SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  66
Télécharger pour lire hors ligne
1
บทที่ 4
การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
(Reproduction & Development)
ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
รายวิชาชีววิทยา 1 รหัสวิชา ว32141
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
2
ความสาคัญของการสืบพันธุ์ คือ สิ่งจาเป็นต่อการต่อเนื่องของสิ่งมีชีวิต
และเป็นกลไกช่วยให้เกิดวิวัฒนาการ ในระดับ organism การสืบพันธุ์แบ่งออกเป็น 2
แบบ คือ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ และ การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต ( Organismic reproduction)
3
1. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (asexual reproduction)
เป็นการผลิตหน่วยสิ่งมีชีวิตใหม่จากหน่วยสิ่งมีชีวิตเดิม โดยอาศัยการ
แบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิส มีหลายแบบ
Binary Fission (การแบ่งออกเป็น 2 ส่วน) เซลล์เดิมแยกออกเป็น 2 ส่วนเท่าๆกัน ได้
สิ่งมีชีวิตใหม่ 2 ตัว ได้แก่ สาหร่ายเซลล์เดียว อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา แบคทีเรีย
amoeba
4
Budding (การแตกหน่อ) สิ่งมีชีวิตตัวใหม่เจริญมาจากกลุ่มเซลล์ที่เรียกว่าหน่อ (bud) ซึ่งยอก
ออกจากสิ่งมีชีวิตตัวเดิม เช่นการแตกหน่อของยีสต์ ,ไฮดรา ,กล้วย, ใบต้นตายใบเป็น,ไผ่
การสร้างกลุ่มเซลล์พิเศษ ในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังบางชนิด เช่นฟองน้ามีการสร้างเจมมูล
(gemmules) เจริญอยู่ภายในร่างกาย ภายในเจมมูลมีกลุ่มเป็นจานวนมาก ซึ่งเมื่อตัวเดิมตายไป เจม
มูลจะหลุดออกมาเป็นอิสระ และเซลล์ที่อยู่ภายในจะเจริญเป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่
5
Fragmentation เกิดขึ้นโดยที่ส่วนของร่างกายหลุดออกเป็นส่วนๆ แต่ละส่วนสามารถเจริญเป็น
สิ่งมีชีวิตตัวใหม่ได้
-ต้องเกิดพร้อมกับ regeneration
-พบใน ไฮดรา,ดอกไม้ทะเล,พลานาเรีย,ดาวทะเล
-regeneration ทาให้สิ่งมีชีวิตสามารถสร้างส่วนที่ขาดหายไปทดแทนขึ้นมาใหม่ได้ (arm ของ
ดาวทะเล)
Sporulation (การสร้างสปอร์) เซลล์มีการแบ่งหลายๆครั้งจนได้เป็นเซลล์จานวนมาก แต่ละ
เซลล์เรียกสปอร์ ซึ่งแพร่ไปในที่ต่างๆได้โดยง่าย เช่น เชื้อรา ,เห็ด,เฟริ์น มอส
6
ข้อดีของ asexual reproduction
1. เป็นประโยชน์สาหรับสัตว์พวกที่เกาะอยู่กับที่ ซึ่งไม่สามารถผสมพันธุ์กับตัวอื่น
2. สามารถเพิ่มจานวนได้รวดเร็ว
3. ประโยชน์ที่สาคัญคือ ลักษณะที่เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อมยังคงอยู่ต่อไปในรุ่นต่อๆไป
7
2. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction)
เป็นการผลิตหน่วยของสิ่งมีชีวิตโดยการรวมตัวของเซลล์สืบพันธุ์หรือ
หน่วยของพันธุกรรม ซึ่งอาจมาจากสิ่งมีชีวิตแต่ละตัวหรือสิ่งมีชีวิตตัวเดียวกันก็ได้
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศแบ่งออกได้เป็นดังนี้
2.1 conjugation ตัวอย่างเช่น โปรโตซัวจะมีการ conjugation ระหว่างโปรโตซัว 2 ตัว นิวเคลียสของ
โปรโตซัวทั้งสองจะมีการแบ่งตัวแบบไมโอซิส ต่อจากนั้นมีการแลกเปลี่ยนนิวเคลียส หลังจากที่
นิวเคลียสรวมตัวกันแล้ว โปรโตซัวทั้งสองตัว จะแยกจากกันและต่างก็ไปแบ่งตัวต่อไป
8
2.2 สาหรับในสิ่งมีชีวิตอื่นๆ เกิดจากการรวมตัวกันของเซลล์สืบพันธุ์ที่มีขนาดและ
รูปร่างต่างกัน เซลล์สืบพันธุ์เพศเมียหรือไข่มีขนาดใหญ่ และไม่เคลื่อนที่ เซลล์สืบพันธุ์
เพศผู้มีขนาดเล็ก ได้แก่ ไฮดรา,ไส้เดือน,คน เป็นต้น
ข้อดีของ sexual reproduction
เป็นการเพิ่มความแตกต่างแปรผันทางพันธุกรรม (genetic variation) ซึ่งมีประโยชน์ใน
สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง
9
การสืบพันธุ์ของสัตว์บางชนิด อาจเกิดขึ้นโดยวิธีที่เรียกว่า parthenogenesis คือเซลล์สืบพันธุ์
เพศเมียเจริญเป็นสิ่งมีชีวิตที่สมบูรณ์โดยไม่ต้องมีการปฏิสนธิ พบในสิ่งมีชีวิตหลายชนิด เช่น
ผึ้ง มด ต่อ แตน เพลี้ย rotifers และ crustaceans บางชนิด ตัวเต็มไวที่เจริญมาจาก
parthenogenesis จะเป็น haploid และเซลล์จะไม่มีการแบ่งแบบไมโอซิสในการสร้างไข่
สาหรับผึ้งนั้น ไข่ที่มีการปฏิสนธิจะเจริญเป็นนางพญา และผึ้งงานที่เป็นตัวเมีย
ทั้งหมด ส่วนไข่ที่ไม่มีการปฏิสนธิจะเจริญเป็นผึ้งตัวผู้
ปลาบางชนิด สัตว์สะเทินน้าสะเทินบก และสัตว์เลื้อยคลาน มีการสืบพันธุ์แบบ
parthenogenesis เช่นกัน โดยการเพิ่มจานวนโครโมโซมหลังการเกิดไมโอซิส เป็น diploid
zygote
10
Hermaphroditism เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิตหลายชนิดที่ไม่สามารถหาคู่ผสมพันธุ์ได้ ตัวอย่างเช่น พวกที่
อยู่กับที่ พวกอยู่ในรู หรือพวกปรสิต
- สิ่งมีชีวิตมีทั้ง 2 เพศในตัวเดียวกัน
- บางชนิดผสมภายในตัวเอง บางชนิดผสมข้ามตัว แต่เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพเป็น 2
เท่าในการเพิ่มจานวนลูกหลาน
สิ่งมีชีวิตบางชนิดอาจสลับกันทั้ง 2 เพศ หรือบางชนิดเป็น protogynous (female first)
หรือ protandrous (male first) หรือบางชนิดเกี่ยวข้องกับอายุและขนาดตัว
ตัวอย่างเช่น พวกที่เป็น protogynous ได้แก่ ปลา blue head wrasse ตัวที่แก่ที่สุด และ
ตัวใหญ่ที่สุดในฝูงปลาจะเป็นตัวผู้ เพื่อทาหน้าที่ป้ องกันอันตรายให้ฝูงปลา
พวกหอย oysters เป็น protandrous ตัวใหญ่จะกลายเป็นตัวเมียซึ่งสร้างไข่ได้เป็น
จานวนมาก
11
Mechanisms of sexual reproduction
Mechanisms of fertilization เป็นกระบวนการของการรวมกันของสเปิร์มและไข่ แบ่ง
ออกเป็น external fertilization และ internal fetilization
External fertilization
-เกิดขึ้นในสิ่งแวดล้อมที่มีความชิ้น ซึ่งความชื้นช่วยการเจริญของ เอมบริโอให้เป็นไป
ได้ โดยไม่แห้งหรือร้อนเกินไปซึ่งทาให้ตายได้
-สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหลายชนิดปล่อยสเปิร์มและไข่ลงในน้า และเกิดการปฏิสนธิ
ในน้าโดยที่ตัวพ่อและแม่ไม่ได้พบกันเลย
-สิ่งแวดล้อมและออร์โมนช่วยกระตุ้นให้มีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ในเวลาใกล้ๆกัน
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิสนธิ
-ในพวกสัตว์มีกระดูกสันหลัง ได้แก่ ปลาและสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก จะแสดง
พฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิสนธิและการเลือกคู่
-ในการป้ องกันเอมบริโอ เพื่อให้เจริญต่อไปได้ มีหลายขั้นตอน ดังนี้ เอมบริโอต้อง
อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีน้าหรือความชื้น เพื่อป้ องกันการแห้งหรือความร้อนจัด พวกไข่ปลาและไข่
สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าจะคลุมด้วย gelatinous coat เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนน้าและก๊าซได้ และ
นอกจากนี้จะมีไซโกตเป็นจานวนมาก แต่จานวนรอดชีวิตไม่มากนัก
12
Internal fertilization
เป็นการปฏิสนธิภายในร่างกายของตัวเมีย
- ต้องมีระบบสืบพันธุ์ที่เจริญดี และพฤติกรรมการเกี้ยวพาราสี
-ตัวผู้ต้องมีอวัยวะช่วยในการปล่อยสเปิร์ม มีถุงเก็บสเปิร์ม
-มีขั้นตอนป้ องกันการเจริญของเอมบริโอมากมาย
-ไข่มีเปลือกหุ้ม (amniotic egg)
-การเจริญของเอมบริโอเกิดภายในตัวเมีย
-มีการป้ องกันจากพ่อแม่ (parental care)
(parental care ส่วนมากเกิดในพวกที่เป็น internal fertilization แต่ external
fertilization บางชนิดก็มีเหมือนกัน เช่น nesting fishes แสดงพฤติป้ องกันไข่จากผู้ล่า)
-โดยมากสร้างไซโกตจานวนน้อย และสามารถเจริญต่อไปได้มากโดยมีการ
ป้ องกันและการเลี้ยงดูต่างๆ • Oviparous (สัตว์ที่ออกลูกเป็นไข่) ได้แก่สัตว์เลื้อยคลาน นก มีการปฏิสนธิ
ภายในตัวแต่ตัวอ่อนเจริญนอกตัวแม่จึงต้องมีการวางไข่
• Viviparous (สัตว์ออกลูกเป็นตัว) ตัวอ่อนเจริญภายในตัวแม่และได้รับ
อาหารจากแม่ ได้แก่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม
• Ovoviviparous (สัตว์ออกลูกเป็นไข่แต่ฟักอยู่ในตัว) มีการปฏิสนธิภายใน
ตัวและออกลูกเป็นไข่แต่ไข่ฟักอยู่ในตัวแม่
13
สัตว์มีระบบสืบพันธุ์แบบต่างๆ
สัตว์พวกไม่มีกระดูกสันหลัง มีความแตกต่างกันในแต่ละชนิด จากแบบง่ายๆจนถึง
แบบซับซ้อน
สัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง มีลักษณะคล้ายกัน แต่มีข้อแตกต่างที่สาคัญได้แก่
- ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมส่วนมาก มีทางเปิดของ digestive, excretory และ
reproductive tracts แยกกัน แต่ในพวกอื่นๆที่ไม่ใช่สัตว์เลี้ยงลูกด้วนนม หลายชนิดมีทางเปิด
ร่วม เรียกว่า cloaca
-สัตว์มีกระดูกสันหลังที่ไม่ใช่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ไม่มี penis ที่เจริญดี และใช้วิธีการ
อื่นในการส่ง สเปิร์ม
14
Metamorphosis
1. Complete metamorphosis
2. Incomplete metamorphosis
3. Gradual metamorphosis
4. Ametamorphosis
naiad
nymph

