SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  89
Télécharger pour lire hors ligne
1
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับสัมผัส
NERVOUS SYSTEM AND THE SENSE
รายวิชาชีววิทยา 2 (ว32242)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
2
ระบบประสาท (nervous system)
ฮอร์โมน (hormone)
ระบบประสานงาน
(coordinating system)
 สิ่งมีชีวิตมีการเคลื่อนที่เพื่อตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมอยู่เสมอ การเคลื่อนที่ของ
สิ่งมีชีวิตที่แตกต่างกันเกิดจากการมีโครงสร้างของร่างกาย และอยู่ในสภาพแวดล้อมที่
แตกต่างกัน
การรับรู้และการตอบสนอง
ระบบประสาท
3
 หมายถึง ระบบที่เกี่ยวกับการสั่งงาน การติดต่อเชื่อมโยง การประสานงาน การรับคาสั่ง และปรับ
ระบบต่างๆของร่างกายให้เข้ากับสภาพแวดล้อมทั้งภายนอกและภายใน โดยใช้เวลารวดเร็วและ
สิ้นสุดอย่างรวดเร็ว ส่วนระบบต่อมไร้ท่อนั้นจะตอบสนองเป็นไปอย่างช้าๆและกระทาต่อเนื่อง
เป็นเวลานาน
• ไวต่อสิ่งเร้า(stimulus)
• นากระแสประสาทได้
คุณสมบัติของเซลล์ประสาท
4
ระบบประสาทของฟองน้า
 มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเเต่ฟองน้าไม่มีการประสานงาน
ระหว่างเซลล์
 มีการรับรู้และการตอบสนองแต่ไม่มีการประสานงาน
ระหว่างเซลล์ โดยจะตอบสนองต่อแรงกด และแรงสัมผัสได้
ระบบประสาทของพารามีเซียม
5
 ไม่มีระบบประสาทที่แท้จริง มีเส้นใยประสานงาน (co-
ordinating fiber) ซึ่งอยู่ใต้ผิวเซลล์เชื่อมโยงระหว่าง
โคนซิเลียแต่ละเส้นทาให้เกิดการประสานงานกัน
ระบบประสาทของยูกลีนา
 มี Eyespot เป็นบริเวณรับแสง ทาให้สามารถ
ทราบความเข้มแสงและทิศทางของแสงได้
ระบบประสาทของซีเลนเทอเรต
6
 ไฮดรายังไม่มีระบบประสาท แต่มีเส้นใยประสาท
เรียกว่า ร่างแหประสาท(nerve net)
 เมื่อกระตุ้นทุกส่วนร่างกายจะหดตัว
 การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทจะช้ากว่าสัตว์ชั้นสูงมาก
และมีทิศทางที่ไม่แน่นอน
 ปากและเทนตาเคิล(tentacle)มีเส้นใยประสาทมาก
 พบที่ผนังลาไส้ในสัตว์ชั้นสูง ทาให้เกิด peristalsis
ระบบประสาทของหนอนตัวแบน
 พลานาเรีย มีปมประสาท 2 ปมอยู่ที่ส่วนหัว เรียกว่า ปม
ประสาทสมอง(cerebral ganglion) ทาหน้าที่เป็นสมอง
 ทางด้านล่างสมองมีเส้นประสาทแยกออกข้างลาตัวข้างละเส้น
เรียกว่า เส้นประสาททางด้านข้าง (lateral nerve cord) มี
เส้นประสาทพาดขวางเป็นระยะเรียกว่า เส้นประสาทตามขวาง
(transverse nerve)
ระบบประสาทของหนอนตัวกลม
7
 มีปมประสาทรูปวงแหวน(nerve ring) อยู่รอบคอหอย
(circumpharyngeal brian)
 มีเส้นประสาททางด้านหลัง เรียกว่า dorsal nerve
cord และเส้นประสาททางด้านล่าง เรียกว่า ventral
nerve cord
ระบบประสาทของพวกมอลลัสก์  หอยกาบคู่ มีปมประสาท 3 คู่
1. ปมประสาทสมอง(cerebral ganglion) อยู่
ทางด้านข้างของปาก ควบคุมอวัยวะตอนบน
2. ปมประสาทที่อวัยวะภายใน(visceral
ganglion)อยู่ทางด้านท้ายควบคุมอวัยวะ
ภายใน เช่นระบบย่อยอาหาร ตับ หัวใจ
3. ปมประสาทที่เท้า(pedal ganglion)อยู่ที่เท้า
ทาหน้าควบคุมการยืดตัวและหดตัวที่
กล้ามเนื้อเท้า
ระบบประสาทของแอนเนลิด
8
 ไส้เดือนมีระบบประสาทประกอบด้วย
1. สมอง(brain) ปมประสาท 2 ปมเป็นพู เรียกว่าปมประสาท
ซีรีบรัล(cerebral ganglion)
2. ปมประสาทใต้คอหอย(subpharyngeal ganglion) เกิด
จากแขนงประสาทที่แยกออกจากสมองแล้วอ้อมรอบคอ
หอย(circumpharyngeal commissure) มาบรรจบกัน
3. เส้นประสาททางด้านท้อง(ventral nerve cord) มี
เส้นประสาท 2 เส้นแต่มักรวมกันเป็นเส้นเดียว และมีปม
ประสาทแต่ละปล้องและแขนงประสาท 3-5 คู่แยกออกไป
เลี้ยงอวัยวะต่างๆ
 ไส้เดือนมีเซลล์ที่ทาหน้าที่รับสัมผัสแสงเรียกว่า โฟโตรีเซปเตอร์
เซลล์(photoreceptor cell)
 มีเซลล์ทาหน้าที่รับความรู้สึก (sensory cell) และดมกลิ่น
ด้วย
ระบบประสาทของพวกอาร์โทพอด
9
 แมลงมีระบบประสาทที่พัฒนามากประกอบด้วย
1. สมอง(brain)เกิดจากปมประสาท 2 ปมมารวมกัน ไปยัง
optic nerve 1 คู่ และ antennary nerve 1 คู่
2. ปมประสาทใต้หลอดอาหาร (sub-esophageal
ganglion)
3. เส้นประสาททางด้านท้อง (ventral nerve cord)
 แมลงมีตาประกอบ(compound eye) รับภาพและแสงได้ดี
 อวัยวะรับเสียง(sound receptors) เช่น อวัยวะทิมพานัม
(tympanum organ)รับแรงสันสะเทือนได้ดี
 อวัยวะรับรู้สารเคมี(chemoreceptors) เช่น หนวด ปาก ขาเดิน
ระบบประสาทของเอไคโนเดิร์ม
10
 ระบบประสาท วงแหวนประสาท(nerve ring)อยู่รอบปาก มี
แขนงประสาทแยกออกไปยัง arm เรียกว่า radial nerve
 มีอวัยวะสัมผัสแสงเรียกว่า จุดตา(eyespot) อยู่ที่บริเวณ
ปลายสุดของทุกแฉก
 เทนเทเคิล(tentacle) รับสัมผัสเคมี
 ประกอบด้วยสมอง เป็นปมประสาทขนาดใหญ่อยู่ส่วนหัว มีแขนง
แยกไปเลี้ยงตา (optic nerve) และไปเลี้ยงหนวด
 จากปมประสาท สมองมีเส้นประสาทล้อมรอบหลอดอาหาร ลง
มายังปมประสาทด้านล่าง รวมกันเป็นปมประสาททรวงอก
(thoracic ganglion) ซึ่งมีปมประสาท 7 ปม จากนั้นจะทอดยาว
เป็นปมประสาทส่วนท้อง (ventral nerve cord) และมีปม
ประสาทแยกออกไปยังกล้ามเนื้อ และระยางค์ต่าง ๆ
ระบบประสาทของกุ้ง
11
สรุป
-สัตว์พวกแรกที่เริ่มมีระบบประสาทที่แท้จริงคือ cnidarians เรียก nerve net
-ในดาวทะเล ระบบประสาทจะซับซ้อนขึ้น โดยจะมี nerve ring เชื่อม
กับ radial nerve ที่เชื่อมอยู่กับ nerve net ในแต่ละแขนของดาวทะเลอีกทีหนึ่ง
-สิ่งมีชีวิตตั้งแต่พวกหนอนตัวแบนเป็นต้นไป จะมีการรวมกันของเซลล์ประสาท (ganglion) ที่บริเวณ
หัว เรียก cephalization
-พลานาเรียจะมีการเรียงตัวของเส้นประสาทบริเวณด้านข้างลาตัวทั้ง 2 ข้างและจะมีเส้นประสาท
เชื่อม เรียก transverse nerve
-ตั้งแต่พวกหนอนตัวกลมขึ้นไป จะมีการเรียงตัวของเส้นประสาทอยู่ทางด้านท้องเรียก ventral
nerve cord
-ในแมลงมีการรวมกันของเซลล์ประสาท เรียก glangion ในแต่ละข้อปล้องของลาตัว
-ในสัตว์มีกระดูกสันหลัง จะมี dorsal hollow nerve cord มาแทนที่ ventral nerve cord และไม่
มี segmental ganglia
กาเนิดระบบประสาท
12
• ระบบประสาทพัฒนามาจากเนื้อเยื่อชั้นนอก(ectoderm)ทางด้านหลังของตัวอ่อน พัฒนาเปลี่ยน
สภาพเป็นหลอดประสาทหรือนิวรัลทิวบ์(neural tube)
13
-เซลล์ประสาท (neuron or nerve cell) เป็นเซลล์ที่มีคุณสมบัติในการเปลี่ยนแปลง
พลังงานจากรูปแบบหนึ่งไปเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง (transducer) เช่นเปลี่ยนจาก
สารเคมี ความร้อน และความดันที่มากระตุ้น (stimulus) ให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า
(electrical signal) ที่เรียกว่า nerve impulse หรือ action potential
เซลล์ประสาท (neuron หรือ nerve cell)
การขนส่งสารของเซลล์ประสาท
14
มี 2 ระบบ ได้แก่
1. ระบบแอกโซพลาสมิกโฟลว์(axoplasmic flow) สารที่ขนส่งจะไปทาหน้าที่ซ่อมแซมใย
ประสาทที่ถูกตัดหรือถูกทาลาย ซึ่งจะเป็นการขนส่งช้าๆ
2. ระบบแอกโซนัล ทรานสปอร์ต(axonal transport) ขนส่งสารที่ทาหน้าที่ปลายแอกซอน
และต้องใช้พลังงานด้วย
โครงสร้างของระบบประสาท
15
 เซลล์ประสาท (neuron หรือ nerve cell)
 เซลล์ค้าจุน (glial cells)
เซลล์ประสาท (neuron หรือ nerve cell)
1. ตัวเซลล์ประสาท (cell body)
2. ใยประสาท (cell process หรือ nerve fiber)
- เดนไดรต์ (dendrite)
- แอกซอน (axon)
16
โครงสร้างเซลล์ประสาทและซิแนปส์ (Synapse)
เซลล์ประสาทประกอบด้วย 4 ส่วนหลัก คือ dendrite, cell body, axon และ synaptic terminal
17
Dendrite
-dendrite นาคาสั่ง/ข้อมูลจากเซลล์อื่นในรูปของสัญญาณไฟฟ้ามายัง cell
body (ทาหน้าที่คล้ายเสาอากาศ)
-มักมีแขนงสั้นๆ จานวนมาก เพื่อให้มีพื้นที่ผิวมากและสามารถรับข้อมูลได้
มากๆ ก่อนจะส่งข้อมูลไปยัง cell body
-มี polyribosome (or Nissl body) อยู่ในบริเวณที่ dendrite รับข้อมูล
-คาสั่งอาจจะส่งหรือไม่ส่งต่อไปยังaxon ขึ้นอยู่กับความแรงของสัญญาณว่า
ถึง threshold หรือไม่
-ในเซลล์ประสาทที่ไม่มี dendrite จะรับข้อมูลโดยตรงทาง cell body
Cell body
-Cell body หรือ soma รับข้อมูลจาก dendrite และส่งคาสั่งต่อไปยัง axon
-ประกอบด้วย nucleus&organelle ต่าง ๆ เหมือนเซลล์ทั่วไป
-ganglion (ganglia):การเข้ามารวมกลุ่มกันของnerve cell body ในบริเวณ
PNS เช่นที่ dorsal root ganglion (or sensory ganglion)
-Nucleus (nuclei):การเข้ามารวมกลุ่มกันของnerve cell body ในสมอง
(CNS)ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
dorsal root ganglion (or sensory ganglion)
18
19
-axon นาคาสั่งในรูปของ action potential จาก cell
bodyไปยังเซลล์/neuron อื่น (ทาหน้าที่คล้ายสายเคเบิล)
นอกจากนี้ยังทาหน้าที่ขนส่งสารที่ cell body สร้างไปยัง
axon ending หรือจาก axon ending cell body
-axon เชื่อมต่อกับ cell body ตรงบริเวณที่เรียกว่า
axon hillox
-axon hillox: รวบรวมสัญญาณที่ส่งมาจาก dendrite
และก่อให้เกิด action potential (ถ้าสัญญาณที่รวบรวม
ได้ไม่ถึง threshold ก็ไม่เกิด action potential)
-Nerve: มัดของ axons หลายๆอันมารวมกัน
Axon
20
เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง axon และ dendrite
Axon Dendrite
1.นาข้อมูล/สัญญาณออกจากเซลล์ 1.นาข้อมูล/สัญญาณเข้าสู่เซลล์
2.smooth surface 2.rough surface (dendritic spine)
3.มี 1 axon/cell 3.ส่วนใหญ่มีมากกว่า 1 dendrite/cell
4.ไม่มี ribosome 4.มี ribosome
5.มี myelin 5.ไม่มี myelin
6.มีการแตกแขนงในตาแหน่งที่ห่างจาก
cell body
6.แตกแขนงในตาแหน่งที่ใกล้กับ
cell body
เซลล์ประสาทแบ่งตามจานวนแขนงที่แยกออกจากตัวเซลล์ แบ่งได้ 3 ชนิดคือ
21
 เซลล์ประสาทขั้วเดียว(unipolar neuron)
- เดนไดรท์ยาวกว่าแอกซอนมาก
- พบที่ปมประสาทรากบนของไขสันหลัง(dorsal root
ganglion)
- มีแขนงแยกออกจากเซลล์บอดีแขนงเดียว
 เซลล์ประสาทสองขั้ว(bipolar neuron)
- มีแขนงแยกออกจากเซลล์บอดี 2 แขนง
- ความยาวของเดนไดรต์และแอกซอนใกล้เคียงกัน
- พบที่เรตินาของลูกตา คอเคลียของหู และเยื่อดมกลิ่นที่
จมูก
 เซลล์ประสาทหลายขั้ว(multipolar neuron)
- มีแขนงแยกออกจากเซลล์บอดี หลายแขนงเป็นแอกซอน
1 และเดนไดรต์หลายแขนง
- เซลล์ประสาทส่วนใหญ่ในร่างกายเป็นแบบหลายขั้ว ซึ่งมี
แอกซอนยาวเดนไดรต์สั้นทาหน้าที่นาคาสั่งไปยังอวัยวะ
ตอบสนอง
- พบที่สมองและไขสันหลัง
*เซลล์ประสาทขั้วเดียวและสองขั้วมักจะทาหน้าที่
เป็นเซลล์ประสาทรับความรู้สึก(sensory neuron)
เซลล์ประสาทแบ่งตามหน้าที่การทางาน แบ่งได้ 3 ชนิดคือ
22
 เซลล์ประสาทรับความรู้สึก(sensory neuron)
- มีเดนไดรต์ต่อยู่กับอวัยวะรับสัมผัส เช่นหู ตา จมูก ผิวหนัง มี
แอกซอนต่ออยู่กับเซลล์ประสาทอื่น และนาความรู้สึกเข้าสู่
สมองและไขสันหลัง
 เซลล์ประสาทประสานงาน
(association neuron หรือ interneuron)
มีเดนไดรต์ต่อยู่กับแอกซอนของเซลล์ประสาทรับความรู้สึก
และมีแอกซอนต่อกับเดนไดรต์ของเซลล์ประสาทสั่งการ ทา
หน้าที่เชื่อมโยงวงจรประสาท พบที่ไขสันหลัง
 เซลล์ประสาทสั่งการ(motor neuron)
มีเดนไดรต์ต่อยู่กับเซลล์ประสาทอื่นและมีแอกซอนต่อกับ
กล้ามเนื้อมัดต่างๆต่อมมีท่อหรือต่อมไร้ท่อ เซลล์ประสาทสั่ง
การเป็นเซลล์ประสาทหลายขั้วพบที่สมอง และไขสันหลัง
23
24
Neuroglia :ทาหน้าที่ค้าจุนเซลล์ประสาทให้อาหารและสนับสนุนให้เซลล์ประสาททาหน้าที่ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด มี
จานวนมากกว่าเซลล์ประสาท 10-50 เท่า ไม่มีบทบาทในการส่งสัญญาณประสาท ประกอบด้วยเซลล์หลายชนิด ได้แก่
Supporting cell or glial cells or neuroglia
• Astrocyte:glia cellในCNSเกิดtight junctionรอบๆ
