SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  9
Télécharger pour lire hors ligne
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงานโรควติกกงัวลทั่วไป
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อนางสาวศุภิสรา กาละดี เลขที่39 ชั้น ม.6 ห้อง 8
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม นางสาวศุภิสรากาละดี เลขที่ 39
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรควิตกกังวลทั่วไป
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Generalized Anxiety Disorder
ประเภทโครงงานโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวศุภิสรา กาละดี
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงานภาคเรียนที่1-2 ปีการศึกษา 2562
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในทุกวันเราได้ทากิจกรรมมากมายล้วนเป็นประสบการณ์ทั้งที่ดีและไม่ดีซึ่งหากเป็นด้านที่ดีจะทาให้เรามี
ความมั่นใจในการจะทางานนั้นอีกครั้งและภูมิใจกับสิ่งที่กระทาลงไปแต่หากถ้าเป็นผลที่ออกมาด้านไม่ดีหรือเกิดผิ
พลาดนั้นจะทาให้ฝังใจและเกิดอาการวิตกกังวลเมื่อต้องทาสิ่งต่างๆอีกครั้ง แต่โดยปกติเมื่อเราต้องเจอกับ
สถานการณ์ที่ทาให้เกิดความวิตกกังวลเมื่อเหตุการณ์นั้น คลี่คลายความวิตกกังวลก็จะหายไปแต่ในทางกลับกันหาก
มีอาการป่วยเป็นโรควิตกกังวลนั้น ผู้ที่ป่วยเป็นโรควิตกกังวลมักจะไม่สามารถปรับตัวกับสิ่งที่เกิดขึ้นได้และยังคงมี
ความวิตกกังวล เรื่องเดิมวนเวียนในความคิดจนส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจาวันอย่างมาก เช่น ไม่มีสมาธิใน
การทางาน ความสัมพันธ์ กับ เพื่อนร่วมงานแย่ลง รวมทั้งอาจมีอาการทางกาย เช่น ใจสั่น นอนไม่หลับ และปวด
ท้องบ่อยๆ ซึ่งอาการเหล่านี้ล้วนมีผลกระทบต่อผู้ป่วยเองและมีผลต่อคนรอบข้างอย่างมากและการป่วยเป็นโรควิตก
กังวลนั้นสามารถพบได้ในคนทั่วไปในสังคม ดังนั้นเราควรมีความรู้และความเข้าใจกับโรควิตกกังวลนี้เพื่อที่จะ
สามารถอยู่ร่วมกับผู้ป่วยและไม่ส่งผลเสียแก่ผู้ป่วยและสังคม และเมื่อเราเข้าใจผู้ป่วยในเรื่องของลักษณะอาการเรา
อาจจะสามารถช่วยดูแลและทาให้ผ็ป่วยมีอาการที่ดีขึ้นได้ ผู้จัดทาจึงได้จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องโรควิตก
กังวลขึ้นเพื่อเป็นสื่อกลางให้แก่ผู้ป่วยและคนทั่วไปโยผู้จัดทาได้ค้นคว้าเกี่ยวกับสาเหตุ ลักษณะอาการในหลาย
รูปแบบและผู้จัดทายังหวังว่ายอกจากโครงงานนี้จะมีประโยชน์แก่ตัวผู้จัดทาเองยังสามารถมีประโยชน์แก่ผู้ที่ศึกษา
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาสาเหตุ ลักษณะอาการและการรักษาโรควิตกกังวลทั่วไปที่ถูกต้อง
2.เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจในเรื่องโรควิตกกังวลทั่วไปมากขึ้น
3.เพื่อให้ผู้อ่านรู้ถึงสาเหตุและวิธีรักษาโรควิตกกังวลทั่วไปได้อย่างถูกต้อง
ขอบเขตโครงงาน(คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน
อาการของโรควิตกกังวล ในทุกช่วงอายุ
หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ความวิตกกังวล เป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อความเครียดที่มีประโยชน์ในบางสถานการณ์ เพราะช่วยให้เรา
ตื่นตัว และพร้อมรับมือกับปัญหาหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น อย่างไรก็ตามโรควิตกกังวลมีความแตกต่างจาก
ความรู้สึกวิตกกังวลทั่ว ๆไป คนที่เป็นโรควิตกกังวลจะรู้สึกวิตกกังวล และกลัวอย่างเกินเหตุ จนมีผลทางลบต่อการ
ดาเนินชีวิตประจาวัน โรควิตกกังวล เป็นโรคที่พบได้มากในกลุ่มประชากรทั่วไป ปัจจุบันกลุ่มโรควิตกกังวลได้
โรควิตกกังวลแบ่งออกได้ 5 ประเภทหลัก เช่น
 โรควิตกกังวลทั่วไป (Generalized Anxiety Disorder , CAD ) คือ การมีความกังวลในเรื่องชีวิตประจาวัน
ทั่วๆไปนานและมากเกินไป เช่น เรื่องงาน ครอบครัว หรือเรื่องเล็กๆน้อยๆ ทาให้มีผลกระทบต่อการใช้
ชีวิตประจาวัน ความเครียดและความวิตกกังวลที่ดาเนินไปอย่างต่อเนื่องอาจทาให้เกิดอาการทางร่างกาย
เช่น กระวนกระวาย อ่อนเพลีย หงุดหงิด ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ไม่มีสมาธิ มีปัญหาการนอนหลับ
 โรคแพนิก (Panic Disorder, PD ) คือ การที่อยู่ดีๆเกิดอาการกลัวและวิตกกังวลขึ้นมาเป็นพักๆโดยไม่มี
สาเหตุหรือมีอาการ เช่น หัวใจเต้นเร็ว ใจสั่น เหงื่อออก เจ็บหน้าอก รู้สึกสาลัก เวียนหัว คลื่นไส้หรือท้อง
ปั่นป่วน หนาวสั่นหรือร้อนวูบวาบ มือเท้าชา กลัวว่าตัวเองจะตาย อาการของแพนิกไม่ใช่เป็นโรคร้ายแรง
แต่ทาให้รู้สึกไม่สบายมาก ดังนั้นผู้ป่วยมักคิดว่าตัวเองกาลังหัวใจวายหรือเป็นโรคที่ร้ายแรงถึงแก่ชีวิต
 โรคกลัวแบบเฉพาะเจาะจง (Phobias) คือ การกลัวมากเกินไปเกี่ยวกับบางสิ่งบางอย่าง สถานการณ์
บางอย่างหรือกิจกรรมบางอย่างที่เฉพาะเจาะจง เช่น กลัวเลือด กลัวสุนัข กลัวที่แคบ
 โรคย้าคิดย้าทา (Obsessive Compulsive Disorder, OCD) คือ ความคิดวิตกกังวลที่มีการคิดซ้าๆและมีการ
ตอบสนองต่อความคิดด้วยการทาพฤติกรรมซ้าๆ เช่น คิดว่าลืมล็อคประตูก็จะคอยตรวจซ้าๆว่าล็อคประตู
หรือยัง
