SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  27
ส 33102 
เรื่อง พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่ 
เสนอ 
อาจารย์ ปรางค์สุวรรณ ศักด์ิโสภณกุล 
โดย 
นฤทัย ยะคะนอง ม.6.9 เลขที่ 11 
สโรชา แซ่ลี ม.6.9 เลขที่ 26 
ปีการศึกษา 2557
ยุโรปได้เข้าสู่ยุคการสารวจเส้นทางเดินเรือ และการขยายอิทธิพลทางเศรษฐกิจ 
อันนาความเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวงมาสู่สังคมตะวันตกก่อนหน้านีพ้่อค้า 
ตะวันตกมีพรมแดนการค้ากับโลกตะวันออกแต่เฉพาะบริเวณเมืองท่าในแถบทะเล 
เมดิเตอร์เรเนียน ตะวันออกกลาง และทวีปแอฟริกาเท่านัน้ การเปิดน่านนา้โลก 
ตะวันออกทาให้พ่อค้าตะวันตกสามารถติดต่อค้าขายทางทะเลโดยตรงกับอินเดียและ 
ประเทศตะวันออกอื่นๆ และจัดตัง้สถานีการค้าตัง้แต่เมืองบาสรา ในบริเวณอ่าว 
เปอร์เซียจนถึงญี่ปุ่น ตลอดจนควบคุมเส้นทางการค้าเครื่องเทศในบริเวณช่องแคบมะ 
ละกา นอกจากนีก้ารสารวจเส้นทางเดินเรือยังทาให้ชาติตะวันตกค้นพบทวีปอเมริกา 
และจัดตัง้เมืองท่าสาคัญทางชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกทัง้ในทวีปอเมริกาเหนือ 
และอเมริกาใต้
ในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ชาวยุโรปได้หันมาสนใจในเรื่องสงิ่แวดล้อมรอบๆตัวอีกครัง้ 
การติดต่อกับโลกตะวันออกในยุคสงครามครูเสด ค.ศ. 1096-1291 ซึ่งเป็น 
สงครามศาสนาระหว่างคริสต์ศาสนิกชนตะวันตกกับพวกมุสลิมตะวันออกกลาง การ 
ฟื้นตัวของเมืองที่เกิดขึน้ในระยะเวลาใกล้เคียงกัน ทาให้ชาวยุโรปมีโอกาสสัมผัสกับ 
อารยธรรมของโลกตะวันออก วิทยาการอื่นๆของกรีกและมุสลมิที่หลงั่ไหลมาสู่สังคม 
ตะวันตก ทาให้ปัญญาชนเริ่มทบทวนและตรวจสอบความรู้ของตนมากขึน้ 
การแสวงหาและค้นหาคาตอบให้กับตนเองเกี่ยวกับธรรมชาติรอบตัวได้ผลักดันให้ 
ชาวยุโรปในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาหันมาสนใจต่อความลีลั้บของทะเลที่กัน้ขวางพวกเขา 
กับโลกของชาวตะวันออก โดยเฉพาะความรู้ทางภูมิศาสตร์และแผนที่ของโตเลมี
ความสนใจได้ทวีมากขึน้ เมื่อพวกมุสลมิสามารถยึดครองกรุงคอนแสตนติโนเปิล 
(ปัจจุบันคือนครอิสตันบูลในประเทศตุรกี) และดินแดนจักรวรรดิไบแซนไทน์ได้ มี 
ผลกระทบทางการค้าทางบกระหว่างตะวันออกกับตะวันตกชะงักงัน แต่สินค้าต่างๆ 
จากตะวันออกเช่น ผ้าไหม เครื่องเทศ ยารักษาโรค นา้ตาล ยังเป็นที่ต้องการของ 
ตะวันตกและทากาไรอย่างสูงให้แก่พ่อค้า ดังนัน้หนทางเดียวที่พ่อค้าสามารถรักษา 
ผลประโยชน์ได้คือ การติดต่อค้าขายทางทะเลเท่านัน้ 
นอกจากนีค้วามรู้ในการใช้เข็มทิศและการพัฒนารูปทรงและขนาดเรือให้มีความ 
เหมาะสมและมีความคงทนขึน้ ทาให้เรือสามารถแล่นในมหาสมุทรได้ดีขึน้พร้อม 
ติดตัง้อาวุธปืนใหญ่ ทาให้ชาติตะวันออกต่างๆต้องยินยอมเปิดสัมพันธไมตรีด้วย 
และมีผลให้อิทธิพลของชาติตะวันตกหลงั่ไหลสู่โละตะวันออกได้อย่างกว้างขวาง 
นอกจากเครื่องเทศเป็นสินค้าหลักที่พ่อค้าตะวันตกต้องการเพื่อใช้เก็บถนอม 
อาหาร และใช้ในการปรุงอาหารให้มีรสชาติดีขึน้แล้ว ยังมุ่งแสวงหาแหล่งแร่เงินและ 
แร่ทองคาซงึ่เชื่อว่ามีอยู่มากมายทางซีกโลกใต้
1.3การค้นพบเส้นทางเดินเรือสู่ 
ดินแดนทางตะวันออกและการ 
ค้นพบโลกใหม่ของชาติตะวันตก
โปรตุเกสและสเปน 
โปรตุเกสและสเปนนับตัง้แต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา ชาว 
ยุโรปเริ่มให้ความสนใจและพยายามแสวงหาเส้นทางเดินเรือมาทาง 
