้แก่
1) ภูมิคุ้มกันโดยกาเนิด เป็นการป้ องกันและกาจัดแอนติเจนที่เกิดขึ้นเองในร่างกาย ก่อนที่ร่างกายจะ
ได้รับแอนติเจน มีหลายรูปแบบ เช่น
- เหงื่อ มีกรดแลกติกป้ องกันเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนัง
- หลอดลม โพรงจมูก มีขน ซิเลีย และน้าเมือกดักจับสิ่งแปลกปลอม
- กระเพาะอาหาร และลาไส้เล็กมีเอนไซม์
- น้าลาย น้าตา น้ามูก มีไลโซไซม์ ทาลายจุลินทรีย์ได้
2) ภูมิคุ้มกันจาเพาะ เกิดขึ้นเมื่อร่างกายเคยได้รับแอนติเจนแล้ว
การสร้างระบบภูมิคุ้มกันต่อต้านเฉพาะโรคของมนุษย์มี 2 วิธี
1) ภูมิคุ้มกันก่อเอง
- เกิดจากการนาเชื้อโรคที่อ่อนกาลัง ซึ่งเรียกว่า วัคซีน (vaccine) มาฉีด กิน ทา เพื่อกระตุ้นให้ร่างกาย
สร้างแอนติบอดีต่อต้านเชื้อนั้นๆ
- วัคซีนที่เป็นสารพิษและหมดความเป็นพิษแล้ว เรียกว่า ทอกซอยด์ (toxoid) สามารถกระตุ้นให้สร้าง
ภูมิคุ้มกันได้ เช่น วัคซีนคุ้มกันโรคคอตีบ บาดทะยัก
- วัคซีนที่ได้จากจุลินทรีย์ที่ตายแล้ว เช่น โรคไอกรน ไทฟอยด์ อหิวาตกโรค
- วัคซีนที่ได้จากจุลินทรีย์ที่ยังมีชีวิตอยู่ เช่น วัณโรค หัด โปลิโอ คางทูม หัดเยอรมัน
- ภูมิคุ้มกันก่อเอง อยู่ได้นาน แต่การตอบสนองค่อนข้างช้า ประมาณ 4 - 7 วัน
2) ภูมิคุ้มกันรับมา ( Passive immunization )
- เป็นการนาซีรัมที่มีแอนติบอดีอยู่มาฉีดให้ผู้ป่ วย ทาให้ได้รับภูมิคุ้มกันโดยตรงต่อต้านโรคได้
ทันที
- ใช้รักษาโรครุนแรงเฉียบพลัน เช่น คอตีบ พิษงู
- ซีรัม ผลิตจากการฉีดเชื้อโรคที่อ่อนกาลังเข้าในสัตว์ แล้วนาซีรัมของสัตว์ที่มีแอนติบอดี
รักษาโรคในมนุษย์
- ภูมิคุ้มกันที่แม่ให้ลูกผ่านทางรกและน้านมหลังคลอด
- ภูมิคุ้มกันรับมารักษาโรคได้ทันที แต่อยู่ได้ไม่นานและผู้ป่ วยอาจแพ้ซีรัมสัตว์ก็ได้
ข้อควรจา
* ทอกซอยด์ ( TOXOID ) ทามาจากสารพิษที่หมดสภาพความเป็นพิษ เช่น คอตีบ
บาดทะยัก
* วัคซีน เป็นเชื้อโรคที่กาลังอ่อนกาลังหรือตายแล้ว แต่ยังมีแอนติเจน ที่สามารถไปกระตุ้นให้
ร่างกาย สร้าง แอนติบอดี เพื่อทาลายเชื้อโรคก่อนที่จะเป็นอันตรายต่อร่างกาย ดังนั้นเราจึง
ต้องได้รับวัคซีนให้ ครบทุกชนิด
* เซรุ่ม เป็นสาร แอนติทอกซิน ที่สร้างมาจากที่อื่น เพื่อให้ทาลายได้เร็วก่อนที่พิษจะเข้าสู่จุด
ดับของชีวิต
10. ระบบต่อมไร้ท่อและประสาท
10.1 ระบบประสาท
ระบบประสาทเป็นศูนย์กลางที่ควบคุมการทางานของร่างกาย ในการแสดงปฏิกิริยาตอบสนอง ต่อสิ่ง
เร้า โดยทาหน้าที่ประสานสัมพันธ์ระหว่างอวัยวะสัมผัสกับอวัยวะมอเตอร์ ควบคุมการทางาน ของ
กล้ามเนื้อ การทางานของต่อมและระบบต่าง ๆ ในร่างกาย อีกทั้งเป็นศูนย์ของความรู้สึกนึกคิด
สติปัญญา การเรียนรู้ ความจา ตลอดจนการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม
ระบบประสาทประกอบด้วย
1. สมอง (Brain) เป็นศูนย์ควบคุมทั้งหมดของร่างกาย มีเยื่อหุ้ม 3 ชั้น แบ่งสมองออกเป็น 3 ส่วน
1.1 ซีรีบรัม(สมองส่วนหน้า) มีขนาดใหญ่ที่สุด ทาหน้าที่รับความรู้สึกและสั่งการ
1.2 ซีรีเบลรัม(สมองส่วนหลัง) ทาหน้าที่ควบคุมกิจกรรมของกล้ามเนื้อ การเคลื่อนไหว
และสมดุล
1.3 ก้านสมอง ทาหน้าที่ควบคุม การหายใจ หัวใจ หลั่งน้าย่อย หลั่งฮอร์โมน
2. ไขสันหลัง (Spinal cord) เป็นทางผ่านของกระแสประสาทต่อมาจากสมองบรรจุอยู่ภายในกระดูก
สันหลัง เป็นศูนย์กลางควบคุมการทางานแบบ รีเฟลกซ์แอกชั่น คือ การตอบสนองแบบไม่ตั้งใจโดยไม่
ผ่านสมอง เช่น การดีดเท้าเมื่อเคาะหัวเข่า การกระดกเท้าเมื่อเหยียบหนาม
3. เส้นประสาท (Nerve) เส้นประสาทแต่ละเส้นจะมีเซลส์ประสาท (Neuron) หลาย ๆ เซลส์
เรียงต่อกัน เซลส์ประสาทกระจายไป เลี้ยงทั้งร่างกาย มีประมาณ 12,000 ล้านเซลส์ ในไขสันหลัง
และสมองมีเซลส์ประสาทมากที่สุด องค์ประกอบได้แก่
1. ตัวเซลล์ประสาท (cell body)
2. ใยประสาท (cell process หรือ nerve fiber)
- เดนไดรต์ (dendrite)
- แอกซอน (axon)
10.2 ระบบต่อมไร้ท่อ
ฮอร์โมน คือ สารเคมีที่สร้างจากเนื้อเยื่อหรือต่อมไร้ท่อ แล้วถูกลาเลียงไปตามระบบหมุน เวียนของโลหิต
เพื่อทาหน้าที่ ควบคุมการเจริญเติบโต ควบคุมลักษณะทางเพศ และควบคุม การทางาน ของระบบต่าง ๆ ใน
ร่างกาย
1. ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง
1.1. ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ทาหน้าที่ผลิตฮอร์โมน ดังนี้
- ฮอร์โมนโกรท (Growth hormone) ควบคุมการเจริญเติบโต ของร่างกาย โรคที่เกิดจากมี
ฮอร์โมน โกรทในร่างกายมากเกินไป จะเป็นโรคอะโครเมกาลี (acromegaly) คือจมูก ปาก มือ เท้าใหญ่
- ฮอร์โมนโกนาโดโทรฟิน (Conadotrophin hormone) ประ กอบด้วยฮอร์โมนกระตุ้นฟอลลิเคิล F.S.H.
ฮอร์โมนลูทิไนซ์ ในเพศหญิง
- ฮอร์โมน F.S.H. กระตุ้นให้ฟอลลิเคิลแบ่งเซล และการหลั่ง ของ L.H. ทาให้เกิดการตกไข่ ใน
เพศชาย
- ฮอร์โมนโพรแลกติน (prolactin) มีหน้าที่กระตุ้นต่อมน้านม ให้สร้างน้านม
- ฮอร์โมนอะดรีโนคอร์ติโคโทรฟิน (adrenocorticotrophin hormone) หรือ A.C.T.H ทาหน้าที่
กระตุ้น อะดรีนัล คอร์เทกซ์ ของต่อมหมวกไตให้สร้างฮอร์โมนตามปกติ
- ฮอร์โมนกระตุ้นไทรอยด์ (thyroid stimulating hormone) หรือ TSH ทาหน้าที่กระตุ้นต่อม
ไทรอยด์ ให้หลั่งฮอร์โมนตาม ปกติ ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้าจะควบคุมโดยฮอร์โมน
ประสาทที่สร้างมา จากไฮโพทาลามัส
1.2. ต่อมใต้สมองส่วนกลาง ทาหน้าที่ผลิตฮอร์โมน ดังนี้
- ฮอร์โมนเมลาโนไซต์ (Melanocyte stimulating hormone) หรือ MSH ทาหน้าที่ทาให้รงค
วัตถุ ภายในเซล ผิวหนังกระจายไปทั่วเซลล์
1.3. ต่อมใต้สมองส่วนหลัง เซลนิวโรซีครีทอรี (neurosecretory cell) สร้างฮอร์โมน ได้แก่
- วาโซเพรสซิน (Vasopressin) หรือฮอร์โมนแอนติไดยูเรติก ADH มีหน้าที่ดูดน้ากลับของ
หลอดไต และกระตุ้นให้หลอด เลือดบีบตัว ถ้าขาดฮอร์โมนนี้จะเกิดการเบาจืดทาให้ปัสสาวะ
บ่อย
- ออกซีโทซิน (Oxytocin) ทาหน้าที่กระตุ้นกล้ามเนื้อเรียบและอวัยวะภายใน กระตุ้นกล้ามเนื้อ
รอบต่อมน้านมให้ขับน้านม ฮอร์โมนนี้จะหลั่งออกมามากตอนคลอด เพื่อช่วยให้กล้ามเนื้อ
มดลูก บีบตัวขณะคลอด ไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์ ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมน ได้แก่
1. อินซูลิน สร้างจากเซลเบตา มีหน้าที่รักษาระดับ น้าตาลในเลือดให้ปกติ
2. กลูคากอน (glucagon) สร้างมาจากแอลฟาเซล มี หน้าที่กระตุ้นการสลายตัวของไกล
โคเจน จากตับให้เป็นน้าตาล กลูโคสมากขึ้น
2. ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต
- ฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ (Glucocorticoid hormone) ทาหน้าที่ควบคุมเมตาโบลิซึมของ
คาร์โบไฮเดรต กระตุ้นการเปลี่ยนคาร์โบไฮเดรตและไกลโคเจนเป็นกลูโคส และยังควบคุมสมดุล ของ
เกลือแร่
- ฮอร์โมนมิเนราโลคอทิคอยด์ (mineralocorticoid) ทาหน้าที่ควบคุมสมดุลของน้าและเกลือแร่ใน
ร่างกาย เช่น อัลโดสเตอโรน (aldosterone) ทาหน้าที่ดูดโซเดียมกลับท่อหน่วยไต อะดรีนัล
เมดุลลา ผลิตฮอร์โมนดังนี้
- อะดรีนาลิน (adrenalin) ทาให้น้าตาลในเลือดเพิ่มขึ้น และกระตุ้นการเต้นของหัวใจ
- นอร์อะดรีนาลิน (noradrenalin) หลั่งจากเส้นประสาทซิมพาเทติก ทาให้ความดันเลือดสูง
3. ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์
- ไทรอกซิน (thyroxin) ทาหน้าที่ควบคุมอัตราการเผาผลาญอาหารต่าง ๆ ในร่างกาย ถ้าต่อม
ไทรอยด์ไม่สามารถสร้างไทรอกซินจะทาให้ เกิดโรคคอพอก , มิกซีดีมา แต่ถ้าสร้าง ฮอร์โมนมาก
เกินไป ทาให้เกิดโรคคอพอกเป็นพิษ
- แคลซิโทนนิน (Calcitonin) ทาหน้าที่ลดระดับแคลเซียมใน เลือด
- พาราฮอร์โมน (parathormone) ทาหน้าที่รักษาสมดุลและฟอสฟอรัสในร่างกายให้คงที่
 4. ฮอร์โมนจากอวัยวะเพศ
เพศชาย : ฮอร์โมนแอนโดรเจน (androgens) ประกอบ ไป
ด้วยเทสโทสเตอโรน (testosteron) มีหน้าที่ควบคุม
ลักษณะเกี่ยวกับ การเปลี่ยนแปลงของเพศชายในช่วงวัยรุ่น
เพศหญิง : 1. เอสโทรเจน (estrogens) สร้างจากเซลล์ ฟอล
ลิเคิลในรังไข่ ฮอร์โมนนี้จะต่าในขณะมีประจาเดือน
2. ฮอร์โมนโปรเจสเทอโรน(progesterone)
สร้างจาก คอร์ปัสลูเทียม ควบคุมลักษณะเกี่ยวกับการ
เปลี่ยนแปลงของร่างกายในช่วงวัยรุ่น
5. ฮอร์โมนจากต่อมไพนีล
ต่อมไพนีลอยู่บริเวณกึ่งกลางของ สมองส่วนเซ
รีบรัมพู ซ้ายและพูขวา ต่อมนี้ไม่ได้ทหน้าที่สร้างฮอร์โมน
ต่อมนี้จะ สร้างเมลาโทนิน (melatonin) ในคนและสัตว์
ชั้นสูงในช่วง วัยรุ่นและยับยั้งการเจริญเติบของอวัยวะ
สืบพันธุ์ ถ้าขาดจะ ทาให้เด็กเป็นหนุ่มสาวเร็วกว่าปกติ
11. ระบบผิวหนัง
ระบบผิวหนังเป็นระบบที่สาคัญมาก เพราะเป็นระบบที่ปกคลุมร่างกายและเป็นระบบที่ ใหญ่ที่สุด
หน้าที่ของระบบผิวหนัง
1. ป้ องกันอันตรายจากแสงแดด สารเคมี ฯลฯ
2. รับความรู้สึก มีประสาทสัมผัส
3. ควบคุมการทางานต่างๆ ภายในร่างกาย เป็นแหล่งสะสมพลังงานและสร้างวิตามินดี
4. ควบคุมความร้อนของร่างกายโดยการทางานของต่อมไร้ท่อ
ผิวหนังแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
1. ผิวหนัง
ผิวหนังเป็นอวัยวะที่ใหญ่ที่สุดของร่างกาย มี 2 ชั้นได้แก่
1.1 หนังกาพร้า (Epidermis) คือผิวหนังที่อยู่ชั้นนอกสุด จะตายร่วงหลุดไป เซลล์ชั้น
ใต้จะสร้างขึ้นมาแทนที่ ผิวหนังจะมี melanocytes เป็น cell รูปดาว ทาให้อวัยวะที่มีมากมีสี
คล้าทาให้เกิดสีผิวแตกต่างกัน แต่ถ้าไม่มี melanocytes จะทาให้เกิดเป็นคนเผือก จะมีผิว
ขาวสู้แสงไม่ได้
1.2 หนังแท้ (Dermis) อยู่ลึกกว่าหนังกาพร้า มีความยาวประมาณ 1-2 มิลลิเมตร รอยต่อ
ของหนังกาพร้าและหนังแท้จะเป็นคลื่นที่ยื่นขึ้นและลง เป็นสันนูน เรียกว่า ลายมือ (Finger
print) แต่ละคนจะแตกต่างกัน บริเวณหนังแท้จะมีต่อมน้ามัน ต่อมเหงื่อ ต่อมขน เส้นเลือด
ท่อ น้าเหลือง และประสาทรับความรู้สึก
2. อวัยวะต่างๆ ที่เกิดมาจากผิวหนังอวัยวะต่างๆ ที่เกิดมาจากผิวหนังได้แก่ ขน ต่อมน้ามัน
ต่อมเหงื่อ และเล็บ (nail)
 การดูแลรักษาผิวหนัง ทุกคนย่อมมีความต้องการมีผิวหนังที่สวยงาม สะอาด ไม่เป็นโรคและไม่เหี่ยว
ย่นเกินกว่าวัย ฉะนั้นจึงควรดูแลรักษาผิวหนังตัวเอง ดังนี้
1. อาบน้าชาระร่างกายให้สะอาดอยู่เสมอ โดย
1.1 อาบน้าอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง ในเวลาเช้าและเย็น เพื่อช่วยชาระล้างคราบเหงื่อไคล และ
ความสกปรกออกไป
1.2 ฟอกตัวด้วยสบู่ที่มีฤทธิ์เป็นด่างอ่อนๆ
1.3 ทาความสะอาดให้ทั่ว โดยเฉพาะบริเวณใต้รักแร้ ขาหนีบ ข้อพับ อวัยวะเพศ ง่ามนิ้วมือ
นิ้วเท้า ใต้คาง และหลังใบหู เพราะเป็นที่อับและเก็บความชื้น อยู่ได้นาน
1.4 ในขณะอาบน้า ควรใช้นิ้วมือ หรือฝ่ ามือ ถูตัวแรงๆ เพราะนอกจากช่วยให้ร่างกายสะอาดแล้ว
ยังช่วยให้การหมุนเวียนของเลือดดีขึ้น
1.5 เมี่ออาบน้าเสร็จ ควรใช้ผ้าเช็ดตัวที่ สะอาด เช็ดตัวให้แห้ง แล้วจึงค่อยสวมเสื้อผ้า
2. หลังอาบน้าแล้ว ควรใส่เสื้อผ้าที่สะอาด และเหมาะสมกับอากาศและงานที่ปฏิบัติ เช่น ถ้าอากาศ
ร้อนก็ควรใส่เสื้อผ้าบาง เพื่อไม่ให้เหงื่อออกมาก เป็นต้น
3. กินอาหารให้ถูกต้องและครบถ้วนตามหลัก โภชนาการ โดยเฉพาะอาหารที่มีวิตามินเอ เช่น พวก
น้ามันตับปลา ตับสัตว์ เนย นม ไข่แดง เครื่องในสัตว์ มะเขือเทศ มะละกอ รวมทั้งพืชใบเขียวและ
ใบเหลือง วิตามินเอ จะช่วยให้ผิวหนังชุ่มชื้น ไม่เป็นสะเก็ด แห้ง ทาให้เล็บไม่เปราะ และยังทาให้เส้น
ผมไม่ร่วงง่ายอีกด้วย
4. ดื่มน้ามากๆ เพื่อทาให้ผิวหนังเปล่งปลั่ง
5. ออกกาลังกายสม่าเสมอ เพื่อช่วยให้การ หมุนเวียนของเลือดดีขึ้u
6. ควรให้ผิวหนังได้รับแสงแดดสม่าเสมอ โดย เฉพาะเวลาเช้าซึ่งแดดไม่จัดเกินไป และพยายาม
หลีก เลี่ยงการถูกแสงแดดจ้า เพราะจะทาให้ผิวหนังเกรียม และกร้านดา
7.ระมัดระวังโนการใช้เครื่องสาอาง เพราะ อาจเกิดอาการแพ้ หรือทาให้ผิวหนังอักเสบ เป็น
อันตรายต่อผิวหนังได้ หากเกิดอาการแพ้ต้องเลิกใช้ เครื่องสาอางชนิดนั้นทันที
8. เมื่อมีสิ่งผิดปกติใดๆ เกิดขึ้นกับผิวหนัง ควรปรึกษาแพทย์
 ร่างกายมนุษย์ประกอบด้วยระบบต่างๆ ประกอบกันเป็นร่างกาย การทางานของอวัยวะจะทางาน
สัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ เช่น ระบบย่อยอาหาร ประกอบด้วยอวัยวะหลายอวัยวะ ซึ่งอวัยวะบาง
อวัยวะ ไม่มีสารย่อยแต่เกี่ยวข้องกับระบบย่อยอาหาร ระบบหมุนเวียนเลือดในร่างกาย อวัยวะที่
เกี่ยวข้องคือ หัวใจ เส้นเลือด การหดและการขยายตัวของเส้นเลือดตามจังหวะการเต้นของหัวใจ
เรียกว่า ชีพจร ระบบหายใจ การหายใจของมนุษย์มีผลต่อการแลกเปลี่ยนแก๊สในถุงลมปอด ซึ่ง
ประกอบด้วย อวัยวะต่างๆ คือ จมูก ปอด ถุงลม กล้ามเนื้อ กะบังลม และซี่โครง ระบบขับถ่ายจะมี
อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการขับถ่ายของเสียในรูปของเหลว คือ ไต และผิวหนังใน รูปของแก๊ส คือ ปอด
ในรูปของของแข็ง คือ ลาไส้ใหญ่
 ขณะออกกาลังกาย ร่างกายต้องใช้พลังงานมาก จึงต้องการแก๊สออกซิเจน และสารอาหาร เพิ่ม
มากขึ้น เพื่อใช้ในกระบวนการเปลี่ยนแปลงสารอาหารให้เกิดพลังงาน ระบบหายใจจึงต้อง ทางาน
หนัก เราจึงหายใจถี่และเร็วเพื่อนาแก็สออกซิเจนเข้าสู่ร่างกาย และนาแก๊สคาร์บอนได ออกไซด์
ออกไป การหมุนเวียนเลือดในร่างกายก็จะเป็นไปอย่างรวดเร็วหัวใจจะเต้นเร็วเพื่อสูบ ฉีดเลือดให้
ทันต่อความต้องการของร่างกาย ของเสียในรูปของเหลวก็จะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ระบบขับถ่าย
ของร่างกายก็จะขับเหงื่อออกจานวนมาก หลังจากออกกาลังกายก็จะรู้สึกหิว และ กระหายน้า เรา
จึงต้องดื่มน้าและกินอาหาร ส่งผลให้ระบบย่อยอาหารต้องทางานต่อไป การทางานของระบบ
ต่างๆ ทางานสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่อง หากระบบใดระบบหนึ่ง บกพร่องไปร่างกายก็จะอ่อนแอ
ส่งผลต่อสุขภาพได้
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2