 โรคเครียดหลังเหตุสะเทือนใจ (Post-Traumatic Stress Disorder, PTSD) คือ อาการผิดปกติที่เกิดขึ้น
หลังจากประสบกับเหตุการณ์อันเลวร้ายมาก เช่น เผชิญกับภาวะเฉียดตาย ภาวะภัยพิบัติตามธรรมชาติที่
ร้ายแรง ถูกทาร้ายหรือเห็นคนใกล้ตัวตาย เป็นต้น อาการเกิดขึ้นได้หลายอย่าง ตั้งแต่เงียบเฉย ขาดการ
4
ตอบสนอง ตกใจง่าย หวาดกลัว กังวลในเรื่องเล็กน้อย คิดถึงเหตุการณ์นั้นซ้าๆและเกิดความกลัวและวิตก
กังวลขึ้นมาใหม่เหมือนเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นอีกครั้ง รวมถึงหวาดกลัวสิ่งเร้าที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์
โรคกังวลทั่วไป
โรควิตกกังวลเป็นโรคทางจิตที่พบได้มากที่สุดโรคหนึ่ง สาเหตุเกิดได้ทั้งจาก 2 ปัจจัยหลักดังนี้
 พันธุกรรมหรือพื้นฐานดั้งเดิม ถ้าพ่อแม่เป็นโรควิตกกังวล ลูกก็มีโอกาสเป็นโรควิตกกังวลเช่นกัน หรือมี
พื้นฐานที่ไม่กล้าแสดงอารมณ์ออกมาและการมีสารเคมีในสมองที่ไม่สมดุล
 สภาพแวดล้อม การเลี้ยงดู การเลียนแบบพฤติกรรมจากพ่อแม่หรือคนใกล้ชิด การประสบกับเหตุการณ์
ต่างๆที่ก่อให้เกิดโรควิตกกังวล
อาการวิตกกังวลทั่วไปที่เกิดขึ้นจะไม่มีอาการรุนแรงเหมือนโรคแพนิก แม้จะมีสิ่งที่ทาให้วิตกกังวล แต่ยังสามารถ
ดาเนินกิจกรรมที่ทาอยู่ได้ยังไม่ต้องหยุดทากิจกรรมในทันทีเหมือนโรคแพนิก ไม่ได้มีอาการกลัวว่าตัวเองจะตาย
ไม่มีพฤติกรรมหลีกเลี่ยง หรือพึ่งพาอะไรมากเกินไป อาการวิตกกังวลอาจเกิดขึ้นจากการทางาน เรียน ครอบครัว
หรือเรื่องส่วนตัวอื่น ๆ โดยผู้ป่วยรู้ตัวว่าตัวเองมีความกังวล แต่ไม่สามารถควบคุมให้ตัวเองคลายความกังวลลงได้
อาการของโรคกังวลทั่วไป เช่น
 กระสับกระส่าย
 อ่อนเพลีย
 หงุดหงิดง่าย
 ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
 สมาธิสั้น
 นอนหลับยาก หรือหลับไม่สนิท
5
ภาวะแทรกซ้อนของโรคกังวลทั่วไป
อาการโรคกังวลทั่วไปที่ไม่ได้รับการรักษาจะแย่ลงเรื่อย ๆ และน าก่อให้เกิดปัญหาทางกายภาพและอาการทางจิต
อื่น ๆ เช่น:
โรคซึมเศร้า
การใช้สารเสพติด
อาการนอนไม่หลับ
ปัญหาเกี่ยวกับลาใส่และระบบการย่อยอาหาร
อาการปวดหัว
แนวทางในการรักษาโรควิตกกังวล
หลังจากการประเมิน และวินิจฉัยว่าเป็นโรควิตกกังวลจริง แพทย์อาจพิจารณาการรักษาโดยไม่ใช้ยาก่อนเป็นอันดับ
แรก โดยการอธิบายถึงโรค และอาการที่ผู้ป่วยกาลังเป็นอยู่ แนะนาให้ผู้ป่วยซักถาม รวมถึงญาติของผู้ป่วยด้วย เพื่อ
รับคาแนะนาจากแพทย์ในการปฏิบัติตัวเพื่อลดอาการที่อาจเกิดขึ้นนอกจากนี้แพทย์อาจพิจารณาให้รับประทานยา
ควบคู่ไปกับการฝึกสมาธิ ฝึกจินตนาการ ฝึกคิดในทางบวก โรควิตกกังวล สามารถรักษาให้หายได้หากได้รับ
คาแนะนา การรักษาจากแพทย์อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่การรับประทานยาเป็นประจา จนสามารถลดความแรงของยา ลด
ความถี่ในการรับประทานยา จนสามารถหยุดยา และใช้ชีวิตตามปกติได้เหมือนเดิม การรักษาโรควิตกกังวลขึ้นอยู่
กับประเภทของโรค การรักษาหลักคือ การพูดคุยให้คาปรึกษาด้วยการรับฟัง แสดงความเห็นใจและให้คาอธิบาย
การทาจิตบาบัด การบาบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม (Cognitive Behavior Therapy หรือ CBT)
และการรักษาด้วยยาซึ่งมียาหลายกลุ่มที่สามารถกินเพื่อลดอาการวิตกกังวล
การบาบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม (Cognitive Behavior Therapy หรือ CBT)
CBT คือจิตบาบัด คือการพูดคุยแลกเปลี่ยน เพื่อบาบัดปัญหาที่เราอยากจะจัดการ ดั้งเดิมแล้วมันเป็นศาสตร์ที่ใช้กับ
โรคซึมเศร้า โดยมีหลักการอยู่ว่า คนซึมเศร้าเพราะมีวิธีคิดที่บิดเบือนจนทาให้เกิดความเศร้าขึ้นมา เช่น คิดโทษ
ตัวเองว่าตัวเองไม่ดี คิดมองโลกในแง่ลบมากเกินไป CBT ก็เลยมีกระบวนการที่จะปรับความคิด หรือ cognitive
เพื่อให้อารมณ์เศร้าดีขึ้น อีกส่วนคือการปรับพฤติกรรม หรือ bahavior เพราะพฤติกรรมบางอย่างถ้ายังทาอยู่ก็อาจ
เสริมให้เศร้าต่อไป เช่น การไม่ออกไปไหน เก็บตัวอยู่กับบ้าน ในทางตรงกันข้ามถ้าเปลี่ยนพฤติกรรม ทาตัวให้แอค
ทีฟขึ้น อาการเศร้าก็จะลดลงจิตแพทย์จะเป็นผู้ประเมินและวินิจฉัยโรคก่อนว่าคนไข้เป็นอะไร พอได้ผลวินิจฉัย
แพทย์ก็จะวางแผนรักษา ซึ่งมีทั้งส่วนของการใช้ยาในกรณีที่พบว่าอาการเกี่ยวข้องกับสารเคมีในสมอง และอีกส่วน
หนึ่งเรียกว่าการรักษาทางจิตสังคม เป็นการรักษาแบบไม่ใช้ยา แต่ใช้การพูดคุย ซึ่งมีหลากหลายรูปแบบ
6
เช่น ครอบครัวบาบัด เอาครอบครัวมาคุยกัน, การให้คาปรึกษา ให้คาแนะนาเฉยๆ, จิตบาบัดแขนงดั้งเดิม ของ ซิก
มันด์ ฟรอยด์ ที่เรียกว่า Psychodynamics หรือ Psychotherapy ไปจนถึง CBT ที่เป็นส่วนนึงในการรักษาทางจิต
สังคมเช่นกัน CBT ถูกใช้มาหลายสิบปีแล้ว จากที่ใช้กับโรคซึมเศร้าแล้วได้ผลดี ก็เลยถูกเอาไปใช้กับปัญหาอื่นๆ ที่
เกี่ยวข้องกับสุขภาพจิตหรือการใช้ชีวิตทั้งหลาย เช่น วิตกกังวล อารมณ์โกรธ การใช้สารเสพติด ผู้มีปัญหาการกิน
ฯลฯ ในช่วงหลัง ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพจิตทุกอย่างจะมี CBT เข้ามาเป็นองค์ประกอบในการบาบัดแบบหนึ่ง
ร่วมกับการบาบัดแบบอื่นๆ จุดเด่นของ CBT คือเป็นการรักษาทางจิตสังคมที่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์รองรับ