ตะวันออก เจ้าชายเฮนรีนาวิกราช แห่งโปรตุเกส พระอนุชาของพระเจ้า 
จอร์นที่ 1 ทรงจัดตัง้โรงเรียนราชนาวีขึน้ที่แหลมซาเกรสให้เป็นศูนย์กลาง 
ของการเรียนรู้วิทยาการใหม่ๆ ในการเดินทะเล เป็นแหล่งรวบรวมการ 
สารวจเส้นทางเดินเรือด้วยพระอุปถัมภ์ของพระองค์ ประกอบกับความรู้ 
ในการใช้เข็มทิศ และเทคนิคการสร้างเรือขนาดใหญ่ที่สามารถต้านคลื่น 
ลมได้ ทาให้นักเดินเรือของโปรตุเกสสามารถเดินทางจนถึงแหลมกรี 
นในทวีปแอฟริกา
หลังจากที่เจ้าชายเฮนรีนาวิกราชสิน้พระชนม์ บาร์โธโลมิว ไดแอส สามารถ 
เดินเรือเลียบชายฝั่งแอฟริกาจนผ่านแหลมกู๊ดโฮปได้สาเร็จใน ค.ศ. 1488 และนัก 
เดินเรือชาวโปรตุเกสอีกผู้หนงึ่คือ วัสโก ดา กามา แล่นเรือในเส้นทางสารวจของ 
ไดแอสจนถึงเอเชีย และหลังจากใช้เวลาเดินทางได้ 93 วัน ก็ขึน้ฝั่งที่เมืองกาลิกัต 
ของอินเดีย ค.ศ.1498 และสามารถซือ้เครื่องเทศโดยตรงจากอินเดียนาหลับไป 
ขายในยุโรปได้กาไรมากกว่า 60 เท่าของค่าใช้จ่ายในการเดินเรือทัง้หมด 
วัสโก ดา กามา
ระยะก่อนหน้านัน้ ค.ศ.1492 คริสโตเฟอร์โคลัมบัส 
ชาวเมืองเจนัว ซึ่งเชื่อว่าสัณฐานของโลกกลมก็รับอาสา 
กษัตริย์สเปนเดินทางไปสารวจเส้นทางเดินเรือไปประเทศจีน 
โดยข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก และค้นพบทวีปอเมริกาใน 
ที่สุด ซึ่งทาให้สเปนได้ครอบครองดินแดนส่วนใหญ่เกือบ 
ทัง้หมดของทวีปอเมริกาใต้ อเมริกากลาง และส่วนใหญ่ของ 
ดินแดนที่เป็นประเทศสหรัฐอเมริกาในปัจจุบัน 
คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส 
โปรตุเกสประสบความสาเร็จอย่างยิ่งในการกาจัดอานาจของพวกมุสลิมใน 
มหาสมุทรอินเดียจนสามารถควบคุมเมืองต่างๆทางชายฝั่งตะวันออกของทวีป 
แอฟริกาและรัฐอินเดียทางชายฝั่งตะวันตกและยึดเมืองกัว และใช้เมืองนีเ้ป็น 
เมืองหลวงของจักรวรรดิโปรตุเกสในตะวันออก
ใน ค.ศ.1519 เฟอร์ดินันด์มาเจลลัน นักเดินเรือชาวโปรตุเกส รับอาสากษัตริย์ 
สเปนและคุมเรือสเปน 5 ลา ออกค้นหาเส้นทางเดินเรือสายใหม่มายังตะวันออก 
การเดินเรือครัง้นีเ้ป็นครัง้แรกที่ข้ามมหาสมุทรแปซิฟิกมายังทวปีเอเชีย 
อย่างไรก็ดี เฟอร์ดินันด์มาเจลลัน ไม่มีโอกาสแล่นเรือกลับสเปน เพราะถูกฆ่า 
ตายก่อน แต่ลูกเรือที่เหลือสามารถหลบหลีกออกจากฟิลิปปินส์ได้ และเดินทางมา 
พบหมู่เกาะเครื่องเทศ ได้แวะซือ้บรรทุกจนเต็มลาเรือวิคโตริโอ และหลบหลีกเรือ 
โปรตุเกสมายังสเปนได้สาเร็จ นับว่าเป็นครัง้แรกที่พิสูจน์ทฤษฎีโลกกลมว่าเป็นจริง 
หมู่เกาะเครื่องเทศ
การค้นพบเส้นทางเดินเรือมายังตะวันออกของ ดา กามา และ 
มาเจลลันนับว่ามีความสาคัญอย่างมากเพราะเป็นน่านนา้ให้เรือ 
จากทวีปยุโรปสามารถแล่นมายังทวีปเอเชีย และเป็นก้าวสาคัญที่ 
ทาให้อารยธรรมตะวันตกหลงั่ไหลมายังเอเชีย ก่อเกิดการ 
เปลี่ยนแปลงทัง้ด้านการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม 
เส้นทางการเดินเรือ
ฮอลันดา 
ฮอลันดา หรือฮอลแลนด์ หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เนเธอร์แลนด์ เป็นดินแดนแห่ง 
หนงึ่ในทวีปยุโรปที่เคยอยู่ใต้การปกครองของพระเจ้าฟิลิปที่2แห่งสเปน ก่อนหน้านี้ 
ชาวดัตช์ได้ทาหน้าที่เป็นพ่อค้าคนกลางในการค้าเครื่องเทศในยุโรปมาโดยตลอด 
โดยส่งเรือสินค้าไปรับเครื่องเทศจากโปรตุเกสที่ท่าเรือลิสบอนแต่เมื่อฮอลันดาได้ก่อ 
การกบฏและแยกตัวเป็นอิสระใน ค.ศ.1581 สเปนพยายามปราบปรามกบฏใน 
ฮอลันดาแต่ล้มเหลว ดังนัน้พระเจ้าฟิลิปที่ 2 จึงประกาศปิดท่าเรือลิสบอนใน ค.ศ. 
