SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  132
บนทางสองแพร่ง :  การปะทะของแนวคิดตะวันตก ในสังคมไทย ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],[object Object],ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],[object Object],ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],[object Object],[object Object],ตอน   6 :  หลัง   2500
อุดมการณ์แบบคอมมูนิสม์มีรากฐานมาจากแนวคิดของ  Karl Marx  เมื่อต้นศตวรรษที่  19 Karl Marx  ( 1818 – 1883 )   มารกซ์เป็นชาวเยอรมัน เป็นนักปรัชญา  นักเศรษฐศาสตร์การเมืองและนักปฏิวัติ มารกซ์มองประวัติศาสตร์ของมนุษย์ว่าคือ  ประวัติศาสตร์การต่อสู้ทางชนชั้น ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],ยุคทุนนิยมเป็นยุคที่มนุษย์ที่ขูดรีดกันอย่างเข้มข้น ทำให้มนุษย์ถูกกระทำให้ไม่เป็นมนุษย์ มนุษย์ถูกกระทำให้เป็นสินค้า รวมทั้งร่างกายของมนุษย์ ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],การปฎิวัติ  ( Revolutionary )  ในความหมายของมารกซ์  คือการเปลี่ยนแปลงอย่างถึงรากถึงแก่นหรือการเปลี่ยนแปลงอย่างสิ้นเชิงทั้งในด้านการเมือง เศรษฐกิจและสังคม ตอน   6 :  หลัง   2500
รากฐานทางเศรษฐกิจที่เป็นที่มาของการกดขี่นั้นมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเปลี่ยน  คือต้องเปลี่ยนระบบกรรมสิทธิที่เป็นของส่วนบุคคลไปสู่กรรมสิทธิแบบรวมหมู่ หรือเป็นระบบเศรษฐกิจแบบคอมมูนิสม์ การเมืองก็ต้องเปลี่ยนไปอยู่ในมือของชนชั้นกรรมาชีพหรือกรรมกร ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],และมีสานุศิษย์ของมารกซ์เกิดขึ้นในประเทศต่างๆ   แต่ในศตวรรษนี้แนวคิดของมารกซ์ก็เป็นเพียง อุดมการณ์ ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],ที่ชัดจนก็คือ ในปี ค . ศ . 1917  แนวคิดของมารกซ์ได้กลายเป็นพลังขับเคลื่อนการปฏิวัติในรัสเซีย   ตอน   6 :  หลัง   2500
ซึ่งนำโดยนักปฏิวัติคนสำคัญอย่าง วี ไอ เลนินและลีออน ทรอตสกี้ วี ไอ เลนิน ลีออน ทรอตสกี้ ตอน   6 :  หลัง   2500
การปฏิวัติรัสเซียมีเป้าหมายล้มล้างระบบซาร์  ( ระบบกษัตริย์ )  ของรัสเซีย และมุ่งสถาปนาระบอบคอมมูนิสม์ขึ้นในรัสเซีย พระเจ้าซาร์แห่งรัสเซีย   ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],[object Object],ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],ตอน   6 :  หลัง   2500
หลังการปฏิวัติจีน ขบวนการปฏิวัติ / ขบวนการคอมมูนิสม์เคลื่อนตัวลงใต้ คือ เคลื่อนเข้ามาใน เวียตนาม ลาว เขมรและไทย การเคลื่อนตัวลงใต้ของขบวนการคอมมูนิสม์ในเวียตนาม ลาว และเขมร มีที่มาจากแหล่งเดียวกัน คือ นักศึกษาในฝรั่งเศส ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],ซึ่งเคยเป็นนักศึกษาในฝรั่งเศส และเป็นที่รู้จักมักคุ้นกับปรีดี พนมยงค์ และเคยเข้ามาเคลื่อนไหวเพื่อสนับสนุนการปฏิวัติเวียตนามในแผ่นดินสยาม โดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และสงผลต่อการเกิดพรรคคอมมูนิสต์แห่งประเทศไทย ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],สมาชิกส่วนใหญ่เป็นคนเวียตนามแต่ในนั้นมีสาขาพรรคคอมมิวนิสต์ลาว คือ แนวร่วมลาวรักชาติ  ( แนวลาวฮักซาติ )  โดยมีนายไกสอน พมวิหาน เป็นแกนนำ ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],ผู้นำคนสำคัญประกอบด้วย เขียวสัมพันธ์ พอล พต เอียงสารี ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],แต่แนวคิดคอมมูนิสม์ถูกนำเข้าสังคมไทยนับตั้งแต่ปี  2475  เป็นต้นมา คนสำคัญที่นำแนวคิดดังกล่าวเข้าประเทศไทยคือปรีดี พนมยงค์ อัศนี พลจันทร์และจิตร ภูมิศักดิ์ ไม่มีอำนาจใดใดในโลกหล้า ผู้ปกครองต่างมาแล้วสาปสูญ ไม่มีใครล้ำเลิศน่าเทิดทูน ประชาชนสมบูรณ์นิรันดร์ไป เมื่อยืนหยัดต่อสู้ผู้กดขี่ ประชาชนย่อมมีชีวิตใหม่ เมื่อท้องฟ้าสีทองผ่องอำไพ ประชาชนย่อมเป็นใหญ่ในแผ่นดิน ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],[object Object],[object Object],ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],[object Object],ตอน   6 :  หลัง   2500
ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],[object Object],ทำรัฐประหารล้มล้างอำนาจ จอมพล ป .  พิบูลย์สงคราม ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],[object Object],ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],[object Object],ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],[object Object],ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],[object Object],[object Object],ความเป็นไทยในยุคนี้จึงต่างจากยุคคณะราษฏรและจอมพล ป .  ความเป็นไทย  =  ชาติ + ศาสนา + พระมหากษัตริย์ + ไม่เป็นคอมมูนิสม์ ตอน   6 :  หลัง   2500
การเคลื่อนไหว ของนักศึกษา  14  ตุลาคม  2516 ตอน   6 :  หลัง   2500
กล่าวตามความจริงแล้ว นักศึกษาชาวสยามได้เข้ามามีส่วนร่วมในทางการเมืองนับตั้งแต่ในยุค สมบูรณาญาสิทธิราชย์ และหากจะกล่าวตามความเป็นจริงแล้วการเปลี่ยนแปลงการปกครอง  2475  ก็เป็นขบวนการที่กระทำโดยนักศึกษานอก โดยเฉพาะนักศึกษาในฝรั่งเศสและอังกฤษ คนอย่างปรีดี พนมยงค์ซึ่งถือว่าเป็นมันสมองของคณะราษฎรก็คือนักศึกษาวิชากฎหมายในฝรั่งเศสและการเป็นคณะราษฎรก็ก่อตัวตั้งแต่สมัยที่ปรีดีเรียนหนังสือในฝรั่งเศส ตอน   6 :  หลัง   2500
แต่คณะราษฎรก็ไม่อาจจะถือว่าเป็นขบวนการนักศึกษาซะทีเดียว เพราะเป็นเพียงนักศึกษาจำนวนน้อย และการเปลี่ยนแปลงการปกครอง  2475  ก็มิใช่ขบวนการประชาชน และมิใช่ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม  ( social movement )  อย่างแท้จริง กล่าวให้ถึงที่สุดแล้ว  2475  คือการยึดอำนาจจากสถาบันพระมหากษัตริย์โดยคณะทหารและมีพลเรือนเข้าร่วมเพียงไม่กี่คน ตอน   6 :  หลัง   2500
สิ่งที่อาจจะเรียกได้ว่าเป็นขบวนการนักศึกษาในประเทศไทยก็คือขบวนการนักศึกษาในยุค  14  ตุลาคม  2516 ตอน   6 :  หลัง   2500
