SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  76
Télécharger pour lire hors ligne
ติวสอบวิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา)
สาหรับนักเรียนระดับชั้น ม.3
เพื่อเข้าศึกษาต่อระดับชั้น ม.4
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ผู้สอน...ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
สรุปสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
อาหารและสารอาหาร
• อาหาร คือ สิ่งที่กินได้และก่อให้เกิดประโยชน์ต่อร่างกาย ในอาหารมีส่วนประกอบที่เป็นสารเคมีอยู่หลาย
ประเภท ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน วิตามิน แร่ธาตุ และน้า สารเหล่านี้รวมเรียกว่า สารอาหาร
การจาแนกสารอาหาร
• สารอาหาร 6 ชนิด คือ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน วิตามิน แร่ธาตุ
และน้า จาแนกได้เป็น
• สารอาหารที่ให้พลังงาน คือ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน
• สารอาหารที่ไม่ให้พลังงาน วิตามิน แร่ธาตุ และน้า
สารอาหารที่ให้
พลังงาน
คาร์โบไฮเดรต
4 /กิโลแคลอรี 9 /กิโลแคลอรี4 /กิโลแคลอรี
ไขมันไปรตีน
แหล่งที่ให้สารอาหาร
ข้าว เผือก แป้ง น้าตาล น้าอ้อย
มัน น้ามะพร้าว
แหล่งที่ให้สารอาหาร
น้ามันและไขมัน จากพืชและ
สัตว์
แหล่งที่ให้สารอาหาร
เนื้อสัตว์ ไข่ นม และถั่วต่างๆ
การตรวจสอบวิตามินซี
• ความเข้มข้นของสารละลายวิตามินซี 0.01% ใช้เป็นเกณฑ์ในการเปรียบเทียบปริมาณวิตามินซีในน้า
ผลไม้ ถ้าจานวนหยดของน้าผลไม้ที่ใช้ตรวจสอบมากกว่าจานวนหยดของสารละลายวิตามินที่ใช้เป็น
เกณฑ์ แสดงว่าน้าผลไม้นั้นมีวิตามินซีน้อยกว่า 0.01% แต่ถ้าจานวนหยดน้อยกว่าแสดงว่ามีมากกว่า
0.01%
การทดสอบแป้ง
การทดสอบน้าตาล
การทดสอบโปรตีน
ไบยูเรต ได้จาก
การเติม CuSO4
ใน NaOH
สารละลาย
โปรตีน
การทดสอบไขมัน
คาร์โบไฮเดรต • เป็นสารอาหารหลักที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย ส่วนใหญ่มนุษย์ได้รับจาก
อาหารจาพวกแป้งและน้าตาล
• คนไทยบริโภคข้าวเป็นอาหารหลัก ซึ่งมีแป้งเป็นส่วนประกอบหลัก
• แป้งยังมีมากในธัญพืชอื่น/เผือก/มันฝรั่ง/มันสาปะหลัง
• แปรรูปเป็นแป้งสุกใช้ประกอบอาหารได้หลายชนิด เช่น ขนมปัง เส้น
ก๋วยเตี๋ยว
คาร์โบไฮเดรต • น้าตาลที่พบในธรรมชาติ เช่น ในผลไม้สุก พืชบางชนิด เช่น อ้อย มะพร้าว
• สามารถแปรรูปได้ซึ่งมีรสหวานและเป็นส่วนประกอบสาคัญของอาหาร
หลายชนิด
คาร์โบไฮเดรต
• องค์ประกอบ คือ คาร์บอน (C) ไฮโดรเจน (H)
และออกซิเจน (O)
• หน่วยย่อย คือ น้าตาล (น้าตาลทรายหรือซูโครส
น้าตาลชนิดอื่นๆ เช่น กลูโคส ฟรุกโทส พบในผัก
และผลไม้หลายชนิด)
• แต่ละชนิดมีขนาดของโมเลกลุต่างกัน ขึ้นอยู่กับ
จานวนโมเลกุลของน้าตาลที่เป็นองค์ประกอบ
• น้าตาลโมเลกุลคู่ ประกอบด้วยน้าตาล
โมเลกุลเดี่ยว 2 โมเลกุลมาต่อกัน
คาร์โบไฮเดรต