15
ระบบสืบพันธุ์ของคน
อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย (male genital organ) แบ่งเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ
1. อวัยวะสืบพันธุ์เพศชายภายนอก
(external malegenital organ)
1.1 ลึงค์(penis) เป็นส่วนใช้ในการร่วมเพศเป็นทางผ่าน
ของน้าอสุจิและน้าปัสสาวะ พบว่ามีเนื้อเยื่อที่แข็ง
ได้(erectile tissue) ประกอบด้วย คอร์พัสสปองจิ
โอซัม (corpus spongiosum) 1 อัน อยู่รอบท่อ
ปัสสาวะ และอีก 2 อันอยู่ทางด้านบน บริเวณ
ปลายสุดเรียกว่าหัวลึงค์ (gland penis) และมี
ผิวหนังหุ้มอยู่เรียกว่า พรีพิว (prepuce)
1.2 ถุงอัณฑะ(scrotum หรือ scrotal sec) เป็นผิวหนังที่
ยื่นออกจากช่องท้องเนื่องจากอัณฑะอยู่ในช่อง
ท้องเลื่อนลงมา โดยทาหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิ
โดยให้ต่ากว่า 3-5 องศาเซลเซียสของร่างกาย ซึ่ง
เหมาะสมต่อการสร้างอสุจิ
16
2. อวัยวะสืบพันธุ์เพศชายภายใน(internal male genital organ)
2.1 อัณฑะ(testis) มีอยู่ 2 เลื่อนจากช่องท้องลงมาถ้าไม่เลื่อนจะทาให้เป็นหมัน แต่ถ้าเลื่อนลงมาเพียงข้าง
เดียวเรียกว่า ทองแดง (crytochism)
2.1.1 หลอดสร้างอสุจิ (seminiferous tubule) เป็นท่อภายในอัณฑะมีเซลล์2 ชนิดคือ sertoli cell มี
ขนาดโตมีรูปร่างไม่แน่นอนเป็นตัวให้อาหารแก่เซลล์อีกชนิดหนึ่ง ได้แก่ spormatogonia ซึ่งจะแบ่งตัว
สร้างอสุจิต่อไปการสร้างอสุจิถูกควบคุมโดยฮอร์โมน FSH กับ textosterone ในอัณฑะ
2.1.2 เนื้อเยื่อ interstitial cell อยู่ระหว่างหลอดสร้างอสุจิประกอบด้วยเส้นเลือด เส้นประสาทและพวก
เซลล์ต่างๆ interstitial cell of leydig เป็นเซลล์ที่เจริญมากกว่าเซลล์อื่นถูกควบคุมโดยฮอร์โมน LH
17
2.2 ท่อต่างๆ(duct) ประกอบด้วย
2.2.1 เอพิดิไดมีส (epididymis) เป็นท่อยาวขดไปมาทาหน้าที่ในการเก็บอสุจิและสร้างอาหารเลี้ยง
อสุจิ สามารถพักได้นาน 6 สัปดาห์
2.2.2 ท่อนาอสุจิ (vas deferens) มีความยาวประมาณ 18 นิ้ว เป็นทางผ่านของอสุจิและเปิดเข้าสู่ท่อ
รวม เซมินัลเวซิเคิล(seminal vesicle) ในการทาหมันชายจะตัดส่วนนี้เองเรียกว่า วาเซกโทมี
(vasectomy)
2.3 ต่อมต่างๆ(accessory male genital glands)
2.3.1 ต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ (seminal vesicle) เป็นท่อ 2 ท่อ ขดไปมาทาหน้าที่ในการสร้างอาหาร
สาหรับอสุจิได้แก่ น้าตาลฟรักโตส วิตามินซี โปรตีนโกลบูลิน รวมกันเรียกว่า เซมินัลฟูลอิด
(seminal fluid) ถูกควบคุมโดยฮอร์โมนเทสโทสเทอโรนจากอัณฑะ
2.3.2 ต่อมลูกหมาก(prostate gland) สร้างสารสีขาวมีกลิ่นเฉพาะตัวมีกรดซิตริกรวมอยู่ด้วย เรียกว่า
prostatic fluid ช่วยทาให้ท่อปัสสาวะซึ่งเป็นกรดทาให้ลดความเป็นกรดลง
18
19
อวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิงภายนอก(external female genetial organ)
1. คลิทอริส (clitoris) เป็นส่วนที่มีลักษณะการเจริญเช่นเดียวกับลึงค์เป็นเนื้อเยื่อที่แข็งตัวได้มีปลาย
ประสาทมาสิ้นสุดมากจึงรับความรู้สึกได้เร็ว
2. แคมใหญ่ (labia majora) เป็นส่วนที่เจริญมาเช่นเดียวกับถุงอัณฑะของเพศชาย เป็นส่วนของผิวหนังที่มี
ชั้นไขมันอยู่
3. แคมล็ก (labia minora) เป็นส่วนอยู่ด้านในของแคมใหญ่ มีต่อมไขมันจานวนมากเพื่อช่วยในการหล่อ
ลื่นและกันการเสียดสีระหว่างการร่วมเพศ
20
อวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิงภายใน (internal female genetial organ)
2.1 รังไข่(ovary) ทาหน้าที่ในการสร้างไข่ และฮอร์โมนเพศ ในคนเราจะมีประมาณ4 แสนเซลล์แต่จะ
ตกไข่เพียง 400 เซลล์
2.2 มดลูก(uterus) ทาหน้าที่เป็นที่ฝังตัวของไข่ที่ได้รับการผสมและเป็นแหล่งให้กาเนิดประจาเดือน
และประกอบด้วย ปากมดลูก(cervix) ตัวมดลูก(body) ส่วนบนมดลูก(fundus) โดยผนังมดลูก
แบ่งออกเป็น 3 ชั้น โดยชั้นในมีชื่อว่า endometrium
2.3 ช่องคลอด(vagina) ที่ปากช่องคลอดมีเยื่อบางๆย่นๆบิดอยู่เรียกว่า เยื่อพรหมจารีย์(hymen) มีความ
เป็นกรดเล็กน้อยและโปรโตซัวที่พบในช่องคลอดได้แก่ Trichomonas vaginalis ซึ่งทาให้ผนัง
ช่องคลอดอักเสบเกิดการตกขาวได้
2.4 ท่อนาไข่(oviduct หรือ fallopian tube) เป็นท่อที่มีการปฏินธิกันโดยเกิดที่ส่วนที่บริเวณแอมพูลาจะ
มีการปฏิสนธิกันของอสุจิและไข่
21
22
23
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ (gametogenesis)
เมื่อมีการสืบพันธุ์เซลล์ที่จะทาหน้าที่สืบพันธุ์จะมีการแบ่งตัวแบบไมโอซิส เพื่อลดจานวน
โครโมโซมลงเหลือเพียงครึ่งหนึ่ง และมีกระบวนการที่เรียกว่า gametogenesis (กระบวนการ
ตั้งแต่เซลล์มีไมโอซิสและผ่านขั้นตอนต่างๆจนได้เป็นเซลล์สืบพันธุ์) เพื่อช่วยให้ได้เซลล์สืบพันธุ์
ที่สมบูรณ์พร้อมจะทาหน้าที่
Spermatogenesis
• เป็นกระบวนการที่เกิดต่อเนื่องในผู้ชาย ผลทาให้ได้สเปิร์ม 250-400 ล้านตัวในการฉีดแต่ละครั้ง
• เกิดขึ้นใน seminiferous tubules ของ testes
• เริ่มจาก primodial germ cells เปลี่ยนมาเป็น spermatogonia ใน embryonic testes (2n)
• spermatogonia อยู่ที่ผนังด้านข้างของ semniniferous tubules เพิ่มจานวนตลอดเวลา (mitosis)
• เมื่อถึงวัยเจริญพันธุ์ spermatogonia จะแบ่งตัวแบบ meiosis และเปลี่ยนแปลงรูปร่างจนได้ 4 สเปิร์ม
24
Spermatogenesis
แสดงท่อ seminiferous
tubules ที่ผลิตสเปิร์มภายใน
อัณฑะ สเปิร์มจะเจริญเป็น
ขั้นๆโดยเริ่มจาก
spermatogonium (2n)
เจริญเป็น primary
spermatocyte เซลล์นี้1
เซลล์แบ่งแบบ meiosis I
กลายเป็น secondary
spermatocyte 2 เซลล์ ใน
การแบ่งตัว meiosis II จะได้
spermatid 4 เซลล์
spermatid จะเปลี่ยนรูปร่าง
ไปเป็นสเปิร์ม ในขณะที่ได้
สารอาหารจาก sertoli cell
25
ส่วนหัวของสเปิร์มมี haploid nucleus และ acrosome ซึ่งมีเอนไซม์ช่วยในการเจาะเข้าไปในเซลล์
ไข่ ส่วนหางมีไมโตคอนเดรียจานวนมาก (หรือบางชนิดอาจมีไมโตคอนเดรียขนาดใหญ่เพียงอันเดียว)
ทาหน้าสร้าง ATP ช่วยในการเคลื่อนไหวของ flagella
26
Hormonal control of the testes
27
Oogenesis
การสร้างไข่เกิดขึ้นในรังไข่ เริ่มต้นจากกลุ่ม
primordial germ cell ในเอมบริโอเริ่มแบ่งแบบ
ไมโตซิสเพื่อเพิ่มจานวน ได้เป็น oogonium (2n)
(ในรูปนี้2n=4) แต่ละ oogonium เจริญไปเป็น
primary oocyte (2n) โดยแบ่งแบบไมโอซิสและ
หยุดกระบวนการอยู่ที่ระยะ prophase I เมื่อถึง
วัยเจริญพันธุ์ primary oocyte จะแบ่งตัวต่อไป
จนสิ้นสุดกระบวนการ meiosis I แต่การแบ่งไซ
โตพลาสซึมได้เซลล์ที่มีขนาดไม่เท่ากัน คือได้
secondary oocyteที่มีขนาดใหญ่ และ first
polar body ที่มีขนาดเล็กกว่ามาก ต่อมาในกรณี
ที่มีการผสมพันธุ์และสเปิร์มเจาะเข้าไปใน
secondary oocyte จะกระตุ้นให้เกิด meiosis
II เมื่อ meiosis เสร็จสิ้น secondary polar
body แยกออกจากไข่ (ovum) สเปิร์มและไข่ที่
เจริญเต็มที่แล้วจะเกิดการปฏิสนธิขึ้น
28
ไข่เจริญอยู่ภายในถุง
follicle ซึ่งเป็นช่องว่างภายใต้
ผิวของรังไข่ (1-3) หลังจาก
เซลล์ไข่หลุดจากถุงนี้ (4)
เซลล์ของถุงก็จะเจริญไป
เป็น corpus luteum ซึ่ง
แปลว่า ก้อนสีเหลือง (5) ถ้า
ไข่ไม่ได้รับการผสม corpus
luteum ก็จะฝ่อภายใน 2-3
สัปดาห์ (6) ถ้าไข่ได้รับการ
ผสมพันธุ์ corpus luteum ก็
จะยังคงอยู่และผลิตโปรเจส
เตอโรนซึ่งจะช่วยในการ
เตรียมมดลูกรอรับเอมบริโอ
29
รอบประจาเดือน(menstrual cycle)
1.ระยะก่อนตกไข่(follicle stage) FSH
กระตุ้นให้ฟอลลิเคิลขยายตัวเป็น
แกรเฟียนฟอลลิเคิลและมีการสร้า
อีสโทนเจนเพื่อกระตุ้นให้ผนังด้านใน
มดลูกหนาขึ้น
2.ระยะตกไข่(ovulation stage) LH เพิ่มขึ้น
อย่างมากมีผลต่อแกรเฟียนฟอลลิ
เคิลทาให้แตกออกไข่จึงหลุดออกมา
และเคลื่อนที่เข้าสู่ปีกมดลูก
3.ระยะหลังตกไข่(corpusluteum stage) ส่วน
ฟอลลิเคิลที่แตกออกจะเปลี่ยนเป็น
คอลพัสลูเทียม และส่วนนี้สร้าง
ฮอร์โมนโพรเจสเทอโรนและฮีสโทร
เจนกระตุ้นให้ผนังมดลูกหนามากขึ้น
พร้อมสาหรับการฝังตัวของไข่
30
Spermatogenesis Oogenesis
1. ผลที่ได้ 4 mature spermatozoa
2. เกิดตลอดเวลาในช่วงอายุของสิ่งมีชีวิต
3. Spermatogenesis เกิดต่อไปเรื่อยๆ
1. ผลที่ได้ single ovum ส่วน polar body สลายไป
2. Potentail ova (primary oocyte) อยู่ใน ovary
แล้วตั้งแต่เกิด
3. Oognesis มีช่วงพัก
31
Fertilization in Mammals
1. Capacitation (enhanced sperm function) จาก secretion ของท่อระบบสืบพันธุ์ของตัวเมีย
- เปลี่ยนโมเลกุลบางชนิดที่หัวของ sperm ทาให้ sperm เคลื่อนที่เร็วขึ้น
2. sperm จะต้องผ่าน Zona pellucida (extracellular matrix of the egg) เพื่อเกิดกระบวนการ
ต่อไปได้
กระบวนการปฏิสนธิของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
(1) สเปิร์มผ่านเข้าไปในชั้นของ follicle cells และรวมกับ receptor melecules ที่อยู่ที่ชั้น zona
pellucida (ในที่นี้ไม่ได้แสดง receptor molecule)
(2) acrosomal reaction เกิดขึ้นโดยสเปิร์มปล่อยเอนไซม์ย่อยชั้น zona pellucida
(3) ทาให้สเปิร์มสามารถเข้าไปถึง plasma membrane ของไข่ได้ และ membrane proteins
ของสเปิร์มรวมกับ receptor ที่ plasma membrane ของไข่
(4) plasma membrane ของสเปิร์มและไข่เชื่อมติดกัน ดังนั้นนิวเคลียสของสเปิร์มเข้าไปในไซ
โตพลาสซึมของไข่
(5) เกิด cortical reaction โดยเอนไซม์ที่ปล่อยออกมาจาก cortical granules ทาให้ชั้น zona
pellucida มีลักษณะแข็ง ทาหน้าที่ป้ องกันไม่ให้สเปิร์มตัวอื่นเข้าไปในไข่อีก (การที่สเปิร์ม
เข้าไปในไข่หลายตัว เรียกว่า polyspermy)
32
การปฏิสนธิ : acrosomal and cortical reactions
33
Sperm Enter Egg
1stand 2nd polar bodies
male pronucleus
(n) female pronucleus
(n)
male pronucleus
replicating its DNA
female pronucleus
replicating its DNA
Beginning of
first division
Fusion of nuclei
from egg and sperm
a.
b.
c.
d.
34
(1) ไข่ระยะ secondary oocyte ซึ่งพร้อมที่จะผสมพันธุ์หลุดออกจากรังไข่ (ovulation) เข้าไปอยูในท่อ
นาไข่ (oviduct) การปฏิสนธิเกิดขึ้นภายในท่อนาไข่ได้เป็นไซโกต (zygote)