และ  14  ตุลาคม  2516  ก็อาจจะเป็นขบวนการเคลื่อนทางสังคมที่ใหญ่ที่สุดในสังคมไทย ตอน   6 :  หลัง   2500
คำถามที่สำคัญยิ่งก็คือก็คือ ทำไมนักศึกษาจึงเข้ามามีส่วนร่วมในทางการเมือง ตอน   6 :  หลัง   2500
เหตุการณ์  14  ตุลาคม  2516  แม้จะเรียกว่าขบวนการนักศึกษา แต่ผู้เข้าร่วมใน  14  ตุลา มิได้มีเฉพาะนักศึกษา แต่รวมถึงนักเรียนด้วย ตอน   6 :  หลัง   2500
การเติบโตและขยายของนักเรียน นิสิต นักศึกษาในไทย ตอน   6 :  หลัง   2500
การเติบโตและขยายของนักเรียน นิสิต นักศึกษาในไทย นักเรียน นิสิต นักศึกษาผู้เป็นองค์ประกอบของ  14  ตุลา ล้มล้างอำนาจเผด็จการทหารมิใช่ใครอื่น แต่เป็นผลผลิต ของเผด็จการทหารนั้นเอง ตอน   6 :  หลัง   2500
ด้วยนโยบายการพัฒนาและนโยบายด้านการศึกษา ของรัฐตั้งแต่สมัยรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ มีการขยายการศึกษาระดับอุดมศึกษาออกไปอย่างกว้างขวางมากกว่ายุคก่อนหน้า ส่งผลให้นักศึกษาและปัญญาชนขยายตัวมากขึ้น การขยายตัวมาพร้อมกับการขยายตัวของมหาวิทยาลัย ซึ่งขยายมากขึ้นในช่วงนับตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่  1  เป็นต้นมา การขยายตัวของมหาวิทยาลัยดำเนินควบคู่ไปกับการขยายตัวของโรงเรียน ตอน   6 :  หลัง   2500
จำนวนนักเรียน -  นักเรียนมัธยมของรัฐ  195,936  คนเมื่อปี  2007    216, 621  คนในปี  2510 จำนวนนักศึกษา -  นักศึกษาในมหาวิทยาลัยของรัฐ  15,000  คนเมื่อปี  2004    50,000  คนในปี  2516 -  นักเรียนมัธยมของเอกชน  151,728  คนเมื่อปี  2007     228,495  คนในปี  2510 -  นักศึกษาไทยที่ไปศึกษาในต่างประเทศมีประมาณ  50 ,000  คนในปี  2516 -  ปี  2515  ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประไทยระบุว่ามีสมาชิก  1  แสนตน ตอน   6 :  หลัง   2500
ก่อน  14  ตุลา   นิสิตนักศึกษาส่วนใหญ่ยังคงดำเนินชีวิตแบบ  “สายลมแสงแดด”   ... กูเป็นนิสิตนักศึกษา   วาสนาสูงส่งสโมสร  ย่ำค่ำนี่จะย่ำไปงานบอลล์  เสพเสน่ห์เกสรสุมาลี  กูเป็นนิสิตนักศึกษา พริ้งสง่างามผงาดเพียงราชสีห์  มันสมองของสยามธานี  ค่ำนี้กูจะนาบให้หนำใจ ...   ... กูเป็นนิสิตนักศึกษา     หรูหราแหลมหลักอัครฐาน    พรุ่งนี้ก็ต้องไปร่วมงาน    สังสรรค์ในระดับปริญญา  ได้โปรดฟังกูเถิดสักนิด   กูเป็นนิสิตนักศึกษา     เงียบโว้ย - ฟังกู -- ปรัชญา   กูอยู่มหาวิทยาลัย  … ... กูอยู่มหาวิทยาลัย    รู้ไหม เห็นไหม ดีไหม   อีกไม่นานเราก็ต่างจะตายไป   กอบโกยใส่ตัวเองเสียก่อนเอย . สุจิตต์ วงษ์เทศ   ตอน   6 :  หลัง   2500
แต่เยาวชน - คนหนุ่มสาว - รุ่นใหม่บางส่วนก็เริ่มตั้งคำถามต่อความไม่พัฒนาของการเมืองการปกครองไทย พร้อม ๆ กับตั้งคำถามต่อการเมืองโลกในยุคสงครามเย็น เช่นเดียวกับขบวนการนักศึกษาทั่วโลก ผลักดันให้พวกเขาก้าวเข้าไปมีบทบาททางสังคมอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน ขบวนการนิสิตนักศึกษาเริ่มก่อตัวด้วยเวทีแลกเปลี่ยนความคิดที่สำคัญในยุคนั้น คือ  สังคมศาสตร์ปริทัศน์  เป็นนิตยสารราย  3  เดือน ของสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประทศไทย ซึ่งออกฉบับปฐมฤกษ์เมื่อเดือนมิถุนายน  2506  และในปี  2509 ตอน   6 :  หลัง   2500