capillary ทาให้เกิด Blood-brain barrierเป็นเซลล์ที่
มีขนาดใหญ่ ติดกับเซลล์ประสาท หรือเส้นเลือดที่มา
เลี้ยงสมอง ทาหน้าที่ รับส่งสารให้แก่เซลล์ประสาท
• Oligodendrocyte(ในCNS)และSchwann cell (ใน
PNS): glial cell ที่ทาหน้าที่สร้างเยื่อmyelin sheath
หุ้มแอกซอนของเซลล์ประสาทในสมอง
• Microglia มีขนาดเล็กสุดลักษณะเหมือนรากไม้อยู่รอบ
เซลล์ประสาท
• Ependymal cell เป็นเกลียเซลล์สั้นบุอยู่รอบๆใน
สมองและในไขสันหลัง
• Schwann cell เป็นเกลียเซลล์ที่ทาหน้าที่สร้างเยื่อไมอี
ลินชีทหุ้มแอกซอน(แต่ละปล้องคือ 1 เซลล์ชวันน์เซลล์)
ชวันน์ เซลล์
25
 เกิดจากชวันน์ เซลล์ไปห่อหุ้มแอกซอนโดยการโอบล้อมปลายแอกซอน คุณสมบัติเป็น
ชนวน การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทเกิดที่ node of ranvier เท่านั้น
26
การลาเลียงกระแสประสาทในเส้นใยประสาท
โครงสร้างของเซลล์ประสาท การเคลื่อนที่ของกระแสประสาท
1.ใยประสาทมีไมอีลินหุ้ม ขนาดใหญ่ 12 – 120 เมตร/วินาที
2. ใยประสาทมีไมอีลินหุ้ม ขนาดเล็ก 3 – 15 เมตร/วินาที
3. ใยประสาทมีไม่ไมอีลินหุ้ม 0.5 – 2.3 เมตร/วินาที
แบบ 1 พบที่ เส้นประสาทนาความรู้สึกและสั่งการ
แบบ 2 พบที่ เส้นประสาทของระบบประสาทอัตโนมัติ
แบบ 3 พบที่ ระบบประสาทซิมพาเทติก และเส้นใยรับความรู้สึกเจ็บปวด ร้อนหนาว เข้าสู่ไขสันหลัง
ความเร็วของกระแสประสาทในใยประสาท
 เยื่อไมอีลิน ถ้าเยื่อประสาทมีเยื่อไมอีลินหุ้มล้อมรอบกระแสประสาทจะเคลื่อนที่ได้เร็วขึ้นประมาณ 10 เท่า
 ระยะห่างระหว่างโนด ออฟ แรนเวียร์ ถ้าโนด ออฟ แรนเวียร์ ห่างกันมากขึ้นกระแสประสาทจะเคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น
 ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของใยประสาท ถ้าขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของใยประสาทเพิ่มขึ้น กระแสประสาทจะเคลื่อนที่
ได้เร็วขึ้นเพราะเหตุว่ามีความต้านทานต่าลง
Synapse
27
 หมายถึง การถ่ายทอดกระแสประสาทระหว่างเซลล์ประสาทด้วยกัน หรือเซลล์ประสาทกับหน่วย
ปฏิบัติงาน
28
-synaptic terminal (axon ending):ส่วนปลายของaxon ทาหน้าที่หลั่งสาร
neurotransmitter(สารสื่อประสาท)
-synapse:บริเวณที่ synaptic terminal ไปสัมผัสกับเซลล์เป้ าหมาย(neuron/effector)
-เซลล์ที่ส่งสัญญาณเรียก presynaptic cell
-เซลล์เป้ าหมายเรียก postsynaptic cell (จะมี receptorต่อneurotransmitterของ presynaptic cell)
Synaptic terminal
หน้าที่ของซิแนปส์
29
 กระแสประสาทเดินทางเป็นทิศทางเดียวเท่านั้น ไม่ยุ่งเหยิงสับสน
 ทาหน้าที่ขยายสัญญาณ โดยมีการรวมกันหรือกระจายกระแสประสาทออกทาให้คาสั่งนั้น
แผ่กระจายกว้างขวางมากขึ้น
 ทาหน้าที่เป็นศูนย์ประสานงานของคาสั่งต่างๆมีทั้งเร่งการทางานหรือรั่งการทางาน ให้มี
การตอบสนองที่แน่นอนเป็นไปด้วยความเรียบร้อย
ซิแนปส์มี 2 ประเภท
 ไซแนปส์ไฟฟ้า(electeical synapse) เป็นบริเวณหรือช่องไซแนปส์ที่มีขนาดเล็กมาก
กระแสประสาทสามารถผ่านข้ามไปได้โดยตรงโดยไม่จาเป็นต้องอาศัยสื่อใดๆ พบน้อยมาก
เช่น บริเวณปลายกล้ามเนื้อเรียบ
 ไซแนปส์เคมี(chemical synapse) เป็นบริเวณหรือช่องไซแนปส์ที่กระแสประสาทไม่
สามารถผ่านได้ ต้องอาศัยสารสื่อประสาทไปกระตุ้นให้เกิดกระแสประสาท
30
Electrical synapse
-บริเวณ presynatic membrane และ postsynaptic membrane เชื่อมต่อกันด้วย
gap junction ดังนั้น ion current จากaction potential จึงสามารถเคลื่อนจากเซลล์ประสาทหนึ่งไปยังอีก
เซลล์หนึ่งได้โดยตรง
Chemical synapse
1.action potential ที่ synaptic terminal ทาให้เกิด Ca+ influx
2.synaptic vesicle รวมกับเยื่อเซลล์
3.หลั่งneurotransmitter สู่ synaptic cleft และเคลื่อนไปจับกับตัวรับที่ postsynatic membrane
4.การจับทาให้ ion channel (เช่น Na+) เปิด, Na+ เคลื่อนเข้าในเซลล์ เกิด depolarization
สารสื่อประสาท
(neurotransmitter)
สารสื่อประสาท ตาแหน่งที่สร้าง
Acetylcholine CNS,PNS
สร้างจากปลายแอกซอนทั่วไป
Norepinephrine CNS,PNS
Dopamine CNS,PNS
Serotonin CNS
31
สารสื่อประสาทของระบบประสาทอัตโนมัติที่สาคัญได้แก่ acetylcholine (ACh) และ
noradrenaline (norepinephrine, NE) ซึ่งเส้นประสาทที่มี ACh เป็นสารสื่อประสาท เรียกว่า
เส้นประสาท cholinergic และเส้นประสาทที่มี NE เป็นสารสื่อประสาท เรียกว่า เส้นประสาท
adrenergic
การทางานของสารสื่อประสาท
 เมื่อสารสื่อประสาทถูกปล่อยมาจากแอกซอนของเซลล์ประสาทก่อนไซแนป์ ไปยังเดนไดรต์ของเซลล์
ประสาทหลังไซแนป์ จะมีการปล่อยเอนไซม์ออกมาย่อยสลายสารสื่อประสาท
Acetylcholine
Enzyme cholinesterase
Acetic acid + Choline
32
 เซลล์ประสาทที่ปล่อยสารสื่อประสาทแอซีทิลโคลินออกมาที่ปลายแอกซอน เรียกว่า คอลิเนอจิก
นิวรอน(cholinergic neuron)
 สารสื่อประสาทที่ทาหน้าที่กระตุ้นให้เกิดการทางานของระบบประสาท คือ แอซิทิลโคลิน เอพิเนฟริน
นอร์เอพิเนฟริน โดปามีน เซโรโทนิน แอล-กลูทาเมต แอล-แอสพาเตต
 สารสื่อประสาทที่ทาหน้าที่ยับยั้งการทางานของระบบประสาท คือ GABA ไกลซีน และอะลานีน
สารที่มีผลต่อการถ่ายทอดกระแสประสาทที่ซิแนปส์
 สารพิษจากแบคทีเรีย สารจะไปยับยั้งไม่ให้แอกซอนปล่อยสารสื่อประสาททาให้กล้ามเนื้อไม่หดตัว
เกิดอาการอัมพาต
 ยาระงับประสาท ทาให้สารสื่อประสาทปล่อยออกมาน้อย อันมีผลทาให้กระแสประสาทส่งไปยังสมอง
น้อยจึงเกิดอาการสงบ ไม่วิตก
 สารนิโคติน คาแฟอีน แอมเฟตามีน จะไปกระตุ้นให้แอกซอนปล่อยสารสื่อประสาทออกมามาก ทา
ให้เกิดอาการตื่นตัว หัวใจเต้นเร็ว
 ยาฆ่าแมลงบางชนิด จะไปยับยั้งการทางานของเอมไซม์ที่จะมาสลายสารสื่อประสาท
การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทตามลาดับไม่มีการย้อนกลับ
33
แอกซอน ซิแนปส์แคลฟต์ เดนไดรต์
ตัวเซลล์ประสาทแอกซอนซิแนปส์แคลฟต์
การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทในเซลล์ประสาท
พบว่าไมอีลินชีทมีสมบัติฉนวนไฟฟ้ากั้นประจุไฟฟ้าได้
ทาให้ปริมาณประจุไฟฟ้าที่ผิวนอกและผิวด้านใน
แตกต่างกันจึงทาให้เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้า ประมาณ
60-80 mv การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทจึงเป็นการ
กระโดด(saltatory conduction)ระหว่างโนดออฟเรน
เวียร์ที่อยู่ถัดไป
34
-membrane potential: ความต่างศักย์ที่เยื่อเซลล์
เนื่องจากความแตกต่างของอิออน ภายใน-นอกเซลล์
(Na+ K+ Cl- และโปรตีน) ปกติมีค่า= -50 ถึง
-100 mV (ค่าติดลบหมายถึงภายในเซลล์มีขั้วเป็นลบ
เมื่อเทียบกับนอกเซลล์)
-สามารถวัดได้โดยใช้ microelectrode ต่อกับ
voltmeter หรือoscilloscope หรือใช้
micromanipulator วัด
-membrane potential ของเซลล์ประสาทขณะที่ยัง
ไม่ถูกกระตุ้นเรียก resting potential จะมีค่าเป็นลบ -
65 มิลลิโวลต์ ถ้าถูกกระตุ้นเรียกว่า action potential
จะมีค่าเป็นบวก +65 มิลลิโวลต์
การศึกษาการเกิดกระแสประสาท
35
Action potential
-action potential: การเปลี่ยนแปลง membrane potential อย่างรวดเร็วของเซลล์ประสาทเมื่อ
ได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้า ที่ทาให้เกิด depolarization จนถึงระดับ threshold potential
-เกิดที่ axon เท่านั้น และเป็นแบบ all-or-none
threshold potential
 หมายถึง ระดับของการกระตุ้นที่สามารถทาให้เกิดกระแสประสาทในเซลล์ประสาท ความแรงของ
การกระตุ้นที่สูงกว่าระดับเทรสโฮลต์ มิได้ทาให้กระแสประสาทเคลื่อนที่ได้เร็วแต่อย่างใด
all-or-none
• หมายถึง ถ้ากระตุ้นแรงเพียงพอ ก็จะเกิดการนากระแสประสาทไปโดยตลอด แต่ถ้าไม่แรงถึงระดับ
ขีดเริ่มก็จะไม่มีการนากระแสประสาทเกิดขึ้นเลย
36
แผนภูมิวงจรระยะการทางานของเซลล์ประสาท
Polarization
DepolarizationRepolarization
การทางานของเซลล์ประสาท
 มีการแพร่(diffusion) ของโซเดียมจากภายนอกเข้าสู่ภายในและโพแทสเซียมจากภายใน
ออกสู่ภายนอก แต่อัตราการแพร่ของโพแทสเซียมมากกว่าโซเดียมอิออน
 มีกระบวนการแอกทีฟทรานสปอร์ต คือ sodium-potassium pump ของโซเดียม
จากภายในออกสู่ภายนอกและโพแทสเซียมจากภายนอกเข้าสู่ภายใน
37
Polarization
• มีการแพร่(diffusion) ของโซเดียมจากภายนอกเข้าสู่ภายในและโพแทสเซียมจากภายในออกสู่ภายนอก แต่
อัตราการแพร่ของโพแทสเซียมมากกว่าโซเดียมอิออน
• มีกระบวนการแอกทีฟทรานสปอร์ต คือ sodium-potassium pump ของโซเดียมจากภายในออกสู่ภายนอก
และโพแทสเซียมจากภายนอกเข้าสู่ภายใน
Depolarization
• ช่องโซเดียมจะเปิดออกทาให้โซเดียมจากภายนอกเข้ามาภายในเซลล์มากขึ้น เกิดการเปลี่ยนแปลงประจุที่ผิว
ด้านนอกเป็นลบ ประจุด้านในเป็นบวก
• การเปลี่ยนแปลงของประจุที่เยื่อหุ้มเซลล์เป็นผลทาให้เกิดแอกชันโพเทลเชียล หรือ กระแสประสาทขึ้นกระแส
ประสาทส่งไปด้วยความเร็วไม่เกิน 1,000 ครั้ง/วินาที
Repolarization
• มีการเปิดของช่องโพแทสเซียม ทาให้โพแทสเซียมเคลื่อนที่จากภายในออกสู่ภายนอก ที่เยื่อหุ้มเซลล์ด้านนอก
จะเกิดการเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์ไฟฟ้า ทาให้ภายนอกเซลล์เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นประจุบวกและ
ภายในเซลล์เปลี่ยนเป็นประจุลบ
38
แผนภูมิการทางานของกระแสประสาท
39
ระยะคืนกลับสู่ระยะพัก
• มีกระบวนการแอกทีฟทรานสปอร์ต คือ sodium-
potassium pump ของโซเดียมจากภายในออกสู่
ภายนอกและโพแทสเซียมจากภายนอกเข้าสู่ภายใน
ในอัตราส่วน 3Na+ : 2K+ ต่อ 1 ATP
แผนภาพสรุป
การกาเนิดระบบประสาท
40
 ศูนย์กลางของระบบประสาทอยู่ที่สมองและไขสันหลัง ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากนิวรัลทิวบ์(neural tube)
ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อชั้นนอก(ectoderm)ในระยะเอ็มบริโอ ซึ่งมีลักษณะเป็นหลอดยาวมีการ
เจริญพัฒนาการพองออก เจริญเป็นสมอง ส่วนท้ายเจริญเป็นไขสันหลัง ทั้งสมองและไขสันหลังมีเยื่อหุ้ม
เดียวกัน เรียกว่า เยื่อหุ้มสมอง(meninges)ทาหน้าที่ป้องกันอันตรายและเป็นทางให้อาหารแก่สมองและ
ไขสันหลัง
ระบบประสาทแบ่งเป็น
1.ระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous
system; CNS): สมองและไขสันหลัง ทาหน้าที่
รวบรวมและแปลผลข้อมูล
2.ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral nervous
system; PNS): เส้นประสาทสมอง(cranial
nerve) เส้นประสาทไขสันหลัง(spinal nerve) และ
ปมประสาท (ganglia) ทาหน้าที่นาสัญญาณ
ประสาทเข้า-ออก CNS และควบคุมการเปลี่ยนแปลง
สภาพแวดล้อมภายในร่างกาย
ระบบประสาทในสัตว์มีกระดูกสันหลัง
โครงสร้างและการทางานของเซลล์ประสาท
41
Cranial nerves Spinal nerves
เยื่อหุ้ม(meninges) ประกอบด้วย 3 ชั้น คือ
42
 ชั้นนอก(dura matter) หนาและเหนียวและแข็งแรงช่วยป้องกันอันตรายและกระทบกระเทือน
ให้แก่สมองและไขสันหลัง
 ชั้นกลาง(arachniod matter) เป็นเยื่อบางๆอยู่ระหว่างชั้นอกกับชั้นใน
 ชั้นใน(pia matter) เป็นชั้นที่อยู่ติดกับเนื้อสมองและไขสันหลังเส้นเลือดมาหล่อเลี้ยงอยู่มากนา
อาการและออกซิเจนมาให้สมอง
ระบบประสาทส่วนกลาง(central nervous system)
43
การเจริญพัฒนาการของสมอง
โครงสร้างของสมอง
44
• สมองส่วนหน้า(forebrain หรือ prosencephalon)
• สมองส่วนกลาง(midbrain หรือ mesencephalon)
• สมองส่วนท้าย(hindbrain หรือ rhombencephalon)
พัฒนาการสมองของสัตว์
• สมองส่วนหน้า(forebrain หรือ prosencephalon) ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้เป็นส่วน
ใหญ่ พบในสัตว์ที่มีวิวัฒนาการสูงขึ้น
• สมองส่วนกลาง(midbrain หรือ mesencephalon) ทาหน้าที่เกี่ยวกับการมองเห็น จะมี
ขนาดใหญ่สุดในปลาและมีขนาดเล็กลงในสัตว์ที่มีวิวัฒนาการสูงขึ้น