Contenu connexe

Tendances

ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจPinutchaya Nakchumroon
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02oranuch_u
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดแบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดNapaphat Bassnowy
 

Tendances (20)

ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือดแบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
แบบฝึกหัด หัวใจ เส้นเลือด การไหลเวียนเลือด
 

En vedette

บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2Wichai Likitponrak
 
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2teerachon
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม OWichai Likitponrak
 

En vedette (16)

บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2
 
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
บทที่2ปฏิกิริยาเคมีม 2
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี49
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี53
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี51
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี52
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี50
 
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
ข้อสอบO-netวิทยาศาสตร์ปี54
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
 
Pptติวonetม3
Pptติวonetม3Pptติวonetม3
Pptติวonetม3
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 

Similaire à บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2

เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newsavong0
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาkrulam007
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาkrulam007
 
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมTa Lattapol
 
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdfเปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdfLomaPakuTaxila
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2Kobchai Khamboonruang
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 
Lec การสืบพันธุ์
Lec การสืบพันธุ์Lec การสืบพันธุ์
Lec การสืบพันธุ์bio2014-5
 
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์kanitnun
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหารPinutchaya Nakchumroon
 

Similaire à บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2 (20)

Body system
Body systemBody system
Body system
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
เล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย Newเล่ม ระบบร่างกาย New
เล่ม ระบบร่างกาย New
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
 
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถมสิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต ประถม
 
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdfเปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
เปิดโลกสเต็มเซลล์ (วัดชลฯ) [Autosaved].pdf
 
answer
answeranswer
answer
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
Lec การสืบพันธุ์
Lec การสืบพันธุ์Lec การสืบพันธุ์
Lec การสืบพันธุ์
 