(3) cleavage เริ่มเกิดขึ้นขณะที่เอมบริโอเคลื่อนตัวมาสู่มดลูก
(4) ขณะที่มาถึงมดลูกเอมบริโอจะมีการเคลื่อนที่ของกลุ่มเซลล์แยกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1. trophoblast
เป็นกลุ่มเซลล์ที่เรียงตัวกันชั้นเดียวอยู่รอบนอก ซึ่งต่อไปจะเจริญรวมกับเนื้อเยื่อของผนังมดลูกกลายเป็น
รก (placenta) 2. กลุ่มเซลล์ที่อยู่ภายใน เรียกว่า inner cell mass เป็นส่วนที่จะเจริญต่อไปเป็นเอมบริ
โอ เรียกเอมบริโอระยะนี้ว่า blastocyst
(5) blastocyst จะฝังตัวในผนังมดลูก ซึ่งเอมบริโอเจริญมาได้ประมาณ 7 วันหลังการปฏิสนธิ
35
The human life cycle
ข้อควรรู้เพิ่มเติม
- การผสมเทียมในหลอดแก้ว แล้วถ่ายฝากตัวอ่อน (In Vitro Fertilization Embryo Transfer
หรือ IVF& ET )
- การทาอิ๊กซี่ ( Intra Cytoplasmic Sperm Injection หรือ ICSI) คัดเชื้ออสุจิที่สมบูรณ์เพียงตัวเดียว
ฉีดเข้าไปในไข่โดยตรง ใช้ในกรณีที่เด็กหลอดแก้วธรรมดาไม่ประสบความสาเร็จ
- การทากิฟท์ ( Gamete IntraFollopain Transfer หรือ GIFT) นาเซลล์สืบพันธุ์ไข่และอสุจิมาผสม
กัน แล้วใส่กลับเข้าสู่ท่อนาไข่ทันทีอาศัยให้อสุจิและไข่ปฏิสนธิกันเองตามธรรมชาติ
- การทาซิฟท์ ( Zygote IntraFollopain Transfer หรือ ZIFT) เซลล์สืบพันธุ์ไข่และอสุจิมาปฏิสนธิ
นอกร่างกายก่อน แล้วจึงนาตัวอ่อนในระยะ Zygote ใส่กลับเข้าไปในท่อนาไข่
37
Embryonic development
เป็นการศึกษาช่วงระยะการเจริญของเอมบริโอ ซึ่งจะเริ่มต้นหลังจากไข่เกิดการ
ปฏิสนธิแล้ว เอมบริโอระยะแรกคือไซโกต ระยะเอมบริโอจะสิ้นสุดเมื่อเกิดอวัยวะต่างๆ
ครบ
ในสัตว์ชนิดต่างๆจะมีช่วงเวลาของการเกิดเอมบริโอแตกต่างกัน เช่นในคน
ประมาณ 8-10 สัปดาห์ ไก่ประมาณ 4 วัน และกบประมาณ 2 วัน เป็นต้น
จากไซโกตซึ่งเป็นเซลล์เดี่ยวไปสู่สภาพที่ซับซ้อนขึ้น โดยเกิดขึ้นเป็นลาดับ
ขั้นตอนต่างๆดังนี้
1. Cleavage
2. Blastula
3. Gastrulation
4. Organogenesis
38
1. Cleavage
2. Blastula
3. Gastrulation
4. Organogenesis
1
2
3 4
39
Cleavage
เป็นกระบวนการที่ไซโกตมีการแบ่งเซลล์แบบ mitotic division อย่างรวดเร็วทาให้
ได้เอมบริโอที่มีหลายเซลล์
40
Zygote ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่
1. vegetal pole
2. animal pole
•ไข่กบ 2 ส่วนนี้มีสีแตกต่างกัน
•cytoplasm ของไข่กบจัดเรียงตัวใหม่ขณะ
เกิด fertilization ทาให้เกิดบริเวณสีเทา ที่
เรียกว่า gray crescent ซึ่งเกิดบริเวณตรง
กลางของไข่ด้านตรงข้ามกับที่ sperm เจาะ
เข้าไป
•Cleavage ที่ animal pole เกิดขึ้นเร็วกว่าที่
vegetal pole
•ผลของ cleavage ได้เอมบริโอมีลักษณะ
เป็นก้อนกลมตัน เรียกว่า morula
•ต่อมาเกิดช่องว่างที่มีของเหลวบรรจุอยู่
(blastocoel) ภายใน morula เรียกเอมบริโอ
ระยะนี้ว่า blastula (blastulation)
คลีเวจของเอมบริโอสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า
41
คลีเวจของเอมบริโอสัตว์ปีกและสัตว์เลื้อยคลาน
สาหรับไข่พวกนกและสัตว์เลื้อยคลานเป็นไข่ที่มีไข่แดงมาก คลีเวจเป็นแบบ
meroblastic คือเซลล์ไม่แบ่งตัวตลอดไข่ แนวการแบ่งจะเกิดเฉพาะบริเวณด้านบนของ
ไข่ซึ่งมีไซโตพลาสซึมและนิวเคลียสอยู่เท่านั้น คือบริเวณ germinal disc
42
Blastula ของเอมบริโอ สัตว์ปีกและสัตว์เลื้อยคลาน
ลักษณะของ blastula เห็นเป็นแผ่น
เรียกว่า bastodisc ซึ่งจะเรียงตัวแยกเป็น 2 ชั้น
ชั้นนอกเรียก epiblast และชั้นในเรียก hypoblast
ช่องว่างตรงกลางเรียก blastocoel (blasstulation)
43
Gastrulation
Gastrulation เป็นกระบวนการเกิดเนื้อเยื่อ 3 ชั้น เรียก embryonic germ layers
1. ectoderm เนื้อชั้นนอกของ gastrula
2. mesoderm เนื้อชั้นกลาง
3. Endoderm เนื้อชั้นในซึ่งเป็นท่อยาว
ระยะเอมบริโอนี้เรียกว่า Gastrula
ระยะนี้เกิด cell motility changes in cell shape changes in cellular adhesion
44
กลุ่มเซลล์ทางด้านบนมีการแบ่งตัวอย่าง
รวดเร็ว และเคลื่อนที่แผ่ลงคลุมเซลล์ทาง
ด้านล่าง พร้อมกันนั้นตรงบริเวณที่จะเกิด
เกิดเป็น blastopore จะมีการบุ๋มตัวของ
กลุ่มเซลล์เหล่านี้ กลุ่มเซลล์ที่เคลื่อนที่จะ
ลงมาจากด้านบนและม้วนตัวผ่านตรง
blastopore เข้าสู่ภายใน ทาให้ได้เป็นเอมบ
ริโอที่มีเนื้อ 3 ชั้น ช่องว่างภายในที่เกิดขึ้น
ใหม่คือ archenteron
Gastrulation ของกบ
45
Gastrulation ของไก่
ระยะ gastrulation กลุ่มเซลล์ epiblast ด้านขวาและซ้ายจะเคลื่อนที่เข้าสู่แนวกลาง เรียกว่า
primitive streak และกลุ่มเซลล์จะม้วนตัวเข้าไปข้างใน โดยกลุ่มเซลล์ทางด้านหน้าสุดของ
primitive streak ที่เรียกว่า Hensen’s node ม้วนตัวเข้าไปก่อนเกิดเป็นแท่ง notochord บางกลุ่ม
เจริญเป็นชั้น mesoderm บางกลุ่มเคลื่อนที่ลงไปด้านล่างเกิดเป็น endoderm และกลุ่มเซลล์ที่อยู่
ด้านนอกเกิดเป็น ectoderm
46
Organogenesis
การเกิดอวัยวะต่างๆจากเนื้อเยื่อ 3 ชั้น
•neutral tube และ notochord เป็นอวัยวะแรกที่เกิดขึ้นในกบ และ สัตว์พวก chordate อื่นๆ
•dorsal mesoderm เหนือ archenteron รวมกันเกิดเป็น notochord
•ectoderm เหนือ notochord หนาตัวขึ้นเกิดเป็น neutral plate แล้วบุ๋มลงไปเป็น neutral tube ซึ่ง
ต่อไปจะเจริญเป็น brain, spinal cord
•อวัยวะอื่นๆเกิดขึ้นตามมา
47
Ectoderm ระบบสปกคลุมร่างกาย (หนังกาพร้า, ผม, เล็บ). ระบบประสาท (สมอง, ไขสันหลัง,
เรตินา, pituitary gland), สารเคลือบฟัน (enamel), adrenal medulla, เลนส์ตา
Mesoderm ระบบหมุนเวียนและน้าเหลือง, ระบบขับถ่าย, ระบบสืบพันธุ์, adrenal cortex,
กล้ามเนื้อและกระดูก, notochord, หนังแท้, เนื้อฟัน, เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
Endoderm Parathyroid gland, thyroid gland, ต่อมทอนซิล, ต่อมไทมัส, ตับ, ตับอ่อน, ทางเดิน
อาหาร, ทางเดินอากาศ, กระเพาะปัสสาวะ
Organogenesis
เมื่อกระบวนการ gastrulation เสร็จสิ้นลง เอมบริโอเข้าสู่ขั้นที่เตรียมพร้อมที่จะเติบโตอย่างอิสระ
เนื้อเยื่อต่างๆจะเรียงตัวตามตาแหน่งที่จะปรากฏในขั้นเต็มวัย จับกลุ่มกันขึ้นเป็นเนื้อเยื่อและอวัยวะ
ตามตาแหน่งที่เฉพาะเจาะจง และเริ่มอย่างมีอิสระแต่มีการประสานงานกัน มีการจับกลุ่มกันของ
เซลล์ขึ้นเป็นรูปร่าง
48
49
ในระยะเอมบริโอของสัตว์มีกระดูกสันหลัง มี pharyngeal pouches และ gill clefts
50
การเจริญของ extraembryonic membranes ของไก่ ประกอบด้วย 4 ชั้นได้แก่
Yolk sac มีลักษณะเป็นถุงหุ้มไข่แดง มีเซลล์ย่อยสลายไข่แดง และเยื่อหุ้มเจริญเป็นเส้นเลือด
ทาหน้าที่ลาเลียงอาหาร ด้านข้างแผ่เข้าไปคลุมเอมบริโอและในที่สุดเชื่อมติดกัน ทาให้เกิดเยื่อ
อีก 2 ชั้นได้แก่ amnion และ chorion เกิดเป็นช่องว่างหุ้มเอมบริโอไว้ เพื่อป้ องกันอันตราย
amnion เป็นถุงหุ้มเอมบริโอภายในมีน้าคร่า (amniotic fluid) โดยมี chorion หุ้มอยู่อีกชั้นหนึ่ง
นอกจากนี้มีถุงยื่นออกมาจากส่วนทางเดินอาหาร ทาหน้าที่กาจัดของเสีย เรียกว่า allantois ซึ่ง
จะแผ่ไปถึงและดันให้ chorion ติดกับเยื่อชั้นในของเปลือกไข่ (vitelline membrane) allantois
และ chorion รวมกันเจริญเป็นอวัยวะช่วยในการหายใจ โดยมีเส้นเลือดที่เจริญมาจาก
allantois ทาหน้าที่ลาเลียงออกซิเจน
51
(1) หลังจาก cleavage ได้ blastocyst ซึ่งประกอบด้วย
trophoblast และ inner cell mass มีช่อง blastocoel
(2) blastocyst เป็นระยะที่จะฝังตัวเข้าไปในมดลูก และ
gastrulation จะเกิดขึ้นทันที trophoblast เป็นกลุ่มเซลล์ที่
เรียงอยู่ด้านนอก ซึ่งจะเจริญรวมกับผนังมดลูก กลุ่มเซลล์
inner cell mass แยกตัวเป็น epiblast ซึ่งจะเจริญเป็นเนื้อ 3
ชั้น และ hypoblast ซึ่งจะแผ่ตัวเป็นเยื่อชั้นในเป็น yolk sac
(3) ระยะนี้trophoblast เริ่มเจริญร่วมกับผนังมดลูกเป็น
chorion ส่วน epiblast เจริญเป็น amnion ภายในมี
ของเหลวเรียกว่า น้าคร่า (amniotic fluid) บางส่วนของ
epiblast แยกเป็น mesodermal cell เจริญรวมกับ chorion
เป็นรก (placenta)
(4) กลุ่มเซลล์ epiblast มีการม้วนตัวเข้าสู่แนวกลางตัวเกิด
primitive streak และมีการม้วนตัวเข้าไปข้างใน เกิดเป็น
เนื้อ 3 ชั้น อยู่ภายใน extraembryonic membranes
การเจริญของเอมบริโอของคนและ extraembryonic membranes
52
Originofananimal’sbodyparts
53
การเจริญหลังระยะเอมบริโอ
•ในสัตว์บางชนิดเมื่อเอมบริโอเจริญมากขึ้นจนครบกาหนดแล้ว จะเจริญเป็นตัวเต็มวัยเลย
•สัตว์บางชนิดจะผ่านระยะที่เรียกว่า larva ซึ่งเริ่มตั้งแต่เอมบริโอฝักเป็นตัวจะกระทั่งมีการ
เปลี่ยนแปลง metamorphosis เกิดขึ้น เช่น ลูกอ๊อดของกบ แล้วจึงเจริญเป็นตัวเต็มวัย
•สาหรับในคน การเจริญระยะหลังเอมบริโอส่วนใหญ่เป็นการเติบโตที่มีการเพิ่มขนาด ปริมาตรน้าหนัก
อัตราการเติบโตของส่วนต่างๆของร่างกายจะไม่เท่ากัน
54
55
Human fetal development
56
57
การเกิดฝาแฝด (Twin)
มี 2 ประเภท คือ ฝาแฝดร่วมไข่ และฝาแฝดต่างไข่
1. แฝดร่วมไข่ เป็นฝาแฝดที่เกิดจากการรวมตัวกันของเซลล์ไข่ 1 ใบ และอสุจิ 1 ตัว ขณะที่กาลัง
เจริญเติบโตเอ็มบริโอมีการแบ่งเซลล์เช่น จาก 1 เป็น 2 และแยกขาดออกจากัน แต่ละส่วนจะ
เจริญเติบโตเป็นทารกที่มีอวัยวะครบสมบูรณ์จนกระทั่งคลอด แฝดประเภทนี้จะเป็นเพศเดียวกันเสมอมี
รูปร่างลักษณะเหมือนกัน และถ้าได้รับการเลี้ยงดูในสภาพแวดล้อเดียวกันจะมีอุปนิสัยและ
ความสามารถที่คล้ายกันมาก ในกรณีที่เอ็มบริโอแบ่งตัว ออกเป็น 2 แต่ไม่แยกออกจากกัน เมื่อทารก
เจริญเติบโตจะได้ทารกตัวติดกัน
2. แฝดต่างไข่ เป็นแฝดที่เกิดจากมีไข่สุกมากกว่า 1 ใบ ไข่แต่ละใบจะมีโอกาสเข้าผสมกับตัวอสุจิแต่
ละตัวและเกิดการปฏิสนธิในเวลาใกล้เคียงกัน จะได้เอ็มบริโอ เจริญเติบโตอยู่ภายในมดลูกเดียวกัน แต่
แยกรกกันและทารกจะคลอดออกมาในเวลาใกล้เคียงกัน ฝาแฝดชนิดนี้อาจเป็นเพศเดียวกันหรือต่าง
เพศกันก็ได้ ส่วนหน้าตาและลักษณะทางพันธุกรรมจะมีลักษณะคล้ายกัน
58
การเกิดฝาแฝด
59
60
61
62
63
การนับวัน
การแท้ง
64
65
66
“THE END”
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION !

Contenu connexe

Tendances

Pat2 มีนาคม 2553
Pat2 มีนาคม 2553Pat2 มีนาคม 2553
Pat2 มีนาคม 2553Gitniphat Prom
 
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาวหน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาวkrupornpana55
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์dnavaroj
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์Lilrat Witsawachatkun
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลWichai Likitponrak
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4Puchida Saingchin
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชLi Yu Ling
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์Wan Ngamwongwan
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1Yaovaree Nornakhum
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวสุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Wichai Likitponrak
 

Tendances (20)

BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Pat2 มีนาคม 2553
Pat2 มีนาคม 2553Pat2 มีนาคม 2553
Pat2 มีนาคม 2553
 
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาวหน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
หน่วยย่อยที่ 2 กลุ่มดาว
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
 
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืชการแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
การแลกเปลี่ยนแก๊ส การคายน้ำ และการลำเลียงสารในพืช
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต   2559
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต 2559
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62Lesson5animalgrowth kr uwichai62
Lesson5animalgrowth kr uwichai62
 

Similaire à สืบพันธุ์

ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์Wichai Likitponrak
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2Coverslide Bio
 
การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์
การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์
การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์สงบจิต สงบใจ
 
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาI'mike Surayut
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตIssara Mo
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์Wan Ngamwongwan
 

Similaire à สืบพันธุ์ (20)

การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
1 repro
1 repro1 repro
1 repro
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
 
1
11
1
 
1
11
1
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2
 
การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์
การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์
การสืบพันธุ์และหารเจริญเติบโตของสัตว์
 
Reproduction
ReproductionReproduction
Reproduction
 
Reproduction
ReproductionReproduction
Reproduction
 
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
1
11
1
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 

Plus de Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

Plus de Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 
Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61
 