• สมองส่วนท้าย(hindbrain หรือ rhombencephalon) จะมีพัฒนาการดีมากในสัตว์ที่
เคลื่อนที่ 3 มิติ เช่น ปลา นก รวมทั้งคนด้วย
45
เปรียบเทียบการพัฒนาสมองส่วนต่างๆของสัตว์
มีกระดูกสันหลังชนิดต่างๆ
46
โครงสร้างและหน้าที่ในสมองส่วนต่างๆของคน
• สมองส่วนหน้า(forebrain หรือ prosencephalon)
1. ซีรีบัล(cerebrum)
* frontal lobe * temporal lobe * parietal lope* occipital lobe
2. ทาลามัส(thalamus)
3. ไฮโพทาลามัส(hypothalamus)
4. ออแฟกตอรบัลบ์(olfactory bulb)
• สมองส่วนกลาง(midbrain หรือ mesencephalon)
1.ออฟติก โลป(optic lope)
• สมองส่วนท้าย(hindbrain หรือ rhombencephalon)
1.ซีรีเบลลัม(cerebellum) 2.medulla ablongata 3. pons
สมองส่วนหน้า(forebrain หรือ prosencephalon)
47
1. cerebrum
- เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ - เป็นศูนย์กลางการรับรู้
- ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อลาย - ควบคุมการออกเสียงของคน
- ควบคุมเกี่ยวกับอารมณ์ - ควบคุมเกี่ยวกับบุคลิกภาพ
- ควบคุมทักษะ - เกี่ยวกับการต่อสู้
- ควบคุมพฤติกรรมทางสังคม
 frontal lobe เกี่ยวกับความจา ความคิด สั่งงานกล้ามเนื้อ
 temporal lobe ดมกลิ่น ได้ยิน การพูด
เข้าใจคาพูดและการอ่าน
 parietal lope รูสึกตัว การเขียน รับความรู้สึก
 occipital lobe การมองเห็น
48
2. ทาลามัส(thalamus)
- ทาหน้าที่เป็นศูนย์รวมกระแสประสาทที่ผ่านมาแล้วแยกกระแสประสาทไปยังสมองที่เกี่ยวข้อง จึง
อาจเรียกส่วนนี้ว่าเป็นสถานีถ่ายทอดที่สาคัญของสมอง
- ทาหน้าที่เป็นศูนย์รับความเจ็บปวด
3. ไฮโพทาลามัส(thalamus)
- ควบคุมอุณภูมิของร่างกาย การเต้นหัวใจ ความดันเลือด การนอนการหลับ ความหิว ความอิ่ม
ความรู้สึกทางเพศและสร้างฮอร์โมน
- เป็นศูนย์กลางควบคุมระบบประสาทอัตโนวัติ
4. ออแฟกตอรบัลบ์(olfactory bulb)
- ทาหน้าที่เกี่ยวกับการดมกลิ่น
- ในพวกปลาจะเจริญดีมากต่างจากพวกไพรเมต(primate)
49 The limbic system generates the feeling; emotion and memory
50
• สมองส่วนกลาง(midbrain หรือ mesencephalon)
ออฟติก โลป(optic lope) ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการมองเห็นเจริญพัฒนามากในสัตว์พวกปลา
นกและลดน้อยลงในสัตว์ชั้นสูง
• สมองส่วนท้าย(hindbrain หรือ rhombencephalon)
1.ซีรีเบลลัม(cerebellum) ทาหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหวต่างๆให้เป็นไปอย่างสละสลวย ควบคุม
การทรงตัว
2.เมดุลา ออฟลองกาตา(medulla ablongata) ทาหน้าที่เกี่ยวกับระบบประสาทอัตโนวัติ ได้แก่
ควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจ ควบคุมการหายใจ ความดันเลือด การกลืนการจาม การอาเจียน
3. พอนส์(pons) ทาหน้าที่ ควบคุมการเคี้ยว การหลั่งน้าลายและการเคลื่อนไหวของใบหน้าควบคุม
การหายใจ เป็นทางผ่านของกระแสประสาทระหว่างซีรีบรัมกับซีรีเบลลัมและระหว่างซีรีเบลลัม
กับไขสันหลัง
51
สมองส่วนต่างๆของคน
เส้นประสาทสมอง(cranial nerve)
เส้นประสาทสมองมี 3 ประเภท
 เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่รับความรู้สึก(sensory nerve)ทำหน้ำที่ รับกระแสควำมรู้สึก
จำกหน่วยรับควำมรู้สึกไปยังสมองส่วนที่เกี่ยวข้อง
 เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่นาคาสั่ง (moter nerve) ทำหน้ำที่ นำกระแสคำสั่งจำกสมอง
ไปยังหน่วยปฏิบัติงำน
 เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่ผสม (mixed nerve) ทำหน้ำที่รับกระแสควำมรู้สึกจำกหน่วย
รับควำมรู้สึก ไปยังสมองส่วนที่เกี่ยวข้อง และจำกสมองไปยังหน่วยปฏิบัติงำน
เส้นประสาทสมอง(cranial nerve) คนมี 12 คู่
สรุป
54
 เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่รับ
ความรู้สึก มี 3 คู่ ได้แก่
1 , 2 , 8
 เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่นา
คาสั่ง มี 5 คู่ ได้แก่
3 , 4 , 6 , 11 , 12
 เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่ผสม มี
4 คู่ ได้แก่
5 , 7 , 9 , 10
55
ไขสันหลัง(spinal cord)
• เนื้อไขสันหลังมี 2 ส่วนคือ
- white matter เป็นส่วนที่มีสีขาวอยู่รอบนอก โดยบริเวณนี้มีเฉพาะใยประสาทที่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม
โดยไม่มีตัวเซลล์ประสาทอยู่เลย
- Gray matter เป็นส่วนที่มีสีเทา อยู่บริเวณกลางๆ โดยบริเวณนี้มีทั้งตัวเซลล์ประสาทและใย
ประสาทที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม ตัวเซลล์ประสาทมีทั้งเซลล์ประสาทประสานงานและเซลล์ประสาทนา
คาสั่ง
โครงสร้างของไขสันหลัง
 เนื้อไขสันหลังประกอบด้วย 2 ส่วน White matter มีสีขาวอยู่รอบนอก
1. Gray matter มีสีเทา อยู่บริเวณกลางๆ มีรูปร่างคล้ายตัวอักษรตัว H หรือปีกผีเสื้อ
ประกอบด้วย - ปีกบน(dorsal horn) เป็นบริเวณรับความรู้สึก
- ปีกล่าง(ventral horn) เป็นบริเวณนาคาสั่ง
- ปีกข้าง(lateral horn) เป็นระบบประสาทอัตโนวัติเพราะมีเซลล์ประสาท
นา คาสั่งตัวที่ 1 ปรากฏอยู่
56
เส้นประสาทไขสันหลัง
57
 ในคนมีทั้งหมด 31 คู่ ทั้งหมด
เป็ นเส้นประสาทผสม(mixed
nerve)
 เส้นประสาทไขสันหลังจึงเหมือน
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 5,7,9,10
ภาพแสดงไขสันหลังที่บรรจุอยู่ในโพรงกระดูก
58
ระบบประสาทรอบนอกหรือระบบประสาทส่วนปลาย
(peripheral nervous system = PNS)
59
1. ระบบประสาทใต้อานาจจิตใจ(voluntary nervous system) หรือระบบประสาทโซมาติก
(somatic nervous system)
- ศูนย์สั่งการอยู่ที่ สมองและไขสันหลัง
- หน่วยปฏิบัติงาน ได้แก่ กล้ามเนื้อลาย
2. ระบบประสาทอัตโนวัติ(involuntary nervous system หรือ autonomic nervous system)
หรือ ระบบประสาทนอกอานาจจิตใจ
- ศูนย์ควบคุม ได้แก่ เมดุลลา ออฟลองกาต้า และ ไฮโปทาลามัส
- หน่วยปฏิบัติงาน ได้แก่ กล้ามเนื้อเรียบ อวัยวะภายในและต่อมต่างๆ
60
ประเภทของรีแฟลกซ์ แอกชัน(reflex action)
รีแฟลกซ์ แอกชัน(reflex action)
- somatic reflex เป็นรีแฟลกซ์ของระบบประสาทใต้อานาจจิตใจ แต่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าโดยอยู่นอกเหนืออานาจ
จิตใจชั่วขณะ และมีหน่วยปฏิบัติงานเป็นกล้ามเนื้อลาย
* การกระตุกขา เมื่อถูกเคาะที่หัวเข่า
* การชักมือชักเท้าหนีของร้อนๆ หรือของมีคม
- autonomic reflex ป็นรีแฟลกซ์ของระบบประสาทอัตโนวัติ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าอยู่นอกเหนืออานาจจิตใจะ
และมีหน่วยปฏิบัติงานเป็นกล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ อวัยวะภายใน และต่อมต่างๆ
* การเกิดเพอริสตัลซีสที่ท่อทางเดินอาหาร
* การหลั่งน้าตา น้าย่อย น้าลาย น้านม
สิ่งเร้า หน่วยรับความรู้สึก เซลล์ประสาทรับความรู้สึก
เซลล์ประสาทนาคาสั่งหน่วยปฏิบัติงานการตอบสนอง
เซลล์ประสาทประสานงาน
 หน่วยปฏิบัติงานในรีแฟลกซ์นี้เป็ น กล้ามเนื้อลาย
 รีแฟลกซ์ ของการกระตุกขาเมื่อถูกเคาะที่หัวเข่า กระแสประสาทจะไม่ผ่านเซลล์
ประสาทประสานงาน ดังนั้นชนิดเซลล์ประสาทน้อยที่สุดทางานได้ ประกอบด้วย
เซลล์ประสาท 2 ชนิดคือ เซลล์ประสาทรับความรู้สึก และเซลล์ประสาทนาคาสั่ง
somatic reflex
61
62
รีแฟลกซ์ ของระบบประสาทนอกอานาจจิตใจ
63
 หน่วยปฏิบัติงานในรีแฟลกซ์นี้เป็น กล้ามเนื้อเรียบ,กล้ามเนื้อหัวใจ,อวัยวะภายในและต่อมต่างๆ
 จานวนเซลล์ประสาทนาคาสั่งจากศูนย์กลางไปยังหน่วยปฏิบัติงานจะมี 2 เซลล์ซึ่งต่างจากระบบประสาทใต้
อานาจจิตใจมี 1 เซลล์
สิ่งเร้า หน่วยรับความรู้สึก
การตอบสนอง
เซลล์ประสาทรับความรู้สึก
เซลล์ประสาทนาคาสั่ง ตัวที่ 1
(preganglionic neuron)
หน่วยปฏิบัติงาน เซลล์ประสาทนาคาสั่ง ตัวที่ 2
(posganglionic neuron)
ระบบประสาทอัตโนวัติ(autonomic nervous system)
- ระบบประสาทซิมพาเทติก(sympathetic nervous system) เป็นระบบประสาทอัตโนวัติที่มีเซลล์ประสาทนา
คาสั่งตัวที่ 1 (preganglionic neuron) อยู่ในไขสันหลังส่วนอก และเอว(thoracolumbar outflow)
- ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก(parasympathetic nervous system) เป็นระบบประสาทอัตโนวัติที่เซลล์
ประสาทตัวที่ 1 อยู่ในสมองและไขสันหลังส่วนกระเบนเหน็บ
เปรียบเทียบระหว่างซิมพาเทติกกับพาราซิมพาเทติก
สิ่งที่เปรียบเทียบ ระบบประสาทซิมพาเทติก ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
ตาแหน่งของเซลล์ประสาทนาคาสั่ง
-ตัวที่ 1 (preganglionic neuron)
อยู่ในไขสันหลังส่วนอกและเอว อยู่ในสมองและไขสันหลังส่วนกระเบน
เหน็บ
- ตัวที่ 2 (posganglionic neuron) อยู่นอกไขสันหลังโดยอยู่ใกล้
ศูนย์สั่งงาน โดย 1 สั้น 2 ยาว
อยู่นอกสมองและไขสันหลังอยู่ใกล้
หน่วยปฏิบัติงาน โดย 1 ยาว 2 สั้น
ตาแหน่งปมประสาท อยู่ใกล้ศูนย์สั่งงาน แต่อยู่ไกล
หน่วยปฏิบัติงาน
อยู่ใน/ใกล้หน่วยปฏิบัติงาน แต่อยู่ไกล
ศูนย์ส่งงาน
ศูนย์กลางการสั่งงาน อยู่ในไขสันหลัง อยู่ในสมองและไขสันหลัง
สารสื่อประสาทของเซลล์ประสาทนาคาสั่ง
-ตัวที่ 1 (ไซแนป์กับเซลล์ประสาทนาคาสั่งตัวที่ 2) Acetylcholine
- ตัวที่ 2 (ไซแนป์กับหน่วยปฏิบัติงาน) noradrenaline acetylcholine
ลักษณะการตอบสนองของหน่วยปฏิบัติงาน กระตุ้น ยับยั้ง
ชื่ออวัยวะ ซิมพาเทติก พาราซิมพาเทติก
ม่านตา รูม่านตาเปิดกว้าง รูม่านตาหรี่
ต่อมน้าลาย กระตุ้นการหลั่งน้าลาย ยับยั้งการหลั่งน้าลาย
หัวใจ เพิ่มอัตราสูบฉีด ทาให้เส้นเลือดขยายตัว ลดอัตราการสูบฉีด
เส้นเลือดอาร์เทอรี่ บีบตัวที่ผนัง และอวัยวะภายใน บีบและคลายที่กล้ามเนื้อลาย คลายตัวที่ต่อมน้าลาย และอวัยวะสืบพันธุ์
ต่อมน้าลาย สร้างน้าเมือก สร้างส่วนที่เป็นน้า
กระเพาะและลาไส้เล็ก ห้ามการเคลื่อนไหวแบบเพอริสเตอลซีส กระตุ้นการเคลื่อนไหวแบบเพอริสเตอลซีส
อะดรีนัล เมดุลลา กระตุ้นการหลั่งอะดีนาลีนและนอร์อะดีนาลีน ไม่มี
ตับ กระตุ้นการสลายตัวของไกลโคเจน บีบตัวและกระตุ้นการหลั่งน้าดี
ตับอ่อน ไม่มี กระตุ้นการหลั่งอินซูลินและน้าย่อย
ม้าม กระตุ้นให้บีบตัว นาเลือดเข้าสู่ระบบหมุนเวียนเลือดมากขึ้น ไม่มี
กระเพาะปัสสาวะ ทาให้กระเพาะปัสสาวะคลายตัวไม่ให้ปัสสาวะ กระตุ้นให้กระเพาะปัสสาวะปีบตัวมีการปัสสาวะ
ปอด กระตุ้นการขยายตัวของบรองคิโอล์ทาให้หายใจคล่อง กระตุ้นการบีบตัวของบรองคิโอลหายไม่คล่อง
ต่อมเหงื่อ กระตุ้นการขับเหงื่อออกมา ไม่มี
อวัยวะสืบพันธุ์ กระตุ้นการหลั่งน้าอสุจิในเพศชาย กระตุ้นเพนนิสและคลิเทอริสให้แข็งตัว
65
66
Parasympathetic and sympathetic nervous system
-parasympathetic และ
sympathetic มักจะทางาน
ตรงข้ามกัน (antagonist)
-sym มักจะกระตุ้นการทางานของ
อวัยวะที่ทาให้เกิดการตื่นตัวและ
ก่อให้เกิดพลังงาน ในขณะที่
parasym จะเกิดตรงกันข้าม
-sympathetic neuron
มักจะหลั่ง norepinephrine
-parasympathetic neuron
มักจะหลั่ง acetylcholine
preganglionicganglion, Achpostganglionic ganglion
67
เปรียบเทียบระบบประสาทใต้อานาจจิตใจกับระบบประสาทอัตโนวัติ
โครงสร้างและหน้าที่ ระบบประสาทใต้อานาจจิตใจ ระบบประสาทอัตโนวัติ
จานวนเซลล์ประสาทนาคาสั่งถึงหน่วย
ปฏิบัติงาน
หนึ่งเซลล์ สองเซลล์ คือ preganglionoic neuron และ
postganglionicneuron
หน่วยปฏิบัติงาน กล้ามเนื้อลาย กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ และต่อมต่างๆ
ปมประสาทที่อยู่นอกสมองและไขสันหลัง ไม่มี มีทั้งบริเวณข้างกระดูกสันกลังและห่างออกไปจาก
กระดูกสันหลัง
ใยประสาท มีเยื่อไมอีลิน มีเยื่อไมอีลินเฉพาะใยประสาทของ preganglionoic
neuron
ร่างแหประสาท ไม่มี พบที่ทางเดินอาหาร
สารสื่อประสาทที่สาคัญ อะซิติลโคลีน อะซิติลโคลีนสาหรับเส้นประสาทพาราซิมพาเทติก