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรมบทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
 
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 

Plus de Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

Plus de Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2

  • 1. บทที่ 3 ระบบต่างๆในร่างกาย รายวิชาวิทยาศาสตร์ 4 (ว32102) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
  • 2. ในร่างกายจะประกอบด้วยหน่วยของสิ่งมีชีวิตที่เล็กที่สุดคือ เซลล์ (cell) เซลล์ที่มีขนาดเล็กที่สุด คือ สเปิร์ม (sperm) และใหญ่ที่สุดคือไข่ (egg) cell หลาย ๆ cell รวมกันกลายเป็น เนื้อเยื่อ (tissue) เนื้อเยื่อ หลาย ๆ เนื้อเยื่อ รวมกันกลายเป็น อวัยวะ (Organ) อวัยวะหลาย ๆ อวัยวะ รวมกันกลายเป็น ระบบอวัยวะ (Organ system) ระบบอวัยวะหลาย ๆระบบ รวมกันกลายเป็น ร่างกาย (body)
  • 3. ในร่างกายถ้าเปรียบระบบอวัยวะกับการทางานของระบบโรงงานสามารถ เปรียบได้ดังนี้เช่น ผิวหนัง, ขน, เล็บ เปรียบเหมือน กาแพง ด่านตรวจ สมอง เปรียบเหมือน คอมพิวเตอร์ ตา เปรียบเหมือน กล้อง VDO/วงจรปิด ลิ้น เปรียบเหมือน ผู้ตรวจสอบคุณภาพ หัวใจ เปรียบเหมือน เครื่องปั้มน้า ปอด เปรียบเหมือน แอร์ ( ก๊าช ) ไต ตับ เปรียบเหมือน เครื่องกาจัดของเสีย ถังขยะ กระเพาะอาหาร,ลาไส้ เปรียบเหมือน ห้องครัว
  • 4. เซลล์ที่เป็นองค์ประกอบของร่างกาย 1. เซลล์ร่างกาย (body cell) ลักษณะแบนบาง มีนิวเคลียสอยู่ตรงกลางพบตามร่างกาย 2. เซลล์เยื่อบุ (epidermis) ลักษณะแบนบาง มีนิวเคลียสตรงกลางนูนเหมือนไข่ดาว พบตามเยื่อบุที่ มี ผนังบางมีเมือก (mucus) หล่อเลี้ยง เช่น ริมฝีปาก กระพุ้งแก้ม ดวงตา อวัยวะเพศภายใน 3. เซลล์กล้ามเนื้อ (muscle cell) มี 3 ชนิด ก. เซลล์กล้ามเนื้อลาย (reticular muscle) พบตาม แขน ขา (ติดกระดูก) ข. เซลล์กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle) พบตาม อวัยวะภายใน เช่น ไต ค. เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac cell) พบเฉพาะที่หัวใจ 4. เซลล์เม็ดเลือดแดง (Red Blood Cell ; RBC) 5. เซลล์เม็ดเลือดขาว (White Blood Cell ; WBC) 6. เซลล์ประสาท 7. เซลล์กระดูก 8. เซลล์สมอง 9. เซลล์สืบพันธุ์  ระบบต่างๆในร่างกายทางานประสานงานกันอย่างมีระบบ ถ้าระบบใดระบบหนึ่งผิดปรกติ ร่างกายก็จะ แสดงความผิดปรกติออกมา เช่น พิการ เป็นโรค ฯลฯ
  • 5. การทางานของระบบภายในร่างกาย อาจจาแนก ออกได้เป็น10 ระบบ ดังนี้  1. ระบบผิวหนัง (Intergumentary System) ทำหน้ำที่ห่อหุ้มปกคลุมร่ำงกำย ประกอบด้วยผิวหนัง (Skin) และอวัยวะที่เปลี่ยนแปลงมำจำกผิวหนัง เช่น ขน ผม เล็บ ต่อมเหงื่อ ต่อมน้ำมัน  2. ระบบกล้ามเนื้อ (Muscular System) ทำหน้ำที่ช่วยทำให้ร่ำงกำยเกิดกำรเคลื่อนไหว  3. ระบบโครงกระดูก (Skeletal System) ทำหน้ำที่ทำงำนร่วมกับระบบกล้ำมเนื้อ เพื่อช่วย ให้ร่ำงกำยสำมำรถเคลื่อนไหวได้นอกจำกนี้ยังทำหน้ำที่เป็นโครงร่ำงของร่ำงกำยอีกด้วย  4. ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) ทำหน้ำที่นำอำหำรและออกซิเจนไป เลี้ยงเซลล์ต่ำง ๆ ทั่วร่ำงกำย และนำคำร์บอนไดออกไซด์กับของเสียจำกเซลล์มำขับทิ้ง นอกจำกนี้ ยังนำฮอร์โมนที่ผลิตได้จำกต่อมไร้ท่อเพื่อส่งไปยังอวัยวะต่ำง ๆ ของร่ำงกำย  5. ระบบหายใจ (Respiratory System) ทำหน้ำที่รับออกซิเจนจำกภำยนอกเข้ำสู่ร่ำงกำย และนำคำร์บอนไดออกไซด์จำกภำยใน ออกมำขับทิ้งสู่ภำยนอกร่ำงกำย โดยอำศัยระบบ ไหลเวียนโลหิตเป็นตัวกลำงในกำรลำเลียงแก๊ส
  • 6. การทางานของระบบภายในร่างกาย อาจจาแนก ออกได้เป็น10 ระบบ ดังนี้  6. ระบบประสาท (Nervous System) เป็นระบบที่ทำหน้ำที่ควบคุมกำรทำงำน ของทุกระบบในร่ำงกำย ให้สัมพันธ์กันโดยทำงำนร่วมกับระบบต่อมไร้ท่อ นอกจำกนี้ยังทำหน้ำที่รับและ ตอบสนองต่อสิ่งเร้ำภำยนอก  7. ระบบต่อมต่าง ๆ (glands System) ทำหน้ำที่สร้ำงฮอร์โมน (hormone) ซึ่ง เป็นสำรเคมีและของเหลวโดยทำงำนร่วมกับระบบประสำทในกำรควบคุม ปฏิกริยำกำร เผำผลำญต่ำง ๆ ในร่ำงกำย  8. ระบบย่อยอาหาร (Digestive System) ทำหน้ำที่ย่อยสลำยอำหำรที่ รับประทำนเข้ำไปให้เป็นสำรอำหำร และดูดซึมเข้ำสู่กระแสเลือดเพื่อไปเลี้ยง ส่วนต่ำง ๆ ของร่ำงกำย  9. ระบบขับถ่าย (Excretory System) ทำหน้ำที่ขับถ่ำยของเสียที่ร่ำงกำยไม่ ต้องกำรให้ออกจำกร่ำงกำย  10. ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System) ทำหน้ำที่สืบทอด ดำรงและขยำย เผ่ำพันธุ์ ให้มีจำนวนมำกขึ้น เพื่อไม่ให้สิ่งมีชีวิตสูญพันธุ์
  • 7. 1. ระบบย่อยอาหาร (Digestion)  ทาหน้าที่เปลี่ยนอาหารที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ให้เป็นสารอาหารที่มีโมเลกุลขนาดเล็กซึ่งร่างกาย นาไปใช้ประโยชน์ในการสร้างพลังงาน สร้างความเจริญ ขั้นตอนต่างๆ ที่จะเปลี่ยนจากอาหารให้ เป็นสารอาหารก่อนที่จะถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดบริเวณผนังของลาไส้เล็ก  การย่อยอาหารประกอบด้วย อวัยวะที่เกี่ยวข้อง น้าย่อย และ ตัวเร่งปฏิกิริยา 1. ปากและฟัน (mouth and teeth) เป็นอวัยวะแรกของระบบย่อยอาหาร ภายในประกอบด้วย ฟัน ทา หน้าที่บดเคี้ยวอาหารให้ละเอียด ลิ้น ทาหน้าที่ส่งอาหารให้ฟันบดเคี้ยว และคลุกเคล้าอาหารให้อ่อนตัว ง่ายต่อการบดเคี้ยวของฟัน ต่อมน้าลาย ทาหน้าที่ขับน้าลายออกมาคลุกเคล้า กับอาหาร ในน้าลายมี เอนไซม์อะไมเลส ซึ่งสามารถย่อยแป้ งให้เป็นน้าตาล ดังนั้นเมื่อเราอมข้าวเปล่าไว้นาน จึงรู้สึกหวาน 2. คอหอย (pharynx) เป็นท่ออยู่ระหว่างด้านหลังของช่องปากและหลอดลม บริเวณนี้เป็น จุดเชื่อม ระหว่างหลอดลมกับหลอดอาหารโดยมีกลไกควบคุมการส่งอาหารหรืออากาศคนละเวลากัน นอกจากนี้ยังประกอบด้วยต่อน้าเหลือง 3 คู่อยู่รอบ ๆ คอหอย มีหน้าที่ดักจับเชื้อโรค เรียกว่า “ต่อม ทอนซิล” (tonsil)
  • 8. 3. หลอดอาหาร (oesophagus) อยู่ต่อจากคอหอยอยู่ด้านหลังหลอดลม (trachea) ส่วนบนเป็น กล้ามเนื้อลายมีหูรูด ช่วยปิดเปิดหลอดอาหารระหว่างกลืนอาหารส่วนท้ายเป็นกล้ามเนื้อ เรียบ ช่วยบีบ ส่งอาหารเป็นระยะ เรียกว่า เพอรีสตัลซีส (peristalsis) ช่วยให้อาหารเคลื่อนที่ ได้สะดวก 4. กระเพาะอาหาร (stomach) อยู่บริเวณด้านซ้ายของช่องท้องกว้างประมาณ 5 นิ้ว ยาว 10 นิ้ว แบ่ง ออกเป็น 3 ส่วน ***หมายเหตุ กระเพาะอาหารมีปริมาณ 50 cc แต่เมื่อได้รับอาหารจะยาวถึง 2000 cc หรือ 2 ลิตร ทา หน้าที่พักอาหารบริเวณเยื่อบุภายในจะมีต่อมผลิตน้าย่อย (Grastric gland) ทาหน้าที่ ผลิตน้าย่อยและ กรดเกลือ (HCl) ซึ่งทาให้อาหารโปรตีนมีอนุภาคเล็กลง 5. ลาไส้เล็ก (Small Intestine) ยาวประมาณ 10 m แบ่งออกเป็น 3 ตอน เกิดการย่อยและดูดซึมมาก ที่สุด มีตับและตับอ่อนเป็นอวัยวะช่วยในการย่อยอาหาร 6. ลาไส้ใหญ่ (Large Intestine) ยาวประมาณ 1.5 เมตร เริ่มตั้งแต่ส่วนของอิเลียมจนถึงทวารหนัก หน้าที่ของลาไส้ใหญ่ @ไส้ติ่งบริเวณส่วนต้น (ท้องล่างขวา) 1. สะสมกากอาหาร 2. ดูดซึมแร่ธาตุ น้า กลูโคส 3. มีจุลินทรีย์ช่วยในการย่อยกากอาหารโดยเฉพาะเซลลูโลส ให้มีสภาพเหลวหรืออ่อนนุ่ม 1. ระบบย่อยอาหาร (Digestion)