1580 ห้ามไม่ให้พ่อค้าดัตช์เข้าไปซือ้เครื่องเทศในตลาดโปรตุเกสอีกต่อไป 
นโยบายดังกล่าวจึงเท่ากับบีบบังคับให้ออลันดาต้องหาเส้นทางเพื่อติดต่อซือ้ 
เครื่องเทศโดยตรงกับอินดิสตะวันออกของโปรตุเกส ในไม่ช้ากองทัพเรือที่เข้มแข็ง 
ของออลันดาก็สามารถยึดครองอานาจการค้าเครื่องเทศของโปรตุเกสได้ใน ค.ศ. 
1598 ออลันดาได้จัดตัง้สถานีการค้าในเกาะชวา และอีก 4 ปีต่อมาได้จัดตัง้ 
บริษัทอินเดียตะวันออกของฮอลันดาขึน้เพื่อควบคุมการค้าในหมู่เกาะเครื่องเทศ
การครอบครองหมู่เกาะเครื่องเทศของฮอลันดามีผลกระทบที่สาคัญอีกประการ 
หนึ่งคือ ใน ค.ศ. 1606 บริษัทอินเดียตะวันออกของฮอลันดาได้ส่งวิลเล็ม เจนซ์ 
คุมเรือดุฟเกน จากบันดา เพื่อค้นหาทองคาที่เชื่อว่าอยู่ทางทิศใต้และทิศ 
ตะวันออกของชวา การเดินเรือครัง้นีข้องเจนซ์และลูกเรื่อชาวดัตช์เป็นคนขาวกลุ่ม 
แรกที่ได้เห็นทวีปออสเตรเลีย และทาให้ฮอลันดาได้รับการยกย่องว่าเป็นชาติแรกที่ 
ค้นพบทวีปออสเตรเลีย 
แม้ว่าเดิมฮอลันดาเดินทางมายังตะวันออกเพื่อความมุ่งหมายทางการค้าเป็น 
สาคัญ แต่ภายหลังฮอลันดาก็เปลี่ยนนโยบายโดยยึดเอาดินแดนที่ตนครอบครอง 
ไว้ให้อยู่ในฐานะเป็นอาณานิคม 
ทวีปออสเตรเลีย
อังกฤษ 
อังกฤษได้แผ่อิทธิพลเข้ามาในตะวันออกในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 ซึ่งเป็น 
ระยะเวลาใกล้เคียงกับฮอลันดาใน ค.ศ. 1588 อังกฤษในรัชสมัยของสมเด็จพระราชินี 
นาถเอลิซาเบทที่ 1 ได้ทาสงครามกับสเปนและสามารถรบชนะกองทัพเรืออาร์มาดา 
อังกฤษได้ส่งกองเรือเดินทางอ้อมแหลมกู๊ดโฮ้ปมายังอินเดียเป็นครัง้แรกและบริษัท 
อินเดียตะวันออกของอังกฤษก็ได้รับพระราชทานกฎบัตรจากสมเด็จพระราชินีนาถเอลิ 
ซาเบทที่1 ให้มีสิทธิในการทาการค้าตัง้แต่แหลมกู๊ดโฮปจนถึงช่องแคบมาเจลลัน 
ต่อมาอังกฤษได้เข้าไปมีอานาจในอินเดียและอ่าวเปอร์เซีย อังกฤษได้เป็นคู่แข่งกับ 
ฮอลันดาในตะวันออก หลังจากที่รัฐบาลได้เข้ามามีบทบาทแทนบริษัทอินเดีย 
ตะวันออกของอังกฤษแล้ว ได้ดาเนินนโยบายสร้างอิทธิพลในตะวันออกอย่างเต็มที่ 
โดยยึดดินแดนต่างๆเป็นอาณานิคม เช่น อินเดีย พม่า มลายู สิงคโปร์
1.4ผลของการค้นพบดินแดนของชาติตะวันตก
2.การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจและระบบการค้า 
การขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปไปยังส่วนต่างๆของโลกได้ส่งผลกระทบ 
ต่อการเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจของโลกตะวันตกเองด้วย เพราะเป็นส่วน 
สาคัญที่ทาลายระบบสมาคมอาชีพ หรือสมาคมการค้าประเภทหนงึ่ที่มีมาตัง้แต่ 
สมัยกลาง 
การค้นพบโลกใหม่และการจัดตัง้สถานีการค้าช่วยให้ชาติตะวันตกขยายตัว 
ทางการค้าอย่างรวดเร็ว รัฐบาลของกษัตริย์เข้าควบคุมการผลิตและการค้า เน้น 
การส่งออก กีดกันสินค้านาเข้า บรรดาพ่อค้าและนักลงทุนก่อตัง้บริษัทรวมทุน 
เปิดโอกาสให้บุคคลร่วมกันลงทุนเพื่อขยายการค้าและผูกขาดสินค้าต่างๆ 
นอกจากนีมี้การค้นพบเหมืองแร่เงิน ทอง ในทวีปอเมริกา และการหลงั่ไหลของ 
แร่เข้าสู่ยุโรป ทาให้เกิดการปฏิวัติทางราคา สินค้าจาเป็นมีราคาสูงขึน้ ก่อให้เกิด 
ภาวะเงินเฟ้อ
3.การเปลี่ยนแปลงด้านอื่นๆ 
การสารวจทะเลมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดล้อม คือเกิดการ 
กระจายของพันธ์ุสัตว์และพืชจากถิ่นกาเนิดไปที่อื่นๆของโลก เช่น ชาวดัตช์นาต้น 
กาแฟจากตะวันออกกลางมาปลูกที่เกาะชวา จนในที่สุดกาแฟเป็นสินค้าสาคัญ 
ของบริเวณนี้การนายางพารามาปลูกที่แถบทะเลใต้ได้แพร่มายังอินโดนีเซีย 
มาเลเซีย ภาคใต้ของไทย จนแถบนีเ้ป็นแหล่งผลติยางพาราของโลก 
ยางพารา 
ต้นกาแฟ
การฟื้นฟูศิลปวิทยา หมายถึง การเกิดใหม่ชองการศึกษา การฟื้นฟูอุดมคติ 
ศิลปะ และวรรณกรรมของกรีกและโรมัน เป็นยุคเริ่มต้นของการแสวงหาสิทธิ 
เสรีภาพและความคิดที่เคยถูกข้อบังคับของคริสต์ศาสนา โดยถือว่ายุคนีเ้ป็น 
จุดเชื่อมต่อของประวัติศาสตร์สมัยกลางและสมัยใหม่
การขยายตัวทางการค้าทาให้ฐานะของชาวยุโรป โดยเฉพาะอิตาลีมงั่คงั่ขึน้ จึง 
หันมาสนับสนุนงานด้านศิลปะและวิทยาการ เกิดแนวคิดใหม่มุ่งหวังให้บุคคลมี 
ความรู้ความสามารถทุกๆด้าน 