• แป้งและไกลโคเจนเป็นโมเลกุลใหญ่ ประกอบด้วยกลูโคสหลายพันโมเลกุลเชื่อมต่อกันเป็นสายยาว
• พืชหลายชนิดสะสมอาหารอยู่ในรูปแป้งส่วนในสัตว์สะสมอยู่ในรูปของไกลโคเจน
• ใยอาหาร เช่น เซลลูโลส เป็นส่วนประกอบของผนังเซลล์พืช พบได้ในผัก ผลไม้ ธัญพืช ถั่วเมล็ดแห้ง เมล็ด
พืช ฯลฯ (ผู้ใหญ่ควรบริโภควันละ 25 กรัม เด็กควรบริโภคต่อวันเท่ากับอายุเป็นปีบวกเพิ่มอีก 5 กรัม)
โปรตีน
• เป็นส่วนประกอบสาคัญของเซลล์ทุกเซลล์ ช่วยเสริมสร้างการเจริญเติบโต และซ่อมแซมส่วนต่างๆของ
ร่างกาย
• หลาชนิดเป็นเอนไซม์ที่มีหน้าที่เฉพาะ คือ ช่วยเร่งและควบคุมปฏิกิริยาเคมีในสิ่งมีชีวิต
• บางชนิดทาหน้าที่ควบคุมระบบต่างๆ ให้ทางานได้เป็นปกติ
• ร่างกายสามารถได้รับพลังงานจากกระบวนการสลายด้วย จึงมีความสาคัญอย่างยิ่ง
โปรตีน
• อาหารที่มีโปรตีนมาก ได้แก่ เนื้อสัตว์ ไข่ นม ถั่วเมล็ดแห้ง และผลิตภัณฑ์จากถั่ว เช่น เต้าหู้ นอกจากนั้น
แมลงบางชนิดก็เป็นแหล่งเช่นกัน
• องค์ประกอบ คือ กรดอะมิโน หลายชนิดเรียงต่อกัน
• กรดอะมิโนแต่ละโมเลกุลประกอบด้วยธาตุหลัก 4 ธาตุ ได้แก่ คาร์บอน (C) ไฮโดรเจน (H) ออกซิเจน
(O) และไนโตรเจน (N) นอกจากนั้นบางชนิดก็ยังมีกามะถัน (S) เป็นส่วนประกอบด้วย
โปรตีน • กรดอะมิโน ที่พบในร่างกายของเรามีประมาณ 20 ชนิด แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ
• กรดอะมิโนจาเป็น ซึ่งร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์ได้เองจาเป็นต้องได้จากอาหารที่กิน
• กรดอะมิโนไม่จาเป็น ซึ่งร่างกายสามารถสังเคราะห์ได้จากกรดอะมิโนและสารอินทรีย์ชนิด
อื่นๆ
โมเลกุลเพปไทด์ จานวนโมเลกุลของกรดอะมิโน
Dipeptide 2
Tripeptide 3
Tetrapeptide 4
Polypeptide 5 – 35
Protein คือ Polypeptide ที่มีมวลโมเลกุลมากกว่า 5000
ไขมัน
• เป็นสารอาหารที่ให้กรดไขมันที่จาเป็นสาหรับร่างกาย
และให้พลังงานสาหรับกิจกรรมต่างๆ ของเซลล์
• ร่างกายจะสะสมในบริเวณใต้ผิวหนังและรอบอวัยวะ
ภายในต่างๆ เพื่อให้มีแหล่งพลังงานไว้ใช้ยามต้องการ
• เป็นฉนวนป้องกันการสูญเสียความร้อนจากร่างกาย
และป้องกันอวัยวะภายในจากความกระทบกระเทือน
• เป็นส่วนประกอบสาคัญของเยื่อหุ้มเซลล์และเยื่อหุ้ม
ออร์แกเนลล์ต่างๆ ภายในเซลล์
• ช่วยในการดูดซึมวิตามินบางชนิด (A D E K)
ไขมัน • อาหารที่เป็นแหล่งสูง เช่น เนย น้ามันพืช และกะทิ เป็นต้น
• องค์ประกอบ คือ กลีเซอรอลและกรดไขมัน โดยทั่วไปมีธาตุคาร์บอน (C) ไฮโดรเจน (H) และ
ออกซิเจน (O)
• เป็นสารให้พลังงาน (9 kcal/g) สูงกว่าคาร์โบไฮเดรตและโปรตีน (4 kcal/g) กว่าเท่าตัว
• การกินมากเกินทาให้เกิดโรคอ้วนและเสี่ยงต่อโรคอื่น เช่น โรคหัวใจและโรคความดันโลหิตสูง
เป็นต้น
• การลดความอ้วนไม่ควรงงดไขมันอย่างเด็ดขาดเพราะจะทาให้ร่างกายขาดกรดไขมันที่จาเป็นต่อ
ร่างกายได้
ไขมัน
• กรดไขมันบางชนิดจาเป็นต่อการดารงชีวิต เพราะร่างกายไม่สามารถสร้างได้เองต้อได้รับจาก