  • 9. อวัยวะที่เกี่ยวข้องโดยอ้อม 1. ตับ (Liver) เป็นอวัยวะที่ใหญ่ที่สุดของร่างกายมี 2 ซีก ซ้าย-ขวา มีสีน้าตาลเนื้อแน่น มีถุงน้าดีอยู่ ด้วย (น้าดีไม่ใช้น้าย่อยแต่เป็นสารช่วยในการแตกตัวของไขมัน) 2. ตับอ่อน (Pancreas) มีลักษณะคล้ายใบไม้ยาวประมาณ 20-25 ซม. สีแดงหรือสีเทา ทาหน้าที่เป็น ต่อมมี ท่อและต่อมไร้ท่อ ผลิตของเหลวได้ประมาณ 2 ลิตร ซึ่งประกอบด้วย ก. น้าย่อย ซึ่งทาหน้าที่ย่อยโปรตีน คาร์โบไฮเดรท และไขมัน ข. โซเดียมไบคาร์บอเนต มีคุณสมบัติเป็นเบส (ด่าง) เพื่อปรับสภาพอาหารที่มาจากกระเพาะ อาหารซึ่งมีสภาพเป็นกรด ให้มีสภาพเป็นกลางหรือเป็นเบสอ่อน ๆ เพื่อจะไม่ทาลายเยื่อบุของลาไส้เล็ก * น้าย่อย (enzyme) ประกอบด้วย อะไมเลส ในน้าลาย เปปซินในกระเพาะอาหาร ทริปซินจากตับอ่อน มอลเทส ซูเครส แลกเทสจากลาไส้เล็ก ไลเปสจากตับอ่อนและลาไส้เล็ก น้าย่อยอื่น ๆ * ตัวเร่งปฏิกิริยา ประกอบด้วย น้า น้าดีจากตับ กรดเกลือจากกระเพาะอาหาร 1. ระบบย่อยอาหาร (Digestion)
  • 11.  การเจริญเติบโตของหญิงและชายช่วงอายุ 10 - 17 ปี เพศหญิงจะมีอัตราการเจริญ เติบโตมากกว่าชาย หลังจากนั้นเพศชายจะเจริญเติบโตมากกว่าเพศหญิง และจะหยุดการเจริญประมาณ 20 ปี สาหรับเพศ หญิง และ 25 ปีสาหรับเพศชาย อัตราการเจริญเติบโต จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ ก. การแสดงออกจากพันธุกรรม (ยีโนไทพ์ ; Genotype) เป็นลักษณะที่ถ่ายทอดมาจากบรรพ บุรุษ คือ มาจาก ยีน (Gene) นั่นเอง ได้แก่ สีผิว ผม ดวงตา ฯลฯ * ยีน (Gene) คือ หน่วยที่ควบคุมการแสดงออกของลักษณะต่าง ที่อยู่บนโครโมโซม ข. การแสดงออกจากสิ่งแวดล้อม (ฟีโนไทพ์ ; Phenotype) เป็นลักษณะที่ได้รับอิทธิพลมาจาก สิ่ง แวดล้อม (Enviroment) ได้แก่ อาหาร โรค จิตใจ การเลี้ยงดู ความรู้ ฯลฯ เมื่อร่างกาย เข้าสู่วัยรุ่น ต่อมใต้สมองจะหลั่งฮอร์โมน (Hormone) มากระตุ้นต่อมเพศให้ผลิต ฮอร์โมนเพศ แล้วทา ให้ร่างกายเปลี่ยนแปลงเข้าสู่วัยหนุ่มสาว ต่อมเพศของเพศชายจะอยู่ที่ อัณฑะ (Testis) ส่วนต่อมเพศ ของเพศหญิงจะอยู่ที่ รังไข่ (Ovary) 2. ระบบสืบพันธุ์
  • 12. ระบบสืบพันธุ์เพศชาย ก. อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก ได้แก่ 1. ถุงอัณฑะ (Scrotum) ห่อหุ้มลูกอัณฑะให้อุณหภูมิต่ากว่า 37 องศาเซลเซียส 2. องคชาติ (Penis) ข. อวัยวะสืบพันธุ์ภายใน ประกอบด้วย 1. อัณฑะ (Testis) ตอนเด็กจะอยู่ในช่องท้อง พอโตขึ้นจะเลื่อนลงมาอยู่ที่ถุงอัณฑะ ทา หน้าที่ ผลิต สเปิร์ม (Sperm) และฮอร์โมนเพศชาย 2. หลอดนาสเปิร์ม (Sperm) ทาหน้าที่ลาเลียงสเปิร์ม ไปเก็บที่ต่อมเก็บ คือต่อมเคาว์เปอร์ 3. ต่อมเคาว์เปอร์ (Cowper gland) ทาหน้าที่สร้าง อาหารให้กับสเปิร์ม ประกอบด้วยน้าตาลฟ รุกโตสและปรับ สภาพให้เป็นเบสอ่อน ๆ 4. ต่อมลูกหมาก (Prostate gland) ทาหน้าที่สร้างสารให้มีปริมาณมากขึ้น และเก็บน้าเชื้อ
  • 14. ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง  ประกอบด้วยอวัยวะสืบพันธุ์ 2 ส่วน ก. อวัยวะสืบพันธุ์ ภายนอก ประกอบด้วย 1. แคมนอก (Major cam) มี 2 ข้าง ทาหน้าที่ปกปิดไม่สิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ภายใน 2. แคมใน (Minor cam) มี 2 ข้าง เป็นเนื้อเยื่อบางติดกับแคมนอก 3. คลิตอรีส (Clitoris) ทาหน้าที่รับความรู้สึกทางเพศ 4. เยื่อพรหมจารี (Hymen)เป็นเยื่อบาง ๆ ปิดปากช่องคลอด 5. ท่อปัสสาวะ อยู่ตรงกลางระหว่าง Clitoris กับ ช่องคลอด ข. อวัยวะสืบพันธุ์ ภายใน ประกอบด้วย 1. รังไข่ (Ovary) ทาหน้าที่ผลิตไข่ และฮอร์โมนเพศ อยู่ลึกเข้าไปในอุ้งเชิงกราน มีเนื้อเยื่อยึด มี ขนาดเท่าหัวแม่มือ หนัก 2- 3 กรัม 2. ท่อนาไข่ หรือปีกมดลูก (Oviduct) เป็นท่อเชื่อมระหว่างมดลูกกับรังไข่ ภายในมีขนเล็ก ๆ มากมาย เรียกว่า ซีเลีย (Celia) ท่อนาไข่มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.2 cm ยาวประมาณ 6-7 cm เป็น บริเวณที่มีการปฏิสนธิ
  • 15.
  • 16. 3. มดลูก (Uterus) มีลักษณะคล้ายผลชมพู่ กว้างประมาณ 4 ซ.ม.ยาว 6-8 ซ.ม.หนาประมาณ 2 ซ.ม.ส่วนล่างแคบเข้าหากันเรียกว่า “ ปากมดลูก” ต่อกับส่วนของช่องคลอดมดลูกประกอบด้วย เนื้อเยื่อ หลายชั้นคล้ายฟองน้าทาหน้าที่ในการสร้างรก รองรับการฝังตัวของไข่ที่ผสมแล้ว (Zygote) เป็นที่ แลกเปลี่ยนก๊าซและส่งอาหารให้กับตัวอ่อน (Embryo) 4. ช่องคลอด (Vagina) เป็นทางผ่านของสเปิร์มเข้าสู่มดลูก ลึกประมาณ 1.5- 2.0 นิ้ว ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง
  • 17. 3. ระบบหมุนเวียนของเลือด  ตัวจักรสาคัญของระบบนี้คือ หัวใจ และหลอดเลือด  หัวใจประกอบด้วย กล้ามเนื้อมีขนาดใหญ่ ทาหน้าที่สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกาย ทุกๆวันหัวใจจะเต้น ประมาณ 100,000 ครั้ง สูบฉีดเลือดประมาณวันละ 2,000 แกลลอน  หลอดเลือดเชื่อมติดต่อกันเป็นโครงข่ายทั่วร่างกาย โดยเริ่มต้นจากหัวใจห้องซ้ายล่าง Left Ventricle ฉีดเลือดไปยังหลอดเลือดแดงใหญ่ที่เรียกว่า Aorta แล้ว ต่อไปยังหลอดเลือดแดง Artery ,Aterioles ต่อ เส้นเลือดฝอย capillaries เลือด ณ.บริเวณนี้จะอุดมไปด้วย อาหารและออกซิเจนซึ่งแลกเปลี่ยนกับ เนื้อเยื่อ แล้วไหลกลับสู่หลอดเลือดดา vein ซึ่งนาเข้าหลอดเลือดดาใหญ่และเข้าสู่หัวใจ  หัวใจของเราประกอบด้วย 4 ห้อง ห้องข้างบนเรียก atrium มีทั้งซ้ายและขวา ส่วนห้องข้างล่างเรียก ventricle ซึ่งก็มีทั้งซ้ายและขวา ระหว่างหัวใจห้องข้างบนและล่างจะมีลิ้นหัวใจกั้นอยู่ ◦ Tricuspid valve กั้นระหว่างหัวใจห้องบนขวา และล่างขวา ◦ Pulmonary or pulmonic valveกั้นระหว่างหัวใจห้องบนขวากับหลอดเลือดดา ◦ Bicuspid valve กั้นระหว่างหัวใจห้องบนและล่างซ้าย ◦ Aortic semilunar valve กั้นระหว่างหัวใจห้องล่างซ้ายและหลอดเลือด aorta
  • 18.
  • 19.
  • 20. การทางานของหัวใจ - หัวใจจะรับเลือดดาเข้าสู่หัวใจห้องบนขวา Right atrium ไหลผ่านลงหัวใจห้องล่างขวา Right ventricle ซึ่งจะฉีดเลือดไปยังปอดเพื่อฟอกเลือด เลือดที่ฟอกแล้วจะไหลกลับเข้าหัวใจที่ห้องซ้ายบน Left Atrium แล้วไหลลง Left ventricle ซึ่งจะสูบเลือดไปเลี้ยงร่างกายทางหลอดเลือดแดง - ลิ้นหัวใจ (Valve) ประกอบด้วยเนื้อเยื่อเกี่ยวพันทาหน้าที่ ปิด-เปิด ไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับ มี ลักษณะ คล้ายถุง นายวิลเลียม ฮาร์วีย์ ชาวอังกฤษ ค้นพบว่าเลือดไหลไปทางเดียว และมีลิ้นควบคุมอยู่ 2 กลุ่ม 4 ลิ้น - ชีพจร (Pulse) คือ การหดและคลายตัวของหลอดเลือดในจังหวะเดียวกับการหดและคลายตัวของ หัวใจ - อัตราชีพจร (Pulse rate) เป็นค่าที่บอกอัตราการเต้นของหัวใจ โดยการจับที่หลอดเลือดแดงที่อยู่ ตื้น ๆ เช่น ข้อมือ ซอกคอ ขาหนีบ เพศชายประมาณ 70 ครั้ง/นาที หญิงประมาณ 75 ครั้ง/นาที หน้าที่ของเลือด 1. ลาเลียง O2 และ CO2 2. ลาเลียงสารอาหารที่ลาไส้เล็ก ไปสู่ เซลล์ 3. ลาเลียงของเสียออกจากเซลล์ ไปสู่ อวัยวะขับถ่าย 4. ลาเลียงภูมิคุ้มกัน 5. รักษาอุณหภูมิของร่างกาย
  • 21.