และเส้นประสาท preganglionoic neuron ของซิมพา
เทติก
การทางานของหน่วยปฏิบัติงาน กระตุ้น เป็นทั้งกระตุ้นและยับยั้ง
บทบาททั่วไป ปรับให้เข้ากับสภาพแวดล้อม
ภายนอก
ปรับให้เข้ากับสภาพแวดล้อมภายในร่างกาย
68
69
70
อวัยวะรับสัมผัส
-Sensation: การเคลื่อนของ action potential ผ่าน sensory neuron ไปยังสมอง
-Perception: การรวบรวมและแปลผล sensation ที่สมองได้รับ
SENSORY MECHANISM
Sensory Mechanism ประกอบด้วย
1. Sensory transduction การที่สิ่งเร้ามากระตุ้น receptor cell แล้วทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อ
membrane potential
2. Amplification การขยายสัญญาณจากการกระตุ้นของสิ่งเร้า เช่น การขยายสัญญาณภายในหูจาก
การสั่นของเยื่อแก้วหู และกระดูกหู 3 ชิ้น
3. Transmission การนาสัญญาณประสาท (nerve impulse) ไปยัง CNS
4. Integration การรวบรวม nerve impulse ที่ได้รับ โดยการ summation of graded potential
Sensory adaptation การลดการตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่กระตุ้นมาอย่างต่อเนื่อง เช่น การลดการ
ตอบสนองต่อการสัมผัสของเสื้อผ้าที่สวมใส่
71
แบ่ง sensory receptor ตามชนิดของสิ่งเร้าได้เป็น 5 ชนิด คือ
1.Mechanoreceptor: สิ่งเร้าเป็นแรงกล เช่น แรงดัน (ผิวหนัง), การสัมผัส(ผิวหนัง), การเคลื่อนไหว(หู),
เสียง(หู)
2.Chemoreceptor: สิ่งเร้าเป็นสารเคมี เช่น กลูโคส, O2, CO2, กรดอะมิโน
-Gustatory (taste) receptor (ลิ้น)และ Olfactory (smell) receptor (จมูก)
3.Electromegnetic receptor (Photoreceptor): สิ่งเร้าเป็นพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น
แสง (visible light), กระแสไฟฟ้า, สนามแม่เหล็ก (ตา)
4.Thermoreceptor: สิ่งเร้าเป็นอุณหภูมิ เช่นความร้อน, ความเย็น (ผิวหนัง)
แบ่ง sensory receptor ตามการรับสิ่งเร้าได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
1.Exteroreceptor: รับสิ่งเร้าจากภายนอกร่างกาย เช่น ความร้อน, แสง, ความดัน, สารเคมี
2.Interoreceptor: รับสิ่งเร้าจากภายในร่างกาย เช่น blood pressure(พบที่เส้นเลือด) , body position
(พบที่หู)
โครงสร้างของนัยน์ตาคน
72
 Sclera หรือ sclerotic coat ได้แก่ส่วนขาวของตา ส่วนหน้าสุดจะโป่งออก เรียกว่า กระจกตา(cornea) หรือตาดา
เป็นส่วนที่ให้แสงเข้าผ่าน
 Choroid เป็นเยื่อบางๆสาหรับอาศัยของเส้นเลือดที่มาเลี้ยงลูกตาผนังจะมีรงควัตถุดูดแสงมิให้ผ่านทะลุไปยังด้านหลัง
ของนัยน์ตา ด้านหน้าจะมีเยื่อยื่นออกมาเรียกว่า ม่านตา(Iris)ช่องตรงกลางเรียกว่า รูม่านตา(pupil) ซึ่งจะเกี่ยวกับ
ปริมาณแสง
 Retina เป็นผนังชั้นในสุด เป็นที่อยู่ของเซลล์รับแสง 2 ชนิด
1. เซลล์รูปแท่ง(rod cell) ทางานได้ดีขณะแสงสลัว จึงพบมากในสัตว์ออกหากินในเวลากลางคืน ภาพที่เห็น
เรียกว่า scotopic vision เป็นภาพที่ไม่มีรายละเอียด ไม่มีสีสันเป็นขาวดา ไวต่อแสงสีเขียวมากที่สุด เซลล์รูป
แท่งหนาแนนที่สุด ทางด้านข้างของเรตินาและลดน้อยลงเมื่อเข้าใกล้ใจกลางเรตินาดังนั้นเวลากลางคืนจะเห็น
ภาพชัดเจนเมื่อแสงตกที่ด้านข้างเรตินา
2. เซลล์รูปกรวย(cone cell) ทางานได้ดีขณะแสงมาก จึงพบมากที่หากินในเวลากลางวัน ภาพที่เห็นเรียกว่า
photopic vision ภาพมีสีสันรายละเอียด ไวต่อแสงน้าเงิน เขียว แดง มาก เซลล์รูปกรวยหนาแน่นบริเวณใจ
กลางเรตินาเรียกตาแหน่งนี้ว่าโพเวีย(fovea) ซึ่งเห็นภาพชัดเจนที่สุด เมื่อออกด้านข้างเซลล์รูปกลวยจะลดลง
*จุดบอด(bilnd spot) บริเวณนี้จะมีเส้นประสาทคู่ที่ 2 อยู่จึงไม่พบเซลล์รูปแท่งและเซลล์รูปกรวย
ตา(Eye): การมองเห็น
73
74
Single lens eyes ในคน
white outer layer of
connective tissue
thin, pigmented layer
give the eye its color
contain photoreceptor cell
the information of photoreceptor leaves the eye,
the optic nerve attached to the eyes
clear, watery
jelly-like
liquid lens
transparent protein
Photoreceptor cells: Rod cell and Cone cell
75
การมองภาพระยะใกล้และไกล
a.การมองภาพระยะใกล้(accommodation)
ciliary muscle หดตัว suspensory
ligament หย่อน เลนส์หนาขึ้นและกลมขึ้น
b.การมองภาพระยะไกล
ciliary muscle คลายตัว suspensory
ligament ตึง เลนส์ถูกดึงทาให้แบน
76
Photoreceptors of the retina
-photoreceptors มี 2 ชนิด
1.Rod cells มี ประมาณ 125 ล้านเซลล์
-ไวแสง แต่ไม่สามารถแยกสีได้
2.Cone cells มีประมาณ 6 ล้านเซลล์
-ไม่ไวแสง แต่สามารถแยกสีได้ แบ่งเป็น red
cone, green cone, blue cone
-fovea เป็นบริเวณที่มีแต่ cone cells ไม่มี rod
cell
77
สรีรวิทยาของการมองเห็นภาพ
พบว่าส่วนนอกสุดของเซลล์รูปแท่งมีรงควัตถุสีม่วง
แดง เรียกว่า โรดออฟซิน(rhodopsin) ซึ่งประกอบ
จากโปรตีน เรียกว่า ออฟซิน(posin)
จับกับอนุพันธ์ของวิตามิน A เรียกว่า เรตินิน
(retinene)ในรูปของ Cis-retinene รงควัตถุ
เปรียบเสมือนสารเคมีที่ฉาบไว้บนฟิลม์ในกล้อง
ถ่ายรูปเมื่อได้รับแสงจะเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี
กลายเป็น lumirhodopsin และMetarhodopsin
แล้วสลายตัวเป็น opsin กับ retinene และเกิด
พลังงานในรูปกระแสไฟฟ้ากระตุ้นทาให้เกิดกระแส
ประสาทในเซลล์รูปแท่งและถ่ายทอดไปยัง
เส้นประสาทเส้นที่ 2 และเพื่อไปแปลความหมายของ
ภาพที่สมองส่วนซีรีบรัม
78
The Vertebrate Retina
ขั้นตอนการเกิดภาพมีดังนี้
1.หลังจากแสงมากระตุ้น rods&cones เกิด action
potential
2.rods&cones synapse กับ bipolar cells
3.bipolar cells synapse กับ ganglion cells
4.ganglion cells ส่ง visual sensation (action
potential)ไปยังสมอง
5.การถ่ายทอดข้อมูลระหว่าง rods&cones,
bipolar cells, ganglion cells ไม่ได้เป็นแบบ
one-to-one
6.horizontal&amacrine cells ทาหน้าที่ integrate
signal
79
Neural Pathways for Vision
-สมองด้านขวารับ sensory information จาก
วัตถุที่อยู่ทางด้านซ้าย (left visual field, blue)
-สมองด้านซ้ายรับ sensory information จาก
วัตถุที่อยู่ทางด้านขวา (right visual field, red)
-optic nerve จากตาทั้งสองข้างจะมาพบกันที่
optic chiasma
-optic nerve จะเข้าสู่ lateral geniculate nuclei
ของ thalamus
-ส่ง sensation ไปยัง primary visual cortex ใน
occipital lobe ของ cerebrum
การบอดสี(colour blindness)
80
 การเห็นสีเกิดจากการทางานของเซลล์รูปกรวย(cone cell) แบ่งเป็น 3 พวกเซลล์รูปกรวยรับสี
แดง,น้าเงิน,เขียว การที่เราเห็นสีมากมายเนื่องจากกระตุ้นเซลล์รูปกรวยแต่ละสีพร้อมๆกันด้วย
ความเข้มต่างกัน เกิดการผสมสีเป็นสีต่างๆกัน การเกิดการบอดสีคือการที่เซลล์รูปกรวยชนิดใด
ชนิดหนึ่งพิการทางานไม่ได้โดยการบอดสีสามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้
 คนส่วนมากพบตาบอด สีแดง>เขียว>น้าเงิน
81
 สายตาสั้น(myopia) คือสภาวะที่กระบอกตายาวกว่าเดิม ทาให้แสงจากวัตถุโฟกัสที่วุ้นในลูกตาแล้ว
กระจายออกเป็นวงพร่าไปตกบนเรตินา
* การแก้ไข กระทาโดยการใส่แว่นตาที่ประกอบด้วยเลนส์เว้าช่วยกระจายแสง เพื่อยืดความยาวของ
โฟกัสออกให้มาตกที่บริเวณเรตินาพอดี
 สายตายาว(hypermetropia) คือ ภาวะที่กระบอกตาสั้นกว่าปรกติ ทาให้แสงตกบนเรตินาก่อนที่มีการ
โฟกัส
* การแก้ไข กระทาโดยการใส่แว่นตาที่ประกอบด้วยเลนส์นูนช่วยรวมแสง เพื่อให้แสงมาตกที่บริเวณเรติ
นาพอดี
• สายตาเอียง(astigmatism) คือสภาวะเกิดจากการที่ผิวกระจกตาหรือ เลนส์ ไม่สม่าเสมอทาให้โค้งไม่
เท่ากัน แสงจากวัตถุผ่านกระจกตาทาให้เกิดการหักเหและให้ภาพไม่เป็นจุดชัด
* การแก้ไข กระทาโดยการใช้เลนส์ทรงกระบอกหรือทั้งเลนส์ทรงกระบอกและทรงกลม เพื่อให้แสงในแต่
ละระนาบมาโฟกัสที่จุดเดียวกัน
82
หู(Ear): การได้ยินและการทรงตัว
โครงสร้างของหู(ear)
83
 โครงสร้างของหูส่วนนอก
- ใบหู(pinna)
- ช่องหูหรือรูหู(external auditory canal)
- แก้วหูหรือเยื่อแก้วหู(tympanic membrane หรือ ear drum)
 โครงสร้างของหูส่วนกลาง
- ท่อยูสเตเชียน(eustachian tube)ทาหน้าที่ปรับความดันระหว่างหูตอนกลางและอากาศภายนอก และระบายคลื่น
เสียงส่วนเกิน
จากหูตอนใน
- กระดูกหู มีข้างละ 3 ชิ้น ได้แก่ กระดูกค้อน(malleus) กระดูกทั่ง(incus) กระดูกโกลน(stapes) ทาหน้าที่ขยายความ
สั่นสะเทือนของคลื่นเสียงให้มากขึ้นกว่าเดิมถึง 20 เท่า เมื่อเข้าในหูตอนใน
 โครงสร้างของหูส่วนใน เป็นที่อยู่ของอวัยวะรับเสียงและอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการทรงตัว
1. Utricular region เป็นที่อยู่ของอวัยวะการทรงตัวประกอบด้วยถุง utriculus และมี เซมิเซอร์คิวลาแคแนล
(semicitcular canal) เป็นหลอดครึ่งวงกลม 3 อัน มีของเหลวบรรจุอยู่
2. saccular region เป็นที่อยู่ของอวัยวะรับเสียงเรียกว่า คอเคลีย(cochiea) มีลักษณะคล้ายก้นหอยภายในมีของเหลว
บรรจุอยู่ เมื่อคลื่นเสียงผ่านเข้ามาภายในทาให้เกิดการสั่นสะเทือนกระตุ้นส่งสัญญานไปตามเส้นประสาท
84
การทรงตัว
temperal bone
(hearing)
perilymph fluid
(endolymph fluid)
(equilibrium)
การโค้งงอของ
hair cell ทาให้
เกิด action
potential
85
การทรงตัว
-utricle, saccule และ semicircular canals ในหูชั้นใน รับรู้เกี่ยว
กับการทรงตัวและตาแหน่งของร่างกาย โดยมี hair cell อยู่ข้างใน
-utricle&sacculeส่งสัญญาณให้สมองรับรู้ว่าทิศใดเป็นด้านบนและ
ร่างกายอยู่ในท่าได้
-semicircular canals รับรู้เกี่ยวกับทิศทางทั้ง 3 ระนาบ โดยบริเวณ
โคนท่อมีการบวมเป็นกระเปาะเรียก ampulla
-ในampullaมี gelatinous cap เรียก cupula ที่มี hair cell อยู่
86
จมูก(Nose): การได้กลิ่น
-olfactory receptor cell เป็น neuron มาทาหน้าที่โดยตรง
-ส่วนปลายของเซลล์ยื่นออกมาเป็น cilia สู่ mucus
-สารเคมีมาจับกับ receptor ที่เยื่อเซลล์ของ cilia
-เกิด signal-transduction pathway, depolarization, action potential สู่สมอง
87
ลิ้น(Tongue): การรับรส
-บนลิ้นของคนมีตุ่มลิ้น(taste bud)ประมาณ 10,000 อัน ฝังตัวอยู่ในปุ่มลิ้น (papilla)
-แต่ละ taste bud จะมี taste (gustatory) receptor cell ซึ่งเป็น modified epithelial cell อยู่
การรับรส มีขั้นตอนดังนี้
1.โมเลกุลของสารเช่นน้าตาล จับกับtaste receptor
2.มีการส่งสัญญาณผ่าน signal-transduction pathway
3.K+ channel ปิด Na+channel เปิด
4.Na+ แพร่เข้าสู่เซลล์ เกิด depolarization
5.กระตุ้นการนา Ca+ เข้าสู่เซลล์
6.receptor cell หลั่ง
neurotransmitter
ที่ไปกระตุ้น sensory
neuron ต่อไป
88
ผิวหนัง(Skin): การับสัมผัส
-สิ่งเร้าที่เป็นแรงกลจะทาให้เกิดการโค้งงอหรือบิดเบี้ยว
ของเยื่อเซลล์ของ mechanoreceptor จะทาให้
permeability ต่อ Na+ และ K+ เปลี่ยนไป และทาให้เกิด
depolarization
-mechanoreceptor เป็น modified dendrite ของ sensory
neuron
Pacinian
corpuscle
Meissner’s
corpuscle
Krouse’s
end bulb
Ruffini’s
corpuscle
 รีเซปเตอร์รับการสัมผัส อยู่มากตามฝ่ามือฝ่าเท้า
มากกว่าที่อื่น บริวเวณที่มีขนน้อยกว่าไม่มีขน โดย
ปลายนิ้วจะมีมากกว่าที่อื่น
 รีเซปเตอร์รับร้อน-หนาว ไม่พบที่อวัยวะภายใน พบ
ที่หลังมือมากกว่าฝ่ามือ(ไม่แน่นอน)
 รีเซปเตอร์รับความเจ็บปวด จะมีการส่งกระแส
ประสาทไปยัง ทาลามัส และถ่ายทอดไปยังซีรับรัม
คอเทกซ์ บริเวณที่มีรีเซปเตอร์นี้น้อยได้แก่บริเวณ
ต้นแขนและตะโพก
 ปลายประสาทรับรู้เกี่ยวกับเจ็บปวด จะอยู่ชั้นบนสุด
ของผิวหนังปรากฏบริเวณชั้นหนังกาพร้า
 ปลายประสาทรับรู้แรงกดดัน จะอยู่ระดับล่างสุด
โดยปรากฏภายใต้ชั้นหนังแท้
89
“THE END”
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!