สืบพันธุ์

  • 1. 1 บทที่ 4 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (Reproduction & Development) ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ รายวิชาชีววิทยา 1 รหัสวิชา ว32141 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนศีลาจารพิพัฒน์
  • 2. 2 ความสาคัญของการสืบพันธุ์ คือ สิ่งจาเป็นต่อการต่อเนื่องของสิ่งมีชีวิต และเป็นกลไกช่วยให้เกิดวิวัฒนาการ ในระดับ organism การสืบพันธุ์แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ และ การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต ( Organismic reproduction)
  • 3. 3 1. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (asexual reproduction) เป็นการผลิตหน่วยสิ่งมีชีวิตใหม่จากหน่วยสิ่งมีชีวิตเดิม โดยอาศัยการ แบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิส มีหลายแบบ Binary Fission (การแบ่งออกเป็น 2 ส่วน) เซลล์เดิมแยกออกเป็น 2 ส่วนเท่าๆกัน ได้ สิ่งมีชีวิตใหม่ 2 ตัว ได้แก่ สาหร่ายเซลล์เดียว อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา แบคทีเรีย amoeba
  • 4. 4 Budding (การแตกหน่อ) สิ่งมีชีวิตตัวใหม่เจริญมาจากกลุ่มเซลล์ที่เรียกว่าหน่อ (bud) ซึ่งยอก ออกจากสิ่งมีชีวิตตัวเดิม เช่นการแตกหน่อของยีสต์ ,ไฮดรา ,กล้วย, ใบต้นตายใบเป็น,ไผ่ การสร้างกลุ่มเซลล์พิเศษ ในสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังบางชนิด เช่นฟองน้ามีการสร้างเจมมูล (gemmules) เจริญอยู่ภายในร่างกาย ภายในเจมมูลมีกลุ่มเป็นจานวนมาก ซึ่งเมื่อตัวเดิมตายไป เจม มูลจะหลุดออกมาเป็นอิสระ และเซลล์ที่อยู่ภายในจะเจริญเป็นสิ่งมีชีวิตตัวใหม่
  • 5. 5 Fragmentation เกิดขึ้นโดยที่ส่วนของร่างกายหลุดออกเป็นส่วนๆ แต่ละส่วนสามารถเจริญเป็น สิ่งมีชีวิตตัวใหม่ได้ -ต้องเกิดพร้อมกับ regeneration -พบใน ไฮดรา,ดอกไม้ทะเล,พลานาเรีย,ดาวทะเล -regeneration ทาให้สิ่งมีชีวิตสามารถสร้างส่วนที่ขาดหายไปทดแทนขึ้นมาใหม่ได้ (arm ของ ดาวทะเล) Sporulation (การสร้างสปอร์) เซลล์มีการแบ่งหลายๆครั้งจนได้เป็นเซลล์จานวนมาก แต่ละ เซลล์เรียกสปอร์ ซึ่งแพร่ไปในที่ต่างๆได้โดยง่าย เช่น เชื้อรา ,เห็ด,เฟริ์น มอส
  • 6. 6 ข้อดีของ asexual reproduction 1. เป็นประโยชน์สาหรับสัตว์พวกที่เกาะอยู่กับที่ ซึ่งไม่สามารถผสมพันธุ์กับตัวอื่น 2. สามารถเพิ่มจานวนได้รวดเร็ว 3. ประโยชน์ที่สาคัญคือ ลักษณะที่เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อมยังคงอยู่ต่อไปในรุ่นต่อๆไป
  • 7. 7 2. การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction) เป็นการผลิตหน่วยของสิ่งมีชีวิตโดยการรวมตัวของเซลล์สืบพันธุ์หรือ หน่วยของพันธุกรรม ซึ่งอาจมาจากสิ่งมีชีวิตแต่ละตัวหรือสิ่งมีชีวิตตัวเดียวกันก็ได้ การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศแบ่งออกได้เป็นดังนี้ 2.1 conjugation ตัวอย่างเช่น โปรโตซัวจะมีการ conjugation ระหว่างโปรโตซัว 2 ตัว นิวเคลียสของ โปรโตซัวทั้งสองจะมีการแบ่งตัวแบบไมโอซิส ต่อจากนั้นมีการแลกเปลี่ยนนิวเคลียส หลังจากที่ นิวเคลียสรวมตัวกันแล้ว โปรโตซัวทั้งสองตัว จะแยกจากกันและต่างก็ไปแบ่งตัวต่อไป
  • 8. 8 2.2 สาหรับในสิ่งมีชีวิตอื่นๆ เกิดจากการรวมตัวกันของเซลล์สืบพันธุ์ที่มีขนาดและ รูปร่างต่างกัน เซลล์สืบพันธุ์เพศเมียหรือไข่มีขนาดใหญ่ และไม่เคลื่อนที่ เซลล์สืบพันธุ์ เพศผู้มีขนาดเล็ก ได้แก่ ไฮดรา,ไส้เดือน,คน เป็นต้น ข้อดีของ sexual reproduction เป็นการเพิ่มความแตกต่างแปรผันทางพันธุกรรม (genetic variation) ซึ่งมีประโยชน์ใน สิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง
  • 9. 9 การสืบพันธุ์ของสัตว์บางชนิด อาจเกิดขึ้นโดยวิธีที่เรียกว่า parthenogenesis คือเซลล์สืบพันธุ์ เพศเมียเจริญเป็นสิ่งมีชีวิตที่สมบูรณ์โดยไม่ต้องมีการปฏิสนธิ พบในสิ่งมีชีวิตหลายชนิด เช่น ผึ้ง มด ต่อ แตน เพลี้ย rotifers และ crustaceans บางชนิด ตัวเต็มไวที่เจริญมาจาก parthenogenesis จะเป็น haploid และเซลล์จะไม่มีการแบ่งแบบไมโอซิสในการสร้างไข่ สาหรับผึ้งนั้น ไข่ที่มีการปฏิสนธิจะเจริญเป็นนางพญา และผึ้งงานที่เป็นตัวเมีย ทั้งหมด ส่วนไข่ที่ไม่มีการปฏิสนธิจะเจริญเป็นผึ้งตัวผู้ ปลาบางชนิด สัตว์สะเทินน้าสะเทินบก และสัตว์เลื้อยคลาน มีการสืบพันธุ์แบบ parthenogenesis เช่นกัน โดยการเพิ่มจานวนโครโมโซมหลังการเกิดไมโอซิส เป็น diploid zygote
  • 10. 10 Hermaphroditism เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิตหลายชนิดที่ไม่สามารถหาคู่ผสมพันธุ์ได้ ตัวอย่างเช่น พวกที่ อยู่กับที่ พวกอยู่ในรู หรือพวกปรสิต - สิ่งมีชีวิตมีทั้ง 2 เพศในตัวเดียวกัน - บางชนิดผสมภายในตัวเอง บางชนิดผสมข้ามตัว แต่เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพเป็น 2 เท่าในการเพิ่มจานวนลูกหลาน สิ่งมีชีวิตบางชนิดอาจสลับกันทั้ง 2 เพศ หรือบางชนิดเป็น protogynous (female first) หรือ protandrous (male first) หรือบางชนิดเกี่ยวข้องกับอายุและขนาดตัว ตัวอย่างเช่น พวกที่เป็น protogynous ได้แก่ ปลา blue head wrasse ตัวที่แก่ที่สุด และ ตัวใหญ่ที่สุดในฝูงปลาจะเป็นตัวผู้ เพื่อทาหน้าที่ป้ องกันอันตรายให้ฝูงปลา พวกหอย oysters เป็น protandrous ตัวใหญ่จะกลายเป็นตัวเมียซึ่งสร้างไข่ได้เป็น จานวนมาก
  • 11. 11 Mechanisms of sexual reproduction Mechanisms of fertilization เป็นกระบวนการของการรวมกันของสเปิร์มและไข่ แบ่ง ออกเป็น external fertilization และ internal fetilization External fertilization -เกิดขึ้นในสิ่งแวดล้อมที่มีความชิ้น ซึ่งความชื้นช่วยการเจริญของ เอมบริโอให้เป็นไป ได้ โดยไม่แห้งหรือร้อนเกินไปซึ่งทาให้ตายได้ -สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหลายชนิดปล่อยสเปิร์มและไข่ลงในน้า และเกิดการปฏิสนธิ ในน้าโดยที่ตัวพ่อและแม่ไม่ได้พบกันเลย -สิ่งแวดล้อมและออร์โมนช่วยกระตุ้นให้มีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ในเวลาใกล้ๆกัน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิสนธิ -ในพวกสัตว์มีกระดูกสันหลัง ได้แก่ ปลาและสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก จะแสดง พฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิสนธิและการเลือกคู่ -ในการป้ องกันเอมบริโอ เพื่อให้เจริญต่อไปได้ มีหลายขั้นตอน ดังนี้ เอมบริโอต้อง อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีน้าหรือความชื้น เพื่อป้ องกันการแห้งหรือความร้อนจัด พวกไข่ปลาและไข่ สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้าจะคลุมด้วย gelatinous coat เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนน้าและก๊าซได้ และ นอกจากนี้จะมีไซโกตเป็นจานวนมาก แต่จานวนรอดชีวิตไม่มากนัก