  • 22. 4. ระบบน้าเหลือง ( Lymphatic system ) - น้าเหลือง ( Lymph ) เป็นของเหลวที่ซึมผ่านเส้นเลือดฝอยออกมาหล่อเลี้ยงอยู่รอบๆเซลล์ ประกอบด้วย กลูโคส อัลบูมิน ฮอร์โมน เอนไซม์ ก๊าซ เซลล์เม็ดเลือดขาว ( แต่ไม่มีเซลล์เม็ดเลือดแดง และเพลตเลต ) - ท่อน้าเหลือง ( Lymph vessel ) มีหน้าที่ลาเลียงน้าเหลืองทั่วร่างกายเข้าสู่เส้นเวนใหญ่ใกล้หัวใจ (Subclavian vein) ปนกับเลือดที่มีออกซิเจนน้อย ท่อน้าเหลืองมีลิ้นกั้นคล้ายเส้นเวนและมีอัตราการ ไหลช้ามากประมาณ 1.5 มิลลิเมตรต่อนาที - อวัยวะน้าเหลือง ( Lymphatic organ ) 1) ต่อมน้าเหลือง ( Lymph node ) พบทั่วร่างกาย ภายในมีลิมโฟไซต์อยู่เป็นกระจุก บริเวณคอ มี 5 ต่อม เรียกว่า ทอนซิล (Tonsil) มีหน้าที่ป้ องกันจุลินทรีย์ที่ผ่านมาในอากาศไม่ให้เข้าสู่หลอดอาหารและกล่อง เสียงจนอาจเกิดอักเสบขึ้นมาได้ 2) ม้าม ( Spleen ) เป็นอวัยวะน้าเหลืองที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ผลิตเซลล์เม็ดเลือด ( เฉพาะในระยะเอมบริโอ ) ป้ องกันสิ่งแปลกปลอมและเชื้อโรคเข้าสู่กระแสเลือด สร้างแอนติบอดี ทาลายเซลล์เม็ดเลือดแดงและ เพลตเลตที่หมดอายุ 3) ต่อมไทมัส ( Thymus gland ) เป็นเนื้อเยื่อน้าเหลืองที่เป็นต่อมไร้ท่อ สร้างลิมโฟไซต์ชนิดเซลล์ที เพื่อ ต่อต้านเชื้อโรคและอวัยวะปลูกถ่ายจากผู้อื่น ข้อควรจา : การไหลของน้าเหลืองในท่อเหลือง เกิดขึ้นจากการหดและคลายตัวของกล้ามเนื้อที่อยู่รอบๆ ท่อ น้าเหลืองนั้น
  • 23.
  • 24. 5. ระบบหายใจ (Respiratory System)  ทาหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ในระบบนี้ ประกอบด้วยอวัยวะสาคัญ ได้แก่ 1. จมูก เป็นอวัยวะส่วนต้นของระบบหายใจ ทาหน้าที่เป็นทางผ่านของอากาศ ช่วยกรองฝุ่ น ละออง และเชื้อโรค บางส่วนก่อนอากาศจะผ่านไปสู่อวัยวะอื่นต่อไป 2. หลอดคอ (Pharynx) เมื่ออากาศผ่านรูจมูกแล้วก็ผ่านเข้าสู่หลอดคอ ซึ่งเป็นหลอดตั้งตรงยาวประมาณยาว ประมาณ 5 นิ้ว หลอดคอติดต่อทั้งช่องปากและช่องจมูก จึงแบ่งเป็นหลอดคอส่วนจมูก กับ หลอดคอส่วนปาก โดยมีเพดานอ่อนเป็นตัวแยกสองส่วนนี้ออกจากกัน โครงของหลอดคอประกอบด้วยกระดูกอ่อน 9 ชิ้นด้วยกัน ชิ้นที่ใหญ่ทีสุด คือกระดูกธัยรอยด์ ที่เราเรียกว่า "ลูกกระเดือก" ในผู้ชายเห็นได้ชัดกว่าผู้หญิง 3. หลอดเสียง (Larynx) เป็นหลอดยาวประมาณ 4.5 cm ในผู้ชาย และ 3.5 cm ในผู้หญิง หลอดเสียงเจริญเติยโต ขึ้นมาเรื่อยๆ ตามอายุ ในวัยเริ่มเป็นหนุ่มสาว หลอดเสียงเจริญขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในผู้ชาย เนื่องจาก สายเสียง (Vocal cord) ซึ่งอยู่ภายในหลอดเสียงนี้ยาวและหนาขึ้นอย่างรวดเร็วเกินไป จึงทาให้เสียงแตกพร่า การเปลี่ยนแปลงนี้เกิดจากฮอร์โมนของเพศชาย 4. หลอดลม (Trachea) เป็นส่วนที่ต่ออกมาจากหลอดเสียง ยาวลงไปในทรวงอก ลักษณะรูปร่างของหลอดลมเป็น หลอดกลมๆ ประกอบด้วยกระดูกอ่อนรูปวงแหวน หรือรูปตัว U ซึ่งมีอยู่ 20 ชิ้น วางอยู่ทางด้านหลังของ หลอดลม
  • 25. 5. ปอด (Lung) เป็นอวัยวะที่สาคัญที่สุดของระบบหายใจ มีอยู่สองข้าง วางอยู่ในทรวงอก มีรูปร่างคล้ายกรวย มี ปลายหรือยอดชี้ขึ้นไปข้างบนและไปสวมพอดีกับช่องเปิดแคบๆของทรวงอก ซึ่งช่องเปิดแคบๆนี้ประกอบด้วย ซี่โครงบนของกระดูกสันอกและกระดูกสันหลัง ฐานของปอดแต่ละข้างจะใหญ่และวางแนบสนิทกับกระบังลม ระหว่างปอด 2 ข้าง มีหัวใจอยู่ ปอดข้างขวาจะโตกว่าปอดข้างซ้ายเล็กน้อย และมีอยู่ 3 ก้อน ส่วนข้างซ้ายมี 2 ก้อน หน้าที่ของปอด คือ การนาก๊าซ CO2 ออกจากเลือด และนาออกซิเจนเข้าสู่เลือด ปอดจึงมีรูปร่างใหญ่ มีลักษณะ ยืดหยุ่นคล้ายฟองน้า 6. เยื่อหุ้มปอด (Pleura) เป็นเยื่อที่บางและละเอียดอ่อน เปียกชื้น และเป็นมันลื่น หุ้มผิวภายนอกของปอด เยื่อหุ้มนี้ ไม่เพียงคลุมปอดเท่านั้น ยังไปบุผิวหนังด้านในของทรวงอกอีก เครื่องมือ spirometer
  • 26. กลไกการทางานของระบบหายใจ  1. การหายใจเข้า (Inspiration) กะบังลมจะเลื่อนต่ำลง กระดูกซี่โครงจะเลื่อนสูงขึ้น ทำให้ ปริมำตรของช่องอกเพิ่มขึ้น ควำมดันอำกำศในบริเวณรอบ ๆ ปอดลดต่ำลงกว่ำอำกำศ ภำยนอก อำกำศภำยนอกจึงเคลื่อนเข้ำสู่จมูก หลอดลม และไปยังถุงลมปอด  2. การหายใจออก (Expiration) กะบังลมจะเลื่อนสูง กระดูกซี่โครงจะเลื่อนต่ำลง ทำให้ ปริมำตรของช่องอกลดน้อยลง ควำมดันอำกำศในบริเวณรอบ ๆ ปอดสูงกว่ำอำกำศ ภำยนอก อำกำศภำยในถุงลมปอดจึงเคลื่อนที่จำกถุงลมปอดไปสู่หลอดลมและออกทำง จมูก  สิ่งที่กำหนดอัตรำกำรหำยใจเข้ำและ ออก คือ ปริมำณก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ในเลือด  ถ้ำปริมำณก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ในเลือดใน เลือดต่ำจะทำให้กำรหำยใจช้ำลง เช่น กำร นอนหลับ ถ้ำปริมำณก๊ำซคำร์บอนไดออกไซด์ในเลือดในเลือดสูงจะทำให้กำรหำยใจเร็ว ขึ้น เช่น กำรออกกำลังกำย
  • 28. 6. ระบบขับถ่ายของเสีย  ระบบขับถ่ายมีอวัยวะต่าง ๆ ทาหน้าที่ขับถ่ายหรือกาจัดของเสียที่ร่างกายไม่ ต้องการออกจากร่างกาย คือ ปัสสาวะและเหงื่อขับออกโดย ไตและต่อมเหงื่อ อุจจาระขับออกโดยลาไส้ใหญ่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ขับออกโดยปอด อวัยวะ หน้าที่ในระบบขับถ่าย ปอด ขับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ผิวหนัง ขับน้าและเกลือ ออกในรูปของ เหงื่อ ไต ขับปัสสาวะ ลาไส้ ขับกากที่เป็นของแข็งจากอาหารออกทาง ทวารหนัก
  • 29.  ไต (Kidney) ทาหน้าที่กาจัดของเสียในรูปของน้าปัสสาวะ มี 1 คู่ รูปร่างคล้ายเมล็ดถั่วดา อยู่ในช่อง ท้องสองข้างของกระดูกสันหลังระดับเอว ถ้าผ่าไตตามยาวจะพบว่าไตประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชั้น คือ เปลือกไตชั้นนอกกับเปลือกไตชั้นใน มีขนาดยาวประมาณ 10 เซนติเมตร กว้าง 6 เซนติเมตร หนา 3 เซนติเมตร บริเวณตรงกลางของไตมีส่วนเว้าเป็นกรวยไต มีหลอดไตต่อไปยังกระเพาะปัสสาวะ ไตแต่ละข้างประกอบด้วยหน่วยไต (nephron) นับล้านหน่วยเป็นท่อที่ขดไปมาโดยมีปลายท่อ ข้างหนึ่งต้น เรียกปลายท่อที่ตันนี้ว่า “ โบว์แมนส์แคปซูล (Bowman scapsule)” ซึ่งมีลักษณะเป็นแอ่ง คล้ายถ้วยภายในแอ่งจะมีกลุ่มเลือดฝอยพันกันเป็นกระจุกเรียกว่า “ โกลเมอรูลัส (glomerulus)” ซึ่งทา หน้าที่กรองของเสียออกจากเลือดที่ไหลผ่านไต
  • 30.  ระบบขับถ่ายปัสสาวะ ระบบขับถ่ายปัสสาวะเป็นระบบหลักของร่างกายที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการขจัดสิ่งที่ ร่างกายไม่ต้องการ ปอดและผิวหนังรวมอยู่ในกระบวนการนี้ด้วย ซึ่งทาหน้าขจัดแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์และเหงื่อตามลาดับ  อวัยวะที่ทาหน้าที่ขับถ่ายปัสสาวะประกอบด้วย ไต หลอดไต กระเพาะปัสสาวะ และท่อ ปัสสาวะ ไตเป็นอวัยวะที่สาคัญที่สุด มีรูปร่างคล้ายเมล็ดถั่วแดง ทาหน้าที่ดูดซึม สารอาหารที่ เป็นประโยชน์ต่อร่างกายกลับคืนสู่กระแสเลือด และขับถ่ายของเสียออกจากเลือด คือ น้า ปัสสาวะให้ไหลไปตามหลอดไต เข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ เมื่อมีปริมาณมากก็จะถูกขับออกจาก ร่างกายทางท่อปัสสาวะ การบารุงและดูแลรักษาไต ควรปฏิบัติดังนี้ 1. ดื่มน้าสะอาดให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย 2. ไม่รับประทานอาหารที่มีรสเค็มจัด 3. ไม่กลั้นปัสสาวะเป็นเวลานาน ๆ 4. หากมีอาการผิดปกติควรรีบปรึกษาแพทย์
  • 31.  ระบบการขับถ่ายเหงื่อ อวัยวะสาคัญที่ทาหน้าที่ขับเหงื่อออกจากร่างกาย คือ ต่อมเหงื่อ ซึ่งอยู่ใต้ ผิวหนัง ทา หน้าที่กลั่นกรองเอาเกลือแร่และน้าที่เป็นของเสียที่ปนอยู่ในกระแสเลือด และขับ ออกในรูปของ เหงื่อไปตามท่อของต่อมเหงื่อ ออกทางรูเหงื่อที่ผิวหนัง การขับถ่ายดังกล่าวยัง เป็นการระบาย ความร้อนออกนอกร่างกายด้วย ฉะนั้นเราจึงควรออกกาลังกายสม่าเสมอ เพื่อให้ ร่างกายแข็งแรง มีสุขภาพสมบูรณ์ดี