การรับประทานอาหาร เช่น กลุ่มโอเมกา 3 และกลุ่มโอเมกา 6 (บทบาทสาคัญในการควบคุม
ระดับไขมันในเลือด ลดความเสี่ยงของภาวะความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคซึมเศร้า โรคอัลไซ
เมอร์ และช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกัน)
• ในเด็กกรดไขมันจาเป็นมีบทบาทสาคัญต่อโครงสร้างและการทางานของสมอง ตับ และระบบ
ประสาทที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการ การเรียนรู้ การมองเห็น
• คอเรสเทอรอล มีหน้าทื่สาคัญ เช่น เป็นส่วนประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์ เป็นสารตั้งต้นในการ
สังเคราะห์ฮอร์โมนเพศ นอกจากนี้ยังเกี่ยวข้องกับภาวะหลอดเลือดอุดตันและโรคหัวใจด้วย
วิตามิน • เป็นสารอินทรีย์สาคัญต่อการทางานระบบอวัยวะ
• ร่างกายต้องการในปริมาณไม่มากนักส่วนใหญ่มีบทบาทในปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล์โดย
ทางานร่วมกับเอนไซม์
• เมื่อขาดจะส่งผลให้เกิดภาวะผิดปกติเนื่องจากความบกพร่องของกระบวนการเคมีภายใน
ร่างกาย
• พืชสังเคราะห์วิตามินเองได้ แต่สัตว์ต้องกินวิตามินหลายชนิดจากอาหาร
• วิตามินแต่ละชนิดมีสมบัติแตกต่างกันและทดแทนกันไม่ได้
วิตามินแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1. วิตามินที่ละลายในน้า ได้แก่ วิตามิน B1 วิตามิน B2
วิตามิน B3 วิตามิน B6 วิตามิน C วิตามิน B12
2. วิตามินที่ละลายได้ในไขมัน ได้แก่ A D E K
วิตามินมีอยู่มากมายหลายชนิด ซึ่งแต่ละชนิดจะมี
ความสาคัญต่อร่างกายแตกต่างกัน และมีอยู่ใน
อาหารหลายชนิดในปริมาณที่แตกต่างกัน
วิตามิน แหล่งอาหาร หน้าที่และประโยชน์ อาการเมื่อขาด
เอ
ตับ นม น้ามันตับปลาไข่
แดง ผักและผลไม้
สร้างโปรตีนในเด็ก
และรักษาเนื้อเยื่อ เช่น
บารุงสายตา
ไม่สามารถมองเห็น
ได้ในที่สลัว นัยน์ตา
แห้ง
ดี
นม ไข่ ตับ กุ้งทะเล
น้ามันตับปลา
ปลาทะเล
ช่วยในการดูดซึม
แคลเซียมและฟอสฟอรัส
สร้างกระดูกและฟัน
โรงกระดูดอ่อน
ฟันผุและชัก
อี
ผักใบเขียวไขมันจากพืช
เช่น ข้าวโพด ถั่วลิสง
มะพร้าว ดอกคาฝอย
นม ไข่ เนื้อสัตว์
ทาให้เม็ดเลือดแดง
แข็งแรง
ไม่เป็นหมัน
เป็นหมัน เป็นโรค
โลหิตจางในเด็กชาย
อายุ 2 ถึง 6 ขวบ
แหล่งอาหาร ความสาคัญ และผลจากการขาดวิตามินชนิดต่างๆ
วิตามิน แหล่งอาหาร หน้าที่และประโยชน์ อาการเมื่อขาด
เค
มะเขือเทศ กะหล่าดอก
ผักโขม คะน้า ตับ เนื้อวัว
ช่วยในการแข็งตัวของเลือด
เลือดเป็นลิ่มช้าทาให้
เลือดหยุดไหลยาก
บี1
ข้าวซ้อมมือ ตับ ถั่ว ไข่
ราข้าว ยีสต์ นม เนื้อหมู
หัวใจ
ช่วยในกรบวนการเมตาโบลิซึม
ของคาร์โบไฮเดรต บารุง
ประสาท การทางานของหัวใจ
โรคเหน็บชาเบื่ออาหาร
การเจริญ
เติบโตหยุดชะงัก
บี2
ไข่ หมู เนื้อวัว ถั่ว ยีสต์
เนื้อสัตว์
ช่วยในการเจริญเติบโต โรคปากนกกระจอก
ซี
(กรด
แอส
คอบิก)