Contenu connexe

Tendances

อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกThitaree Samphao
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1Yaovaree Nornakhum
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติAomiko Wipaporn
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนรากdnavaroj
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์Phattarawan Wai
 
แบบทดสอบขับถ่าย
แบบทดสอบขับถ่ายแบบทดสอบขับถ่าย
แบบทดสอบขับถ่ายWichai Likitponrak
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสBiobiome
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1Jariya Jaiyot
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 

Tendances (20)

อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมนชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
แบบทดสอบขับถ่าย
แบบทดสอบขับถ่ายแบบทดสอบขับถ่าย
แบบทดสอบขับถ่าย
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 

En vedette

วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปWichai Likitponrak
 
ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลWichai Likitponrak
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติWichai Likitponrak
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศWichai Likitponrak
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชWichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์Wichai Likitponrak
 
สังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงสังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงWichai Likitponrak
 
มหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชมหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชWichai Likitponrak
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตWichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีWichai Likitponrak
 
รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนWichai Likitponrak
 

En vedette (20)

รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
 
Toolkit for 21st century
Toolkit for 21st centuryToolkit for 21st century
Toolkit for 21st century
 
ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืช
 
สืบดอก
สืบดอกสืบดอก
สืบดอก
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศ
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมช
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
 
สังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงสังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสง
 
มหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชมหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืช
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
วิจัย21สสค
วิจัย21สสควิจัย21สสค
วิจัย21สสค
 
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
 
รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอน
 

Similaire à ประสาท

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทauttapornkotsuk
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทikaen2520
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทyangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkruchanon2555
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkalita123
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทbowpp
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับNichakorn Sengsui
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)Natthaya Khaothong
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้Nichakorn Sengsui
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการWan Ngamwongwan
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลังWan Ngamwongwan
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1juriyaporn
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกbosston Duangtip
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทPok Tanti
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกไผ่ไผ่ อยากเด่น
 

Similaire à ประสาท (20)

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
Biology m6
Biology m6Biology m6
Biology m6
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 