อีกสาเหตุหนงึ่ คือ ที่ตัง้ของนครรัฐต่างๆในอิตาลีเคยเป็นแหล่งเจริญรุ่งเรือง 
ฉะนัน้บรรดานักปราชญ์และศิลปินต่างๆในอิตาลีจึงให้ความสนใจในศิลปะและ 
วิทยาการ 
นอกจากนีส้ภาพเศรษฐกิจที่ดีทาให้คนมองโลกในแง่ที่ดีมากขึน้เริ่มปฏิเสธ 
กฎเกณฑ์อันเข้มงวดของฝ่ายศาสนจักร
สงครามครูเสดและการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ทาให้วิทยาการของชาว 
โรมันและกรีกหลงั่ไหลกลับคืนไปทางตะวันตกอีกครัง้ โดยเฉพาะครึ่งหลังของ 
คริสต์ศตวรรษที่ 15 ประชาชนและนักปราชญ์ทางตะวันออกอพยพเข้าสู่แหลมอิตาลี 
พร้อมนาหนังสือวิทยาการของกรีก-โรมันทาให้มีต้นฉบับไว้ศึกษาอย่างกว้างขวางมากขึน้
ในสมัยกลางชาวตะวันตกส่วนใหญ่เชื่อว่า มนุษย์ทุกคนมีบาปติดตัวมาแต่ 
กาเนิด การใช้ชีวิตอยู่จึงเป็นการไถ่บาปเพื่อเตรียมตัวไปสู่สวรรค์ ทัศนคตินีท้า 
ให้ชาวตะวันตกหมดความสนใจต่อการดาเนินชีวิต การศึกษา เมื่อเกิดการ 
ฟื้นฟูศิลปวิทยา แนวคิดของชาวตะวันตกก็เปลี่ยนไปด้วย เริ่มเห็นว่ามนุษย์ 
สามารถพัฒนาชีวิตตนเองได้ แนวคิดดังกล่าวจึงเป็นที่มาของลัทธิมนุษยนิยมที่ 
ให้ความสนใจโลกปัจจุบันมากกว่าการมุ่งไปสู่สวรรค์
นักปราชญ์คนแรกที่มีบทบาทสาคัญต่อการศึกษาวรรณคดี 
ประเภทคลาสสิกในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา และได้รับการยกย่องว่าเป็น 
บิดาแห่งมนุษยนิยม ได้แก่ ฟรันเซสโก เปทราก 
เขาพยายามศึกษาการใช้ภาษาละตินให้ถูกต้อง 
ชีใ้ห้เห็นถึงความงามของภาษละติน ผู้สนใจใน 
งานคลาสสิกของสมัยโบราณหรือที่เรียกว่า พวก 
มนุษยนิยม เหล่านีต้่างได้รับการยกยอ่งในการใช้ 
ภาษาละติน และได้รับการเชือ้เชิญให้เป็นราช 
เลขาธิการและอาจารย์ประจาสานักของเจ้านคร 
รัฐในอิตาลี ตลอดจนทาหน้าที่เป็นเจ้าหน้าที่สาร 
บรรณในสานักสันตะปาปา ฟรันเซสโก เปทราก
ใน ค.ศ.1454 โยฮันเนส กูเตนเบิร์ก สามารถผลิตเครื่องพิมพ์ที่ใช้วิธีการเขียน 
ตัวอักษรได้สาเร็จ ทาให้หนังสือราคาถูกลงมาก จึงทาให้ความนึกคิดมีความ 
เป็นหนงึ่อันเดียวกันมากขึน้ 
เครื่องพิมพ์
ผลงานของวิลเลียม เชกสเปียร์ 
เรื่องโรมิโอแอนด์จูเลียต

Contenu connexe

Tendances

สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1Omm Suwannavisut
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfSzo'k JaJar
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชียผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชียDe'Icejoong Ice
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่Pannaray Kaewmarueang
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีBlackrab Chiba
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยwittawat_name
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Taraya Srivilas
 
อารายธรรมอียิปต์โบราญ
อารายธรรมอียิปต์โบราญอารายธรรมอียิปต์โบราญ
อารายธรรมอียิปต์โบราญSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)พัน พัน
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Tendances (20)

สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชียผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
อารายธรรมอียิปต์โบราญ
อารายธรรมอียิปต์โบราญอารายธรรมอียิปต์โบราญ
อารายธรรมอียิปต์โบราญ
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
 

Similaire à พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่

Similaire à พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่ (7)

ปวศ
ปวศปวศ
ปวศ
 
สำรวจทะเล2
สำรวจทะเล2สำรวจทะเล2
สำรวจทะเล2
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
เฉลยใบงาน 6.4
เฉลยใบงาน 6.4เฉลยใบงาน 6.4
เฉลยใบงาน 6.4
 
ประเทศสเปน
ประเทศสเปนประเทศสเปน
ประเทศสเปน
 
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 

พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่

  • 1. ส 33102 เรื่อง พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่ เสนอ อาจารย์ ปรางค์สุวรรณ ศักด์ิโสภณกุล โดย นฤทัย ยะคะนอง ม.6.9 เลขที่ 11 สโรชา แซ่ลี ม.6.9 เลขที่ 26 ปีการศึกษา 2557
  • 2.