  • 12. 12 Internal fertilization เป็นการปฏิสนธิภายในร่างกายของตัวเมีย - ต้องมีระบบสืบพันธุ์ที่เจริญดี และพฤติกรรมการเกี้ยวพาราสี -ตัวผู้ต้องมีอวัยวะช่วยในการปล่อยสเปิร์ม มีถุงเก็บสเปิร์ม -มีขั้นตอนป้ องกันการเจริญของเอมบริโอมากมาย -ไข่มีเปลือกหุ้ม (amniotic egg) -การเจริญของเอมบริโอเกิดภายในตัวเมีย -มีการป้ องกันจากพ่อแม่ (parental care) (parental care ส่วนมากเกิดในพวกที่เป็น internal fertilization แต่ external fertilization บางชนิดก็มีเหมือนกัน เช่น nesting fishes แสดงพฤติป้ องกันไข่จากผู้ล่า) -โดยมากสร้างไซโกตจานวนน้อย และสามารถเจริญต่อไปได้มากโดยมีการ ป้ องกันและการเลี้ยงดูต่างๆ • Oviparous (สัตว์ที่ออกลูกเป็นไข่) ได้แก่สัตว์เลื้อยคลาน นก มีการปฏิสนธิ ภายในตัวแต่ตัวอ่อนเจริญนอกตัวแม่จึงต้องมีการวางไข่ • Viviparous (สัตว์ออกลูกเป็นตัว) ตัวอ่อนเจริญภายในตัวแม่และได้รับ อาหารจากแม่ ได้แก่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม • Ovoviviparous (สัตว์ออกลูกเป็นไข่แต่ฟักอยู่ในตัว) มีการปฏิสนธิภายใน ตัวและออกลูกเป็นไข่แต่ไข่ฟักอยู่ในตัวแม่
  • 13. 13 สัตว์มีระบบสืบพันธุ์แบบต่างๆ สัตว์พวกไม่มีกระดูกสันหลัง มีความแตกต่างกันในแต่ละชนิด จากแบบง่ายๆจนถึง แบบซับซ้อน สัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง มีลักษณะคล้ายกัน แต่มีข้อแตกต่างที่สาคัญได้แก่ - ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมส่วนมาก มีทางเปิดของ digestive, excretory และ reproductive tracts แยกกัน แต่ในพวกอื่นๆที่ไม่ใช่สัตว์เลี้ยงลูกด้วนนม หลายชนิดมีทางเปิด ร่วม เรียกว่า cloaca -สัตว์มีกระดูกสันหลังที่ไม่ใช่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ไม่มี penis ที่เจริญดี และใช้วิธีการ อื่นในการส่ง สเปิร์ม
  • 14. 14 Metamorphosis 1. Complete metamorphosis 2. Incomplete metamorphosis 3. Gradual metamorphosis 4. Ametamorphosis naiad nymph 
  • 15. 15 ระบบสืบพันธุ์ของคน อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย (male genital organ) แบ่งเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ 1. อวัยวะสืบพันธุ์เพศชายภายนอก (external malegenital organ) 1.1 ลึงค์(penis) เป็นส่วนใช้ในการร่วมเพศเป็นทางผ่าน ของน้าอสุจิและน้าปัสสาวะ พบว่ามีเนื้อเยื่อที่แข็ง ได้(erectile tissue) ประกอบด้วย คอร์พัสสปองจิ โอซัม (corpus spongiosum) 1 อัน อยู่รอบท่อ ปัสสาวะ และอีก 2 อันอยู่ทางด้านบน บริเวณ ปลายสุดเรียกว่าหัวลึงค์ (gland penis) และมี ผิวหนังหุ้มอยู่เรียกว่า พรีพิว (prepuce) 1.2 ถุงอัณฑะ(scrotum หรือ scrotal sec) เป็นผิวหนังที่ ยื่นออกจากช่องท้องเนื่องจากอัณฑะอยู่ในช่อง ท้องเลื่อนลงมา โดยทาหน้าที่ควบคุมอุณหภูมิ โดยให้ต่ากว่า 3-5 องศาเซลเซียสของร่างกาย ซึ่ง เหมาะสมต่อการสร้างอสุจิ
  • 16. 16 2. อวัยวะสืบพันธุ์เพศชายภายใน(internal male genital organ) 2.1 อัณฑะ(testis) มีอยู่ 2 เลื่อนจากช่องท้องลงมาถ้าไม่เลื่อนจะทาให้เป็นหมัน แต่ถ้าเลื่อนลงมาเพียงข้าง เดียวเรียกว่า ทองแดง (crytochism) 2.1.1 หลอดสร้างอสุจิ (seminiferous tubule) เป็นท่อภายในอัณฑะมีเซลล์2 ชนิดคือ sertoli cell มี ขนาดโตมีรูปร่างไม่แน่นอนเป็นตัวให้อาหารแก่เซลล์อีกชนิดหนึ่ง ได้แก่ spormatogonia ซึ่งจะแบ่งตัว สร้างอสุจิต่อไปการสร้างอสุจิถูกควบคุมโดยฮอร์โมน FSH กับ textosterone ในอัณฑะ 2.1.2 เนื้อเยื่อ interstitial cell อยู่ระหว่างหลอดสร้างอสุจิประกอบด้วยเส้นเลือด เส้นประสาทและพวก เซลล์ต่างๆ interstitial cell of leydig เป็นเซลล์ที่เจริญมากกว่าเซลล์อื่นถูกควบคุมโดยฮอร์โมน LH
  • 17. 17 2.2 ท่อต่างๆ(duct) ประกอบด้วย 2.2.1 เอพิดิไดมีส (epididymis) เป็นท่อยาวขดไปมาทาหน้าที่ในการเก็บอสุจิและสร้างอาหารเลี้ยง อสุจิ สามารถพักได้นาน 6 สัปดาห์ 2.2.2 ท่อนาอสุจิ (vas deferens) มีความยาวประมาณ 18 นิ้ว เป็นทางผ่านของอสุจิและเปิดเข้าสู่ท่อ รวม เซมินัลเวซิเคิล(seminal vesicle) ในการทาหมันชายจะตัดส่วนนี้เองเรียกว่า วาเซกโทมี (vasectomy) 2.3 ต่อมต่างๆ(accessory male genital glands) 2.3.1 ต่อมสร้างน้าเลี้ยงอสุจิ (seminal vesicle) เป็นท่อ 2 ท่อ ขดไปมาทาหน้าที่ในการสร้างอาหาร สาหรับอสุจิได้แก่ น้าตาลฟรักโตส วิตามินซี โปรตีนโกลบูลิน รวมกันเรียกว่า เซมินัลฟูลอิด (seminal fluid) ถูกควบคุมโดยฮอร์โมนเทสโทสเทอโรนจากอัณฑะ 2.3.2 ต่อมลูกหมาก(prostate gland) สร้างสารสีขาวมีกลิ่นเฉพาะตัวมีกรดซิตริกรวมอยู่ด้วย เรียกว่า prostatic fluid ช่วยทาให้ท่อปัสสาวะซึ่งเป็นกรดทาให้ลดความเป็นกรดลง
  • 18. 18
  • 19. 19 อวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิงภายนอก(external female genetial organ) 1. คลิทอริส (clitoris) เป็นส่วนที่มีลักษณะการเจริญเช่นเดียวกับลึงค์เป็นเนื้อเยื่อที่แข็งตัวได้มีปลาย ประสาทมาสิ้นสุดมากจึงรับความรู้สึกได้เร็ว 2. แคมใหญ่ (labia majora) เป็นส่วนที่เจริญมาเช่นเดียวกับถุงอัณฑะของเพศชาย เป็นส่วนของผิวหนังที่มี ชั้นไขมันอยู่ 3. แคมล็ก (labia minora) เป็นส่วนอยู่ด้านในของแคมใหญ่ มีต่อมไขมันจานวนมากเพื่อช่วยในการหล่อ ลื่นและกันการเสียดสีระหว่างการร่วมเพศ
  • 20. 20 อวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิงภายใน (internal female genetial organ) 2.1 รังไข่(ovary) ทาหน้าที่ในการสร้างไข่ และฮอร์โมนเพศ ในคนเราจะมีประมาณ4 แสนเซลล์แต่จะ ตกไข่เพียง 400 เซลล์ 2.2 มดลูก(uterus) ทาหน้าที่เป็นที่ฝังตัวของไข่ที่ได้รับการผสมและเป็นแหล่งให้กาเนิดประจาเดือน และประกอบด้วย ปากมดลูก(cervix) ตัวมดลูก(body) ส่วนบนมดลูก(fundus) โดยผนังมดลูก แบ่งออกเป็น 3 ชั้น โดยชั้นในมีชื่อว่า endometrium 2.3 ช่องคลอด(vagina) ที่ปากช่องคลอดมีเยื่อบางๆย่นๆบิดอยู่เรียกว่า เยื่อพรหมจารีย์(hymen) มีความ เป็นกรดเล็กน้อยและโปรโตซัวที่พบในช่องคลอดได้แก่ Trichomonas vaginalis ซึ่งทาให้ผนัง ช่องคลอดอักเสบเกิดการตกขาวได้ 2.4 ท่อนาไข่(oviduct หรือ fallopian tube) เป็นท่อที่มีการปฏินธิกันโดยเกิดที่ส่วนที่บริเวณแอมพูลาจะ มีการปฏิสนธิกันของอสุจิและไข่
  • 21. 21
  • 22. 22
  • 23. 23 การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ (gametogenesis) เมื่อมีการสืบพันธุ์เซลล์ที่จะทาหน้าที่สืบพันธุ์จะมีการแบ่งตัวแบบไมโอซิส เพื่อลดจานวน โครโมโซมลงเหลือเพียงครึ่งหนึ่ง และมีกระบวนการที่เรียกว่า gametogenesis (กระบวนการ ตั้งแต่เซลล์มีไมโอซิสและผ่านขั้นตอนต่างๆจนได้เป็นเซลล์สืบพันธุ์) เพื่อช่วยให้ได้เซลล์สืบพันธุ์ ที่สมบูรณ์พร้อมจะทาหน้าที่ Spermatogenesis • เป็นกระบวนการที่เกิดต่อเนื่องในผู้ชาย ผลทาให้ได้สเปิร์ม 250-400 ล้านตัวในการฉีดแต่ละครั้ง • เกิดขึ้นใน seminiferous tubules ของ testes • เริ่มจาก primodial germ cells เปลี่ยนมาเป็น spermatogonia ใน embryonic testes (2n) • spermatogonia อยู่ที่ผนังด้านข้างของ semniniferous tubules เพิ่มจานวนตลอดเวลา (mitosis) • เมื่อถึงวัยเจริญพันธุ์ spermatogonia จะแบ่งตัวแบบ meiosis และเปลี่ยนแปลงรูปร่างจนได้ 4 สเปิร์ม
  • 24. 24 Spermatogenesis แสดงท่อ seminiferous tubules ที่ผลิตสเปิร์มภายใน อัณฑะ สเปิร์มจะเจริญเป็น ขั้นๆโดยเริ่มจาก spermatogonium (2n) เจริญเป็น primary spermatocyte เซลล์นี้1 เซลล์แบ่งแบบ meiosis I กลายเป็น secondary spermatocyte 2 เซลล์ ใน การแบ่งตัว meiosis II จะได้ spermatid 4 เซลล์ spermatid จะเปลี่ยนรูปร่าง ไปเป็นสเปิร์ม ในขณะที่ได้ สารอาหารจาก sertoli cell