มากที่สุด ทฤษฎีที่สร้างขึ้นมาจะถูกนาไปตรวจสอบด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ว่ากลไกของโรคเป็นอย่างนั้น
จริงหรือเปล่า และตัวการรักษาที่ออกแบบมา ก็ถูกนาไปวิจัยก่อนว่าใช้กับคนไข้ได้
การใช้ยา
(a) พรีกาบาลิน พรีกาบาลินคือยารุ่นใหม่ส าหรับ โรค GAD ออกฤทธิ์โดยการควบคุมสารเคมีในสมอง เช่น กรดก
ลูตามิก นอร์เอพิเนฟริน และ GABA เพื่อการบรรเทาอาการ จากผลศึกษาตามคลินิก พบว่ายามีผลกับโรค GAD
ออกฤทธิ์เร็ว (ประมาณ 1 สัปดาห์) มีผลข้างเคียงเช่นท าให้วิงเวียนศีรษะและรู้ศึกเหนื่อยล้า แต่ผลกระทบน้อยกว่า
ยารุ่นก่อน ยานี้ไม่มีคุณสมบัติของสารเสพติด และไม่มีผลข้างเคียงของSSRI เช่น อาการคลื่นไส้ อาการนอนไม่
หลับ ปัญหาทางเพศ ยาสามารถลดอาการเจ็บปวดและอาการนอนไม่สงบที่มีGAD เป็นต้นเหตุ
(b) ยาเพื่อกระตุ้นการหลั่งเซโรโทนิน (SSRI) SSRI ควบคุมระดับสารเซโรโทนินในสมอง ผลข้างเคียงช่วงแรก ๆ
คือ อาการคลื่นไส้นอนไม่หลับ และความเหนื่อยล้า อาการเหล่านี้จะหายไปหลังการใช้ยาไปช่วงระยะหนึ่ง ยาช่วย
ลดอาการทางกายภาพและทางอารมณ์ของ GAD ให้ผลที่ดีกว่า ยาระงับประสาทและยานอนหลับ และไม่มีสารเสพ
ติดกับผลลัพธ์ในระยะยาว ประเภทของ SSRI มีดังนี้พาร็อกซีทีน, ฟลูออกซิทีน กับ เซอร์ทราลีน
(c) ยากลุ่มที่ออกฤทธิ์ยับยั้งนอเรพิเนฟรินและเซโรโทนิน (SNRI) SNRI มีคุณสมบัติคล้ายSSRI แต่นอกจากมีผลกับ
เซโรโทนินแล้ว ยังมีผลกับ นอร์เอพิเนฟรินด้วย นอกจากนี้ยายังออกฤทธิ์เร็วกว่า SSRIด้วย ผลข้างเคียงในช่วงแรก
คือ เวียนศีรษะ ปวดหัว คลื่นไส้ และนอนไม่หลับ อย่างไรก็ตามอาการจะลดลงแล้วหายไปหลังจากระยะเวลาหนึ่ง
(d) เบนโซไดอะซีปีน เบนโซไดอะซีปีนเคยเป็นยาสามัญที่ใช้ส าหรับการแก้ GAD ใช้ระงับประสาท ออกฤทธิ์เร็ว
แต่ไม่สามารถแก้โรคได้นอกจากนี้หากใช้ยานี้เป็นระยะเวลานานจะมีผลข้างเคียงที่ร้ายแรง เช่นการติดยา สูญเสีย
ความทรงจ าและระบบความคิด ฯลฯ ด้วยเหตุนี้ ยานี้เลยถูกก าหนดให้ใช้ได้แค่ชั่วคราว โดยปกติแล้วจะใช้กับ
SSRI ในช่วงแรกๆของการบ าบัดด้วย SSRI ประเภทของ ยาเบนโซไดอะซีปีนมีดังนี้ยาอัลปราโซแลม,
ยาลอราซีแพม
7
(e) ยารักษาอาการซึมเศร้ากลุ่มไตรไซคลิก (TCA) TCA เป็นยาประเภทยาต้านโรคซึมเศร้า ไม่ค่อยได้ใช้ในยุค
ปัจจุบัน เป็นยาระระงับประสาทและช่วยให้นอนหลับ แต่มีผลข้างเคียงเยอะ เช่นอาการง่วงนอน อ่อนเพลีย ปัญหา
เกี่ยวกับความจา ทาให้น้ าหนักเพิ่ม และหัวใจเต้นผิดปกติการใช้TCA เกินขนาดสามารถถึงแก่ชีวิตได้และผู้ป่วย
เป็นโรคหัวใจไม่ควรใช้ ประเภทของ TCA มีดังนี้ยาอิมิพรามีนและยาอะมิทริปไทลีน
การป้องกัน
โรควิตกกังวลสามารถป้องกันได้โดยการใช้ชีวิตอย่างมีสุขภาพ ด้วยการกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ ออกกาลังกายอย่าง
สม่าเสมอ พักผ่อนให้เพียงพอกับที่ร่างกายต้องการ หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ ทากิจกรรมที่ผ่อนคลาย นอกจากนี้
ควรฝึกสติเพื่อรู้ทันอารมณ์ของตัวเองว่าความเครียดว่ามีมากเกินไปหรือไม่ รวมถึงการทาสมาธิเพื่อให้จิตใจสงบอยู่
กับปัจจุบันและให้สมองได้ผ่อนคลาย
ผู้ป่ วยโรคกังวลทั่วไปสามารถดูแลตัวเอง
ผู้เป็น GAD สามารถใช้ยาที่กาหนดไว้แม้ว่าเกิดอาการข้างเคียงหรืออาการดีขึ้น ไม่ควรหยุดใช้ยาหรือเปลี่ยนจ านว
นที่ก าหนดโดยไม่ปรึกษาแพทย์ก่อน การหยุดใช้ยาโดยกระทันหัน อาจจ าให้อาการของท่านแย่ลง วิธีเหล่านี้อาจ
ช่วยลดอาการของโรค
ขอความช่วยเหลือจากครอบครัว ให้ครอบครัวรับรู้เกี่ยวกับอาการของโรคและให้ครอบครัวสนับสนุน
เข้าร่วมกลุ่มสนับสนุนผู้ช่วยผู้ป่วยโรคกังวล ในกลุ่มนี้ท่านสามารถหาความเห็นใจ ความรู้ และแบ่งปัน
ประสบการณ์ซึ่งกันและกัน
หาสาเหตุที่ทาให้คุณวิตกกังวลและแก้ไขปัญหา
ฝึกวิธีการผ่อนคลาย เช่นการเดินลมหายใจและเล่นโยคะ
การออกก าลังการแบบแอโรบิคสามารถลดความตึงเครียดและท าให้สุขภาพคุณดีขึ้น
พักผ่อนให้เพียงพอ
หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มสุราและของมึนเมา
8
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.คิดหัวข้อโครงงาน
2.ศึกษา ค้นคว้าข้อมูลที่จะใช้ประกอบในการทาโครงงาน
3.จัดทาโครงร่างงาน
4.ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5.นาเสนอโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-อินเทอร์เน็ต
-คอมพิวเตอร์
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ผู้อื่นรู้จักโรควิตกกังวลทั่วไปมากยิ่งขึ้น เพื่อนาไปป้องกันตัวเองไม่ให้มีอาการวิตกกังวลทั่วไป หรือถ้ามี
อาการ ก็จะได้แก้ไขได้อย่างถูกต้อง
สถานที่ดาเนินการ
ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
9
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
-เทคโนโลยี
-ชีวะวิทยา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
เว็บไซต์ https://www.honestdocs.co/generalised-anxiety-disorder-2
เว็บไซต์ https://www.pobpad.com/gad-
เว็บไซต์ https://www.the101.world/cognitive-behavior-therapy/
เว็บไซต์ https://www21.ha.org.hk/smartpatient/EM/MediaLibraries/EM/EMMedia/Generalized-
Anxiety-Disorder_Thai.pdf?ext=.pdf