  • 3. ยุโรปได้เข้าสู่ยุคการสารวจเส้นทางเดินเรือ และการขยายอิทธิพลทางเศรษฐกิจ อันนาความเปลี่ยนแปลงอย่างใหญ่หลวงมาสู่สังคมตะวันตกก่อนหน้านีพ้่อค้า ตะวันตกมีพรมแดนการค้ากับโลกตะวันออกแต่เฉพาะบริเวณเมืองท่าในแถบทะเล เมดิเตอร์เรเนียน ตะวันออกกลาง และทวีปแอฟริกาเท่านัน้ การเปิดน่านนา้โลก ตะวันออกทาให้พ่อค้าตะวันตกสามารถติดต่อค้าขายทางทะเลโดยตรงกับอินเดียและ ประเทศตะวันออกอื่นๆ และจัดตัง้สถานีการค้าตัง้แต่เมืองบาสรา ในบริเวณอ่าว เปอร์เซียจนถึงญี่ปุ่น ตลอดจนควบคุมเส้นทางการค้าเครื่องเทศในบริเวณช่องแคบมะ ละกา นอกจากนีก้ารสารวจเส้นทางเดินเรือยังทาให้ชาติตะวันตกค้นพบทวีปอเมริกา และจัดตัง้เมืองท่าสาคัญทางชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติกทัง้ในทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกาใต้
  • 4. ในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา ชาวยุโรปได้หันมาสนใจในเรื่องสงิ่แวดล้อมรอบๆตัวอีกครัง้ การติดต่อกับโลกตะวันออกในยุคสงครามครูเสด ค.ศ. 1096-1291 ซึ่งเป็น สงครามศาสนาระหว่างคริสต์ศาสนิกชนตะวันตกกับพวกมุสลิมตะวันออกกลาง การ ฟื้นตัวของเมืองที่เกิดขึน้ในระยะเวลาใกล้เคียงกัน ทาให้ชาวยุโรปมีโอกาสสัมผัสกับ อารยธรรมของโลกตะวันออก วิทยาการอื่นๆของกรีกและมุสลมิที่หลงั่ไหลมาสู่สังคม ตะวันตก ทาให้ปัญญาชนเริ่มทบทวนและตรวจสอบความรู้ของตนมากขึน้ การแสวงหาและค้นหาคาตอบให้กับตนเองเกี่ยวกับธรรมชาติรอบตัวได้ผลักดันให้ ชาวยุโรปในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาหันมาสนใจต่อความลีลั้บของทะเลที่กัน้ขวางพวกเขา กับโลกของชาวตะวันออก โดยเฉพาะความรู้ทางภูมิศาสตร์และแผนที่ของโตเลมี
  • 5. ความสนใจได้ทวีมากขึน้ เมื่อพวกมุสลมิสามารถยึดครองกรุงคอนแสตนติโนเปิล (ปัจจุบันคือนครอิสตันบูลในประเทศตุรกี) และดินแดนจักรวรรดิไบแซนไทน์ได้ มี ผลกระทบทางการค้าทางบกระหว่างตะวันออกกับตะวันตกชะงักงัน แต่สินค้าต่างๆ จากตะวันออกเช่น ผ้าไหม เครื่องเทศ ยารักษาโรค นา้ตาล ยังเป็นที่ต้องการของ ตะวันตกและทากาไรอย่างสูงให้แก่พ่อค้า ดังนัน้หนทางเดียวที่พ่อค้าสามารถรักษา ผลประโยชน์ได้คือ การติดต่อค้าขายทางทะเลเท่านัน้ นอกจากนีค้วามรู้ในการใช้เข็มทิศและการพัฒนารูปทรงและขนาดเรือให้มีความ เหมาะสมและมีความคงทนขึน้ ทาให้เรือสามารถแล่นในมหาสมุทรได้ดีขึน้พร้อม ติดตัง้อาวุธปืนใหญ่ ทาให้ชาติตะวันออกต่างๆต้องยินยอมเปิดสัมพันธไมตรีด้วย และมีผลให้อิทธิพลของชาติตะวันตกหลงั่ไหลสู่โละตะวันออกได้อย่างกว้างขวาง นอกจากเครื่องเทศเป็นสินค้าหลักที่พ่อค้าตะวันตกต้องการเพื่อใช้เก็บถนอม อาหาร และใช้ในการปรุงอาหารให้มีรสชาติดีขึน้แล้ว ยังมุ่งแสวงหาแหล่งแร่เงินและ แร่ทองคาซงึ่เชื่อว่ามีอยู่มากมายทางซีกโลกใต้