บรรณาธิการของ  สังคมศาสตร์ปริทัศน์  ก็ได้ชวนนิสิตนักศึกษาจากสถาบันต่าง ๆ เข้ามาร่วมกันทำ  สังคมศาสตร์ปริทัศน์ฉบับนิสิตนักศึกษา  นำไปสู่การตั้งกลุ่ม “ปริทัศน์เสวนา” เพื่อพบปะพูดคุยกันถึงปัญหาสังคมและเรื่องราวที่น่าสนใจ     นอกจากนิตยสารของปัญญาที่เผยแพร่ในสังคมวงกว้างแล้ว ในรั้วมหาวิทยาลัยเองคนหนุ่มสาวก็ตื่นตัวในการจัดทำหนังสือรายสะดวกจำหน่ายแจกจ่ายกันมากขึ้น ซึ่งมักเรียกกันว่า “หนังสือเล่มละบาท” ผู้จัดทำมีตั้งแต่สโมสรนักศึกษาคณะต่าง ๆ ไปถึงระดับชมรมและกลุ่มอิสระต่าง ๆ  ตอน   6 :  หลัง   2500
กิจกรรมการแสดงความคิดเห็นผ่าน “หนังสือเล่มละบาท” ได้แพร่หลายเป็นวัฒนธรรมของนักศึกษาแทบทุกมหาวิทยาลัย โดยมีเนื้อหาที่เปลี่ยนจากแนวเพ้อฝันสายลมแสงแดดไปสู่เรื่องที่มีเนื้อหาจริงจังและวิพากษ์วิจารณ์มากขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะหนังสือของกลุ่มคนหนุ่มสาวที่สนใจสถานการณ์สังคมแล้วรวมตัวกันเป็น “กลุ่มอิสระ” ตามสถาบันการศึกษาต่าง ๆ เช่น ชมรมนิติศึกษา กลุ่มเศรษฐธรรม และ สภาหน้าโดมที่ ม .  ธรรมศาสตร์ สภากาแฟที่ ม .  เกษตรศาสตร์ กลุ่มฟื้นฟูโซตัสใหม่ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชมรมคนรุ่นใหม่ที่ ม .  รามคำแหง กลุ่มนักศึกษาหัวก้าวหน้าที่ ม .  เชียงใหม่ ฯลฯ ซึ่งมักจะจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและออกหนังสือรายสะดวกยืนขายตามหน้าประตูมหาวิทยาลัยอยู่เสมอ ตอน   6 :  หลัง   2500
    หนังสือ คัมภีร์ ที่มีการเรียกร้องให้คนหนุ่มสาวคนรุ่นใหม่ยอมเสียสละเพื่อก้าวไปสู่ระบบเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมที่ดีกว่า ทำโดยนักศึกษารัฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เมื่อเดือนกรกฎาคม  2513      หนังสือ  ภัยขาว  ที่มุ่งเปิดโปงนโยบายและพฤติกรรมของอเมริกาในประเทศด้อยพัฒนา โดยเฉพาะในสงครามเวียดนามและในประเทศไทย ทำออกมาขายเมื่อวันที่  10  มีนาคม  2514  โดยกลุ่มสภาหน้าโดม ซึ่งก่อนหน้านั้น สังคมศาสตร์ปริทัศน์ ได้ออกฉบับ “ภัยเหลือง” เพื่อวิพากษ์วิจารณ์จักรวรรดินิยมญี่ปุ่น     หนังสือ วลัญชทัศน์ ฉบับ “ภัยเขียว” ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ออกมาวิพากษ์วิจารณ์เผด็จการทหารหลังเกิดการรัฐประหารตัวเองของจอมพลถนอมในวันที่  17  พฤศจิกายน  2514 ตอน   6 :  หลัง   2500
ฉันเยาว์ ฉันเขลา ฉันทึ่ง  ฉันจึงมาหาความหมาย  ฉันหวังเก็บอะไรไปมากมาย  สุดท้ายให้กระดาษฉันแผ่นเดียว  เพียงหวังจะเฟื่องฟุ้ง หรือจึงมุ่งมาศึกษา  เพียงเพื่อปริญญา เอาตัวรอดเท่านั้นฤๅ  แท้ควรสหายคิดและตั้งจิตร่วมยึดถือ  รับใช้ประชาคือปลายทางเราที่เล่าเรียน ตอน   6 :  หลัง   2500