  • 25. 25 ส่วนหัวของสเปิร์มมี haploid nucleus และ acrosome ซึ่งมีเอนไซม์ช่วยในการเจาะเข้าไปในเซลล์ ไข่ ส่วนหางมีไมโตคอนเดรียจานวนมาก (หรือบางชนิดอาจมีไมโตคอนเดรียขนาดใหญ่เพียงอันเดียว) ทาหน้าสร้าง ATP ช่วยในการเคลื่อนไหวของ flagella
  • 27. 27 Oogenesis การสร้างไข่เกิดขึ้นในรังไข่ เริ่มต้นจากกลุ่ม primordial germ cell ในเอมบริโอเริ่มแบ่งแบบ ไมโตซิสเพื่อเพิ่มจานวน ได้เป็น oogonium (2n) (ในรูปนี้2n=4) แต่ละ oogonium เจริญไปเป็น primary oocyte (2n) โดยแบ่งแบบไมโอซิสและ หยุดกระบวนการอยู่ที่ระยะ prophase I เมื่อถึง วัยเจริญพันธุ์ primary oocyte จะแบ่งตัวต่อไป จนสิ้นสุดกระบวนการ meiosis I แต่การแบ่งไซ โตพลาสซึมได้เซลล์ที่มีขนาดไม่เท่ากัน คือได้ secondary oocyteที่มีขนาดใหญ่ และ first polar body ที่มีขนาดเล็กกว่ามาก ต่อมาในกรณี ที่มีการผสมพันธุ์และสเปิร์มเจาะเข้าไปใน secondary oocyte จะกระตุ้นให้เกิด meiosis II เมื่อ meiosis เสร็จสิ้น secondary polar body แยกออกจากไข่ (ovum) สเปิร์มและไข่ที่ เจริญเต็มที่แล้วจะเกิดการปฏิสนธิขึ้น
  • 28. 28 ไข่เจริญอยู่ภายในถุง follicle ซึ่งเป็นช่องว่างภายใต้ ผิวของรังไข่ (1-3) หลังจาก เซลล์ไข่หลุดจากถุงนี้ (4) เซลล์ของถุงก็จะเจริญไป เป็น corpus luteum ซึ่ง แปลว่า ก้อนสีเหลือง (5) ถ้า ไข่ไม่ได้รับการผสม corpus luteum ก็จะฝ่อภายใน 2-3 สัปดาห์ (6) ถ้าไข่ได้รับการ ผสมพันธุ์ corpus luteum ก็ จะยังคงอยู่และผลิตโปรเจส เตอโรนซึ่งจะช่วยในการ เตรียมมดลูกรอรับเอมบริโอ
  • 29. 29 รอบประจาเดือน(menstrual cycle) 1.ระยะก่อนตกไข่(follicle stage) FSH กระตุ้นให้ฟอลลิเคิลขยายตัวเป็น แกรเฟียนฟอลลิเคิลและมีการสร้า อีสโทนเจนเพื่อกระตุ้นให้ผนังด้านใน มดลูกหนาขึ้น 2.ระยะตกไข่(ovulation stage) LH เพิ่มขึ้น อย่างมากมีผลต่อแกรเฟียนฟอลลิ เคิลทาให้แตกออกไข่จึงหลุดออกมา และเคลื่อนที่เข้าสู่ปีกมดลูก 3.ระยะหลังตกไข่(corpusluteum stage) ส่วน ฟอลลิเคิลที่แตกออกจะเปลี่ยนเป็น คอลพัสลูเทียม และส่วนนี้สร้าง ฮอร์โมนโพรเจสเทอโรนและฮีสโทร เจนกระตุ้นให้ผนังมดลูกหนามากขึ้น พร้อมสาหรับการฝังตัวของไข่
  • 30. 30 Spermatogenesis Oogenesis 1. ผลที่ได้ 4 mature spermatozoa 2. เกิดตลอดเวลาในช่วงอายุของสิ่งมีชีวิต 3. Spermatogenesis เกิดต่อไปเรื่อยๆ 1. ผลที่ได้ single ovum ส่วน polar body สลายไป 2. Potentail ova (primary oocyte) อยู่ใน ovary แล้วตั้งแต่เกิด 3. Oognesis มีช่วงพัก
  • 31. 31 Fertilization in Mammals 1. Capacitation (enhanced sperm function) จาก secretion ของท่อระบบสืบพันธุ์ของตัวเมีย - เปลี่ยนโมเลกุลบางชนิดที่หัวของ sperm ทาให้ sperm เคลื่อนที่เร็วขึ้น 2. sperm จะต้องผ่าน Zona pellucida (extracellular matrix of the egg) เพื่อเกิดกระบวนการ ต่อไปได้ กระบวนการปฏิสนธิของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (1) สเปิร์มผ่านเข้าไปในชั้นของ follicle cells และรวมกับ receptor melecules ที่อยู่ที่ชั้น zona pellucida (ในที่นี้ไม่ได้แสดง receptor molecule) (2) acrosomal reaction เกิดขึ้นโดยสเปิร์มปล่อยเอนไซม์ย่อยชั้น zona pellucida (3) ทาให้สเปิร์มสามารถเข้าไปถึง plasma membrane ของไข่ได้ และ membrane proteins ของสเปิร์มรวมกับ receptor ที่ plasma membrane ของไข่ (4) plasma membrane ของสเปิร์มและไข่เชื่อมติดกัน ดังนั้นนิวเคลียสของสเปิร์มเข้าไปในไซ โตพลาสซึมของไข่ (5) เกิด cortical reaction โดยเอนไซม์ที่ปล่อยออกมาจาก cortical granules ทาให้ชั้น zona pellucida มีลักษณะแข็ง ทาหน้าที่ป้ องกันไม่ให้สเปิร์มตัวอื่นเข้าไปในไข่อีก (การที่สเปิร์ม เข้าไปในไข่หลายตัว เรียกว่า polyspermy)
  • 33. 33 Sperm Enter Egg 1stand 2nd polar bodies male pronucleus (n) female pronucleus (n) male pronucleus replicating its DNA female pronucleus replicating its DNA Beginning of first division Fusion of nuclei from egg and sperm a. b. c. d.
  • 34. 34 (1) ไข่ระยะ secondary oocyte ซึ่งพร้อมที่จะผสมพันธุ์หลุดออกจากรังไข่ (ovulation) เข้าไปอยูในท่อ นาไข่ (oviduct) การปฏิสนธิเกิดขึ้นภายในท่อนาไข่ได้เป็นไซโกต (zygote) (3) cleavage เริ่มเกิดขึ้นขณะที่เอมบริโอเคลื่อนตัวมาสู่มดลูก (4) ขณะที่มาถึงมดลูกเอมบริโอจะมีการเคลื่อนที่ของกลุ่มเซลล์แยกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1. trophoblast เป็นกลุ่มเซลล์ที่เรียงตัวกันชั้นเดียวอยู่รอบนอก ซึ่งต่อไปจะเจริญรวมกับเนื้อเยื่อของผนังมดลูกกลายเป็น รก (placenta) 2. กลุ่มเซลล์ที่อยู่ภายใน เรียกว่า inner cell mass เป็นส่วนที่จะเจริญต่อไปเป็นเอมบริ โอ เรียกเอมบริโอระยะนี้ว่า blastocyst (5) blastocyst จะฝังตัวในผนังมดลูก ซึ่งเอมบริโอเจริญมาได้ประมาณ 7 วันหลังการปฏิสนธิ
  • 36. ข้อควรรู้เพิ่มเติม - การผสมเทียมในหลอดแก้ว แล้วถ่ายฝากตัวอ่อน (In Vitro Fertilization Embryo Transfer หรือ IVF& ET ) - การทาอิ๊กซี่ ( Intra Cytoplasmic Sperm Injection หรือ ICSI) คัดเชื้ออสุจิที่สมบูรณ์เพียงตัวเดียว ฉีดเข้าไปในไข่โดยตรง ใช้ในกรณีที่เด็กหลอดแก้วธรรมดาไม่ประสบความสาเร็จ - การทากิฟท์ ( Gamete IntraFollopain Transfer หรือ GIFT) นาเซลล์สืบพันธุ์ไข่และอสุจิมาผสม กัน แล้วใส่กลับเข้าสู่ท่อนาไข่ทันทีอาศัยให้อสุจิและไข่ปฏิสนธิกันเองตามธรรมชาติ - การทาซิฟท์ ( Zygote IntraFollopain Transfer หรือ ZIFT) เซลล์สืบพันธุ์ไข่และอสุจิมาปฏิสนธิ นอกร่างกายก่อน แล้วจึงนาตัวอ่อนในระยะ Zygote ใส่กลับเข้าไปในท่อนาไข่
  • 37. 37 Embryonic development เป็นการศึกษาช่วงระยะการเจริญของเอมบริโอ ซึ่งจะเริ่มต้นหลังจากไข่เกิดการ ปฏิสนธิแล้ว เอมบริโอระยะแรกคือไซโกต ระยะเอมบริโอจะสิ้นสุดเมื่อเกิดอวัยวะต่างๆ ครบ ในสัตว์ชนิดต่างๆจะมีช่วงเวลาของการเกิดเอมบริโอแตกต่างกัน เช่นในคน ประมาณ 8-10 สัปดาห์ ไก่ประมาณ 4 วัน และกบประมาณ 2 วัน เป็นต้น จากไซโกตซึ่งเป็นเซลล์เดี่ยวไปสู่สภาพที่ซับซ้อนขึ้น โดยเกิดขึ้นเป็นลาดับ ขั้นตอนต่างๆดังนี้ 1. Cleavage 2. Blastula 3. Gastrulation 4. Organogenesis
  • 38. 38 1. Cleavage 2. Blastula 3. Gastrulation 4. Organogenesis 1 2 3 4
  • 39. 39 Cleavage เป็นกระบวนการที่ไซโกตมีการแบ่งเซลล์แบบ mitotic division อย่างรวดเร็วทาให้ ได้เอมบริโอที่มีหลายเซลล์
  • 40. 40 Zygote ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ 1. vegetal pole 2. animal pole •ไข่กบ 2 ส่วนนี้มีสีแตกต่างกัน •cytoplasm ของไข่กบจัดเรียงตัวใหม่ขณะ เกิด fertilization ทาให้เกิดบริเวณสีเทา ที่ เรียกว่า gray crescent ซึ่งเกิดบริเวณตรง กลางของไข่ด้านตรงข้ามกับที่ sperm เจาะ เข้าไป •Cleavage ที่ animal pole เกิดขึ้นเร็วกว่าที่ vegetal pole •ผลของ cleavage ได้เอมบริโอมีลักษณะ เป็นก้อนกลมตัน เรียกว่า morula •ต่อมาเกิดช่องว่างที่มีของเหลวบรรจุอยู่ (blastocoel) ภายใน morula เรียกเอมบริโอ ระยะนี้ว่า blastula (blastulation) คลีเวจของเอมบริโอสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า
  • 41. 41 คลีเวจของเอมบริโอสัตว์ปีกและสัตว์เลื้อยคลาน สาหรับไข่พวกนกและสัตว์เลื้อยคลานเป็นไข่ที่มีไข่แดงมาก คลีเวจเป็นแบบ meroblastic คือเซลล์ไม่แบ่งตัวตลอดไข่ แนวการแบ่งจะเกิดเฉพาะบริเวณด้านบนของ ไข่ซึ่งมีไซโตพลาสซึมและนิวเคลียสอยู่เท่านั้น คือบริเวณ germinal disc
  • 42. 42 Blastula ของเอมบริโอ สัตว์ปีกและสัตว์เลื้อยคลาน ลักษณะของ blastula เห็นเป็นแผ่น เรียกว่า bastodisc ซึ่งจะเรียงตัวแยกเป็น 2 ชั้น ชั้นนอกเรียก epiblast และชั้นในเรียก hypoblast ช่องว่างตรงกลางเรียก blastocoel (blasstulation)
  • 43. 43 Gastrulation Gastrulation เป็นกระบวนการเกิดเนื้อเยื่อ 3 ชั้น เรียก embryonic germ layers 1. ectoderm เนื้อชั้นนอกของ gastrula 2. mesoderm เนื้อชั้นกลาง 3. Endoderm เนื้อชั้นในซึ่งเป็นท่อยาว ระยะเอมบริโอนี้เรียกว่า Gastrula ระยะนี้เกิด cell motility changes in cell shape changes in cellular adhesion
  • 44. 44 กลุ่มเซลล์ทางด้านบนมีการแบ่งตัวอย่าง รวดเร็ว และเคลื่อนที่แผ่ลงคลุมเซลล์ทาง ด้านล่าง พร้อมกันนั้นตรงบริเวณที่จะเกิด เกิดเป็น blastopore จะมีการบุ๋มตัวของ กลุ่มเซลล์เหล่านี้ กลุ่มเซลล์ที่เคลื่อนที่จะ ลงมาจากด้านบนและม้วนตัวผ่านตรง blastopore เข้าสู่ภายใน ทาให้ได้เป็นเอมบ ริโอที่มีเนื้อ 3 ชั้น ช่องว่างภายในที่เกิดขึ้น ใหม่คือ archenteron Gastrulation ของกบ
  • 45. 45 Gastrulation ของไก่ ระยะ gastrulation กลุ่มเซลล์ epiblast ด้านขวาและซ้ายจะเคลื่อนที่เข้าสู่แนวกลาง เรียกว่า primitive streak และกลุ่มเซลล์จะม้วนตัวเข้าไปข้างใน โดยกลุ่มเซลล์ทางด้านหน้าสุดของ primitive streak ที่เรียกว่า Hensen’s node ม้วนตัวเข้าไปก่อนเกิดเป็นแท่ง notochord บางกลุ่ม เจริญเป็นชั้น mesoderm บางกลุ่มเคลื่อนที่ลงไปด้านล่างเกิดเป็น endoderm และกลุ่มเซลล์ที่อยู่ ด้านนอกเกิดเป็น ectoderm
  • 46. 46 Organogenesis การเกิดอวัยวะต่างๆจากเนื้อเยื่อ 3 ชั้น •neutral tube และ notochord เป็นอวัยวะแรกที่เกิดขึ้นในกบ และ สัตว์พวก chordate อื่นๆ •dorsal mesoderm เหนือ archenteron รวมกันเกิดเป็น notochord •ectoderm เหนือ notochord หนาตัวขึ้นเกิดเป็น neutral plate แล้วบุ๋มลงไปเป็น neutral tube ซึ่ง ต่อไปจะเจริญเป็น brain, spinal cord •อวัยวะอื่นๆเกิดขึ้นตามมา
  • 47. 47 Ectoderm ระบบสปกคลุมร่างกาย (หนังกาพร้า, ผม, เล็บ). ระบบประสาท (สมอง, ไขสันหลัง, เรตินา, pituitary gland), สารเคลือบฟัน (enamel), adrenal medulla, เลนส์ตา Mesoderm ระบบหมุนเวียนและน้าเหลือง, ระบบขับถ่าย, ระบบสืบพันธุ์, adrenal cortex, กล้ามเนื้อและกระดูก, notochord, หนังแท้, เนื้อฟัน, เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน Endoderm Parathyroid gland, thyroid gland, ต่อมทอนซิล, ต่อมไทมัส, ตับ, ตับอ่อน, ทางเดิน อาหาร, ทางเดินอากาศ, กระเพาะปัสสาวะ Organogenesis เมื่อกระบวนการ gastrulation เสร็จสิ้นลง เอมบริโอเข้าสู่ขั้นที่เตรียมพร้อมที่จะเติบโตอย่างอิสระ เนื้อเยื่อต่างๆจะเรียงตัวตามตาแหน่งที่จะปรากฏในขั้นเต็มวัย จับกลุ่มกันขึ้นเป็นเนื้อเยื่อและอวัยวะ ตามตาแหน่งที่เฉพาะเจาะจง และเริ่มอย่างมีอิสระแต่มีการประสานงานกัน มีการจับกลุ่มกันของ เซลล์ขึ้นเป็นรูปร่าง
  • 48. 48
  • 50. 50 การเจริญของ extraembryonic membranes ของไก่ ประกอบด้วย 4 ชั้นได้แก่ Yolk sac มีลักษณะเป็นถุงหุ้มไข่แดง มีเซลล์ย่อยสลายไข่แดง และเยื่อหุ้มเจริญเป็นเส้นเลือด ทาหน้าที่ลาเลียงอาหาร ด้านข้างแผ่เข้าไปคลุมเอมบริโอและในที่สุดเชื่อมติดกัน ทาให้เกิดเยื่อ อีก 2 ชั้นได้แก่ amnion และ chorion เกิดเป็นช่องว่างหุ้มเอมบริโอไว้ เพื่อป้ องกันอันตราย amnion เป็นถุงหุ้มเอมบริโอภายในมีน้าคร่า (amniotic fluid) โดยมี chorion หุ้มอยู่อีกชั้นหนึ่ง นอกจากนี้มีถุงยื่นออกมาจากส่วนทางเดินอาหาร ทาหน้าที่กาจัดของเสีย เรียกว่า allantois ซึ่ง จะแผ่ไปถึงและดันให้ chorion ติดกับเยื่อชั้นในของเปลือกไข่ (vitelline membrane) allantois และ chorion รวมกันเจริญเป็นอวัยวะช่วยในการหายใจ โดยมีเส้นเลือดที่เจริญมาจาก allantois ทาหน้าที่ลาเลียงออกซิเจน
  • 51. 51 (1) หลังจาก cleavage ได้ blastocyst ซึ่งประกอบด้วย trophoblast และ inner cell mass มีช่อง blastocoel (2) blastocyst เป็นระยะที่จะฝังตัวเข้าไปในมดลูก และ gastrulation จะเกิดขึ้นทันที trophoblast เป็นกลุ่มเซลล์ที่ เรียงอยู่ด้านนอก ซึ่งจะเจริญรวมกับผนังมดลูก กลุ่มเซลล์ inner cell mass แยกตัวเป็น epiblast ซึ่งจะเจริญเป็นเนื้อ 3 ชั้น และ hypoblast ซึ่งจะแผ่ตัวเป็นเยื่อชั้นในเป็น yolk sac (3) ระยะนี้trophoblast เริ่มเจริญร่วมกับผนังมดลูกเป็น chorion ส่วน epiblast เจริญเป็น amnion ภายในมี ของเหลวเรียกว่า น้าคร่า (amniotic fluid) บางส่วนของ epiblast แยกเป็น mesodermal cell เจริญรวมกับ chorion เป็นรก (placenta) (4) กลุ่มเซลล์ epiblast มีการม้วนตัวเข้าสู่แนวกลางตัวเกิด primitive streak และมีการม้วนตัวเข้าไปข้างใน เกิดเป็น เนื้อ 3 ชั้น อยู่ภายใน extraembryonic membranes การเจริญของเอมบริโอของคนและ extraembryonic membranes
  • 53. 53 การเจริญหลังระยะเอมบริโอ •ในสัตว์บางชนิดเมื่อเอมบริโอเจริญมากขึ้นจนครบกาหนดแล้ว จะเจริญเป็นตัวเต็มวัยเลย •สัตว์บางชนิดจะผ่านระยะที่เรียกว่า larva ซึ่งเริ่มตั้งแต่เอมบริโอฝักเป็นตัวจะกระทั่งมีการ เปลี่ยนแปลง metamorphosis เกิดขึ้น เช่น ลูกอ๊อดของกบ แล้วจึงเจริญเป็นตัวเต็มวัย •สาหรับในคน การเจริญระยะหลังเอมบริโอส่วนใหญ่เป็นการเติบโตที่มีการเพิ่มขนาด ปริมาตรน้าหนัก อัตราการเติบโตของส่วนต่างๆของร่างกายจะไม่เท่ากัน
  • 54. 54
  • 56. 56
  • 57. 57 การเกิดฝาแฝด (Twin) มี 2 ประเภท คือ ฝาแฝดร่วมไข่ และฝาแฝดต่างไข่ 1. แฝดร่วมไข่ เป็นฝาแฝดที่เกิดจากการรวมตัวกันของเซลล์ไข่ 1 ใบ และอสุจิ 1 ตัว ขณะที่กาลัง เจริญเติบโตเอ็มบริโอมีการแบ่งเซลล์เช่น จาก 1 เป็น 2 และแยกขาดออกจากัน แต่ละส่วนจะ เจริญเติบโตเป็นทารกที่มีอวัยวะครบสมบูรณ์จนกระทั่งคลอด แฝดประเภทนี้จะเป็นเพศเดียวกันเสมอมี รูปร่างลักษณะเหมือนกัน และถ้าได้รับการเลี้ยงดูในสภาพแวดล้อเดียวกันจะมีอุปนิสัยและ ความสามารถที่คล้ายกันมาก ในกรณีที่เอ็มบริโอแบ่งตัว ออกเป็น 2 แต่ไม่แยกออกจากกัน เมื่อทารก เจริญเติบโตจะได้ทารกตัวติดกัน 2. แฝดต่างไข่ เป็นแฝดที่เกิดจากมีไข่สุกมากกว่า 1 ใบ ไข่แต่ละใบจะมีโอกาสเข้าผสมกับตัวอสุจิแต่ ละตัวและเกิดการปฏิสนธิในเวลาใกล้เคียงกัน จะได้เอ็มบริโอ เจริญเติบโตอยู่ภายในมดลูกเดียวกัน แต่ แยกรกกันและทารกจะคลอดออกมาในเวลาใกล้เคียงกัน ฝาแฝดชนิดนี้อาจเป็นเพศเดียวกันหรือต่าง เพศกันก็ได้ ส่วนหน้าตาและลักษณะทางพันธุกรรมจะมีลักษณะคล้ายกัน
  • 59. 59
  • 60. 60
  • 61. 61
  • 62. 62
  • 64. 64
  • 65. 65
  • 66. 66 “THE END” THANK YOU FOR YOUR ATTENTION !