  • 7. โปรตุเกสและสเปน โปรตุเกสและสเปนนับตัง้แต่ต้นคริสต์ศตวรรษที่ 15 เป็นต้นมา ชาว ยุโรปเริ่มให้ความสนใจและพยายามแสวงหาเส้นทางเดินเรือมาทาง ตะวันออก เจ้าชายเฮนรีนาวิกราช แห่งโปรตุเกส พระอนุชาของพระเจ้า จอร์นที่ 1 ทรงจัดตัง้โรงเรียนราชนาวีขึน้ที่แหลมซาเกรสให้เป็นศูนย์กลาง ของการเรียนรู้วิทยาการใหม่ๆ ในการเดินทะเล เป็นแหล่งรวบรวมการ สารวจเส้นทางเดินเรือด้วยพระอุปถัมภ์ของพระองค์ ประกอบกับความรู้ ในการใช้เข็มทิศ และเทคนิคการสร้างเรือขนาดใหญ่ที่สามารถต้านคลื่น ลมได้ ทาให้นักเดินเรือของโปรตุเกสสามารถเดินทางจนถึงแหลมกรี นในทวีปแอฟริกา
  • 8. หลังจากที่เจ้าชายเฮนรีนาวิกราชสิน้พระชนม์ บาร์โธโลมิว ไดแอส สามารถ เดินเรือเลียบชายฝั่งแอฟริกาจนผ่านแหลมกู๊ดโฮปได้สาเร็จใน ค.ศ. 1488 และนัก เดินเรือชาวโปรตุเกสอีกผู้หนงึ่คือ วัสโก ดา กามา แล่นเรือในเส้นทางสารวจของ ไดแอสจนถึงเอเชีย และหลังจากใช้เวลาเดินทางได้ 93 วัน ก็ขึน้ฝั่งที่เมืองกาลิกัต ของอินเดีย ค.ศ.1498 และสามารถซือ้เครื่องเทศโดยตรงจากอินเดียนาหลับไป ขายในยุโรปได้กาไรมากกว่า 60 เท่าของค่าใช้จ่ายในการเดินเรือทัง้หมด วัสโก ดา กามา
  • 9. ระยะก่อนหน้านัน้ ค.ศ.1492 คริสโตเฟอร์โคลัมบัส ชาวเมืองเจนัว ซึ่งเชื่อว่าสัณฐานของโลกกลมก็รับอาสา กษัตริย์สเปนเดินทางไปสารวจเส้นทางเดินเรือไปประเทศจีน โดยข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก และค้นพบทวีปอเมริกาใน ที่สุด ซึ่งทาให้สเปนได้ครอบครองดินแดนส่วนใหญ่เกือบ ทัง้หมดของทวีปอเมริกาใต้ อเมริกากลาง และส่วนใหญ่ของ ดินแดนที่เป็นประเทศสหรัฐอเมริกาในปัจจุบัน คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส โปรตุเกสประสบความสาเร็จอย่างยิ่งในการกาจัดอานาจของพวกมุสลิมใน มหาสมุทรอินเดียจนสามารถควบคุมเมืองต่างๆทางชายฝั่งตะวันออกของทวีป แอฟริกาและรัฐอินเดียทางชายฝั่งตะวันตกและยึดเมืองกัว และใช้เมืองนีเ้ป็น เมืองหลวงของจักรวรรดิโปรตุเกสในตะวันออก
  • 10. ใน ค.ศ.1519 เฟอร์ดินันด์มาเจลลัน นักเดินเรือชาวโปรตุเกส รับอาสากษัตริย์ สเปนและคุมเรือสเปน 5 ลา ออกค้นหาเส้นทางเดินเรือสายใหม่มายังตะวันออก การเดินเรือครัง้นีเ้ป็นครัง้แรกที่ข้ามมหาสมุทรแปซิฟิกมายังทวปีเอเชีย อย่างไรก็ดี เฟอร์ดินันด์มาเจลลัน ไม่มีโอกาสแล่นเรือกลับสเปน เพราะถูกฆ่า ตายก่อน แต่ลูกเรือที่เหลือสามารถหลบหลีกออกจากฟิลิปปินส์ได้ และเดินทางมา พบหมู่เกาะเครื่องเทศ ได้แวะซือ้บรรทุกจนเต็มลาเรือวิคโตริโอ และหลบหลีกเรือ โปรตุเกสมายังสเปนได้สาเร็จ นับว่าเป็นครัง้แรกที่พิสูจน์ทฤษฎีโลกกลมว่าเป็นจริง หมู่เกาะเครื่องเทศ
  • 11. การค้นพบเส้นทางเดินเรือมายังตะวันออกของ ดา กามา และ มาเจลลันนับว่ามีความสาคัญอย่างมากเพราะเป็นน่านนา้ให้เรือ จากทวีปยุโรปสามารถแล่นมายังทวีปเอเชีย และเป็นก้าวสาคัญที่ ทาให้อารยธรรมตะวันตกหลงั่ไหลมายังเอเชีย ก่อเกิดการ เปลี่ยนแปลงทัง้ด้านการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เส้นทางการเดินเรือ