Plus de Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

Plus de Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

ประสาท

  • 1. 1 บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับสัมผัส NERVOUS SYSTEM AND THE SENSE รายวิชาชีววิทยา 2 (ว32242) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556
  • 2. 2 ระบบประสาท (nervous system) ฮอร์โมน (hormone) ระบบประสานงาน (coordinating system)  สิ่งมีชีวิตมีการเคลื่อนที่เพื่อตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมอยู่เสมอ การเคลื่อนที่ของ สิ่งมีชีวิตที่แตกต่างกันเกิดจากการมีโครงสร้างของร่างกาย และอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ แตกต่างกัน การรับรู้และการตอบสนอง
  • 3. ระบบประสาท 3  หมายถึง ระบบที่เกี่ยวกับการสั่งงาน การติดต่อเชื่อมโยง การประสานงาน การรับคาสั่ง และปรับ ระบบต่างๆของร่างกายให้เข้ากับสภาพแวดล้อมทั้งภายนอกและภายใน โดยใช้เวลารวดเร็วและ สิ้นสุดอย่างรวดเร็ว ส่วนระบบต่อมไร้ท่อนั้นจะตอบสนองเป็นไปอย่างช้าๆและกระทาต่อเนื่อง เป็นเวลานาน • ไวต่อสิ่งเร้า(stimulus) • นากระแสประสาทได้ คุณสมบัติของเซลล์ประสาท
  • 5. ระบบประสาทของพารามีเซียม 5  ไม่มีระบบประสาทที่แท้จริง มีเส้นใยประสานงาน (co- ordinating fiber) ซึ่งอยู่ใต้ผิวเซลล์เชื่อมโยงระหว่าง โคนซิเลียแต่ละเส้นทาให้เกิดการประสานงานกัน ระบบประสาทของยูกลีนา  มี Eyespot เป็นบริเวณรับแสง ทาให้สามารถ ทราบความเข้มแสงและทิศทางของแสงได้
  • 6. ระบบประสาทของซีเลนเทอเรต 6  ไฮดรายังไม่มีระบบประสาท แต่มีเส้นใยประสาท เรียกว่า ร่างแหประสาท(nerve net)  เมื่อกระตุ้นทุกส่วนร่างกายจะหดตัว  การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทจะช้ากว่าสัตว์ชั้นสูงมาก และมีทิศทางที่ไม่แน่นอน  ปากและเทนตาเคิล(tentacle)มีเส้นใยประสาทมาก  พบที่ผนังลาไส้ในสัตว์ชั้นสูง ทาให้เกิด peristalsis ระบบประสาทของหนอนตัวแบน  พลานาเรีย มีปมประสาท 2 ปมอยู่ที่ส่วนหัว เรียกว่า ปม ประสาทสมอง(cerebral ganglion) ทาหน้าที่เป็นสมอง  ทางด้านล่างสมองมีเส้นประสาทแยกออกข้างลาตัวข้างละเส้น เรียกว่า เส้นประสาททางด้านข้าง (lateral nerve cord) มี เส้นประสาทพาดขวางเป็นระยะเรียกว่า เส้นประสาทตามขวาง (transverse nerve)
  • 7. ระบบประสาทของหนอนตัวกลม 7  มีปมประสาทรูปวงแหวน(nerve ring) อยู่รอบคอหอย (circumpharyngeal brian)  มีเส้นประสาททางด้านหลัง เรียกว่า dorsal nerve cord และเส้นประสาททางด้านล่าง เรียกว่า ventral nerve cord ระบบประสาทของพวกมอลลัสก์  หอยกาบคู่ มีปมประสาท 3 คู่ 1. ปมประสาทสมอง(cerebral ganglion) อยู่ ทางด้านข้างของปาก ควบคุมอวัยวะตอนบน 2. ปมประสาทที่อวัยวะภายใน(visceral ganglion)อยู่ทางด้านท้ายควบคุมอวัยวะ ภายใน เช่นระบบย่อยอาหาร ตับ หัวใจ 3. ปมประสาทที่เท้า(pedal ganglion)อยู่ที่เท้า ทาหน้าควบคุมการยืดตัวและหดตัวที่ กล้ามเนื้อเท้า
  • 8. ระบบประสาทของแอนเนลิด 8  ไส้เดือนมีระบบประสาทประกอบด้วย 1. สมอง(brain) ปมประสาท 2 ปมเป็นพู เรียกว่าปมประสาท ซีรีบรัล(cerebral ganglion) 2. ปมประสาทใต้คอหอย(subpharyngeal ganglion) เกิด จากแขนงประสาทที่แยกออกจากสมองแล้วอ้อมรอบคอ หอย(circumpharyngeal commissure) มาบรรจบกัน 3. เส้นประสาททางด้านท้อง(ventral nerve cord) มี เส้นประสาท 2 เส้นแต่มักรวมกันเป็นเส้นเดียว และมีปม ประสาทแต่ละปล้องและแขนงประสาท 3-5 คู่แยกออกไป เลี้ยงอวัยวะต่างๆ  ไส้เดือนมีเซลล์ที่ทาหน้าที่รับสัมผัสแสงเรียกว่า โฟโตรีเซปเตอร์ เซลล์(photoreceptor cell)  มีเซลล์ทาหน้าที่รับความรู้สึก (sensory cell) และดมกลิ่น ด้วย
  • 9. ระบบประสาทของพวกอาร์โทพอด 9  แมลงมีระบบประสาทที่พัฒนามากประกอบด้วย 1. สมอง(brain)เกิดจากปมประสาท 2 ปมมารวมกัน ไปยัง optic nerve 1 คู่ และ antennary nerve 1 คู่ 2. ปมประสาทใต้หลอดอาหาร (sub-esophageal ganglion) 3. เส้นประสาททางด้านท้อง (ventral nerve cord)  แมลงมีตาประกอบ(compound eye) รับภาพและแสงได้ดี  อวัยวะรับเสียง(sound receptors) เช่น อวัยวะทิมพานัม (tympanum organ)รับแรงสันสะเทือนได้ดี  อวัยวะรับรู้สารเคมี(chemoreceptors) เช่น หนวด ปาก ขาเดิน
  • 10. ระบบประสาทของเอไคโนเดิร์ม 10  ระบบประสาท วงแหวนประสาท(nerve ring)อยู่รอบปาก มี แขนงประสาทแยกออกไปยัง arm เรียกว่า radial nerve  มีอวัยวะสัมผัสแสงเรียกว่า จุดตา(eyespot) อยู่ที่บริเวณ ปลายสุดของทุกแฉก  เทนเทเคิล(tentacle) รับสัมผัสเคมี  ประกอบด้วยสมอง เป็นปมประสาทขนาดใหญ่อยู่ส่วนหัว มีแขนง แยกไปเลี้ยงตา (optic nerve) และไปเลี้ยงหนวด  จากปมประสาท สมองมีเส้นประสาทล้อมรอบหลอดอาหาร ลง มายังปมประสาทด้านล่าง รวมกันเป็นปมประสาททรวงอก (thoracic ganglion) ซึ่งมีปมประสาท 7 ปม จากนั้นจะทอดยาว เป็นปมประสาทส่วนท้อง (ventral nerve cord) และมีปม ประสาทแยกออกไปยังกล้ามเนื้อ และระยางค์ต่าง ๆ ระบบประสาทของกุ้ง
  • 11. 11 สรุป -สัตว์พวกแรกที่เริ่มมีระบบประสาทที่แท้จริงคือ cnidarians เรียก nerve net -ในดาวทะเล ระบบประสาทจะซับซ้อนขึ้น โดยจะมี nerve ring เชื่อม กับ radial nerve ที่เชื่อมอยู่กับ nerve net ในแต่ละแขนของดาวทะเลอีกทีหนึ่ง -สิ่งมีชีวิตตั้งแต่พวกหนอนตัวแบนเป็นต้นไป จะมีการรวมกันของเซลล์ประสาท (ganglion) ที่บริเวณ หัว เรียก cephalization -พลานาเรียจะมีการเรียงตัวของเส้นประสาทบริเวณด้านข้างลาตัวทั้ง 2 ข้างและจะมีเส้นประสาท เชื่อม เรียก transverse nerve -ตั้งแต่พวกหนอนตัวกลมขึ้นไป จะมีการเรียงตัวของเส้นประสาทอยู่ทางด้านท้องเรียก ventral nerve cord -ในแมลงมีการรวมกันของเซลล์ประสาท เรียก glangion ในแต่ละข้อปล้องของลาตัว -ในสัตว์มีกระดูกสันหลัง จะมี dorsal hollow nerve cord มาแทนที่ ventral nerve cord และไม่ มี segmental ganglia
  • 13. 13 -เซลล์ประสาท (neuron or nerve cell) เป็นเซลล์ที่มีคุณสมบัติในการเปลี่ยนแปลง พลังงานจากรูปแบบหนึ่งไปเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง (transducer) เช่นเปลี่ยนจาก สารเคมี ความร้อน และความดันที่มากระตุ้น (stimulus) ให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า (electrical signal) ที่เรียกว่า nerve impulse หรือ action potential เซลล์ประสาท (neuron หรือ nerve cell)
  • 14. การขนส่งสารของเซลล์ประสาท 14 มี 2 ระบบ ได้แก่ 1. ระบบแอกโซพลาสมิกโฟลว์(axoplasmic flow) สารที่ขนส่งจะไปทาหน้าที่ซ่อมแซมใย ประสาทที่ถูกตัดหรือถูกทาลาย ซึ่งจะเป็นการขนส่งช้าๆ 2. ระบบแอกโซนัล ทรานสปอร์ต(axonal transport) ขนส่งสารที่ทาหน้าที่ปลายแอกซอน และต้องใช้พลังงานด้วย
  • 15. โครงสร้างของระบบประสาท 15  เซลล์ประสาท (neuron หรือ nerve cell)  เซลล์ค้าจุน (glial cells) เซลล์ประสาท (neuron หรือ nerve cell) 1. ตัวเซลล์ประสาท (cell body) 2. ใยประสาท (cell process หรือ nerve fiber) - เดนไดรต์ (dendrite) - แอกซอน (axon)
  • 17. 17 Dendrite -dendrite นาคาสั่ง/ข้อมูลจากเซลล์อื่นในรูปของสัญญาณไฟฟ้ามายัง cell body (ทาหน้าที่คล้ายเสาอากาศ) -มักมีแขนงสั้นๆ จานวนมาก เพื่อให้มีพื้นที่ผิวมากและสามารถรับข้อมูลได้ มากๆ ก่อนจะส่งข้อมูลไปยัง cell body -มี polyribosome (or Nissl body) อยู่ในบริเวณที่ dendrite รับข้อมูล -คาสั่งอาจจะส่งหรือไม่ส่งต่อไปยังaxon ขึ้นอยู่กับความแรงของสัญญาณว่า ถึง threshold หรือไม่ -ในเซลล์ประสาทที่ไม่มี dendrite จะรับข้อมูลโดยตรงทาง cell body Cell body -Cell body หรือ soma รับข้อมูลจาก dendrite และส่งคาสั่งต่อไปยัง axon -ประกอบด้วย nucleus&organelle ต่าง ๆ เหมือนเซลล์ทั่วไป -ganglion (ganglia):การเข้ามารวมกลุ่มกันของnerve cell body ในบริเวณ PNS เช่นที่ dorsal root ganglion (or sensory ganglion) -Nucleus (nuclei):การเข้ามารวมกลุ่มกันของnerve cell body ในสมอง (CNS)ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
  • 18. dorsal root ganglion (or sensory ganglion) 18
  • 19. 19 -axon นาคาสั่งในรูปของ action potential จาก cell bodyไปยังเซลล์/neuron อื่น (ทาหน้าที่คล้ายสายเคเบิล) นอกจากนี้ยังทาหน้าที่ขนส่งสารที่ cell body สร้างไปยัง axon ending หรือจาก axon ending cell body -axon เชื่อมต่อกับ cell body ตรงบริเวณที่เรียกว่า axon hillox -axon hillox: รวบรวมสัญญาณที่ส่งมาจาก dendrite และก่อให้เกิด action potential (ถ้าสัญญาณที่รวบรวม ได้ไม่ถึง threshold ก็ไม่เกิด action potential) -Nerve: มัดของ axons หลายๆอันมารวมกัน Axon
  • 20. 20 เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง axon และ dendrite Axon Dendrite 1.นาข้อมูล/สัญญาณออกจากเซลล์ 1.นาข้อมูล/สัญญาณเข้าสู่เซลล์ 2.smooth surface 2.rough surface (dendritic spine) 3.มี 1 axon/cell 3.ส่วนใหญ่มีมากกว่า 1 dendrite/cell 4.ไม่มี ribosome 4.มี ribosome 5.มี myelin 5.ไม่มี myelin 6.มีการแตกแขนงในตาแหน่งที่ห่างจาก cell body 6.แตกแขนงในตาแหน่งที่ใกล้กับ cell body
  • 21. เซลล์ประสาทแบ่งตามจานวนแขนงที่แยกออกจากตัวเซลล์ แบ่งได้ 3 ชนิดคือ 21  เซลล์ประสาทขั้วเดียว(unipolar neuron) - เดนไดรท์ยาวกว่าแอกซอนมาก - พบที่ปมประสาทรากบนของไขสันหลัง(dorsal root ganglion) - มีแขนงแยกออกจากเซลล์บอดีแขนงเดียว  เซลล์ประสาทสองขั้ว(bipolar neuron) - มีแขนงแยกออกจากเซลล์บอดี 2 แขนง - ความยาวของเดนไดรต์และแอกซอนใกล้เคียงกัน - พบที่เรตินาของลูกตา คอเคลียของหู และเยื่อดมกลิ่นที่ จมูก  เซลล์ประสาทหลายขั้ว(multipolar neuron) - มีแขนงแยกออกจากเซลล์บอดี หลายแขนงเป็นแอกซอน 1 และเดนไดรต์หลายแขนง - เซลล์ประสาทส่วนใหญ่ในร่างกายเป็นแบบหลายขั้ว ซึ่งมี แอกซอนยาวเดนไดรต์สั้นทาหน้าที่นาคาสั่งไปยังอวัยวะ ตอบสนอง - พบที่สมองและไขสันหลัง *เซลล์ประสาทขั้วเดียวและสองขั้วมักจะทาหน้าที่ เป็นเซลล์ประสาทรับความรู้สึก(sensory neuron)
  • 22. เซลล์ประสาทแบ่งตามหน้าที่การทางาน แบ่งได้ 3 ชนิดคือ 22  เซลล์ประสาทรับความรู้สึก(sensory neuron) - มีเดนไดรต์ต่อยู่กับอวัยวะรับสัมผัส เช่นหู ตา จมูก ผิวหนัง มี แอกซอนต่ออยู่กับเซลล์ประสาทอื่น และนาความรู้สึกเข้าสู่ สมองและไขสันหลัง  เซลล์ประสาทประสานงาน (association neuron หรือ interneuron) มีเดนไดรต์ต่อยู่กับแอกซอนของเซลล์ประสาทรับความรู้สึก และมีแอกซอนต่อกับเดนไดรต์ของเซลล์ประสาทสั่งการ ทา หน้าที่เชื่อมโยงวงจรประสาท พบที่ไขสันหลัง  เซลล์ประสาทสั่งการ(motor neuron) มีเดนไดรต์ต่อยู่กับเซลล์ประสาทอื่นและมีแอกซอนต่อกับ กล้ามเนื้อมัดต่างๆต่อมมีท่อหรือต่อมไร้ท่อ เซลล์ประสาทสั่ง การเป็นเซลล์ประสาทหลายขั้วพบที่สมอง และไขสันหลัง
  • 23. 23
  • 24. 24 Neuroglia :ทาหน้าที่ค้าจุนเซลล์ประสาทให้อาหารและสนับสนุนให้เซลล์ประสาททาหน้าที่ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด มี จานวนมากกว่าเซลล์ประสาท 10-50 เท่า ไม่มีบทบาทในการส่งสัญญาณประสาท ประกอบด้วยเซลล์หลายชนิด ได้แก่ Supporting cell or glial cells or neuroglia • Astrocyte:glia cellในCNSเกิดtight junctionรอบๆ capillary ทาให้เกิด Blood-brain barrierเป็นเซลล์ที่ มีขนาดใหญ่ ติดกับเซลล์ประสาท หรือเส้นเลือดที่มา เลี้ยงสมอง ทาหน้าที่ รับส่งสารให้แก่เซลล์ประสาท • Oligodendrocyte(ในCNS)และSchwann cell (ใน PNS): glial cell ที่ทาหน้าที่สร้างเยื่อmyelin sheath หุ้มแอกซอนของเซลล์ประสาทในสมอง • Microglia มีขนาดเล็กสุดลักษณะเหมือนรากไม้อยู่รอบ เซลล์ประสาท • Ependymal cell เป็นเกลียเซลล์สั้นบุอยู่รอบๆใน สมองและในไขสันหลัง • Schwann cell เป็นเกลียเซลล์ที่ทาหน้าที่สร้างเยื่อไมอี ลินชีทหุ้มแอกซอน(แต่ละปล้องคือ 1 เซลล์ชวันน์เซลล์)
  • 25. ชวันน์ เซลล์ 25  เกิดจากชวันน์ เซลล์ไปห่อหุ้มแอกซอนโดยการโอบล้อมปลายแอกซอน คุณสมบัติเป็น ชนวน การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทเกิดที่ node of ranvier เท่านั้น
  • 26. 26 การลาเลียงกระแสประสาทในเส้นใยประสาท โครงสร้างของเซลล์ประสาท การเคลื่อนที่ของกระแสประสาท 1.ใยประสาทมีไมอีลินหุ้ม ขนาดใหญ่ 12 – 120 เมตร/วินาที 2. ใยประสาทมีไมอีลินหุ้ม ขนาดเล็ก 3 – 15 เมตร/วินาที 3. ใยประสาทมีไม่ไมอีลินหุ้ม 0.5 – 2.3 เมตร/วินาที แบบ 1 พบที่ เส้นประสาทนาความรู้สึกและสั่งการ แบบ 2 พบที่ เส้นประสาทของระบบประสาทอัตโนมัติ แบบ 3 พบที่ ระบบประสาทซิมพาเทติก และเส้นใยรับความรู้สึกเจ็บปวด ร้อนหนาว เข้าสู่ไขสันหลัง ความเร็วของกระแสประสาทในใยประสาท  เยื่อไมอีลิน ถ้าเยื่อประสาทมีเยื่อไมอีลินหุ้มล้อมรอบกระแสประสาทจะเคลื่อนที่ได้เร็วขึ้นประมาณ 10 เท่า  ระยะห่างระหว่างโนด ออฟ แรนเวียร์ ถ้าโนด ออฟ แรนเวียร์ ห่างกันมากขึ้นกระแสประสาทจะเคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น  ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของใยประสาท ถ้าขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของใยประสาทเพิ่มขึ้น กระแสประสาทจะเคลื่อนที่ ได้เร็วขึ้นเพราะเหตุว่ามีความต้านทานต่าลง
  • 28. 28 -synaptic terminal (axon ending):ส่วนปลายของaxon ทาหน้าที่หลั่งสาร neurotransmitter(สารสื่อประสาท) -synapse:บริเวณที่ synaptic terminal ไปสัมผัสกับเซลล์เป้ าหมาย(neuron/effector) -เซลล์ที่ส่งสัญญาณเรียก presynaptic cell -เซลล์เป้ าหมายเรียก postsynaptic cell (จะมี receptorต่อneurotransmitterของ presynaptic cell) Synaptic terminal
  • 29. หน้าที่ของซิแนปส์ 29  กระแสประสาทเดินทางเป็นทิศทางเดียวเท่านั้น ไม่ยุ่งเหยิงสับสน  ทาหน้าที่ขยายสัญญาณ โดยมีการรวมกันหรือกระจายกระแสประสาทออกทาให้คาสั่งนั้น แผ่กระจายกว้างขวางมากขึ้น  ทาหน้าที่เป็นศูนย์ประสานงานของคาสั่งต่างๆมีทั้งเร่งการทางานหรือรั่งการทางาน ให้มี การตอบสนองที่แน่นอนเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ซิแนปส์มี 2 ประเภท  ไซแนปส์ไฟฟ้า(electeical synapse) เป็นบริเวณหรือช่องไซแนปส์ที่มีขนาดเล็กมาก กระแสประสาทสามารถผ่านข้ามไปได้โดยตรงโดยไม่จาเป็นต้องอาศัยสื่อใดๆ พบน้อยมาก เช่น บริเวณปลายกล้ามเนื้อเรียบ  ไซแนปส์เคมี(chemical synapse) เป็นบริเวณหรือช่องไซแนปส์ที่กระแสประสาทไม่ สามารถผ่านได้ ต้องอาศัยสารสื่อประสาทไปกระตุ้นให้เกิดกระแสประสาท
  • 30. 30 Electrical synapse -บริเวณ presynatic membrane และ postsynaptic membrane เชื่อมต่อกันด้วย gap junction ดังนั้น ion current จากaction potential จึงสามารถเคลื่อนจากเซลล์ประสาทหนึ่งไปยังอีก เซลล์หนึ่งได้โดยตรง Chemical synapse 1.action potential ที่ synaptic terminal ทาให้เกิด Ca+ influx 2.synaptic vesicle รวมกับเยื่อเซลล์ 3.หลั่งneurotransmitter สู่ synaptic cleft และเคลื่อนไปจับกับตัวรับที่ postsynatic membrane 4.การจับทาให้ ion channel (เช่น Na+) เปิด, Na+ เคลื่อนเข้าในเซลล์ เกิด depolarization สารสื่อประสาท (neurotransmitter) สารสื่อประสาท ตาแหน่งที่สร้าง Acetylcholine CNS,PNS สร้างจากปลายแอกซอนทั่วไป Norepinephrine CNS,PNS Dopamine CNS,PNS Serotonin CNS