Contenu connexe

Tendances

Tendances (20)

2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
Benyapa 607 35
Benyapa 607 35Benyapa 607 35
Benyapa 607 35
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
2562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn12562 final-project 32-patthamaporn1
2562 final-project 32-patthamaporn1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไขโรคซึมเศร้าแก้ไข
โรคซึมเศร้าแก้ไข
 
2561 project com
2561 project com2561 project com
2561 project com
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610
 
Bipolar disorder22
Bipolar disorder22Bipolar disorder22
Bipolar disorder22
 
2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok2562 final-project 40-609_pimchanok
2562 final-project 40-609_pimchanok
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
Ocd
OcdOcd
Ocd
 
W.11
W.11W.11
W.11
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 
W.111
W.111W.111
W.111
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
แบบเสนอโครงร่างโครงงานชิ้นที่ 5
 

Similaire à 2562-final-project

2562 final-project 39
2562 final-project 392562 final-project 39
2562 final-project 39
ssuser5d7fc5
 

Similaire à 2562-final-project (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn
 
2562 final-project 39
2562 final-project 392562 final-project 39
2562 final-project 39
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
Work1.1
Work1.1Work1.1
Work1.1
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
แบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอมแบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอม
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Comm 1-final
Comm 1-finalComm 1-final
Comm 1-final
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
2562 final-project 03
2562 final-project 032562 final-project 03
2562 final-project 03
 
Com555
Com555Com555
Com555
 
Woraprat
WorapratWoraprat
Woraprat
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 14......
2562 final-project 14......2562 final-project 14......
2562 final-project 14......
 