ในด้านการรวมตัวกันระหว่างนิสิตนักศึกษาระหว่างสถาบันต่าง ๆ ก็เริ่มเป็นรูปเป็นร่างมากขึ้น จนกระทั่งมีการจัดตั้ง “ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย  ( ศนท .)”  ขึ้นเมื่อวันที่  1  กุมภาพันธ์  2513  โดยมีสมาชิกระดับอุดมศึกษา  11  สถาบัน  ( ได้แก่ ม .  เกษตรศาสตร์ ม .  ขอนแก่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ม .  เชียงใหม่ ม .  ธรรมศาสตร์ วิทยาลัยวิชาการศึกษาทั่วประเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ม .  สงขลานครินทร์ ม .  ศิลปากร ม .  รามคำแหง และ ม .  มหิดล )  ซึ่งกิจกรรมของ ศนท .  ในช่วงแรกส่วนใหญ่เป็นกิจกรรมทางสังคมปกติ เช่น จัดรายการช่วยผู้ประสบภัย จัดรายการถวายพระพร จัดแนะแนวการศึกษาแก่นักเรียน ออกร้านขายอาหารเพื่อหาทุน เป็นต้น กระทั่งในปี  2515  ศนท .  จึงเริ่มมีกิจกรรมที่แสดงบทบาททางสังคมการเมืองมากขึ้น  ตอน   6 :  หลัง   2500
สายธารความคิด    การก่อตัวทางปัญญาและความเคลื่อนไหวทางความคิดของนักศึกษาและปัญญาชนไทยในขณะนั้น ได้รับอิทธิพลทั้งจากบริบททางการเมืองภายในและภายนอกประเทศ     ขบวนการนักศึกษาปัญญาชนก่อน  14  ตุลา มีลักษณะหลากหลายทางอุดมการณ์ คือ มีทั้ง “ชาตินิยม” ที่เห็นว่าเผด็จการทหารทำให้ประเทศต้องเสียเอกราชและอธิปไตยในยุคอเมริกันในไทย มีทั้ง “ซ้ายใหม่” จากขบวนการคนหนุ่มสาวในต่างประเทศ บวก “ซ้ายเก่า” จากนักคิดสังคมนิยมไทยในช่วงทศวรรษ  2490  และมีทั้งแนวคิด “กษัตริย์ประชาธิปไตย” ซึ่งก่อตัวขึ้นมาท่ามกลางกระแสยกย่องเชิดชูสถาบันกษัตริย์   ตอน   6 :  หลัง   2500
Karl Marx Frederick Engels   อิทธิพลนักคิดต่อขบวนการ  14  ตุลาคม  2516 ตอน   6 :  หลัง   2500
Leon Trotsky V.I. Lenin ตอน   6 :  หลัง   2500
Mao Zedong Joseph Stalin ตอน   6 :  หลัง   2500
Che Guevara   ตอน   6 :  หลัง   2500
http://www.youtube.com/watch?v=bTpbDgrXvhA ตอน   6 :  หลัง   2500
ในฟ้าบ่อมีน้ำ             ในดินซ้ำมีแต่ทราย น้ำตาที่ตกราย                     คือเลือดหลั่งลงโลมดิน สองมือเฮามีแฮง                 เสียงเฮาแย้งมีคนยิน สงสารอีศานสิ้น                  อย่าซุด , สู้ด้วยสองแขน พายุยิ่งพัดอื้อ                     ราวป่ารื้อราบทั้งแดน อีศานนับแสนแสน               สิจะพ่ายผู้ใดหนอ ?   นายผี  " อัศนี พลจันทร์   http://www.youtube.com/watch?v=uvu2D3l03Jc ตอน   6 :  หลัง   2500
เหตุการณ์ที่ทำให้นักศึกษาก่อหวอด  ( นอกประเทศ ) 1.  Paris 1968 ( พ . ศ . 2511 ) นักศึกษาก่อหวอดเดินขบวนประท้วงระบบอำนาจนิยมในมหาวิทยาลัย ตอน   6 :  หลัง   2500
2.  Korea 1960 ( พ . ศ . 2503 ) นักศึกษาเกาหลีใต้ประท้วงถอด  Syngman Rhee  ผู้นำประเทศออกจากอำนาจ ตอน   6 :  หลัง   2500
3.  Indonesia 1965 ( พ . ศ . 2508 ) นักศึกษาก่อหวอดประท้วง ถอด  Sukarno  ผู้นำประเทศ ตอน   6 :  หลัง   2500
4.  1960s  นักศึกษาในอินเดีย ปากีสถาน พม่า ศรีลังกา มาเลเชียและสิงคโปร์ก่อหวอดประท้วงอำนาจการกดขี่ของรัฐบาล ตอน   6 :  หลัง   2500