  • 31. 31 สารสื่อประสาทของระบบประสาทอัตโนมัติที่สาคัญได้แก่ acetylcholine (ACh) และ noradrenaline (norepinephrine, NE) ซึ่งเส้นประสาทที่มี ACh เป็นสารสื่อประสาท เรียกว่า เส้นประสาท cholinergic และเส้นประสาทที่มี NE เป็นสารสื่อประสาท เรียกว่า เส้นประสาท adrenergic การทางานของสารสื่อประสาท  เมื่อสารสื่อประสาทถูกปล่อยมาจากแอกซอนของเซลล์ประสาทก่อนไซแนป์ ไปยังเดนไดรต์ของเซลล์ ประสาทหลังไซแนป์ จะมีการปล่อยเอนไซม์ออกมาย่อยสลายสารสื่อประสาท Acetylcholine Enzyme cholinesterase Acetic acid + Choline
  • 32. 32  เซลล์ประสาทที่ปล่อยสารสื่อประสาทแอซีทิลโคลินออกมาที่ปลายแอกซอน เรียกว่า คอลิเนอจิก นิวรอน(cholinergic neuron)  สารสื่อประสาทที่ทาหน้าที่กระตุ้นให้เกิดการทางานของระบบประสาท คือ แอซิทิลโคลิน เอพิเนฟริน นอร์เอพิเนฟริน โดปามีน เซโรโทนิน แอล-กลูทาเมต แอล-แอสพาเตต  สารสื่อประสาทที่ทาหน้าที่ยับยั้งการทางานของระบบประสาท คือ GABA ไกลซีน และอะลานีน สารที่มีผลต่อการถ่ายทอดกระแสประสาทที่ซิแนปส์  สารพิษจากแบคทีเรีย สารจะไปยับยั้งไม่ให้แอกซอนปล่อยสารสื่อประสาททาให้กล้ามเนื้อไม่หดตัว เกิดอาการอัมพาต  ยาระงับประสาท ทาให้สารสื่อประสาทปล่อยออกมาน้อย อันมีผลทาให้กระแสประสาทส่งไปยังสมอง น้อยจึงเกิดอาการสงบ ไม่วิตก  สารนิโคติน คาแฟอีน แอมเฟตามีน จะไปกระตุ้นให้แอกซอนปล่อยสารสื่อประสาทออกมามาก ทา ให้เกิดอาการตื่นตัว หัวใจเต้นเร็ว  ยาฆ่าแมลงบางชนิด จะไปยับยั้งการทางานของเอมไซม์ที่จะมาสลายสารสื่อประสาท
  • 33. การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทตามลาดับไม่มีการย้อนกลับ 33 แอกซอน ซิแนปส์แคลฟต์ เดนไดรต์ ตัวเซลล์ประสาทแอกซอนซิแนปส์แคลฟต์ การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทในเซลล์ประสาท พบว่าไมอีลินชีทมีสมบัติฉนวนไฟฟ้ากั้นประจุไฟฟ้าได้ ทาให้ปริมาณประจุไฟฟ้าที่ผิวนอกและผิวด้านใน แตกต่างกันจึงทาให้เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้า ประมาณ 60-80 mv การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทจึงเป็นการ กระโดด(saltatory conduction)ระหว่างโนดออฟเรน เวียร์ที่อยู่ถัดไป
  • 34. 34 -membrane potential: ความต่างศักย์ที่เยื่อเซลล์ เนื่องจากความแตกต่างของอิออน ภายใน-นอกเซลล์ (Na+ K+ Cl- และโปรตีน) ปกติมีค่า= -50 ถึง -100 mV (ค่าติดลบหมายถึงภายในเซลล์มีขั้วเป็นลบ เมื่อเทียบกับนอกเซลล์) -สามารถวัดได้โดยใช้ microelectrode ต่อกับ voltmeter หรือoscilloscope หรือใช้ micromanipulator วัด -membrane potential ของเซลล์ประสาทขณะที่ยัง ไม่ถูกกระตุ้นเรียก resting potential จะมีค่าเป็นลบ - 65 มิลลิโวลต์ ถ้าถูกกระตุ้นเรียกว่า action potential จะมีค่าเป็นบวก +65 มิลลิโวลต์ การศึกษาการเกิดกระแสประสาท
  • 35. 35 Action potential -action potential: การเปลี่ยนแปลง membrane potential อย่างรวดเร็วของเซลล์ประสาทเมื่อ ได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้า ที่ทาให้เกิด depolarization จนถึงระดับ threshold potential -เกิดที่ axon เท่านั้น และเป็นแบบ all-or-none threshold potential  หมายถึง ระดับของการกระตุ้นที่สามารถทาให้เกิดกระแสประสาทในเซลล์ประสาท ความแรงของ การกระตุ้นที่สูงกว่าระดับเทรสโฮลต์ มิได้ทาให้กระแสประสาทเคลื่อนที่ได้เร็วแต่อย่างใด all-or-none • หมายถึง ถ้ากระตุ้นแรงเพียงพอ ก็จะเกิดการนากระแสประสาทไปโดยตลอด แต่ถ้าไม่แรงถึงระดับ ขีดเริ่มก็จะไม่มีการนากระแสประสาทเกิดขึ้นเลย
  • 36. 36 แผนภูมิวงจรระยะการทางานของเซลล์ประสาท Polarization DepolarizationRepolarization การทางานของเซลล์ประสาท  มีการแพร่(diffusion) ของโซเดียมจากภายนอกเข้าสู่ภายในและโพแทสเซียมจากภายใน ออกสู่ภายนอก แต่อัตราการแพร่ของโพแทสเซียมมากกว่าโซเดียมอิออน  มีกระบวนการแอกทีฟทรานสปอร์ต คือ sodium-potassium pump ของโซเดียม จากภายในออกสู่ภายนอกและโพแทสเซียมจากภายนอกเข้าสู่ภายใน
  • 37. 37 Polarization • มีการแพร่(diffusion) ของโซเดียมจากภายนอกเข้าสู่ภายในและโพแทสเซียมจากภายในออกสู่ภายนอก แต่ อัตราการแพร่ของโพแทสเซียมมากกว่าโซเดียมอิออน • มีกระบวนการแอกทีฟทรานสปอร์ต คือ sodium-potassium pump ของโซเดียมจากภายในออกสู่ภายนอก และโพแทสเซียมจากภายนอกเข้าสู่ภายใน Depolarization • ช่องโซเดียมจะเปิดออกทาให้โซเดียมจากภายนอกเข้ามาภายในเซลล์มากขึ้น เกิดการเปลี่ยนแปลงประจุที่ผิว ด้านนอกเป็นลบ ประจุด้านในเป็นบวก • การเปลี่ยนแปลงของประจุที่เยื่อหุ้มเซลล์เป็นผลทาให้เกิดแอกชันโพเทลเชียล หรือ กระแสประสาทขึ้นกระแส ประสาทส่งไปด้วยความเร็วไม่เกิน 1,000 ครั้ง/วินาที Repolarization • มีการเปิดของช่องโพแทสเซียม ทาให้โพแทสเซียมเคลื่อนที่จากภายในออกสู่ภายนอก ที่เยื่อหุ้มเซลล์ด้านนอก จะเกิดการเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์ไฟฟ้า ทาให้ภายนอกเซลล์เกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นประจุบวกและ ภายในเซลล์เปลี่ยนเป็นประจุลบ
  • 39. 39 ระยะคืนกลับสู่ระยะพัก • มีกระบวนการแอกทีฟทรานสปอร์ต คือ sodium- potassium pump ของโซเดียมจากภายในออกสู่ ภายนอกและโพแทสเซียมจากภายนอกเข้าสู่ภายใน ในอัตราส่วน 3Na+ : 2K+ ต่อ 1 ATP แผนภาพสรุป
  • 40. การกาเนิดระบบประสาท 40  ศูนย์กลางของระบบประสาทอยู่ที่สมองและไขสันหลัง ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากนิวรัลทิวบ์(neural tube) ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อชั้นนอก(ectoderm)ในระยะเอ็มบริโอ ซึ่งมีลักษณะเป็นหลอดยาวมีการ เจริญพัฒนาการพองออก เจริญเป็นสมอง ส่วนท้ายเจริญเป็นไขสันหลัง ทั้งสมองและไขสันหลังมีเยื่อหุ้ม เดียวกัน เรียกว่า เยื่อหุ้มสมอง(meninges)ทาหน้าที่ป้องกันอันตรายและเป็นทางให้อาหารแก่สมองและ ไขสันหลัง ระบบประสาทแบ่งเป็น 1.ระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous system; CNS): สมองและไขสันหลัง ทาหน้าที่ รวบรวมและแปลผลข้อมูล 2.ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral nervous system; PNS): เส้นประสาทสมอง(cranial nerve) เส้นประสาทไขสันหลัง(spinal nerve) และ ปมประสาท (ganglia) ทาหน้าที่นาสัญญาณ ประสาทเข้า-ออก CNS และควบคุมการเปลี่ยนแปลง สภาพแวดล้อมภายในร่างกาย ระบบประสาทในสัตว์มีกระดูกสันหลัง
  • 42. เยื่อหุ้ม(meninges) ประกอบด้วย 3 ชั้น คือ 42  ชั้นนอก(dura matter) หนาและเหนียวและแข็งแรงช่วยป้องกันอันตรายและกระทบกระเทือน ให้แก่สมองและไขสันหลัง  ชั้นกลาง(arachniod matter) เป็นเยื่อบางๆอยู่ระหว่างชั้นอกกับชั้นใน  ชั้นใน(pia matter) เป็นชั้นที่อยู่ติดกับเนื้อสมองและไขสันหลังเส้นเลือดมาหล่อเลี้ยงอยู่มากนา อาการและออกซิเจนมาให้สมอง ระบบประสาทส่วนกลาง(central nervous system)
  • 44. โครงสร้างของสมอง 44 • สมองส่วนหน้า(forebrain หรือ prosencephalon) • สมองส่วนกลาง(midbrain หรือ mesencephalon) • สมองส่วนท้าย(hindbrain หรือ rhombencephalon) พัฒนาการสมองของสัตว์ • สมองส่วนหน้า(forebrain หรือ prosencephalon) ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้เป็นส่วน ใหญ่ พบในสัตว์ที่มีวิวัฒนาการสูงขึ้น • สมองส่วนกลาง(midbrain หรือ mesencephalon) ทาหน้าที่เกี่ยวกับการมองเห็น จะมี ขนาดใหญ่สุดในปลาและมีขนาดเล็กลงในสัตว์ที่มีวิวัฒนาการสูงขึ้น • สมองส่วนท้าย(hindbrain หรือ rhombencephalon) จะมีพัฒนาการดีมากในสัตว์ที่ เคลื่อนที่ 3 มิติ เช่น ปลา นก รวมทั้งคนด้วย
  • 46. 46 โครงสร้างและหน้าที่ในสมองส่วนต่างๆของคน • สมองส่วนหน้า(forebrain หรือ prosencephalon) 1. ซีรีบัล(cerebrum) * frontal lobe * temporal lobe * parietal lope* occipital lobe 2. ทาลามัส(thalamus) 3. ไฮโพทาลามัส(hypothalamus) 4. ออแฟกตอรบัลบ์(olfactory bulb) • สมองส่วนกลาง(midbrain หรือ mesencephalon) 1.ออฟติก โลป(optic lope) • สมองส่วนท้าย(hindbrain หรือ rhombencephalon) 1.ซีรีเบลลัม(cerebellum) 2.medulla ablongata 3. pons
  • 47. สมองส่วนหน้า(forebrain หรือ prosencephalon) 47 1. cerebrum - เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ - เป็นศูนย์กลางการรับรู้ - ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อลาย - ควบคุมการออกเสียงของคน - ควบคุมเกี่ยวกับอารมณ์ - ควบคุมเกี่ยวกับบุคลิกภาพ - ควบคุมทักษะ - เกี่ยวกับการต่อสู้ - ควบคุมพฤติกรรมทางสังคม  frontal lobe เกี่ยวกับความจา ความคิด สั่งงานกล้ามเนื้อ  temporal lobe ดมกลิ่น ได้ยิน การพูด เข้าใจคาพูดและการอ่าน  parietal lope รูสึกตัว การเขียน รับความรู้สึก  occipital lobe การมองเห็น
  • 48. 48 2. ทาลามัส(thalamus) - ทาหน้าที่เป็นศูนย์รวมกระแสประสาทที่ผ่านมาแล้วแยกกระแสประสาทไปยังสมองที่เกี่ยวข้อง จึง อาจเรียกส่วนนี้ว่าเป็นสถานีถ่ายทอดที่สาคัญของสมอง - ทาหน้าที่เป็นศูนย์รับความเจ็บปวด 3. ไฮโพทาลามัส(thalamus) - ควบคุมอุณภูมิของร่างกาย การเต้นหัวใจ ความดันเลือด การนอนการหลับ ความหิว ความอิ่ม ความรู้สึกทางเพศและสร้างฮอร์โมน - เป็นศูนย์กลางควบคุมระบบประสาทอัตโนวัติ 4. ออแฟกตอรบัลบ์(olfactory bulb) - ทาหน้าที่เกี่ยวกับการดมกลิ่น - ในพวกปลาจะเจริญดีมากต่างจากพวกไพรเมต(primate)
  • 49. 49 The limbic system generates the feeling; emotion and memory
  • 50. 50 • สมองส่วนกลาง(midbrain หรือ mesencephalon) ออฟติก โลป(optic lope) ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการมองเห็นเจริญพัฒนามากในสัตว์พวกปลา นกและลดน้อยลงในสัตว์ชั้นสูง • สมองส่วนท้าย(hindbrain หรือ rhombencephalon) 1.ซีรีเบลลัม(cerebellum) ทาหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหวต่างๆให้เป็นไปอย่างสละสลวย ควบคุม การทรงตัว 2.เมดุลา ออฟลองกาตา(medulla ablongata) ทาหน้าที่เกี่ยวกับระบบประสาทอัตโนวัติ ได้แก่ ควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจ ควบคุมการหายใจ ความดันเลือด การกลืนการจาม การอาเจียน 3. พอนส์(pons) ทาหน้าที่ ควบคุมการเคี้ยว การหลั่งน้าลายและการเคลื่อนไหวของใบหน้าควบคุม การหายใจ เป็นทางผ่านของกระแสประสาทระหว่างซีรีบรัมกับซีรีเบลลัมและระหว่างซีรีเบลลัม กับไขสันหลัง
  • 52. เส้นประสาทสมอง(cranial nerve) เส้นประสาทสมองมี 3 ประเภท  เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่รับความรู้สึก(sensory nerve)ทำหน้ำที่ รับกระแสควำมรู้สึก จำกหน่วยรับควำมรู้สึกไปยังสมองส่วนที่เกี่ยวข้อง  เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่นาคาสั่ง (moter nerve) ทำหน้ำที่ นำกระแสคำสั่งจำกสมอง ไปยังหน่วยปฏิบัติงำน  เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่ผสม (mixed nerve) ทำหน้ำที่รับกระแสควำมรู้สึกจำกหน่วย รับควำมรู้สึก ไปยังสมองส่วนที่เกี่ยวข้อง และจำกสมองไปยังหน่วยปฏิบัติงำน
  • 54. สรุป 54  เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่รับ ความรู้สึก มี 3 คู่ ได้แก่ 1 , 2 , 8  เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่นา คาสั่ง มี 5 คู่ ได้แก่ 3 , 4 , 6 , 11 , 12  เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่ผสม มี 4 คู่ ได้แก่ 5 , 7 , 9 , 10
  • 55. 55 ไขสันหลัง(spinal cord) • เนื้อไขสันหลังมี 2 ส่วนคือ - white matter เป็นส่วนที่มีสีขาวอยู่รอบนอก โดยบริเวณนี้มีเฉพาะใยประสาทที่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม โดยไม่มีตัวเซลล์ประสาทอยู่เลย - Gray matter เป็นส่วนที่มีสีเทา อยู่บริเวณกลางๆ โดยบริเวณนี้มีทั้งตัวเซลล์ประสาทและใย ประสาทที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม ตัวเซลล์ประสาทมีทั้งเซลล์ประสาทประสานงานและเซลล์ประสาทนา คาสั่ง โครงสร้างของไขสันหลัง  เนื้อไขสันหลังประกอบด้วย 2 ส่วน White matter มีสีขาวอยู่รอบนอก 1. Gray matter มีสีเทา อยู่บริเวณกลางๆ มีรูปร่างคล้ายตัวอักษรตัว H หรือปีกผีเสื้อ ประกอบด้วย - ปีกบน(dorsal horn) เป็นบริเวณรับความรู้สึก - ปีกล่าง(ventral horn) เป็นบริเวณนาคาสั่ง - ปีกข้าง(lateral horn) เป็นระบบประสาทอัตโนวัติเพราะมีเซลล์ประสาท นา คาสั่งตัวที่ 1 ปรากฏอยู่
  • 56. 56
  • 57. เส้นประสาทไขสันหลัง 57  ในคนมีทั้งหมด 31 คู่ ทั้งหมด เป็ นเส้นประสาทผสม(mixed nerve)  เส้นประสาทไขสันหลังจึงเหมือน เส้นประสาทสมองคู่ที่ 5,7,9,10
  • 59. ระบบประสาทรอบนอกหรือระบบประสาทส่วนปลาย (peripheral nervous system = PNS) 59 1. ระบบประสาทใต้อานาจจิตใจ(voluntary nervous system) หรือระบบประสาทโซมาติก (somatic nervous system) - ศูนย์สั่งการอยู่ที่ สมองและไขสันหลัง - หน่วยปฏิบัติงาน ได้แก่ กล้ามเนื้อลาย 2. ระบบประสาทอัตโนวัติ(involuntary nervous system หรือ autonomic nervous system) หรือ ระบบประสาทนอกอานาจจิตใจ - ศูนย์ควบคุม ได้แก่ เมดุลลา ออฟลองกาต้า และ ไฮโปทาลามัส - หน่วยปฏิบัติงาน ได้แก่ กล้ามเนื้อเรียบ อวัยวะภายในและต่อมต่างๆ
  • 60. 60 ประเภทของรีแฟลกซ์ แอกชัน(reflex action) รีแฟลกซ์ แอกชัน(reflex action) - somatic reflex เป็นรีแฟลกซ์ของระบบประสาทใต้อานาจจิตใจ แต่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าโดยอยู่นอกเหนืออานาจ จิตใจชั่วขณะ และมีหน่วยปฏิบัติงานเป็นกล้ามเนื้อลาย * การกระตุกขา เมื่อถูกเคาะที่หัวเข่า * การชักมือชักเท้าหนีของร้อนๆ หรือของมีคม - autonomic reflex ป็นรีแฟลกซ์ของระบบประสาทอัตโนวัติ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าอยู่นอกเหนืออานาจจิตใจะ และมีหน่วยปฏิบัติงานเป็นกล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ อวัยวะภายใน และต่อมต่างๆ * การเกิดเพอริสตัลซีสที่ท่อทางเดินอาหาร * การหลั่งน้าตา น้าย่อย น้าลาย น้านม สิ่งเร้า หน่วยรับความรู้สึก เซลล์ประสาทรับความรู้สึก เซลล์ประสาทนาคาสั่งหน่วยปฏิบัติงานการตอบสนอง เซลล์ประสาทประสานงาน  หน่วยปฏิบัติงานในรีแฟลกซ์นี้เป็ น กล้ามเนื้อลาย  รีแฟลกซ์ ของการกระตุกขาเมื่อถูกเคาะที่หัวเข่า กระแสประสาทจะไม่ผ่านเซลล์ ประสาทประสานงาน ดังนั้นชนิดเซลล์ประสาทน้อยที่สุดทางานได้ ประกอบด้วย เซลล์ประสาท 2 ชนิดคือ เซลล์ประสาทรับความรู้สึก และเซลล์ประสาทนาคาสั่ง
  • 62. 62
  • 63. รีแฟลกซ์ ของระบบประสาทนอกอานาจจิตใจ 63  หน่วยปฏิบัติงานในรีแฟลกซ์นี้เป็น กล้ามเนื้อเรียบ,กล้ามเนื้อหัวใจ,อวัยวะภายในและต่อมต่างๆ  จานวนเซลล์ประสาทนาคาสั่งจากศูนย์กลางไปยังหน่วยปฏิบัติงานจะมี 2 เซลล์ซึ่งต่างจากระบบประสาทใต้ อานาจจิตใจมี 1 เซลล์ สิ่งเร้า หน่วยรับความรู้สึก การตอบสนอง เซลล์ประสาทรับความรู้สึก เซลล์ประสาทนาคาสั่ง ตัวที่ 1 (preganglionic neuron) หน่วยปฏิบัติงาน เซลล์ประสาทนาคาสั่ง ตัวที่ 2 (posganglionic neuron) ระบบประสาทอัตโนวัติ(autonomic nervous system) - ระบบประสาทซิมพาเทติก(sympathetic nervous system) เป็นระบบประสาทอัตโนวัติที่มีเซลล์ประสาทนา คาสั่งตัวที่ 1 (preganglionic neuron) อยู่ในไขสันหลังส่วนอก และเอว(thoracolumbar outflow) - ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก(parasympathetic nervous system) เป็นระบบประสาทอัตโนวัติที่เซลล์ ประสาทตัวที่ 1 อยู่ในสมองและไขสันหลังส่วนกระเบนเหน็บ