2562 final-project 14
2562 final-project 142562 final-project 14
2562 final-project 14
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
Great
GreatGreat
Great
 

Plus de mew46716 (8)

Final01
Final01Final01
Final01
 
Final project.pp
Final project.ppFinal project.pp
Final project.pp
 
Kk3
Kk3Kk3
Kk3
 
Final
FinalFinal
Final
 
Project 3
Project 3Project 3
Project 3
 
Project 3
Project 3Project 3
Project 3
 
Work2 nc
Work2 nc Work2 nc
Work2 nc
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 

2562-final-project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงานโรควติกกงัวลทั่วไป ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อนางสาวศุภิสรา กาละดี เลขที่39 ชั้น ม.6 ห้อง 8 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นางสาวศุภิสรากาละดี เลขที่ 39 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรควิตกกังวลทั่วไป ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Generalized Anxiety Disorder ประเภทโครงงานโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวศุภิสรา กาละดี ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงานภาคเรียนที่1-2 ปีการศึกษา 2562 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในทุกวันเราได้ทากิจกรรมมากมายล้วนเป็นประสบการณ์ทั้งที่ดีและไม่ดีซึ่งหากเป็นด้านที่ดีจะทาให้เรามี ความมั่นใจในการจะทางานนั้นอีกครั้งและภูมิใจกับสิ่งที่กระทาลงไปแต่หากถ้าเป็นผลที่ออกมาด้านไม่ดีหรือเกิดผิ พลาดนั้นจะทาให้ฝังใจและเกิดอาการวิตกกังวลเมื่อต้องทาสิ่งต่างๆอีกครั้ง แต่โดยปกติเมื่อเราต้องเจอกับ สถานการณ์ที่ทาให้เกิดความวิตกกังวลเมื่อเหตุการณ์นั้น คลี่คลายความวิตกกังวลก็จะหายไปแต่ในทางกลับกันหาก มีอาการป่วยเป็นโรควิตกกังวลนั้น ผู้ที่ป่วยเป็นโรควิตกกังวลมักจะไม่สามารถปรับตัวกับสิ่งที่เกิดขึ้นได้และยังคงมี ความวิตกกังวล เรื่องเดิมวนเวียนในความคิดจนส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจาวันอย่างมาก เช่น ไม่มีสมาธิใน การทางาน ความสัมพันธ์ กับ เพื่อนร่วมงานแย่ลง รวมทั้งอาจมีอาการทางกาย เช่น ใจสั่น นอนไม่หลับ และปวด ท้องบ่อยๆ ซึ่งอาการเหล่านี้ล้วนมีผลกระทบต่อผู้ป่วยเองและมีผลต่อคนรอบข้างอย่างมากและการป่วยเป็นโรควิตก กังวลนั้นสามารถพบได้ในคนทั่วไปในสังคม ดังนั้นเราควรมีความรู้และความเข้าใจกับโรควิตกกังวลนี้เพื่อที่จะ สามารถอยู่ร่วมกับผู้ป่วยและไม่ส่งผลเสียแก่ผู้ป่วยและสังคม และเมื่อเราเข้าใจผู้ป่วยในเรื่องของลักษณะอาการเรา อาจจะสามารถช่วยดูแลและทาให้ผ็ป่วยมีอาการที่ดีขึ้นได้ ผู้จัดทาจึงได้จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องโรควิตก กังวลขึ้นเพื่อเป็นสื่อกลางให้แก่ผู้ป่วยและคนทั่วไปโยผู้จัดทาได้ค้นคว้าเกี่ยวกับสาเหตุ ลักษณะอาการในหลาย รูปแบบและผู้จัดทายังหวังว่ายอกจากโครงงานนี้จะมีประโยชน์แก่ตัวผู้จัดทาเองยังสามารถมีประโยชน์แก่ผู้ที่ศึกษา
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาสาเหตุ ลักษณะอาการและการรักษาโรควิตกกังวลทั่วไปที่ถูกต้อง 2.เพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจในเรื่องโรควิตกกังวลทั่วไปมากขึ้น 3.เพื่อให้ผู้อ่านรู้ถึงสาเหตุและวิธีรักษาโรควิตกกังวลทั่วไปได้อย่างถูกต้อง ขอบเขตโครงงาน(คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน อาการของโรควิตกกังวล ในทุกช่วงอายุ หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ความวิตกกังวล เป็นปฏิกิริยาตอบสนองต่อความเครียดที่มีประโยชน์ในบางสถานการณ์ เพราะช่วยให้เรา ตื่นตัว และพร้อมรับมือกับปัญหาหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น อย่างไรก็ตามโรควิตกกังวลมีความแตกต่างจาก ความรู้สึกวิตกกังวลทั่ว ๆไป คนที่เป็นโรควิตกกังวลจะรู้สึกวิตกกังวล และกลัวอย่างเกินเหตุ จนมีผลทางลบต่อการ ดาเนินชีวิตประจาวัน โรควิตกกังวล เป็นโรคที่พบได้มากในกลุ่มประชากรทั่วไป ปัจจุบันกลุ่มโรควิตกกังวลได้ โรควิตกกังวลแบ่งออกได้ 5 ประเภทหลัก เช่น  โรควิตกกังวลทั่วไป (Generalized Anxiety Disorder , CAD ) คือ การมีความกังวลในเรื่องชีวิตประจาวัน ทั่วๆไปนานและมากเกินไป เช่น เรื่องงาน ครอบครัว หรือเรื่องเล็กๆน้อยๆ ทาให้มีผลกระทบต่อการใช้ ชีวิตประจาวัน ความเครียดและความวิตกกังวลที่ดาเนินไปอย่างต่อเนื่องอาจทาให้เกิดอาการทางร่างกาย เช่น กระวนกระวาย อ่อนเพลีย หงุดหงิด ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ไม่มีสมาธิ มีปัญหาการนอนหลับ  โรคแพนิก (Panic Disorder, PD ) คือ การที่อยู่ดีๆเกิดอาการกลัวและวิตกกังวลขึ้นมาเป็นพักๆโดยไม่มี สาเหตุหรือมีอาการ เช่น หัวใจเต้นเร็ว ใจสั่น เหงื่อออก เจ็บหน้าอก รู้สึกสาลัก เวียนหัว คลื่นไส้หรือท้อง ปั่นป่วน หนาวสั่นหรือร้อนวูบวาบ มือเท้าชา กลัวว่าตัวเองจะตาย อาการของแพนิกไม่ใช่เป็นโรคร้ายแรง แต่ทาให้รู้สึกไม่สบายมาก ดังนั้นผู้ป่วยมักคิดว่าตัวเองกาลังหัวใจวายหรือเป็นโรคที่ร้ายแรงถึงแก่ชีวิต  โรคกลัวแบบเฉพาะเจาะจง (Phobias) คือ การกลัวมากเกินไปเกี่ยวกับบางสิ่งบางอย่าง สถานการณ์ บางอย่างหรือกิจกรรมบางอย่างที่เฉพาะเจาะจง เช่น กลัวเลือด กลัวสุนัข กลัวที่แคบ  โรคย้าคิดย้าทา (Obsessive Compulsive Disorder, OCD) คือ ความคิดวิตกกังวลที่มีการคิดซ้าๆและมีการ ตอบสนองต่อความคิดด้วยการทาพฤติกรรมซ้าๆ เช่น คิดว่าลืมล็อคประตูก็จะคอยตรวจซ้าๆว่าล็อคประตู หรือยัง  โรคเครียดหลังเหตุสะเทือนใจ (Post-Traumatic Stress Disorder, PTSD) คือ อาการผิดปกติที่เกิดขึ้น หลังจากประสบกับเหตุการณ์อันเลวร้ายมาก เช่น เผชิญกับภาวะเฉียดตาย ภาวะภัยพิบัติตามธรรมชาติที่ ร้ายแรง ถูกทาร้ายหรือเห็นคนใกล้ตัวตาย เป็นต้น อาการเกิดขึ้นได้หลายอย่าง ตั้งแต่เงียบเฉย ขาดการ
  • 4. 4 ตอบสนอง ตกใจง่าย หวาดกลัว กังวลในเรื่องเล็กน้อย คิดถึงเหตุการณ์นั้นซ้าๆและเกิดความกลัวและวิตก กังวลขึ้นมาใหม่เหมือนเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้นอีกครั้ง รวมถึงหวาดกลัวสิ่งเร้าที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ โรคกังวลทั่วไป โรควิตกกังวลเป็นโรคทางจิตที่พบได้มากที่สุดโรคหนึ่ง สาเหตุเกิดได้ทั้งจาก 2 ปัจจัยหลักดังนี้  พันธุกรรมหรือพื้นฐานดั้งเดิม ถ้าพ่อแม่เป็นโรควิตกกังวล ลูกก็มีโอกาสเป็นโรควิตกกังวลเช่นกัน หรือมี พื้นฐานที่ไม่กล้าแสดงอารมณ์ออกมาและการมีสารเคมีในสมองที่ไม่สมดุล  สภาพแวดล้อม การเลี้ยงดู การเลียนแบบพฤติกรรมจากพ่อแม่หรือคนใกล้ชิด การประสบกับเหตุการณ์ ต่างๆที่ก่อให้เกิดโรควิตกกังวล อาการวิตกกังวลทั่วไปที่เกิดขึ้นจะไม่มีอาการรุนแรงเหมือนโรคแพนิก แม้จะมีสิ่งที่ทาให้วิตกกังวล แต่ยังสามารถ ดาเนินกิจกรรมที่ทาอยู่ได้ยังไม่ต้องหยุดทากิจกรรมในทันทีเหมือนโรคแพนิก ไม่ได้มีอาการกลัวว่าตัวเองจะตาย ไม่มีพฤติกรรมหลีกเลี่ยง หรือพึ่งพาอะไรมากเกินไป อาการวิตกกังวลอาจเกิดขึ้นจากการทางาน เรียน ครอบครัว หรือเรื่องส่วนตัวอื่น ๆ โดยผู้ป่วยรู้ตัวว่าตัวเองมีความกังวล แต่ไม่สามารถควบคุมให้ตัวเองคลายความกังวลลงได้ อาการของโรคกังวลทั่วไป เช่น  กระสับกระส่าย  อ่อนเพลีย  หงุดหงิดง่าย  ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ  สมาธิสั้น  นอนหลับยาก หรือหลับไม่สนิท