  • 12. ฮอลันดา ฮอลันดา หรือฮอลแลนด์ หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า เนเธอร์แลนด์ เป็นดินแดนแห่ง หนงึ่ในทวีปยุโรปที่เคยอยู่ใต้การปกครองของพระเจ้าฟิลิปที่2แห่งสเปน ก่อนหน้านี้ ชาวดัตช์ได้ทาหน้าที่เป็นพ่อค้าคนกลางในการค้าเครื่องเทศในยุโรปมาโดยตลอด โดยส่งเรือสินค้าไปรับเครื่องเทศจากโปรตุเกสที่ท่าเรือลิสบอนแต่เมื่อฮอลันดาได้ก่อ การกบฏและแยกตัวเป็นอิสระใน ค.ศ.1581 สเปนพยายามปราบปรามกบฏใน ฮอลันดาแต่ล้มเหลว ดังนัน้พระเจ้าฟิลิปที่ 2 จึงประกาศปิดท่าเรือลิสบอนใน ค.ศ. 1580 ห้ามไม่ให้พ่อค้าดัตช์เข้าไปซือ้เครื่องเทศในตลาดโปรตุเกสอีกต่อไป นโยบายดังกล่าวจึงเท่ากับบีบบังคับให้ออลันดาต้องหาเส้นทางเพื่อติดต่อซือ้ เครื่องเทศโดยตรงกับอินดิสตะวันออกของโปรตุเกส ในไม่ช้ากองทัพเรือที่เข้มแข็ง ของออลันดาก็สามารถยึดครองอานาจการค้าเครื่องเทศของโปรตุเกสได้ใน ค.ศ. 1598 ออลันดาได้จัดตัง้สถานีการค้าในเกาะชวา และอีก 4 ปีต่อมาได้จัดตัง้ บริษัทอินเดียตะวันออกของฮอลันดาขึน้เพื่อควบคุมการค้าในหมู่เกาะเครื่องเทศ
  • 13. การครอบครองหมู่เกาะเครื่องเทศของฮอลันดามีผลกระทบที่สาคัญอีกประการ หนึ่งคือ ใน ค.ศ. 1606 บริษัทอินเดียตะวันออกของฮอลันดาได้ส่งวิลเล็ม เจนซ์ คุมเรือดุฟเกน จากบันดา เพื่อค้นหาทองคาที่เชื่อว่าอยู่ทางทิศใต้และทิศ ตะวันออกของชวา การเดินเรือครัง้นีข้องเจนซ์และลูกเรื่อชาวดัตช์เป็นคนขาวกลุ่ม แรกที่ได้เห็นทวีปออสเตรเลีย และทาให้ฮอลันดาได้รับการยกย่องว่าเป็นชาติแรกที่ ค้นพบทวีปออสเตรเลีย แม้ว่าเดิมฮอลันดาเดินทางมายังตะวันออกเพื่อความมุ่งหมายทางการค้าเป็น สาคัญ แต่ภายหลังฮอลันดาก็เปลี่ยนนโยบายโดยยึดเอาดินแดนที่ตนครอบครอง ไว้ให้อยู่ในฐานะเป็นอาณานิคม ทวีปออสเตรเลีย
  • 14. อังกฤษ อังกฤษได้แผ่อิทธิพลเข้ามาในตะวันออกในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 ซึ่งเป็น ระยะเวลาใกล้เคียงกับฮอลันดาใน ค.ศ. 1588 อังกฤษในรัชสมัยของสมเด็จพระราชินี นาถเอลิซาเบทที่ 1 ได้ทาสงครามกับสเปนและสามารถรบชนะกองทัพเรืออาร์มาดา อังกฤษได้ส่งกองเรือเดินทางอ้อมแหลมกู๊ดโฮ้ปมายังอินเดียเป็นครัง้แรกและบริษัท อินเดียตะวันออกของอังกฤษก็ได้รับพระราชทานกฎบัตรจากสมเด็จพระราชินีนาถเอลิ ซาเบทที่1 ให้มีสิทธิในการทาการค้าตัง้แต่แหลมกู๊ดโฮปจนถึงช่องแคบมาเจลลัน ต่อมาอังกฤษได้เข้าไปมีอานาจในอินเดียและอ่าวเปอร์เซีย อังกฤษได้เป็นคู่แข่งกับ ฮอลันดาในตะวันออก หลังจากที่รัฐบาลได้เข้ามามีบทบาทแทนบริษัทอินเดีย ตะวันออกของอังกฤษแล้ว ได้ดาเนินนโยบายสร้างอิทธิพลในตะวันออกอย่างเต็มที่ โดยยึดดินแดนต่างๆเป็นอาณานิคม เช่น อินเดีย พม่า มลายู สิงคโปร์
  • 16. 2.การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจและระบบการค้า การขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปไปยังส่วนต่างๆของโลกได้ส่งผลกระทบ ต่อการเปลี่ยนแปลงระบบเศรษฐกิจของโลกตะวันตกเองด้วย เพราะเป็นส่วน สาคัญที่ทาลายระบบสมาคมอาชีพ หรือสมาคมการค้าประเภทหนงึ่ที่มีมาตัง้แต่ สมัยกลาง การค้นพบโลกใหม่และการจัดตัง้สถานีการค้าช่วยให้ชาติตะวันตกขยายตัว ทางการค้าอย่างรวดเร็ว รัฐบาลของกษัตริย์เข้าควบคุมการผลิตและการค้า เน้น การส่งออก กีดกันสินค้านาเข้า บรรดาพ่อค้าและนักลงทุนก่อตัง้บริษัทรวมทุน เปิดโอกาสให้บุคคลร่วมกันลงทุนเพื่อขยายการค้าและผูกขาดสินค้าต่างๆ นอกจากนีมี้การค้นพบเหมืองแร่เงิน ทอง ในทวีปอเมริกา และการหลงั่ไหลของ แร่เข้าสู่ยุโรป ทาให้เกิดการปฏิวัติทางราคา สินค้าจาเป็นมีราคาสูงขึน้ ก่อให้เกิด ภาวะเงินเฟ้อ