5.  1968  ในอินโดจีน   ปี  1965  สหรัฐฯต้องเพิ่มกำลังทหารเข้าไปในเวียตนามใต้ โดยมีจำนวนทหารประจำการสูงสุดถึง  500,000  นาย สถานการณ์ทางการ เมืองเริ่มมั่นคงขึ้น เมื่อเหงียนวันเทียวขึ้นเป็นประธานาธิบดี เพราะการปกครองในรูปแบบเผด็จการทางทหาร ตอน   6 :  หลัง   2500
แต่เมื่อถึงเทศกาลตรุษญวนในปี  1968  ซึ่งฝ่ายเวียตนามเหนือและเวียตกงดำเนินการรุกใหญ่ทั่วทั้งประเทศ เมืองสำคัญบางเมืองอย่างเช่นเว้ เมืองหลวงเก่าโดนยึด ยังความเสียหายให้กับสหรัฐฯอย่างมหาศาล และนั่นคือจุดเริ่มขิงการพ่ายแพ้ของสหรัฐอเมริกา อเมริกาเริ่มถอนทหารออกจากเวียตนาม ตอน   6 :  หลัง   2500
เหตุการณ์ที่ทำให้นักศึกษาก่อหวอด  ( ในประเทศ ) 1. กรณีถังแดง ตอน   6 :  หลัง   2500
ถังแดงคือกรณีชาวบ้าน  3,008  ศพ  ที่ถูกสังหารไปในระหว่างปี  2508  ในเหตุการณ์  " ถีบลงเขา เผาถังแดง " คือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ณ ชุมชน ตำบลลำสินธุ์  และชุมชนอื่นๆ ในบริเวณใกล้เคียง ทั้งในเขต อำเภอกงหรา กิ่ง อ . ศรีนครินทร์  และอำเภออื่นๆ ใน จังหวัดพัทลุง  ซึ่งถูกตราหน้าว่า  " คอมมิวนิสต์ "  การก่อสร้างอนุสรณ์สถานวีรชนถังแดง   ตอน   6 :  หลัง   2500
๏ เหตุการณ์ปีหนึ่งห้า  .....................  ขอยกมาเพื่อรำลึก เพื่อให้ไทยสำนึก  ............................  ประวัติศาสตร์ที่พลาดพลั้ง ๏ น้ำมันสองร้อยลิตร  .....................  ที่สถิตอยู่สะพรั่ง จับไทยไปใส่ถัง  .............................  แล้วก็เผาเป็นเถ้าถ่าน ๏ พ่อจ๋าพ่ออยู่ไหน  .........................  แม้ร่างไร้จิตวิญญาณ ไม่มีให้ลูกหลาน  ..............................  ทำพิธีทางศาสนา ๏ ๓๐๐๘ ชีวิต  ...............................  ใครลิขิตดวงชะตา อำนาจที่ล้นฟ้า  ................................  เผด็จการที่ผลาญชน ๏ ตื่นเถิดไทยทั้งผอง  ......................  จงตรึกตรองด้วยเหตุผล อย่าให้ไทยผจญ  .............................  กับฝันร้ายนั้นอีกเลย ๚ ตอน   6 :  หลัง   2500
ตอน   6 :  หลัง   2500
2.  ฐานทัพอเมริกาในไทย   ฐานทัพ มาได้รับการให้ความสำคัญอย่างมากในทางยุทธศาสตร์ เมื่อสหรัฐเข้ามาทำสงครามอินโดจีนต่อจากฝรั่งเศส ฐานทัพเริ่มมีการสร้าง ปรับปรุงขนานใหญ่ในไทยโดยสหรัฐ ตั้งแต่ปี  2498  เป็นต้นมา กว่าจะเสร็จสมบูรณ์ในช่วงรัฐบาลสฤษดิ์และถนอม   ตอน   6 :  หลัง   2500
ถึง พ . ศ . 2516  จึงมีฐานทัพอเมริกาในไทยถึง  12  แห่ง คือ ที่อู่ตะเภา ตาคลี อุบลราชธานี อุดรธานี นครพนม น้ำพอง สัตหีบ ลพบุรี เขื่อนน้ำพุง โคราช และ กาญจนบุรี โดยมีศูนย์บัญชาการใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงเทพฯ มีเครื่องบินสหรัฐประจำในไทยถึง  550  ลำ  เพื่อใช้ในการทิ้งระเบิดในลาว  เขมร และเวียดนาม  ตอน   6 :  หลัง   2500