ผลไม้จาพวกส้ม มะนาว
มะละกอ มะเขือเทศ
ช่วยรักษาสุขภาพของเหงือก
และฟันร่างกายมีภูมิต้านทาน
โรค
โรคลักปิดลักเปิด
ทาให้เลือดออกตาม
ไรฟันเป็นหวัดได้ง่าย
แหล่งอาหาร ความสาคัญ และผลจากการขาดวิตามินชนิดต่างๆ
ผลจากการขาดวิตามินชนิดต่างๆ
เลือดออกตามไรตามไรฟัน
ขาดวิตามิน C
โรคปากนกกระจอกผิวหนังแห้งแตก ลิ้นอักเสบ
ขาดวิตามิน B2
โรคเหน็บชา
ขาดวิตามิน B1
โรคตาบอดกลางคืน
ขาดวิตามิน A ขาดวิตามิน D
แร่ธาตุ • เป็นสารอาหารอีกประเภทหนึ่งที่ร่างกายต้องการและขาดไม่ได้
• แร่ธาตุบางชนิดเป็นส่วนประกอบของอวัยวะและกล้ามเนื้อบางอย่าง เช่น กระดูก ฟัน
เลือด บางชนิดเป็นส่วนของสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเจริญเติบโตในร่างกาย เช่น ฮอร์โมน
เฮโมโกลบิน เอนไซม์ เป็นต้น
• นอกจากนี้แร่ธาตุยังช่วยในการควบคุมการทางานของอวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายให้ทาหน้าที่
ปกติ เช่น ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อและระบบประสาท การแข็งตัวของเลือด และ
ช่วยควบคุมสมดุลของน้าในการไหลเวียนของของเหลวในร่างกาย เป็นต้น
ตาราง แสดงแหล่งอาหารที่ให้ธาตุ ประโยชน์ และโรคหรืออาการเมื่อขาดธาตุ
แร่ธาตุ แหล่งอาหาร หน้าที่/ประโยชน์ โรค/อาการเมื่อขาดแร่ธาตุ
แคลเซียม
เนื้อ นม ไข่ ปลากินได้
ทั้งกระดูก กุ้งฝอย และ
ผักสีเขียวเข้ม
1.เป็นส่วนประกอบของ
กระดูกและฟัน2.ควบคุมการ
ทางานของหัวใจกล้ามเนื้อ3.
ช่วยใน
การแข็งตัวของเลือด
1.โรคกระดูกอ่อนและฟันผุ
2.เลือดออกง่ายและแข็งตัวช้า
ฟอสฟอรัส
เนื้อ นม ไข่ ปลากินได้
ทั้งกระดูก กุ้งฝอย และ
ผักต่างๆ
1.เป็นส่วนประกอบที่สาคัญ
ของกระดูกและฟัน
2.ช่วยสร้างเอนไซม์
3.ช่วยสร้างเซลล์สมองและ
ประสาท
1.โรคกระดูกอ่อนและฟันผุ
2.การเจริญเติบโตช้า
แร่ธาตุ แหล่งอาหาร หน้าที่/ประโยชน์ โรค/อาการเมื่อขาดแร่ธาตุ
โพแทสเซียม
เนื้อสัตว์ นม ไข่ งา
ข้าว เห็ดผักสีเขียว
และผลไม้บางชนิด
1.ควบคุมการทางานของ
กล้ามเนื้อหัวใจระบบ
ประสาท
รักษาปริมาณน้าคงที่
1.ทาให้กล้ามเนื้อ
อ่อนเพลียและหัวใจวาย
กามะถัน เนื้อสัตว์นมไข่
1.สร้างโปรตีนในร่างกาย
2.สร้างกล้ามเนื้อส่วน
ยังไม่ทราบแน่ชัด
โซเดียม
เกลือแกง อาหารทะเล
อาหารหมักดอง ไข่
นม เนย แข็ง ผักสี
เขียว
1.ควบคุมการทางาระบบ
ประสาทรักษาปริมาณ
น้าในเซลล์ให้คงที่
3.รักษาความเป็นกรด -
ด่างของร่างกายให้อยู่ใน
สภาพสมดุล
1.โรคประสาทเสื่อม
2.กล้ามเนื้ออ่อนเพลีย
เหล็ก
เนื้อสัตว์ตับ เครื่อง
ในไข่แดงและผักสี
เขียว
1.เป็นส่วนประกอบของ
เฮโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง
1.โรคโลหิตจาง
2.เล็บเปราะหักง่าย
3.อ่อนเพลีย ซึม
แมงกานีส
กระดูก ตับ สันหลัง
ธัญญาพืช
กระตุ้นการทางานของเอนไซม์
1.ทาให้เป็นอัมพาตได้
อาการชักในเด็ก
ทองแดง
เรื่องในสัตว์ ไก่
หอยนางรม พืชผัก
และผลไม