  • 17. 3.การเปลี่ยนแปลงด้านอื่นๆ การสารวจทะเลมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดล้อม คือเกิดการ กระจายของพันธ์ุสัตว์และพืชจากถิ่นกาเนิดไปที่อื่นๆของโลก เช่น ชาวดัตช์นาต้น กาแฟจากตะวันออกกลางมาปลูกที่เกาะชวา จนในที่สุดกาแฟเป็นสินค้าสาคัญ ของบริเวณนี้การนายางพารามาปลูกที่แถบทะเลใต้ได้แพร่มายังอินโดนีเซีย มาเลเซีย ภาคใต้ของไทย จนแถบนีเ้ป็นแหล่งผลติยางพาราของโลก ยางพารา ต้นกาแฟ
  • 18. การฟื้นฟูศิลปวิทยา หมายถึง การเกิดใหม่ชองการศึกษา การฟื้นฟูอุดมคติ ศิลปะ และวรรณกรรมของกรีกและโรมัน เป็นยุคเริ่มต้นของการแสวงหาสิทธิ เสรีภาพและความคิดที่เคยถูกข้อบังคับของคริสต์ศาสนา โดยถือว่ายุคนีเ้ป็น จุดเชื่อมต่อของประวัติศาสตร์สมัยกลางและสมัยใหม่
  • 19. การขยายตัวทางการค้าทาให้ฐานะของชาวยุโรป โดยเฉพาะอิตาลีมงั่คงั่ขึน้ จึง หันมาสนับสนุนงานด้านศิลปะและวิทยาการ เกิดแนวคิดใหม่มุ่งหวังให้บุคคลมี ความรู้ความสามารถทุกๆด้าน อีกสาเหตุหนงึ่ คือ ที่ตัง้ของนครรัฐต่างๆในอิตาลีเคยเป็นแหล่งเจริญรุ่งเรือง ฉะนัน้บรรดานักปราชญ์และศิลปินต่างๆในอิตาลีจึงให้ความสนใจในศิลปะและ วิทยาการ นอกจากนีส้ภาพเศรษฐกิจที่ดีทาให้คนมองโลกในแง่ที่ดีมากขึน้เริ่มปฏิเสธ กฎเกณฑ์อันเข้มงวดของฝ่ายศาสนจักร
  • 20. สงครามครูเสดและการล่มสลายของจักรวรรดิไบแซนไทน์ทาให้วิทยาการของชาว โรมันและกรีกหลงั่ไหลกลับคืนไปทางตะวันตกอีกครัง้ โดยเฉพาะครึ่งหลังของ คริสต์ศตวรรษที่ 15 ประชาชนและนักปราชญ์ทางตะวันออกอพยพเข้าสู่แหลมอิตาลี พร้อมนาหนังสือวิทยาการของกรีก-โรมันทาให้มีต้นฉบับไว้ศึกษาอย่างกว้างขวางมากขึน้
  • 21. ในสมัยกลางชาวตะวันตกส่วนใหญ่เชื่อว่า มนุษย์ทุกคนมีบาปติดตัวมาแต่ กาเนิด การใช้ชีวิตอยู่จึงเป็นการไถ่บาปเพื่อเตรียมตัวไปสู่สวรรค์ ทัศนคตินีท้า ให้ชาวตะวันตกหมดความสนใจต่อการดาเนินชีวิต การศึกษา เมื่อเกิดการ ฟื้นฟูศิลปวิทยา แนวคิดของชาวตะวันตกก็เปลี่ยนไปด้วย เริ่มเห็นว่ามนุษย์ สามารถพัฒนาชีวิตตนเองได้ แนวคิดดังกล่าวจึงเป็นที่มาของลัทธิมนุษยนิยมที่ ให้ความสนใจโลกปัจจุบันมากกว่าการมุ่งไปสู่สวรรค์
  • 22. นักปราชญ์คนแรกที่มีบทบาทสาคัญต่อการศึกษาวรรณคดี ประเภทคลาสสิกในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา และได้รับการยกย่องว่าเป็น บิดาแห่งมนุษยนิยม ได้แก่ ฟรันเซสโก เปทราก เขาพยายามศึกษาการใช้ภาษาละตินให้ถูกต้อง ชีใ้ห้เห็นถึงความงามของภาษละติน ผู้สนใจใน งานคลาสสิกของสมัยโบราณหรือที่เรียกว่า พวก มนุษยนิยม เหล่านีต้่างได้รับการยกยอ่งในการใช้ ภาษาละติน และได้รับการเชือ้เชิญให้เป็นราช เลขาธิการและอาจารย์ประจาสานักของเจ้านคร รัฐในอิตาลี ตลอดจนทาหน้าที่เป็นเจ้าหน้าที่สาร บรรณในสานักสันตะปาปา ฟรันเซสโก เปทราก
  • 23. ใน ค.ศ.1454 โยฮันเนส กูเตนเบิร์ก สามารถผลิตเครื่องพิมพ์ที่ใช้วิธีการเขียน ตัวอักษรได้สาเร็จ ทาให้หนังสือราคาถูกลงมาก จึงทาให้ความนึกคิดมีความ เป็นหนงึ่อันเดียวกันมากขึน้ เครื่องพิมพ์
  • 24.
  • 25.
  • 26.