มีการประมาณการว่าในช่วงที่สหรัฐมาทำสงครามอินโดจีน และถอนตัวไปในปี  2518  เมื่อพ่ายแพ้  80%  ของปฏิบัติการทางอากาศคือการบินไปทิ้งระเบิดใน  3  ประเทศอินโดจีน มาจากปฏิบัติการของฐานทัพในประเทศไทย จำนวนทหารสหรัฐ ณ จุดที่สูงสุดในปี  2516  มีทหารสหรัฐในไทยประมาณ  48,000  คน นักศึกษาเห็นว่าการดำรงอยู่ของฐานทัพนั้น นอกจากจะเป็นการละเมิดอธิปไตยของประเทศตนเอง คือเรายอมขายอธิปไตยตนเองให้ต่างชาติ แลกกับเม็ดเงินช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและการทหาร ยังเป็นการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ เนื่องจากไทยไปบุกรุกประเทศเพื่อนบ้าน ทำสงครามที่ไม่ประกาศ B52 ตอน   6 :  หลัง   2500
3.  การสังหารนักการเมืองหัวก้าวหน้า   คือ การสังหารนายถวิล อุดล พร้อมกับ อดีตรัฐมนตรีอีสานอีก  3  คน คือ นายทองอินทร์ ภูรพัฒน์ นายจำลอง ดาวเรือง และนายทองเปลว ชลภูมิ และถูกนำตัวไปที่บริเวณ ทุ่งบางเขน ถนนพหลโยธิน กิโลเมตรที่  11  โดย กรมตำรวจ ในเวลานั้นอ้างเหตุว่า มีโจรคอมมิวนิสต์มลายู มาชิงตัว  4  อดีตรัฐมนตรี และเกิดการต่อสู้ขึ้น จนทำให้ทั้ง  4  คน ถูกลูกหลงเสียชีวิตทั้งหมด แต่ไม่ใคร่จะมีใครเชื่อข้ออ้างดังกล่าวนัก เมื่อมีนาคม  2492 ตอน   6 :  หลัง   2500
4.  ญี่ปุ่นครอบเศรษฐกิจไทย “ เมื่อปลายปี พ . ศ . 2515  นักเรียนนักศึกษาไทยได้ดำเนินการต่อต้านสินค้าญี่ปุ่น มาครั้ง หนึ่งแล้ว ซึ่งทางกรุงโตเกียวหวาดวิตกเป็นอันมาก รัฐบาลจึงส่งนายนากาโวเน่ รัฐมนตรี ว่าการค้าต่างประเทศ และอุตสาหกรรมให้เดินทางมากรุงเทพ ฯ เมื่อเดือนมกราคมศกนี้ เพื่อแก้ไขสถานการณ์ด้วยการสนองคำเรียกร้องของไทย ต่อพฤติการณ์ของพ่อค้าญี่ปุ่น และมีผลให้ญี่ปุ่นซื้อข้าวโพด และมันสำปะหลังจากไทยเพิ่มขึ้น”   ตอน   6 :  หลัง   2500
5.  ทุ่งใหญ่นเรศวร การเคลื่อนไหวเรื่องทุ่งใหญ่นเรศวร ที่มีข้าราชการผู้ใหญ่บางคนนำเฮลิคอปเตอร์พานักแสดงไปล่าสัตว์ในเขตป่าสงวนจนเกิดอุบัติเหตุเฮลิคอปเตอร์ตกเป็นเรื่องอื้อฉาว กลุ่มอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ได้ออกมาเปิดเผยถึงเหตุการณ์ที่คณะนายทหารและนายตำรวจชั้นผู้ใหญ่พากันเข้าไปล่าสัตว์ที่ทุ่งใหญ่นเรศวร จังหวัดกาญจนบุรี โดยใช้อาวุธในราชการสงคราม รถจี๊ป แม้กระทั่งเฮลิคอปเตอร์ในการล่าสัตว์ ตอน   6 :  หลัง   2500
แต่ความได้แตกขึ้นเมื่อในเที่ยวกลับ เฮลิคอปเตอร์  1  ลำเกิดอุบัติเหตุตกลง ซากสัตว์ป่าที่บรรทุกมากระจายเกลื่อน เกิดการวิพากษ์วิจารณ์ให้มีการสอบสวนเอาความผิดกับคณะบุคคลดังกล่าว แต่จอมพลถนอม และจอมพลประภาส กลับพูดในทำนองว่า คณะบุคคลดังกล่าวไม่ได้เข้าไปล่าสัตว์ หากแต่เข้าไปราชการลับ     เหตุการณ์ล่าสัตว์ที่ทุ่งใหญ่ฯ นี่เอง ที่ทำให้เกิดการคัดชื่อนักศึกษา ม .  รามคำแหงจำนวน  9  คนออก เหตุเพราะพวกเขาได้รวมกลุ่มกันออกหนังสือของชมรมคนรุ่นใหม่ชื่อ มหาวิทยาลัยที่ยังไม่มีคำตอบ ซึ่งมีข้อความที่ถากถางรัฐบาลต่อกรณีล่าสัตว์ที่ทุ่งใหญ่ฯ และการต่ออายุราชการของจอมพลถนอม ในฐานะผู้บัญชาการทหารสูงสุด และจอมพลประภาส ในฐานะผู้บัญชาการทหารบกอีกคนละ  1  ปี ตอน   6 :  หลัง   2500