  • 32. 7. ระบบโครงกระดูก (skeleton system)  ระบบโครงกระดูก เป็นระบบที่ทาหน้าที่เป็นเครื่องค้าจุนร่างกายให้คงรูปอยู่ได้ และช่วยใน การเคลื่อนไหวและเคลื่อนที่  ส่วนประกอบของระบบโครงกระดูก คือ กระดูก กระดูกอ่อน เอ็นลิกาเมนต์ เอ็นเท็นดอน  โครงกระดูกทาหน้าที่เป็นโครงหลักสาหรับให้กล้ามเนื้อและเอ็นมายึดเพื่อให้ร่างกายคงรูปอยู่ ได้ และป้ องกันอันตรายให้แก่วัยวะบางส่วนของร่างกายนอกจากนี้ยังเป็นที่อยู่ของเนื้อสร้าง เม็ดเลือดด้วย  โครงกระดูกของคนมี 206 ชิ้น แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มตามตาแหน่งที่อยู่ ได้แก่ 1. โครงกระดูกแกน ในผู้ใหญ่ประกอบด้วยกระดูกจานวน 80 ชิ้น ซึ่งวางตัวในแนวแกนกลาง ของลาตัว ซึ่งได้แก่ กะโหลกศีรษะ กระดูกหู กระดูกโคนลิ้น กระดูกสันหลัง กระดูกซี่โครง กระดูกอก 2. โครงกระดูกรยางค์ ในผู้ใหญ่จะมีทั้งหมด 126 ชิ้น ซึ่งจะอยู่ในส่วนแขนและขาของร่างกายเพื่อ ช่วยในการเคลื่อนไหว โดยจะแบ่งออกเป็น 6 ส่วน ได้แก่ กระดูกส่วนไหล่ กระดูกแขน กระดูกมือ กระดูกเชิงกราน กระดูกขา กระดูกเท้า
  • 33. ชนิดของกระดูก  เราสามารถจาแนกรูปร่างของกระดูกในมนุษย์ได้เป็นห้าแบบด้วยกัน ได้แก่  กระดูกแบบยาว (Long bone) เป็นกระดูกที่มีความยาวมากกว่าความกว้าง และ ประกอบด้วยส่วนกลางกระดูก หรือไดอะไฟซิส (diaphysis) และส่วนปลายกระดูก หรืออิพิไฟซิส (epiphyses) กระดูกชนิดนี้เป็นชนิดที่พบได้ทั่วไปในกระดูกรยางค์  กระดูกแบบสั้น (Short bone) เป็นกระดูกที่มีลักษณะคล้ายลูกบาศก์ เช่นกระดูกของ ข้อมือและข้อเท้า  กระดูกแบบแบน (Flat bone) เป็นกระดูกที่มีลักษณะเป็นระนาบหรือโค้ง แต่จะมีชั้น ของกระดูกเนื้อแน่นขนานไปกับกระดูกเนื้อโปร่ง ตัวอย่างเช่นกระดูกของกะโหลก ศีรษะ และกระดูกอก  กระดูกรูปร่างไม่แน่นอน (Irregular bone) เป็นกระดูกที่มีรูปร่างพิเศษ เช่นที่พบใน กระดูกสันหลัง และกระดูกเชิงกราน  กระดูกเซซามอยด์ (Sesamoid bone) จัดเป็นกระดูกแบบสั้นรูปแบบหนึ่ง แต่เป็น กระดูกที่ฝังตัวอยู่ในเอ็น ตัวอย่างที่เห็นชัดคือกระดูกสะบ้า (patella) ที่ฝังอยู่ในเอ็น ของบริเวณเข่า
  • 34. หน้าที่ของกระดูก  หน้าที่หลักของกระดูก ได้แก่  การป้ องกันอวัยวะภายในที่สาคัญ เช่น กะโหลกศีรษะที่ป้ องกันสมอง หรือ กระดูกซี่โครงที่ป้ องกันอวัยวะในทรวงอกจากอันตรายและการกระทบกระเทือน  การค้าจุนโครงร่างของร่างกาย  การเคลื่อนไหว โดยกระดูกทาหน้าที่เป็นจุดเกาะของกล้ามเนื้อและเอ็นต่างๆ และ ยังประกอบเข้าด้วยกันเป็นข้อต่อที่ทาให้ร่างกายเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆได้  การผลิตเม็ดเลือด โดยไขกระดูกที่อยู่ภายใน เป็นแหล่งผลิตเม็ดเลือดแดงและเม็ด เลือดขาวที่สาคัญ  การเก็บสะสมแร่ธาตุ โดยเฉพาะแคลเซียมและฟอสฟอรัส นอกจากนี้ยังดึงเอา โลหะหนักบางชนิดที่อยู่ในกระแสเลือดมาเก็บไว้ เพื่อลดความเป็นพิษลง
  • 35.
  • 36. 8. ระบบกล้ามเนื้อ (Muscular system)  ในร่างกายมนุษย์ มีกล้ามเนื้อมากกว่า 500 มัด น้าหนักรวมกันประมาณครึ่งหนึ่งของ ร่างกาย การเคลื่อนไหวส่วนใหญ่ของร่างกายสัตว์และส่วนต่างๆ ของร่างกายมีต้นเหตุ มาจากการทางานของกล้ามเนื้อด้วยการหดตัว (contraction) จะมีข้อยกเว้นบ้างบาง อย่างเช่นการเคลื่อนไหวนั้นอาจเกิดจากแรงโน้มถ่วงของโลก (gravity) หรือ แรง ภายนอกร่างกายได้ นอกจากนี้กล้ามเนื้อยังทาหน้าที่ช่วยป้ องกันการเคลื่อนไหวของข้อ ต่อ (ช่วยให้ข้อต่อมีความแข็งแรงทนทาน), ทาให้กระเพาะปัสสาวะคงรูปอยู่ได้, ทาให้ ร่างกายเกิดความร้อนด้วยการสั่นเนื่องจากภาวะอากาศเย็น
  • 37. ชนิดของกล้ามเนื้อ  กล้ามเนื้อสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด ได้แก่  กล้ามเนื้อโครงร่าง (Skeletal Muscle) เป็นกล้ามเนื้อที่อยู่ใต้อานาจจิตใจ (Voluntary) สามารถ ควบคุมได้ ยึดติดกับกระดูก (bone) โดยเอ็นกล้ามเนื้อ (tendon) ทาหน้าที่เคลื่อนไหวโครงกระดูก เพื่อการเคลื่อนที่ของร่างกายและเพื่อรักษาท่าทาง (posture) ของร่างกาย การควบคุมการคงท่าทาง ของร่างกายอาศัยรีเฟล็กซ์ (reflex) ที่อยู่นอกอานาจจิตใจ เมื่อขยายเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อลายดูจะพบว่า มีลักษณะเป็นลาย โดยทั่วไปร่างกายผู้ชายประกอบด้วยกล้ามเนื้อโครงร่าง 40-50% ส่วนผู้หญิงจะ ประกอบด้วยกล้ามเนื้อโครงร่าง 30-40%  กล้ามเนื้อเรียบ (Smooth Muscle) เป็นกล้ามเนื้อที่อยู่นอกอานาจจิตใจ (Involuntary) ไม่สามารถ ควบคุมได้ พบดาดอยู่ที่ผนังของอวัยวะภายใน (Viseral Organ) เช่น หลอดอาหาร (esophagus) , กระเพาะอาหาร (stomach) , ลาไส้ (intestine) , หลอดลม (bronchi) , มดลูก (uterus) , ท่อปัสสาวะ (urethra) , กระเพาะปัสสาวะ (bladder) , และหลอดเลือด (blood vessel)  กล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac Muscle) เป็นกล้ามเนื้อที่อยู่นอกอานาจจิตใจเช่นกัน แต่เป็นกล้ามเนื้อ ชนิดพิเศษที่พบเฉพาะในหัวใจ เป็นกล้ามเนื้อที่บีบตัวให้หัวใจเต้น
  • 38. 1. กล้ามเนื้อลาย (Striated Muscles) 2. กล้ามเนื้อเรียบ (Smooth Muscles) 3. กล้ามเนื้อหัวใจ (Cardiac Muscles)
  • 39.  ความสาคัญของกล้ามเนื้อ (The Muscle) การเคลื่อนไหวส่วนใหญ่ของร่างกายสัตว์ และส่วนต่างๆ ของร่างกายมีต้นเหตุมา จากการ ทางานของกล้ามเนื้อด้วยการหดตัว (contraction) จะมีข้อยกเว้นบ้างบางอย่าง เช่น การเคลื่อนไหวนั้นอาจเกิดจากแรงโน้มถ่วงของ โลก (gravity) หรือ แรงภายนอก ร่างกายได้ นอกจากนี้กล้ามเนื้อยังทาหน้าที่ช่วยป้ องกันการ เคลื่อนไหวของข้อต่อ (ช่วย ให้ข้อต่อมีความ แข็งแรงทนทาน), ทาให้กระเพาะปัสสาวะคงรูป อยู่ได้, ทาให้ร่างกาย เกิดความร้อนด้วยการสั่น เนื่องจากภาวะอากาศเย็น
  • 40. 9. ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system)  สิ่งแวดล้อมรอบตัวเรา ทั้งภายในและภายนอกร่างกายเต็มไปด้วยจุลินทรีย์ขนาดเล็กที่มอง ด้วยตาเปล่าไม่เห็น ส่วนใหญ่จุลินทรีย์ที่อยู่รอบตัวเราเหล่านี้ไม่ใช่เชื้อก่อโรคแต่ประการใด แต่ก็มีจุลินทรีย์อีกมากมายที่ก่อให้เกิดโรคติดเชื้อ เรียกว่าเชื้อโรค  เพื่อป้ องกันร่างกายจากเชื้อโรคเหล่านี้ มนุษย์เรามีระบบภูมิคุ้มกันที่ทาหน้าที่อย่างทรง ประสิทธิภาพในการกาจัดเชื้อโรคออกไป หากภูมิคุ้มกันบกพร่อง แม้จะพัฒนายาต้านจุลชีพ ที่ดีเลิศเพียงใด ก็อาจจะไม่สามารถรักษาชีวิตคนเราจากโรคติดเชื้อไว้ได้ เพราะการที่จะหาย จากโรคติดเชื้อได้นั้น ภูมิคุ้มกันในร่างกายเป็นผู้ช่วยตัวสาคัญที่สุด  ระบบภูมิคุ้มกัน หรือ Immune system คือระบบที่คอยปกป้ องร่างกายของเราจากสิ่ง แปลกปลอมต่างๆ ที่อาจเข้ามาทาอันตรายร่างกายเราได้ เช่น เชื้อโรคชนิดต่างๆ ได้แก่ แบคทีเรีย ไวรัส ปรสิต รา พยาธิ รวมถึงสิ่งแปลกปลอมอื่นๆ เช่น เซลล์ที่กาลังเจริญเติบโต ไปเป็นมะเร็ง อวัยวะของผู้อื่นที่ปลูกถ่ายเข้ามาในร่างกาย การได้รับเลือดผิดหมู่ สารก่อ ภูมิแพ้ ฯลฯ สิ่งต่างๆ เหล่านี้มีคุณสมบัติเป็นสิ่งแปลกปลอมที่ร่างกายยังไม่รู้จัก เรียกว่า antigen