1.ช่วยในการดูดซึมธาตุเหล็ก2.
ช่วยสร้างเฮโมโกบิลในเม็ด
เลือดแดง
3.เป็นส่วนประกอบของ
เอนไซม์บางชนิด
มักพบในทารกที่คลอดก่อน
กาหนด และมีน้าหนักแรก
คลอดกว่า กรัมจะเกิดภาวะ
โลหิตจาง อ่อนเพลีย หายใจ
ผิดปกติ
ไอโอดีน
อาหารทะเล เกลือ
สมุทร เกลืออนามัย
อยู่ในต่อมไทรอยด์ป้องกันโรค
คอพอก
1.โรคคอพอก
2.ร่างกายแคระแกร็น
น้า • เป็นสารที่มีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดใน
• ร่างกายของเรามีน้าเป็นองค์ประกอบอยู่ 2 ใน 3 ส่วนของน้าหนัก
• ตัวน้าจึงมีความสาคัญต่อร่างกาย ดังนี้
1. เป็นองค์ประกอบของอวัยวะต่างร่างกาย เช่น เลือด ตับ
ไต ลาไส้ หัวใจ เป็นต้น
2. ช่วยควบคุมอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่
3. ช่วยให้กลไกการเกิดปฏิกิริยาเคมีในร่างกายเป็นไปตามปกติ
4. ช่วยกาจัดของเสียออกจากร่างกายทางเหงื่อและปัสสาวะ
ร่างกายจะได้รับน้าโดยตรงจากการดื่มน้าสะอาดและได้จาก
อาหารที่รับประทานเข้าไป ซึ่งมีปริมาณน้าเป็นองค์ประกอบใน
ปริมาณที่แตกต่างกัน
• เป็นส่วนหนึ่งของโครงสร้างของพืช ได้แก่ ผัก ผลไม้ เมล็ดธัญพืช ถั่วต่างๆ จัดอยู่ในประเภทคาร์โบไฮเดรต
ที่ไม่สามารถย่อยได้โดยระบบย่อยอาหารของมนุษย์ ช่วยเพิ่มกากอาหาร ทาให้ขับถ่ายได้ดี คนที่รับประทาน
อาหารที่มีใยอาหารสูงสามารถลดความเสี่ยงในการเกิดโรคบางอย่างได้อีกด้วย ได้แก่ โรคมะเร็งลาไส้
โรคเบาหวาน โรคอ้วน โรคหัวใจ และโรคที่ก่อให้เกิดความผิดปรกติของทางเดินอาหารต่างๆ เช่น ท้องผูก
ริดสีดวงทวาร ลาไส้โป่งพอง และมะเร็งลาไส้ใหญ่ จึงได้มีความพยายามที่จะใช้ประโยชน์จากใยอาหารใน
การป้องกันโรค หรือควบคุมโรคที่มีอยู่ให้รุนแรงน้อยลง
อาหารในชีวิตประจาวัน
1. ความต้องการอาหารของคนแต่ละวัย
2. หญิงมีครรภ์และหญิงให้นมบุตร ต้องการ
อาหารที่มีประโยชน์มากเป็นพิเศษ
3. วัยเด็ก ต้องทานอาหารประเภทไข่
เนื้อสัตว์ นม ผัก และผลไม้
4. วัยรุ่น ต้องทานอาหารที่มีประโยชน์
5. วัยผู้ใหญ่และวัยสูงอายุ ทานโปรตีน
คาร์โบไฮเดรต และไขมันให้น้อยลง ผัก
ผลไม้ให้มากขึ้น
ตาราง ปริมาณของอาหารที่คนไทยควรรับประทานใน 1 วัน
จากการศึกษาเปรียบเทียบตัวอย่างอาหารชนิดต่างๆโดยใช้แคลอรีมิเตอร์ทาให้ทราบว่าสารอาหารแต่ละชนิด
ให้พลังงานต่างกันความต้องการพลังงานของแต่ละเพศ แต่ละวัย แตกต่างกันอย่างไร ให้ดูจากตาราง
ตาราง แสดงพลังงานที่ใช้ในการทากิจกรรมต่าง ๆ ในเวลา 1 ชั่วโมงต่อน้าหนักของร่างกาย 1 กิโลกรัม
กิจกรรมที่ทา พลังงานที่ใช้ในการทากิจกรรม ( Kcal )
ชาย หญิง
นอนหลับ
นั่งพักอ่าน หนังสือ
นั่งเขียนหนังสือ
ขับรถ
เย็บผ้าด้วยจักรเย็บผ้า
ล้างจาน ปัดฝุ่น
อาบน้าแปรงฟัน
ล้างรถ
ถูพื้น เลื่อยไม้
1.05
1.26
1.47
2.42
2.63
2.84
3.05
3.68
3.89
0.97
1.16
1.36
2.23
2.43
2.62
2.81
3.40
3.59
การคานวณหาค่าพลังงานที่ใช้ในกิจกรรม