  • 5. 5 ภาวะแทรกซ้อนของโรคกังวลทั่วไป อาการโรคกังวลทั่วไปที่ไม่ได้รับการรักษาจะแย่ลงเรื่อย ๆ และน าก่อให้เกิดปัญหาทางกายภาพและอาการทางจิต อื่น ๆ เช่น: โรคซึมเศร้า การใช้สารเสพติด อาการนอนไม่หลับ ปัญหาเกี่ยวกับลาใส่และระบบการย่อยอาหาร อาการปวดหัว แนวทางในการรักษาโรควิตกกังวล หลังจากการประเมิน และวินิจฉัยว่าเป็นโรควิตกกังวลจริง แพทย์อาจพิจารณาการรักษาโดยไม่ใช้ยาก่อนเป็นอันดับ แรก โดยการอธิบายถึงโรค และอาการที่ผู้ป่วยกาลังเป็นอยู่ แนะนาให้ผู้ป่วยซักถาม รวมถึงญาติของผู้ป่วยด้วย เพื่อ รับคาแนะนาจากแพทย์ในการปฏิบัติตัวเพื่อลดอาการที่อาจเกิดขึ้นนอกจากนี้แพทย์อาจพิจารณาให้รับประทานยา ควบคู่ไปกับการฝึกสมาธิ ฝึกจินตนาการ ฝึกคิดในทางบวก โรควิตกกังวล สามารถรักษาให้หายได้หากได้รับ คาแนะนา การรักษาจากแพทย์อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่การรับประทานยาเป็นประจา จนสามารถลดความแรงของยา ลด ความถี่ในการรับประทานยา จนสามารถหยุดยา และใช้ชีวิตตามปกติได้เหมือนเดิม การรักษาโรควิตกกังวลขึ้นอยู่ กับประเภทของโรค การรักษาหลักคือ การพูดคุยให้คาปรึกษาด้วยการรับฟัง แสดงความเห็นใจและให้คาอธิบาย การทาจิตบาบัด การบาบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม (Cognitive Behavior Therapy หรือ CBT) และการรักษาด้วยยาซึ่งมียาหลายกลุ่มที่สามารถกินเพื่อลดอาการวิตกกังวล การบาบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม (Cognitive Behavior Therapy หรือ CBT) CBT คือจิตบาบัด คือการพูดคุยแลกเปลี่ยน เพื่อบาบัดปัญหาที่เราอยากจะจัดการ ดั้งเดิมแล้วมันเป็นศาสตร์ที่ใช้กับ โรคซึมเศร้า โดยมีหลักการอยู่ว่า คนซึมเศร้าเพราะมีวิธีคิดที่บิดเบือนจนทาให้เกิดความเศร้าขึ้นมา เช่น คิดโทษ ตัวเองว่าตัวเองไม่ดี คิดมองโลกในแง่ลบมากเกินไป CBT ก็เลยมีกระบวนการที่จะปรับความคิด หรือ cognitive เพื่อให้อารมณ์เศร้าดีขึ้น อีกส่วนคือการปรับพฤติกรรม หรือ bahavior เพราะพฤติกรรมบางอย่างถ้ายังทาอยู่ก็อาจ เสริมให้เศร้าต่อไป เช่น การไม่ออกไปไหน เก็บตัวอยู่กับบ้าน ในทางตรงกันข้ามถ้าเปลี่ยนพฤติกรรม ทาตัวให้แอค ทีฟขึ้น อาการเศร้าก็จะลดลงจิตแพทย์จะเป็นผู้ประเมินและวินิจฉัยโรคก่อนว่าคนไข้เป็นอะไร พอได้ผลวินิจฉัย แพทย์ก็จะวางแผนรักษา ซึ่งมีทั้งส่วนของการใช้ยาในกรณีที่พบว่าอาการเกี่ยวข้องกับสารเคมีในสมอง และอีกส่วน หนึ่งเรียกว่าการรักษาทางจิตสังคม เป็นการรักษาแบบไม่ใช้ยา แต่ใช้การพูดคุย ซึ่งมีหลากหลายรูปแบบ
  • 6. 6 เช่น ครอบครัวบาบัด เอาครอบครัวมาคุยกัน, การให้คาปรึกษา ให้คาแนะนาเฉยๆ, จิตบาบัดแขนงดั้งเดิม ของ ซิก มันด์ ฟรอยด์ ที่เรียกว่า Psychodynamics หรือ Psychotherapy ไปจนถึง CBT ที่เป็นส่วนนึงในการรักษาทางจิต สังคมเช่นกัน CBT ถูกใช้มาหลายสิบปีแล้ว จากที่ใช้กับโรคซึมเศร้าแล้วได้ผลดี ก็เลยถูกเอาไปใช้กับปัญหาอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องกับสุขภาพจิตหรือการใช้ชีวิตทั้งหลาย เช่น วิตกกังวล อารมณ์โกรธ การใช้สารเสพติด ผู้มีปัญหาการกิน ฯลฯ ในช่วงหลัง ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพจิตทุกอย่างจะมี CBT เข้ามาเป็นองค์ประกอบในการบาบัดแบบหนึ่ง ร่วมกับการบาบัดแบบอื่นๆ จุดเด่นของ CBT คือเป็นการรักษาทางจิตสังคมที่มีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์รองรับ มากที่สุด ทฤษฎีที่สร้างขึ้นมาจะถูกนาไปตรวจสอบด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ว่ากลไกของโรคเป็นอย่างนั้น จริงหรือเปล่า และตัวการรักษาที่ออกแบบมา ก็ถูกนาไปวิจัยก่อนว่าใช้กับคนไข้ได้ การใช้ยา (a) พรีกาบาลิน พรีกาบาลินคือยารุ่นใหม่ส าหรับ โรค GAD ออกฤทธิ์โดยการควบคุมสารเคมีในสมอง เช่น กรดก ลูตามิก นอร์เอพิเนฟริน และ GABA เพื่อการบรรเทาอาการ จากผลศึกษาตามคลินิก พบว่ายามีผลกับโรค GAD ออกฤทธิ์เร็ว (ประมาณ 1 สัปดาห์) มีผลข้างเคียงเช่นท าให้วิงเวียนศีรษะและรู้ศึกเหนื่อยล้า แต่ผลกระทบน้อยกว่า ยารุ่นก่อน ยานี้ไม่มีคุณสมบัติของสารเสพติด และไม่มีผลข้างเคียงของSSRI เช่น อาการคลื่นไส้ อาการนอนไม่ หลับ ปัญหาทางเพศ ยาสามารถลดอาการเจ็บปวดและอาการนอนไม่สงบที่มีGAD เป็นต้นเหตุ (b) ยาเพื่อกระตุ้นการหลั่งเซโรโทนิน (SSRI) SSRI ควบคุมระดับสารเซโรโทนินในสมอง ผลข้างเคียงช่วงแรก ๆ คือ อาการคลื่นไส้นอนไม่หลับ และความเหนื่อยล้า อาการเหล่านี้จะหายไปหลังการใช้ยาไปช่วงระยะหนึ่ง ยาช่วย ลดอาการทางกายภาพและทางอารมณ์ของ GAD ให้ผลที่ดีกว่า ยาระงับประสาทและยานอนหลับ และไม่มีสารเสพ ติดกับผลลัพธ์ในระยะยาว ประเภทของ SSRI มีดังนี้พาร็อกซีทีน, ฟลูออกซิทีน กับ เซอร์ทราลีน (c) ยากลุ่มที่ออกฤทธิ์ยับยั้งนอเรพิเนฟรินและเซโรโทนิน (SNRI) SNRI มีคุณสมบัติคล้ายSSRI แต่นอกจากมีผลกับ เซโรโทนินแล้ว ยังมีผลกับ นอร์เอพิเนฟรินด้วย นอกจากนี้ยายังออกฤทธิ์เร็วกว่า SSRIด้วย ผลข้างเคียงในช่วงแรก คือ เวียนศีรษะ ปวดหัว คลื่นไส้ และนอนไม่หลับ อย่างไรก็ตามอาการจะลดลงแล้วหายไปหลังจากระยะเวลาหนึ่ง (d) เบนโซไดอะซีปีน เบนโซไดอะซีปีนเคยเป็นยาสามัญที่ใช้ส าหรับการแก้ GAD ใช้ระงับประสาท ออกฤทธิ์เร็ว แต่ไม่สามารถแก้โรคได้นอกจากนี้หากใช้ยานี้เป็นระยะเวลานานจะมีผลข้างเคียงที่ร้ายแรง เช่นการติดยา สูญเสีย ความทรงจ าและระบบความคิด ฯลฯ ด้วยเหตุนี้ ยานี้เลยถูกก าหนดให้ใช้ได้แค่ชั่วคราว โดยปกติแล้วจะใช้กับ SSRI ในช่วงแรกๆของการบ าบัดด้วย SSRI ประเภทของ ยาเบนโซไดอะซีปีนมีดังนี้ยาอัลปราโซแลม, ยาลอราซีแพม
  • 7. 7 (e) ยารักษาอาการซึมเศร้ากลุ่มไตรไซคลิก (TCA) TCA เป็นยาประเภทยาต้านโรคซึมเศร้า ไม่ค่อยได้ใช้ในยุค ปัจจุบัน เป็นยาระระงับประสาทและช่วยให้นอนหลับ แต่มีผลข้างเคียงเยอะ เช่นอาการง่วงนอน อ่อนเพลีย ปัญหา เกี่ยวกับความจา ทาให้น้ าหนักเพิ่ม และหัวใจเต้นผิดปกติการใช้TCA เกินขนาดสามารถถึงแก่ชีวิตได้และผู้ป่วย เป็นโรคหัวใจไม่ควรใช้ ประเภทของ TCA มีดังนี้ยาอิมิพรามีนและยาอะมิทริปไทลีน การป้องกัน โรควิตกกังวลสามารถป้องกันได้โดยการใช้ชีวิตอย่างมีสุขภาพ ด้วยการกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ ออกกาลังกายอย่าง สม่าเสมอ พักผ่อนให้เพียงพอกับที่ร่างกายต้องการ หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์ ทากิจกรรมที่ผ่อนคลาย นอกจากนี้ ควรฝึกสติเพื่อรู้ทันอารมณ์ของตัวเองว่าความเครียดว่ามีมากเกินไปหรือไม่ รวมถึงการทาสมาธิเพื่อให้จิตใจสงบอยู่ กับปัจจุบันและให้สมองได้ผ่อนคลาย ผู้ป่ วยโรคกังวลทั่วไปสามารถดูแลตัวเอง ผู้เป็น GAD สามารถใช้ยาที่กาหนดไว้แม้ว่าเกิดอาการข้างเคียงหรืออาการดีขึ้น ไม่ควรหยุดใช้ยาหรือเปลี่ยนจ านว นที่ก าหนดโดยไม่ปรึกษาแพทย์ก่อน การหยุดใช้ยาโดยกระทันหัน อาจจ าให้อาการของท่านแย่ลง วิธีเหล่านี้อาจ ช่วยลดอาการของโรค ขอความช่วยเหลือจากครอบครัว ให้ครอบครัวรับรู้เกี่ยวกับอาการของโรคและให้ครอบครัวสนับสนุน เข้าร่วมกลุ่มสนับสนุนผู้ช่วยผู้ป่วยโรคกังวล ในกลุ่มนี้ท่านสามารถหาความเห็นใจ ความรู้ และแบ่งปัน ประสบการณ์ซึ่งกันและกัน หาสาเหตุที่ทาให้คุณวิตกกังวลและแก้ไขปัญหา ฝึกวิธีการผ่อนคลาย เช่นการเดินลมหายใจและเล่นโยคะ การออกก าลังการแบบแอโรบิคสามารถลดความตึงเครียดและท าให้สุขภาพคุณดีขึ้น พักผ่อนให้เพียงพอ หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มสุราและของมึนเมา
  • 8. 8 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.คิดหัวข้อโครงงาน 2.ศึกษา ค้นคว้าข้อมูลที่จะใช้ประกอบในการทาโครงงาน 3.จัดทาโครงร่างงาน 4.ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5.นาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -อินเทอร์เน็ต -คอมพิวเตอร์ งบประมาณ - ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ผู้อื่นรู้จักโรควิตกกังวลทั่วไปมากยิ่งขึ้น เพื่อนาไปป้องกันตัวเองไม่ให้มีอาการวิตกกังวลทั่วไป หรือถ้ามี อาการ ก็จะได้แก้ไขได้อย่างถูกต้อง สถานที่ดาเนินการ ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
  • 9. 9 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง -เทคโนโลยี -ชีวะวิทยา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) เว็บไซต์ https://www.honestdocs.co/generalised-anxiety-disorder-2 เว็บไซต์ https://www.pobpad.com/gad- เว็บไซต์ https://www.the101.world/cognitive-behavior-therapy/ เว็บไซต์ https://www21.ha.org.hk/smartpatient/EM/MediaLibraries/EM/EMMedia/Generalized- Anxiety-Disorder_Thai.pdf?ext=.pdf