  • 41. ชนิดเซลล์เม็ดเลือดขาวในระบบภูมิคุ้มกัน 1. เซลล์เม็ดเลือดขาวชนิด ลิมโฟไซต์ ในต่อมน้าเหลือง สามารถสร้างสาร แอนติทอกซิน เพื่อทาลาย สารพิษที่เชื้อโรคสร้างขึ้นได้ด้วย 2. เซลล์เม็ดเลือดขาวชนิดฟาโกไซต์ สามารถ ทาลายเชื้อโรคได้ด้วย เรียกว่า “ฟาโกไซโตซีส” เมื่อมีข้าศึก คือเชื้อโรค หรือสิ่งแปลกปลอมบุกรุกร่างกาย หน่วย รบแนวหน้าฟาโกไซต์จะตรงไปโอบล้อม และ กาจัดสิ่งแปลกปลอมหรือเชื้อโรคที่ หลุดรอดเข้ามาในร่างกาย เชื้อโรคที่หลุดเข้าไปถูก ย่อยทาลาย และขับออกนอกเซลล์ แต่หากผู้บุกรุกมีจานวนมากหรือร้ายกาจจนหน่วยรบแนวหน้าสู้ไม่ไหว ร่างกายจาเป็นต้องพึ่ง ทหารหน่วยรบแนวหลังอีกกลุ่มร่วมด้วย คือ ลิมโฟไซต์ (Lymphocyte) ซึ่ง แบ่งเป็น 2 ฝ่ าย คือ -- ทีเซลล์ (T-lymphocyte หรือ Killer cell) ซึ่งเป็นเซลล์นักฆ่า ที่ออกตามล่าศัตรูที่ยังเหลือ -- บีเซลล์ (B-Lymphocyte) จะช่วยทีเซลล์ เมื่อทีเซลล์รับมือกับเชื้อโรคไม่ได้ ทาหน้าที่เฉพาะ กิจที่สามารถกวาดล้างเชื้อโรค โดยการสร้างสารภูมิคุ้มกันเฉพาะโรคหรือแอนติบอดีขึ้นมาเพื่อทาลาย ผู้รุกรานให้หมดไปจากร่างกาย นอกจากนี้ยังสามารถสามารถจดจาเชื้อโรคที่เคยบุกรุกเข้ามาใน ร่างกายได้อย่างแม่นยา
  • 42.
  • 43.
  • 44. ภูมิคุ้มกันของร่างกายมนุษย์ ได้แก่ 1) ภูมิคุ้มกันโดยกาเนิด เป็นการป้ องกันและกาจัดแอนติเจนที่เกิดขึ้นเองในร่างกาย ก่อนที่ร่างกายจะ ได้รับแอนติเจน มีหลายรูปแบบ เช่น - เหงื่อ มีกรดแลกติกป้ องกันเชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายทางผิวหนัง - หลอดลม โพรงจมูก มีขน ซิเลีย และน้าเมือกดักจับสิ่งแปลกปลอม - กระเพาะอาหาร และลาไส้เล็กมีเอนไซม์ - น้าลาย น้าตา น้ามูก มีไลโซไซม์ ทาลายจุลินทรีย์ได้ 2) ภูมิคุ้มกันจาเพาะ เกิดขึ้นเมื่อร่างกายเคยได้รับแอนติเจนแล้ว การสร้างระบบภูมิคุ้มกันต่อต้านเฉพาะโรคของมนุษย์มี 2 วิธี 1) ภูมิคุ้มกันก่อเอง - เกิดจากการนาเชื้อโรคที่อ่อนกาลัง ซึ่งเรียกว่า วัคซีน (vaccine) มาฉีด กิน ทา เพื่อกระตุ้นให้ร่างกาย สร้างแอนติบอดีต่อต้านเชื้อนั้นๆ - วัคซีนที่เป็นสารพิษและหมดความเป็นพิษแล้ว เรียกว่า ทอกซอยด์ (toxoid) สามารถกระตุ้นให้สร้าง ภูมิคุ้มกันได้ เช่น วัคซีนคุ้มกันโรคคอตีบ บาดทะยัก - วัคซีนที่ได้จากจุลินทรีย์ที่ตายแล้ว เช่น โรคไอกรน ไทฟอยด์ อหิวาตกโรค - วัคซีนที่ได้จากจุลินทรีย์ที่ยังมีชีวิตอยู่ เช่น วัณโรค หัด โปลิโอ คางทูม หัดเยอรมัน - ภูมิคุ้มกันก่อเอง อยู่ได้นาน แต่การตอบสนองค่อนข้างช้า ประมาณ 4 - 7 วัน
  • 45. 2) ภูมิคุ้มกันรับมา ( Passive immunization ) - เป็นการนาซีรัมที่มีแอนติบอดีอยู่มาฉีดให้ผู้ป่ วย ทาให้ได้รับภูมิคุ้มกันโดยตรงต่อต้านโรคได้ ทันที - ใช้รักษาโรครุนแรงเฉียบพลัน เช่น คอตีบ พิษงู - ซีรัม ผลิตจากการฉีดเชื้อโรคที่อ่อนกาลังเข้าในสัตว์ แล้วนาซีรัมของสัตว์ที่มีแอนติบอดี รักษาโรคในมนุษย์ - ภูมิคุ้มกันที่แม่ให้ลูกผ่านทางรกและน้านมหลังคลอด - ภูมิคุ้มกันรับมารักษาโรคได้ทันที แต่อยู่ได้ไม่นานและผู้ป่ วยอาจแพ้ซีรัมสัตว์ก็ได้ ข้อควรจา * ทอกซอยด์ ( TOXOID ) ทามาจากสารพิษที่หมดสภาพความเป็นพิษ เช่น คอตีบ บาดทะยัก * วัคซีน เป็นเชื้อโรคที่กาลังอ่อนกาลังหรือตายแล้ว แต่ยังมีแอนติเจน ที่สามารถไปกระตุ้นให้ ร่างกาย สร้าง แอนติบอดี เพื่อทาลายเชื้อโรคก่อนที่จะเป็นอันตรายต่อร่างกาย ดังนั้นเราจึง ต้องได้รับวัคซีนให้ ครบทุกชนิด * เซรุ่ม เป็นสาร แอนติทอกซิน ที่สร้างมาจากที่อื่น เพื่อให้ทาลายได้เร็วก่อนที่พิษจะเข้าสู่จุด ดับของชีวิต
  • 46.
  • 47. 10. ระบบต่อมไร้ท่อและประสาท 10.1 ระบบประสาท ระบบประสาทเป็นศูนย์กลางที่ควบคุมการทางานของร่างกาย ในการแสดงปฏิกิริยาตอบสนอง ต่อสิ่ง เร้า โดยทาหน้าที่ประสานสัมพันธ์ระหว่างอวัยวะสัมผัสกับอวัยวะมอเตอร์ ควบคุมการทางาน ของ กล้ามเนื้อ การทางานของต่อมและระบบต่าง ๆ ในร่างกาย อีกทั้งเป็นศูนย์ของความรู้สึกนึกคิด สติปัญญา การเรียนรู้ ความจา ตลอดจนการปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม ระบบประสาทประกอบด้วย 1. สมอง (Brain) เป็นศูนย์ควบคุมทั้งหมดของร่างกาย มีเยื่อหุ้ม 3 ชั้น แบ่งสมองออกเป็น 3 ส่วน 1.1 ซีรีบรัม(สมองส่วนหน้า) มีขนาดใหญ่ที่สุด ทาหน้าที่รับความรู้สึกและสั่งการ 1.2 ซีรีเบลรัม(สมองส่วนหลัง) ทาหน้าที่ควบคุมกิจกรรมของกล้ามเนื้อ การเคลื่อนไหว และสมดุล 1.3 ก้านสมอง ทาหน้าที่ควบคุม การหายใจ หัวใจ หลั่งน้าย่อย หลั่งฮอร์โมน 2. ไขสันหลัง (Spinal cord) เป็นทางผ่านของกระแสประสาทต่อมาจากสมองบรรจุอยู่ภายในกระดูก สันหลัง เป็นศูนย์กลางควบคุมการทางานแบบ รีเฟลกซ์แอกชั่น คือ การตอบสนองแบบไม่ตั้งใจโดยไม่ ผ่านสมอง เช่น การดีดเท้าเมื่อเคาะหัวเข่า การกระดกเท้าเมื่อเหยียบหนาม
  • 48.
  • 49.
  • 50.
  • 51. 3. เส้นประสาท (Nerve) เส้นประสาทแต่ละเส้นจะมีเซลส์ประสาท (Neuron) หลาย ๆ เซลส์ เรียงต่อกัน เซลส์ประสาทกระจายไป เลี้ยงทั้งร่างกาย มีประมาณ 12,000 ล้านเซลส์ ในไขสันหลัง และสมองมีเซลส์ประสาทมากที่สุด องค์ประกอบได้แก่ 1. ตัวเซลล์ประสาท (cell body) 2. ใยประสาท (cell process หรือ nerve fiber) - เดนไดรต์ (dendrite) - แอกซอน (axon)
  • 52. 10.2 ระบบต่อมไร้ท่อ ฮอร์โมน คือ สารเคมีที่สร้างจากเนื้อเยื่อหรือต่อมไร้ท่อ แล้วถูกลาเลียงไปตามระบบหมุน เวียนของโลหิต เพื่อทาหน้าที่ ควบคุมการเจริญเติบโต ควบคุมลักษณะทางเพศ และควบคุม การทางาน ของระบบต่าง ๆ ใน ร่างกาย 1. ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง 1.1. ต่อมใต้สมองส่วนหน้า ทาหน้าที่ผลิตฮอร์โมน ดังนี้ - ฮอร์โมนโกรท (Growth hormone) ควบคุมการเจริญเติบโต ของร่างกาย โรคที่เกิดจากมี ฮอร์โมน โกรทในร่างกายมากเกินไป จะเป็นโรคอะโครเมกาลี (acromegaly) คือจมูก ปาก มือ เท้าใหญ่ - ฮอร์โมนโกนาโดโทรฟิน (Conadotrophin hormone) ประ กอบด้วยฮอร์โมนกระตุ้นฟอลลิเคิล F.S.H. ฮอร์โมนลูทิไนซ์ ในเพศหญิง - ฮอร์โมน F.S.H. กระตุ้นให้ฟอลลิเคิลแบ่งเซล และการหลั่ง ของ L.H. ทาให้เกิดการตกไข่ ใน เพศชาย - ฮอร์โมนโพรแลกติน (prolactin) มีหน้าที่กระตุ้นต่อมน้านม ให้สร้างน้านม - ฮอร์โมนอะดรีโนคอร์ติโคโทรฟิน (adrenocorticotrophin hormone) หรือ A.C.T.H ทาหน้าที่ กระตุ้น อะดรีนัล คอร์เทกซ์ ของต่อมหมวกไตให้สร้างฮอร์โมนตามปกติ
  • 53. - ฮอร์โมนกระตุ้นไทรอยด์ (thyroid stimulating hormone) หรือ TSH ทาหน้าที่กระตุ้นต่อม ไทรอยด์ ให้หลั่งฮอร์โมนตาม ปกติ ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้าจะควบคุมโดยฮอร์โมน ประสาทที่สร้างมา จากไฮโพทาลามัส 1.2. ต่อมใต้สมองส่วนกลาง ทาหน้าที่ผลิตฮอร์โมน ดังนี้ - ฮอร์โมนเมลาโนไซต์ (Melanocyte stimulating hormone) หรือ MSH ทาหน้าที่ทาให้รงค วัตถุ ภายในเซล ผิวหนังกระจายไปทั่วเซลล์ 1.3. ต่อมใต้สมองส่วนหลัง เซลนิวโรซีครีทอรี (neurosecretory cell) สร้างฮอร์โมน ได้แก่ - วาโซเพรสซิน (Vasopressin) หรือฮอร์โมนแอนติไดยูเรติก ADH มีหน้าที่ดูดน้ากลับของ หลอดไต และกระตุ้นให้หลอด เลือดบีบตัว ถ้าขาดฮอร์โมนนี้จะเกิดการเบาจืดทาให้ปัสสาวะ บ่อย - ออกซีโทซิน (Oxytocin) ทาหน้าที่กระตุ้นกล้ามเนื้อเรียบและอวัยวะภายใน กระตุ้นกล้ามเนื้อ รอบต่อมน้านมให้ขับน้านม ฮอร์โมนนี้จะหลั่งออกมามากตอนคลอด เพื่อช่วยให้กล้ามเนื้อ มดลูก บีบตัวขณะคลอด ไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์ ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมน ได้แก่ 1. อินซูลิน สร้างจากเซลเบตา มีหน้าที่รักษาระดับ น้าตาลในเลือดให้ปกติ 2. กลูคากอน (glucagon) สร้างมาจากแอลฟาเซล มี หน้าที่กระตุ้นการสลายตัวของไกล โคเจน จากตับให้เป็นน้าตาล กลูโคสมากขึ้น