การคิดคานวณหาค่าพลังงานที่ใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ อาจทาได้โดยใช้สูตรต่อไปนี้
พลังงานที่ใช้ = น้าหนักตัว X พลังงานที่ใช้ในการทากิจกรรมใน 1 ชั่วโมง
ต่อน้าหนักร่างกาย 1 กิโลกรัม
ตัวอย่างที่ 1 เด็กชายนิรันดร์หนัก 50 กิโลกรัม
ล้างรถเป็นเวลา 1 ชั่วโมง อยากทราบว่านิรันดร์จะใช้
พลังงานเท่าไร
ตัวอย่างที่ 2 ด ญ วิภาหนัก 40 กิโลกรัม นอน
หลับเป็นเวลา 1 ชั่วโมง แล้วตื่นขึ้นมาถูพื้นเป็นเวลา 3
ชั่วโมง อยากทราบว่าวิภาใช้พลังงานทั้งหมดเท่าไร
ดัชนีมวลกาย (BODY MASS INDEX หรือ BMI)
• การพิจารณาว่าผู้ใหญ่มีน้าหนักเกินมาตรฐานหรือไม่นั้นพิจารณาได้จาก ดัชนีมวลกาย (body mass index หรือ BMI)
• BMI =น้าหนักตัว (กก.) / ส่วนสูง2 (เมตร2)
• คนปกติจะมีค่ามาตรฐานระหว่าง 18.5-22.9 ถ้าน้อยกว่า 18.5 แสดงว่าผอมไป แต่ถ้า 23.0-24.9 ถือว่าน้าหนักเกินหรือท้วม
25.0-29.9 ถือว่าอ้วนปานกลาง และถ้ามากกว่า 30 ถือว่าอ้วนมาก สาหรับเด็กให้เทียบจากกราฟแสดงการเจริญเติบโต โดย
ดูจากน้าหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง
เป็นสารพิษที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติและจากการกระทาของมนุษย์ ซึ่งมี
ผลทาให้เกิดอันตรายต่อร่างกายจนถึงเสียชีวิตได้ สารปนเปื้อนใน
อาหารแบ่งตามลักษณะการเกิดได้ 2 ประเภทคือ
1. สารพิษที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ แบ่งออกตามชนิดของสารพิษได้ดังนี้
1.1 สารพิษจากเชื้อจุลินทรีย์ เช่น สารอะฟลาทอกซิน (aflatoxin) ซึ่งเป็น
สารสร้างจากเชื้อราพวกแอสเพอร์จิลลัส (aspergillus spp) รานี้เจริญ
ได้ดีในถั่วลิสงและเมล็ดพืชที่ชื้น ซึ่งความร้อนสูงไม่สามารถ
ทาลายสารอะฟลาทอกซินได้ส่วนใหญ่สารนี้จะตกค้างที่ตับทาให้เกิดเป็น
มะเร็งตับ
1.2 สารพิษจากเห็ดบางชิด ทาให้เมา มีอาการคลื่นไส้ และอาเจียน
1.3 สารพิษในพืชผัก สีผสมอาหาร เชื้อจุลินทรีย์ ภาชนะบรรจุอาหาร
สารปนเปื้อนในอาหาร
2. สารพิษที่เกิดจากการกระทาของมนุษย์ ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากความเจริญ
ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เรานามาใช้ใน ชีวิตประจาวัน มีดังนี้
2.1 สารตกค้างจากการเกษตร เช่น ดีดีที ปุ๋ ย ยาปราบศัตรูพืช ซึ่งอาจสะสม
ในอาหาร เมื่อรับประทานเข้าไปจะเกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต
2.2 สิ่งเจือปนในอาหาร แบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ
1. สารกันอาหารเสีย เป็นสารที่ช่วยให้อาหารคงสภาพ รส กลิ่น เหมือน
เมื่อแรกผลิตและเก็บไว้ได้นาน เช่น สารกันบูด สารกันหืด เป็นต้น
2. สารแต่งกลิ่นหรือรส เป็นสารที่ช่วยให้อาหารมีรสและกลิ่นถูก
ผู้บริโภค หรือใช้แต่งกลิ่นรส ผู้บริโภคเข้าใจคิดผิดว่าเป็นของแท้ หรือมี
ส่วนผสมอยู่มากหรือน้อยทั้งที่เป็นของเทียน สารเหล่านี้ได้แก่ บอ