  • 64. เปรียบเทียบระหว่างซิมพาเทติกกับพาราซิมพาเทติก สิ่งที่เปรียบเทียบ ระบบประสาทซิมพาเทติก ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก ตาแหน่งของเซลล์ประสาทนาคาสั่ง -ตัวที่ 1 (preganglionic neuron) อยู่ในไขสันหลังส่วนอกและเอว อยู่ในสมองและไขสันหลังส่วนกระเบน เหน็บ - ตัวที่ 2 (posganglionic neuron) อยู่นอกไขสันหลังโดยอยู่ใกล้ ศูนย์สั่งงาน โดย 1 สั้น 2 ยาว อยู่นอกสมองและไขสันหลังอยู่ใกล้ หน่วยปฏิบัติงาน โดย 1 ยาว 2 สั้น ตาแหน่งปมประสาท อยู่ใกล้ศูนย์สั่งงาน แต่อยู่ไกล หน่วยปฏิบัติงาน อยู่ใน/ใกล้หน่วยปฏิบัติงาน แต่อยู่ไกล ศูนย์ส่งงาน ศูนย์กลางการสั่งงาน อยู่ในไขสันหลัง อยู่ในสมองและไขสันหลัง สารสื่อประสาทของเซลล์ประสาทนาคาสั่ง -ตัวที่ 1 (ไซแนป์กับเซลล์ประสาทนาคาสั่งตัวที่ 2) Acetylcholine - ตัวที่ 2 (ไซแนป์กับหน่วยปฏิบัติงาน) noradrenaline acetylcholine ลักษณะการตอบสนองของหน่วยปฏิบัติงาน กระตุ้น ยับยั้ง
  • 65. ชื่ออวัยวะ ซิมพาเทติก พาราซิมพาเทติก ม่านตา รูม่านตาเปิดกว้าง รูม่านตาหรี่ ต่อมน้าลาย กระตุ้นการหลั่งน้าลาย ยับยั้งการหลั่งน้าลาย หัวใจ เพิ่มอัตราสูบฉีด ทาให้เส้นเลือดขยายตัว ลดอัตราการสูบฉีด เส้นเลือดอาร์เทอรี่ บีบตัวที่ผนัง และอวัยวะภายใน บีบและคลายที่กล้ามเนื้อลาย คลายตัวที่ต่อมน้าลาย และอวัยวะสืบพันธุ์ ต่อมน้าลาย สร้างน้าเมือก สร้างส่วนที่เป็นน้า กระเพาะและลาไส้เล็ก ห้ามการเคลื่อนไหวแบบเพอริสเตอลซีส กระตุ้นการเคลื่อนไหวแบบเพอริสเตอลซีส อะดรีนัล เมดุลลา กระตุ้นการหลั่งอะดีนาลีนและนอร์อะดีนาลีน ไม่มี ตับ กระตุ้นการสลายตัวของไกลโคเจน บีบตัวและกระตุ้นการหลั่งน้าดี ตับอ่อน ไม่มี กระตุ้นการหลั่งอินซูลินและน้าย่อย ม้าม กระตุ้นให้บีบตัว นาเลือดเข้าสู่ระบบหมุนเวียนเลือดมากขึ้น ไม่มี กระเพาะปัสสาวะ ทาให้กระเพาะปัสสาวะคลายตัวไม่ให้ปัสสาวะ กระตุ้นให้กระเพาะปัสสาวะปีบตัวมีการปัสสาวะ ปอด กระตุ้นการขยายตัวของบรองคิโอล์ทาให้หายใจคล่อง กระตุ้นการบีบตัวของบรองคิโอลหายไม่คล่อง ต่อมเหงื่อ กระตุ้นการขับเหงื่อออกมา ไม่มี อวัยวะสืบพันธุ์ กระตุ้นการหลั่งน้าอสุจิในเพศชาย กระตุ้นเพนนิสและคลิเทอริสให้แข็งตัว 65
  • 66. 66 Parasympathetic and sympathetic nervous system -parasympathetic และ sympathetic มักจะทางาน ตรงข้ามกัน (antagonist) -sym มักจะกระตุ้นการทางานของ อวัยวะที่ทาให้เกิดการตื่นตัวและ ก่อให้เกิดพลังงาน ในขณะที่ parasym จะเกิดตรงกันข้าม -sympathetic neuron มักจะหลั่ง norepinephrine -parasympathetic neuron มักจะหลั่ง acetylcholine preganglionicganglion, Achpostganglionic ganglion
  • 67. 67
  • 68. เปรียบเทียบระบบประสาทใต้อานาจจิตใจกับระบบประสาทอัตโนวัติ โครงสร้างและหน้าที่ ระบบประสาทใต้อานาจจิตใจ ระบบประสาทอัตโนวัติ จานวนเซลล์ประสาทนาคาสั่งถึงหน่วย ปฏิบัติงาน หนึ่งเซลล์ สองเซลล์ คือ preganglionoic neuron และ postganglionicneuron หน่วยปฏิบัติงาน กล้ามเนื้อลาย กล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ และต่อมต่างๆ ปมประสาทที่อยู่นอกสมองและไขสันหลัง ไม่มี มีทั้งบริเวณข้างกระดูกสันกลังและห่างออกไปจาก กระดูกสันหลัง ใยประสาท มีเยื่อไมอีลิน มีเยื่อไมอีลินเฉพาะใยประสาทของ preganglionoic neuron ร่างแหประสาท ไม่มี พบที่ทางเดินอาหาร สารสื่อประสาทที่สาคัญ อะซิติลโคลีน อะซิติลโคลีนสาหรับเส้นประสาทพาราซิมพาเทติก และเส้นประสาท preganglionoic neuron ของซิมพา เทติก การทางานของหน่วยปฏิบัติงาน กระตุ้น เป็นทั้งกระตุ้นและยับยั้ง บทบาททั่วไป ปรับให้เข้ากับสภาพแวดล้อม ภายนอก ปรับให้เข้ากับสภาพแวดล้อมภายในร่างกาย 68
  • 69. 69
  • 70. 70 อวัยวะรับสัมผัส -Sensation: การเคลื่อนของ action potential ผ่าน sensory neuron ไปยังสมอง -Perception: การรวบรวมและแปลผล sensation ที่สมองได้รับ SENSORY MECHANISM Sensory Mechanism ประกอบด้วย 1. Sensory transduction การที่สิ่งเร้ามากระตุ้น receptor cell แล้วทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อ membrane potential 2. Amplification การขยายสัญญาณจากการกระตุ้นของสิ่งเร้า เช่น การขยายสัญญาณภายในหูจาก การสั่นของเยื่อแก้วหู และกระดูกหู 3 ชิ้น 3. Transmission การนาสัญญาณประสาท (nerve impulse) ไปยัง CNS 4. Integration การรวบรวม nerve impulse ที่ได้รับ โดยการ summation of graded potential Sensory adaptation การลดการตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่กระตุ้นมาอย่างต่อเนื่อง เช่น การลดการ ตอบสนองต่อการสัมผัสของเสื้อผ้าที่สวมใส่
  • 71. 71 แบ่ง sensory receptor ตามชนิดของสิ่งเร้าได้เป็น 5 ชนิด คือ 1.Mechanoreceptor: สิ่งเร้าเป็นแรงกล เช่น แรงดัน (ผิวหนัง), การสัมผัส(ผิวหนัง), การเคลื่อนไหว(หู), เสียง(หู) 2.Chemoreceptor: สิ่งเร้าเป็นสารเคมี เช่น กลูโคส, O2, CO2, กรดอะมิโน -Gustatory (taste) receptor (ลิ้น)และ Olfactory (smell) receptor (จมูก) 3.Electromegnetic receptor (Photoreceptor): สิ่งเร้าเป็นพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น แสง (visible light), กระแสไฟฟ้า, สนามแม่เหล็ก (ตา) 4.Thermoreceptor: สิ่งเร้าเป็นอุณหภูมิ เช่นความร้อน, ความเย็น (ผิวหนัง) แบ่ง sensory receptor ตามการรับสิ่งเร้าได้เป็น 2 กลุ่ม คือ 1.Exteroreceptor: รับสิ่งเร้าจากภายนอกร่างกาย เช่น ความร้อน, แสง, ความดัน, สารเคมี 2.Interoreceptor: รับสิ่งเร้าจากภายในร่างกาย เช่น blood pressure(พบที่เส้นเลือด) , body position (พบที่หู)
  • 72. โครงสร้างของนัยน์ตาคน 72  Sclera หรือ sclerotic coat ได้แก่ส่วนขาวของตา ส่วนหน้าสุดจะโป่งออก เรียกว่า กระจกตา(cornea) หรือตาดา เป็นส่วนที่ให้แสงเข้าผ่าน  Choroid เป็นเยื่อบางๆสาหรับอาศัยของเส้นเลือดที่มาเลี้ยงลูกตาผนังจะมีรงควัตถุดูดแสงมิให้ผ่านทะลุไปยังด้านหลัง ของนัยน์ตา ด้านหน้าจะมีเยื่อยื่นออกมาเรียกว่า ม่านตา(Iris)ช่องตรงกลางเรียกว่า รูม่านตา(pupil) ซึ่งจะเกี่ยวกับ ปริมาณแสง  Retina เป็นผนังชั้นในสุด เป็นที่อยู่ของเซลล์รับแสง 2 ชนิด 1. เซลล์รูปแท่ง(rod cell) ทางานได้ดีขณะแสงสลัว จึงพบมากในสัตว์ออกหากินในเวลากลางคืน ภาพที่เห็น เรียกว่า scotopic vision เป็นภาพที่ไม่มีรายละเอียด ไม่มีสีสันเป็นขาวดา ไวต่อแสงสีเขียวมากที่สุด เซลล์รูป แท่งหนาแนนที่สุด ทางด้านข้างของเรตินาและลดน้อยลงเมื่อเข้าใกล้ใจกลางเรตินาดังนั้นเวลากลางคืนจะเห็น ภาพชัดเจนเมื่อแสงตกที่ด้านข้างเรตินา 2. เซลล์รูปกรวย(cone cell) ทางานได้ดีขณะแสงมาก จึงพบมากที่หากินในเวลากลางวัน ภาพที่เห็นเรียกว่า photopic vision ภาพมีสีสันรายละเอียด ไวต่อแสงน้าเงิน เขียว แดง มาก เซลล์รูปกรวยหนาแน่นบริเวณใจ กลางเรตินาเรียกตาแหน่งนี้ว่าโพเวีย(fovea) ซึ่งเห็นภาพชัดเจนที่สุด เมื่อออกด้านข้างเซลล์รูปกลวยจะลดลง *จุดบอด(bilnd spot) บริเวณนี้จะมีเส้นประสาทคู่ที่ 2 อยู่จึงไม่พบเซลล์รูปแท่งและเซลล์รูปกรวย ตา(Eye): การมองเห็น
  • 73. 73
  • 74. 74 Single lens eyes ในคน white outer layer of connective tissue thin, pigmented layer give the eye its color contain photoreceptor cell the information of photoreceptor leaves the eye, the optic nerve attached to the eyes clear, watery jelly-like liquid lens transparent protein Photoreceptor cells: Rod cell and Cone cell
  • 75. 75 การมองภาพระยะใกล้และไกล a.การมองภาพระยะใกล้(accommodation) ciliary muscle หดตัว suspensory ligament หย่อน เลนส์หนาขึ้นและกลมขึ้น b.การมองภาพระยะไกล ciliary muscle คลายตัว suspensory ligament ตึง เลนส์ถูกดึงทาให้แบน
  • 76. 76 Photoreceptors of the retina -photoreceptors มี 2 ชนิด 1.Rod cells มี ประมาณ 125 ล้านเซลล์ -ไวแสง แต่ไม่สามารถแยกสีได้ 2.Cone cells มีประมาณ 6 ล้านเซลล์ -ไม่ไวแสง แต่สามารถแยกสีได้ แบ่งเป็น red cone, green cone, blue cone -fovea เป็นบริเวณที่มีแต่ cone cells ไม่มี rod cell
  • 77. 77 สรีรวิทยาของการมองเห็นภาพ พบว่าส่วนนอกสุดของเซลล์รูปแท่งมีรงควัตถุสีม่วง แดง เรียกว่า โรดออฟซิน(rhodopsin) ซึ่งประกอบ จากโปรตีน เรียกว่า ออฟซิน(posin) จับกับอนุพันธ์ของวิตามิน A เรียกว่า เรตินิน (retinene)ในรูปของ Cis-retinene รงควัตถุ เปรียบเสมือนสารเคมีที่ฉาบไว้บนฟิลม์ในกล้อง ถ่ายรูปเมื่อได้รับแสงจะเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี กลายเป็น lumirhodopsin และMetarhodopsin แล้วสลายตัวเป็น opsin กับ retinene และเกิด พลังงานในรูปกระแสไฟฟ้ากระตุ้นทาให้เกิดกระแส ประสาทในเซลล์รูปแท่งและถ่ายทอดไปยัง เส้นประสาทเส้นที่ 2 และเพื่อไปแปลความหมายของ ภาพที่สมองส่วนซีรีบรัม
  • 78. 78 The Vertebrate Retina ขั้นตอนการเกิดภาพมีดังนี้ 1.หลังจากแสงมากระตุ้น rods&cones เกิด action potential 2.rods&cones synapse กับ bipolar cells 3.bipolar cells synapse กับ ganglion cells 4.ganglion cells ส่ง visual sensation (action potential)ไปยังสมอง 5.การถ่ายทอดข้อมูลระหว่าง rods&cones, bipolar cells, ganglion cells ไม่ได้เป็นแบบ one-to-one 6.horizontal&amacrine cells ทาหน้าที่ integrate signal
  • 79. 79 Neural Pathways for Vision -สมองด้านขวารับ sensory information จาก วัตถุที่อยู่ทางด้านซ้าย (left visual field, blue) -สมองด้านซ้ายรับ sensory information จาก วัตถุที่อยู่ทางด้านขวา (right visual field, red) -optic nerve จากตาทั้งสองข้างจะมาพบกันที่ optic chiasma -optic nerve จะเข้าสู่ lateral geniculate nuclei ของ thalamus -ส่ง sensation ไปยัง primary visual cortex ใน occipital lobe ของ cerebrum
  • 80. การบอดสี(colour blindness) 80  การเห็นสีเกิดจากการทางานของเซลล์รูปกรวย(cone cell) แบ่งเป็น 3 พวกเซลล์รูปกรวยรับสี แดง,น้าเงิน,เขียว การที่เราเห็นสีมากมายเนื่องจากกระตุ้นเซลล์รูปกรวยแต่ละสีพร้อมๆกันด้วย ความเข้มต่างกัน เกิดการผสมสีเป็นสีต่างๆกัน การเกิดการบอดสีคือการที่เซลล์รูปกรวยชนิดใด ชนิดหนึ่งพิการทางานไม่ได้โดยการบอดสีสามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้  คนส่วนมากพบตาบอด สีแดง>เขียว>น้าเงิน
  • 81. 81  สายตาสั้น(myopia) คือสภาวะที่กระบอกตายาวกว่าเดิม ทาให้แสงจากวัตถุโฟกัสที่วุ้นในลูกตาแล้ว กระจายออกเป็นวงพร่าไปตกบนเรตินา * การแก้ไข กระทาโดยการใส่แว่นตาที่ประกอบด้วยเลนส์เว้าช่วยกระจายแสง เพื่อยืดความยาวของ โฟกัสออกให้มาตกที่บริเวณเรตินาพอดี  สายตายาว(hypermetropia) คือ ภาวะที่กระบอกตาสั้นกว่าปรกติ ทาให้แสงตกบนเรตินาก่อนที่มีการ โฟกัส * การแก้ไข กระทาโดยการใส่แว่นตาที่ประกอบด้วยเลนส์นูนช่วยรวมแสง เพื่อให้แสงมาตกที่บริเวณเรติ นาพอดี • สายตาเอียง(astigmatism) คือสภาวะเกิดจากการที่ผิวกระจกตาหรือ เลนส์ ไม่สม่าเสมอทาให้โค้งไม่ เท่ากัน แสงจากวัตถุผ่านกระจกตาทาให้เกิดการหักเหและให้ภาพไม่เป็นจุดชัด * การแก้ไข กระทาโดยการใช้เลนส์ทรงกระบอกหรือทั้งเลนส์ทรงกระบอกและทรงกลม เพื่อให้แสงในแต่ ละระนาบมาโฟกัสที่จุดเดียวกัน
  • 83. โครงสร้างของหู(ear) 83  โครงสร้างของหูส่วนนอก - ใบหู(pinna) - ช่องหูหรือรูหู(external auditory canal) - แก้วหูหรือเยื่อแก้วหู(tympanic membrane หรือ ear drum)  โครงสร้างของหูส่วนกลาง - ท่อยูสเตเชียน(eustachian tube)ทาหน้าที่ปรับความดันระหว่างหูตอนกลางและอากาศภายนอก และระบายคลื่น เสียงส่วนเกิน จากหูตอนใน - กระดูกหู มีข้างละ 3 ชิ้น ได้แก่ กระดูกค้อน(malleus) กระดูกทั่ง(incus) กระดูกโกลน(stapes) ทาหน้าที่ขยายความ สั่นสะเทือนของคลื่นเสียงให้มากขึ้นกว่าเดิมถึง 20 เท่า เมื่อเข้าในหูตอนใน  โครงสร้างของหูส่วนใน เป็นที่อยู่ของอวัยวะรับเสียงและอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการทรงตัว 1. Utricular region เป็นที่อยู่ของอวัยวะการทรงตัวประกอบด้วยถุง utriculus และมี เซมิเซอร์คิวลาแคแนล (semicitcular canal) เป็นหลอดครึ่งวงกลม 3 อัน มีของเหลวบรรจุอยู่ 2. saccular region เป็นที่อยู่ของอวัยวะรับเสียงเรียกว่า คอเคลีย(cochiea) มีลักษณะคล้ายก้นหอยภายในมีของเหลว บรรจุอยู่ เมื่อคลื่นเสียงผ่านเข้ามาภายในทาให้เกิดการสั่นสะเทือนกระตุ้นส่งสัญญานไปตามเส้นประสาท
  • 84. 84 การทรงตัว temperal bone (hearing) perilymph fluid (endolymph fluid) (equilibrium) การโค้งงอของ hair cell ทาให้ เกิด action potential
  • 85. 85 การทรงตัว -utricle, saccule และ semicircular canals ในหูชั้นใน รับรู้เกี่ยว กับการทรงตัวและตาแหน่งของร่างกาย โดยมี hair cell อยู่ข้างใน -utricle&sacculeส่งสัญญาณให้สมองรับรู้ว่าทิศใดเป็นด้านบนและ ร่างกายอยู่ในท่าได้ -semicircular canals รับรู้เกี่ยวกับทิศทางทั้ง 3 ระนาบ โดยบริเวณ โคนท่อมีการบวมเป็นกระเปาะเรียก ampulla -ในampullaมี gelatinous cap เรียก cupula ที่มี hair cell อยู่
  • 86. 86 จมูก(Nose): การได้กลิ่น -olfactory receptor cell เป็น neuron มาทาหน้าที่โดยตรง -ส่วนปลายของเซลล์ยื่นออกมาเป็น cilia สู่ mucus -สารเคมีมาจับกับ receptor ที่เยื่อเซลล์ของ cilia -เกิด signal-transduction pathway, depolarization, action potential สู่สมอง
  • 87. 87 ลิ้น(Tongue): การรับรส -บนลิ้นของคนมีตุ่มลิ้น(taste bud)ประมาณ 10,000 อัน ฝังตัวอยู่ในปุ่มลิ้น (papilla) -แต่ละ taste bud จะมี taste (gustatory) receptor cell ซึ่งเป็น modified epithelial cell อยู่ การรับรส มีขั้นตอนดังนี้ 1.โมเลกุลของสารเช่นน้าตาล จับกับtaste receptor 2.มีการส่งสัญญาณผ่าน signal-transduction pathway 3.K+ channel ปิด Na+channel เปิด 4.Na+ แพร่เข้าสู่เซลล์ เกิด depolarization 5.กระตุ้นการนา Ca+ เข้าสู่เซลล์ 6.receptor cell หลั่ง neurotransmitter ที่ไปกระตุ้น sensory neuron ต่อไป
  • 88. 88 ผิวหนัง(Skin): การับสัมผัส -สิ่งเร้าที่เป็นแรงกลจะทาให้เกิดการโค้งงอหรือบิดเบี้ยว ของเยื่อเซลล์ของ mechanoreceptor จะทาให้ permeability ต่อ Na+ และ K+ เปลี่ยนไป และทาให้เกิด depolarization -mechanoreceptor เป็น modified dendrite ของ sensory neuron Pacinian corpuscle Meissner’s corpuscle Krouse’s end bulb Ruffini’s corpuscle  รีเซปเตอร์รับการสัมผัส อยู่มากตามฝ่ามือฝ่าเท้า มากกว่าที่อื่น บริวเวณที่มีขนน้อยกว่าไม่มีขน โดย ปลายนิ้วจะมีมากกว่าที่อื่น  รีเซปเตอร์รับร้อน-หนาว ไม่พบที่อวัยวะภายใน พบ ที่หลังมือมากกว่าฝ่ามือ(ไม่แน่นอน)  รีเซปเตอร์รับความเจ็บปวด จะมีการส่งกระแส ประสาทไปยัง ทาลามัส และถ่ายทอดไปยังซีรับรัม คอเทกซ์ บริเวณที่มีรีเซปเตอร์นี้น้อยได้แก่บริเวณ ต้นแขนและตะโพก  ปลายประสาทรับรู้เกี่ยวกับเจ็บปวด จะอยู่ชั้นบนสุด ของผิวหนังปรากฏบริเวณชั้นหนังกาพร้า  ปลายประสาทรับรู้แรงกดดัน จะอยู่ระดับล่างสุด โดยปรากฏภายใต้ชั้นหนังแท้
  • 89. 89 “THE END” THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!