  • 54.
  • 55. 2. ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต - ฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ (Glucocorticoid hormone) ทาหน้าที่ควบคุมเมตาโบลิซึมของ คาร์โบไฮเดรต กระตุ้นการเปลี่ยนคาร์โบไฮเดรตและไกลโคเจนเป็นกลูโคส และยังควบคุมสมดุล ของ เกลือแร่ - ฮอร์โมนมิเนราโลคอทิคอยด์ (mineralocorticoid) ทาหน้าที่ควบคุมสมดุลของน้าและเกลือแร่ใน ร่างกาย เช่น อัลโดสเตอโรน (aldosterone) ทาหน้าที่ดูดโซเดียมกลับท่อหน่วยไต อะดรีนัล เมดุลลา ผลิตฮอร์โมนดังนี้ - อะดรีนาลิน (adrenalin) ทาให้น้าตาลในเลือดเพิ่มขึ้น และกระตุ้นการเต้นของหัวใจ - นอร์อะดรีนาลิน (noradrenalin) หลั่งจากเส้นประสาทซิมพาเทติก ทาให้ความดันเลือดสูง 3. ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ - ไทรอกซิน (thyroxin) ทาหน้าที่ควบคุมอัตราการเผาผลาญอาหารต่าง ๆ ในร่างกาย ถ้าต่อม ไทรอยด์ไม่สามารถสร้างไทรอกซินจะทาให้ เกิดโรคคอพอก , มิกซีดีมา แต่ถ้าสร้าง ฮอร์โมนมาก เกินไป ทาให้เกิดโรคคอพอกเป็นพิษ - แคลซิโทนนิน (Calcitonin) ทาหน้าที่ลดระดับแคลเซียมใน เลือด - พาราฮอร์โมน (parathormone) ทาหน้าที่รักษาสมดุลและฟอสฟอรัสในร่างกายให้คงที่
  • 56.  4. ฮอร์โมนจากอวัยวะเพศ เพศชาย : ฮอร์โมนแอนโดรเจน (androgens) ประกอบ ไป ด้วยเทสโทสเตอโรน (testosteron) มีหน้าที่ควบคุม ลักษณะเกี่ยวกับ การเปลี่ยนแปลงของเพศชายในช่วงวัยรุ่น เพศหญิง : 1. เอสโทรเจน (estrogens) สร้างจากเซลล์ ฟอล ลิเคิลในรังไข่ ฮอร์โมนนี้จะต่าในขณะมีประจาเดือน 2. ฮอร์โมนโปรเจสเทอโรน(progesterone) สร้างจาก คอร์ปัสลูเทียม ควบคุมลักษณะเกี่ยวกับการ เปลี่ยนแปลงของร่างกายในช่วงวัยรุ่น 5. ฮอร์โมนจากต่อมไพนีล ต่อมไพนีลอยู่บริเวณกึ่งกลางของ สมองส่วนเซ รีบรัมพู ซ้ายและพูขวา ต่อมนี้ไม่ได้ทหน้าที่สร้างฮอร์โมน ต่อมนี้จะ สร้างเมลาโทนิน (melatonin) ในคนและสัตว์ ชั้นสูงในช่วง วัยรุ่นและยับยั้งการเจริญเติบของอวัยวะ สืบพันธุ์ ถ้าขาดจะ ทาให้เด็กเป็นหนุ่มสาวเร็วกว่าปกติ
  • 57.
  • 58. 11. ระบบผิวหนัง ระบบผิวหนังเป็นระบบที่สาคัญมาก เพราะเป็นระบบที่ปกคลุมร่างกายและเป็นระบบที่ ใหญ่ที่สุด หน้าที่ของระบบผิวหนัง 1. ป้ องกันอันตรายจากแสงแดด สารเคมี ฯลฯ 2. รับความรู้สึก มีประสาทสัมผัส 3. ควบคุมการทางานต่างๆ ภายในร่างกาย เป็นแหล่งสะสมพลังงานและสร้างวิตามินดี 4. ควบคุมความร้อนของร่างกายโดยการทางานของต่อมไร้ท่อ ผิวหนังแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 1. ผิวหนัง ผิวหนังเป็นอวัยวะที่ใหญ่ที่สุดของร่างกาย มี 2 ชั้นได้แก่ 1.1 หนังกาพร้า (Epidermis) คือผิวหนังที่อยู่ชั้นนอกสุด จะตายร่วงหลุดไป เซลล์ชั้น ใต้จะสร้างขึ้นมาแทนที่ ผิวหนังจะมี melanocytes เป็น cell รูปดาว ทาให้อวัยวะที่มีมากมีสี คล้าทาให้เกิดสีผิวแตกต่างกัน แต่ถ้าไม่มี melanocytes จะทาให้เกิดเป็นคนเผือก จะมีผิว ขาวสู้แสงไม่ได้
  • 59. 1.2 หนังแท้ (Dermis) อยู่ลึกกว่าหนังกาพร้า มีความยาวประมาณ 1-2 มิลลิเมตร รอยต่อ ของหนังกาพร้าและหนังแท้จะเป็นคลื่นที่ยื่นขึ้นและลง เป็นสันนูน เรียกว่า ลายมือ (Finger print) แต่ละคนจะแตกต่างกัน บริเวณหนังแท้จะมีต่อมน้ามัน ต่อมเหงื่อ ต่อมขน เส้นเลือด ท่อ น้าเหลือง และประสาทรับความรู้สึก 2. อวัยวะต่างๆ ที่เกิดมาจากผิวหนังอวัยวะต่างๆ ที่เกิดมาจากผิวหนังได้แก่ ขน ต่อมน้ามัน ต่อมเหงื่อ และเล็บ (nail)
  • 60.  การดูแลรักษาผิวหนัง ทุกคนย่อมมีความต้องการมีผิวหนังที่สวยงาม สะอาด ไม่เป็นโรคและไม่เหี่ยว ย่นเกินกว่าวัย ฉะนั้นจึงควรดูแลรักษาผิวหนังตัวเอง ดังนี้ 1. อาบน้าชาระร่างกายให้สะอาดอยู่เสมอ โดย 1.1 อาบน้าอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง ในเวลาเช้าและเย็น เพื่อช่วยชาระล้างคราบเหงื่อไคล และ ความสกปรกออกไป 1.2 ฟอกตัวด้วยสบู่ที่มีฤทธิ์เป็นด่างอ่อนๆ 1.3 ทาความสะอาดให้ทั่ว โดยเฉพาะบริเวณใต้รักแร้ ขาหนีบ ข้อพับ อวัยวะเพศ ง่ามนิ้วมือ นิ้วเท้า ใต้คาง และหลังใบหู เพราะเป็นที่อับและเก็บความชื้น อยู่ได้นาน 1.4 ในขณะอาบน้า ควรใช้นิ้วมือ หรือฝ่ ามือ ถูตัวแรงๆ เพราะนอกจากช่วยให้ร่างกายสะอาดแล้ว ยังช่วยให้การหมุนเวียนของเลือดดีขึ้น 1.5 เมี่ออาบน้าเสร็จ ควรใช้ผ้าเช็ดตัวที่ สะอาด เช็ดตัวให้แห้ง แล้วจึงค่อยสวมเสื้อผ้า
  • 61. 2. หลังอาบน้าแล้ว ควรใส่เสื้อผ้าที่สะอาด และเหมาะสมกับอากาศและงานที่ปฏิบัติ เช่น ถ้าอากาศ ร้อนก็ควรใส่เสื้อผ้าบาง เพื่อไม่ให้เหงื่อออกมาก เป็นต้น 3. กินอาหารให้ถูกต้องและครบถ้วนตามหลัก โภชนาการ โดยเฉพาะอาหารที่มีวิตามินเอ เช่น พวก น้ามันตับปลา ตับสัตว์ เนย นม ไข่แดง เครื่องในสัตว์ มะเขือเทศ มะละกอ รวมทั้งพืชใบเขียวและ ใบเหลือง วิตามินเอ จะช่วยให้ผิวหนังชุ่มชื้น ไม่เป็นสะเก็ด แห้ง ทาให้เล็บไม่เปราะ และยังทาให้เส้น ผมไม่ร่วงง่ายอีกด้วย 4. ดื่มน้ามากๆ เพื่อทาให้ผิวหนังเปล่งปลั่ง 5. ออกกาลังกายสม่าเสมอ เพื่อช่วยให้การ หมุนเวียนของเลือดดีขึ้u 6. ควรให้ผิวหนังได้รับแสงแดดสม่าเสมอ โดย เฉพาะเวลาเช้าซึ่งแดดไม่จัดเกินไป และพยายาม หลีก เลี่ยงการถูกแสงแดดจ้า เพราะจะทาให้ผิวหนังเกรียม และกร้านดา 7.ระมัดระวังโนการใช้เครื่องสาอาง เพราะ อาจเกิดอาการแพ้ หรือทาให้ผิวหนังอักเสบ เป็น อันตรายต่อผิวหนังได้ หากเกิดอาการแพ้ต้องเลิกใช้ เครื่องสาอางชนิดนั้นทันที 8. เมื่อมีสิ่งผิดปกติใดๆ เกิดขึ้นกับผิวหนัง ควรปรึกษาแพทย์
  • 62.  ร่างกายมนุษย์ประกอบด้วยระบบต่างๆ ประกอบกันเป็นร่างกาย การทางานของอวัยวะจะทางาน สัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ เช่น ระบบย่อยอาหาร ประกอบด้วยอวัยวะหลายอวัยวะ ซึ่งอวัยวะบาง อวัยวะ ไม่มีสารย่อยแต่เกี่ยวข้องกับระบบย่อยอาหาร ระบบหมุนเวียนเลือดในร่างกาย อวัยวะที่ เกี่ยวข้องคือ หัวใจ เส้นเลือด การหดและการขยายตัวของเส้นเลือดตามจังหวะการเต้นของหัวใจ เรียกว่า ชีพจร ระบบหายใจ การหายใจของมนุษย์มีผลต่อการแลกเปลี่ยนแก๊สในถุงลมปอด ซึ่ง ประกอบด้วย อวัยวะต่างๆ คือ จมูก ปอด ถุงลม กล้ามเนื้อ กะบังลม และซี่โครง ระบบขับถ่ายจะมี อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการขับถ่ายของเสียในรูปของเหลว คือ ไต และผิวหนังใน รูปของแก๊ส คือ ปอด ในรูปของของแข็ง คือ ลาไส้ใหญ่
  • 63.  ขณะออกกาลังกาย ร่างกายต้องใช้พลังงานมาก จึงต้องการแก๊สออกซิเจน และสารอาหาร เพิ่ม มากขึ้น เพื่อใช้ในกระบวนการเปลี่ยนแปลงสารอาหารให้เกิดพลังงาน ระบบหายใจจึงต้อง ทางาน หนัก เราจึงหายใจถี่และเร็วเพื่อนาแก็สออกซิเจนเข้าสู่ร่างกาย และนาแก๊สคาร์บอนได ออกไซด์ ออกไป การหมุนเวียนเลือดในร่างกายก็จะเป็นไปอย่างรวดเร็วหัวใจจะเต้นเร็วเพื่อสูบ ฉีดเลือดให้ ทันต่อความต้องการของร่างกาย ของเสียในรูปของเหลวก็จะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ระบบขับถ่าย ของร่างกายก็จะขับเหงื่อออกจานวนมาก หลังจากออกกาลังกายก็จะรู้สึกหิว และ กระหายน้า เรา จึงต้องดื่มน้าและกินอาหาร ส่งผลให้ระบบย่อยอาหารต้องทางานต่อไป การทางานของระบบ ต่างๆ ทางานสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่อง หากระบบใดระบบหนึ่ง บกพร่องไปร่างกายก็จะอ่อนแอ ส่งผลต่อสุขภาพได้