แรกซ์ สารเคมี เครื่องเทศ สารกลิ่นผลไม้สารรสหวานประเภทน้าตาลเทียม
3. สีผสมอาหาร เป็นสีที่ใส่เพื่อจะช่วยแต่งเติมให้อาหารน่ารับประทาน
ยิ่งขึ้น มีทั้งสีจากธรรมชาติซึ่งเป็นสีที่ได้จากพืชและสัตว์ไม่เป็นอันตรายต่อ
สิ่งมีชีวิต เช่น สีดาจากถ่าน สีแดงจากครั่ง เป็นต้น และ สีสังเคราะหส่วนมาก
จะเป็นสารพิษที่ร้ายแรงต่อร่างกาย มักมีตะกั่วและโครเมียมอยู่ เช่น สีย้อมผ้า
บอแรกซ์ หรือในชื่อเรียกอื่นๆ เช่น น้าประสานทอง เผ่งเซ ผงกรอบ หรือแป้งกรอบ เป็นสารเคมี
สังเคราะห์ที่ถูกนามาอย่างไม่ถูกต้อง โดยการนามาผสมอาหาร เพื่อทาให้อาหารมีความเหนียว หรือกรุบ
กรอบ ทาให้อาหารชวนรับประทาน แต่ในความจริงแล้วการบริโภคบอแรกซ์ทาให้เกิดอันตรายได้อย่าง
มาก อาหารที่มักพบว่า มีบอแรกซ์ผสม เช่น ลูกชิ้น หมูยอ อาหารชุบแป้งทอด พวกกล้วยทอด มันทอด
ผัก/ผลไม้ดอง เป็นต้น ปัจจุบันยังตรวจพบว่า มีการนาบอแรกซ์มาผสมน้า ใช้รดผัก หรืออาหารทะเล
ก่อนวางจาหน่าย โดยเชื่อกันว่า จะทาให้อาหารดูสดชื่น และกรอบน่ารับประทาน
ลักษณะของบอแรกซ์
สารฟอร์มาลิน
สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ มักใช้เป็นน้ายาฆ่าเชื้อโรค หรือใช้เป็นน้ายาดองศพ ใช้ใน
อุตสาหกรรมผลิตเคมีภัณฑ์พลาสติกสิ่งทอ ฟอร์มาลินเป็นสารอันตราย จึงถือเป็นสารเคมีที่ห้ามใช้ในอาหาร
ความเป็นพิษ : การบริโภคสารละลายนี้โดยตรง จะเกิดอาหารเป็นพิษโดยเฉียบพลัน ซึ่งอาการมีตั้งแต่ ปวด
ท้องอย่างรุนแรง อาเจียน อุจจาระร่วง หมดสติ และตายในที่สุด มีผลต่อการทางานของไต หัวใจและสมอง
เสื่อม และก่อให้เกิดอาการปวดแสบ
ลักษณะสังเกตได้ : อาหารที่ควรจะเน่าเสียง่าย แต่กลับไม่เน่าเสีย ถ้ามีการใช้ฟอร์มาลินมากจะมีกลิ่นฉุน แสบ
จมูก ควรเลือกซื้ออาหารที่มี
ความปลอดภัย จากร้านที่มีป้ายอาหารปลอดภัย (ป้ายทอง)
การทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร
มีสัญลักษณ์แสดงหมายเลขทะเบียนของคณะกรรมการอาหารและยา
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา)
เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
ควาชิออร์กอร์
เป็นโรคขาดโปรตีน และแคลอรี
ประเภทที่มีการขาดโปรตีนอย่าง
มาก เด็กมีอาการบวมเห็นได้ชัดที่
ขา ๒ ข้าง เส้นผมมีลักษณะบาง
เปราะ และร่วงหลุดง่าย ตับโต มี
อาการซึม และดูเศร้า ไม่สนใจต่อ
สิ่งแวดล้อม ผิวหนังบางและลอก
หลุด
มาราสมัส
เป็นโรคขาดโปรตีน และแคลอรี
ประเภทที่ขาดทั้งกาลังงาน และ
โปรตีน เด็กมีแขนขาลีบเล็ก
เพราะทั้งไขมัน และกล้ามเนื้อ
ถูกเผาผลาญมาใช้เป็นกาลังงาน
เพื่อการอยู่รอด ลักษณะที่พบ
เห็น เป็นแบบหนังหุ้มกระดูก
ผิวหนังเหี่ยวย่นเหมือนหนังคน
แก่ ไม่มีอาการบวม และตับไม่โต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
แนวสอบเข้าเตรียมฯ วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) เรื่อง สารเคมีในสิ่งมีชีวิต
THE END

Contenu connexe

En vedette

ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโตติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโตWichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติWichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพWichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมโครงสร้างพืชดอก
ติวสอบเตรียมโครงสร้างพืชดอกติวสอบเตรียมโครงสร้างพืชดอก
ติวสอบเตรียมโครงสร้างพืชดอกWichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์Wichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaWichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายWichai Likitponrak
 
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียนติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียนWichai Likitponrak
 
17ข้อสอบสสวท 55
17ข้อสอบสสวท 5517ข้อสอบสสวท 55
17ข้อสอบสสวท 55Wichai Likitponrak
 
เฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้น
เฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้นเฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้น
เฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้นWichai Likitponrak
 
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรก
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรกเฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรก
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรกWichai Likitponrak
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม OWichai Likitponrak
 
How to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your NicheHow to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your NicheLeslie Samuel
 
ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่ ป3
ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่ ป3ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่ ป3
ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่ ป3Wichai Likitponrak
 
ติวข้อสอบสสวทตะลุยโจทย์ ป3
ติวข้อสอบสสวทตะลุยโจทย์ ป3ติวข้อสอบสสวทตะลุยโจทย์ ป3
ติวข้อสอบสสวทตะลุยโจทย์ ป3Wichai Likitponrak
 
ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่ ป3
ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่ ป3ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่ ป3
ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่ ป3Wichai Likitponrak
 

En vedette (20)

ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโตติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์เจริญเติบโต
 
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
 
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
ติวสอบเตรียมความหลากหลายชีวภาพ
 
ติวสอบเตรียมโครงสร้างพืชดอก
ติวสอบเตรียมโครงสร้างพืชดอกติวสอบเตรียมโครงสร้างพืชดอก
ติวสอบเตรียมโครงสร้างพืชดอก
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
 
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdnaติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
ติวสอบเตรียมพันธุศาสตร์เทคdna
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
 
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียนติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
ติวสอบเตรียมระบบย่อยและหมุนเวียน
 
ติวOnetชีวะ
ติวOnetชีวะติวOnetชีวะ
ติวOnetชีวะ
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
 
17ข้อสอบสสวท 55
17ข้อสอบสสวท 5517ข้อสอบสสวท 55
17ข้อสอบสสวท 55
 
เฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้น
เฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้นเฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้น
เฉลยแนวสอบIjsoชีววิทยาม.ต้น
 
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรก
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรกเฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรก
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรก
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
 
How to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your NicheHow to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your Niche
 
Sci 2009 38
Sci 2009 38Sci 2009 38
Sci 2009 38
 
ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่ ป3
ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่ ป3ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่ ป3
ติวข้อสอบสสวทดินหินแร่ ป3
 
ติวข้อสอบสสวทตะลุยโจทย์ ป3
ติวข้อสอบสสวทตะลุยโจทย์ ป3ติวข้อสอบสสวทตะลุยโจทย์ ป3
ติวข้อสอบสสวทตะลุยโจทย์ ป3
 
ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่ ป3
ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่ ป3ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่ ป3
ติวข้อสอบสสวทแรงการเคลื่อนที่ ป3
 
Worksheet human kidney
Worksheet human kidneyWorksheet human kidney
Worksheet human kidney
 

Similaire à ติวสอบเตรียมสารเคมีในสมช

ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพrubtumproject.com
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1CAPD AngThong
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevtonginzone
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
ปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนaousarach
 
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010Coco Tan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน Noon Nantaporn
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วนsumethinee
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วนsumethinee
 
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.pptลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.pptพรพจน์ แสงแก้ว
 
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตงานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตFrank Jkg
 
D Toc Presentation1
D Toc Presentation1D Toc Presentation1
D Toc Presentation1Pat Longsiri
 
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงMetabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงUtai Sukviwatsirikul
 
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุatunya petkeaw
 

Similaire à ติวสอบเตรียมสารเคมีในสมช (20)

ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
C-Moocy
C-MoocyC-Moocy
C-Moocy
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
ผลไม้ต่อสุขภาพ
ผลไม้ต่อสุขภาพผลไม้ต่อสุขภาพ
ผลไม้ต่อสุขภาพ
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevt
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
ปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วน
 
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
 
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรคกินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วน
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วน
 
Mom knowledge
Mom knowledgeMom knowledge
Mom knowledge
 
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.pptลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
 
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตงานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
 
D Toc Presentation1
D Toc Presentation1D Toc Presentation1
D Toc Presentation1
 
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงMetabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
 
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
 

Plus de Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

Plus de Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

ติวสอบเตรียมสารเคมีในสมช