จากกรณีลบชื่อนักศึกษาออกนี่เอง ทำให้นักศึกษารามคำแหงรวมตัวประท้วงคำสั่งของ ดร . ศักดิ์ ผาสุขนิรันดร์ อธิการบดี โดยมี ศนท .  เข้าร่วมสนับสนุนด้วย การประท้วงจึงมีนิสิตนักศึกษาจากทุกสถาบันนับหมื่นคนเข้าร่วมเดินขบวนประท้วงจากทบวงมหาวิทยาลัยไปที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยระหว่างวันที่  21-22  มิถุนายน  2516  โดยในระยะแรก การเรียกร้องของนักศึกษาต้องการเพียงให้ ม .  รามคำแหงรับนักศึกษาทั้ง  9  คนกลับเข้าเรียนดังเดิม และเรียกร้องให้อธิการบดีลาออก แต่ต่อมาก็มีการเรียกร้องเพิ่มเติมให้รัฐบาลคืนอำนาจการปกครองแก่ประชาชน และประกาศใช้รัฐธรรมนูญภายใน  6  เดือน  ผลการประท้วงทำให้นักศึกษาทั้ง  9  คนได้กลับเข้าเรียนตามปกติ ดร . ศักดิ์ ผาสุขนิรันดร์ ก็ลาออกจากตำแหน่งอธิการบดี และรัฐบาลสัญญาว่าจะให้รัฐธรรมนูญในเร็ววัน ซึ่งบรรดาผู้นำนักศึกษาได้ให้คำมั่นสัญญากับผู้ชุมนุมว่า อีก  6  เดือนถ้ารัฐบาลไม่ยอมคืนรัฐธรรมนูญให้ประชาชน ก็ขอให้ทุกคนมาพบกันเพื่อทวงถามด้วยการเดินขบวนประท้วง  ตอน   6 :  หลัง   2500
จากเหตุการณ์นี้ทำให้กลุ่มผู้นำนักศึกษา ตลอดจนอาจารย์มหาวิทยาลัย นักการเมือง นักหนังสือพิมพ์ และผู้สนใจ ร่วมกันก่อตั้ง “กลุ่มเรียกร้องรัฐธรรมนูญ” ขึ้น แล้วในเวลาต่อมาก็มีการร่วมเซ็นชื่อในคำประกาศเรียกร้องรัฐธรรมนูญ  100  คน จนกระทั่งเกิดการจับกุมสมาชิก “กลุ่มเรียกร้องรัฐธรรมนูญ” ที่ออกเดินรณรงค์ แจกใบปลิวและหนังสือเรียกร้องรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่  6  ตุลาคม  2516  กลายเป็นจุดชนวนประวัติศาสตร์นำไปสู่เหตุการณ์ “ 14  ตุลา” ในที่สุด   ตอน   6 :  หลัง   2500
ตอน   6 :  หลัง   2500
ตอน   6 :  หลัง   2500
เหตุการณ์  14  ตุลาคม  2516 ตอน   6 :  หลัง   2500
ตอน   6 :  หลัง   2500
ตอน   6 :  หลัง   2500
ลานโพธิ์ธรรมศาสตร์ ตอน   6 :  หลัง   2500
ตอน   6 :  หลัง   2500
ตอน   6 :  หลัง   2500
ตอน   6 :  หลัง   2500
ตอน   6 :  หลัง   2500
ตอน   6 :  หลัง   2500
ตอน   6 :  หลัง   2500
ตอน   6 :  หลัง   2500
ตอน   6 :  หลัง   2500
เหตุการณ์  14  ตุลาคม  2516 ตอน   6 :  หลัง   2500
ตอน   6 :  หลัง   2500
แม้จะตายไปแต่นักศึกษาก็สามารถล้มอำนาจถนอม - ประภาส และก่อให้เกิดการเมืองแบบประชาธิปไตยอีกครั้ง 14  ตุลา –  6  ตุลา จึงเป็นยุคประชาธิปไตยเบ่งบาน ในช่วง  14  ตุลา –  6  ตุลา นักศึกษาทำอะไร ตอน   6 :  หลัง   2500
=  เข้าหามวลชน /  GO TO THE PEOPLE *  ดอกไม้ ดอกไม้จะบาน  บริสุทธิ์กล้าหาญจะบานในใจ  สีขาว หนุ่มสาวจะใฝ่  แน่วแน่แก้ไขจุดไฟศรัทธา  **  เรียนรู้ต่อสู้มายา  ก้าวไปข้างหน้า  เข้าหามวลชน   ชีวิตอุทิศยอมตน  ฝ่าความสับสันเพื่อผลประชา  ***  ดอกไม้บานให้คุณค่า  จงบานช้าๆ แต่ว่ายั่งยืน  ที่นี่และที่อื่นๆ  ดอกไม้สดชื่นยื่นให้มวลชน  ตอน   6 :  หลัง   2500
มวลชนที่นักศึกษาเข้าเป็นใคร 1.  กรรมกร นักศึกษาเข้าไปจัดตั้ง โดยเฉพาะในเขตอ้อมน้อย อ้อมใหญ่ การรถไปและอื่นๆ ตอน   6 :  หลัง   2500
2.  ชาวนา - ชาวไร่ ตอน   6 :  หลัง   2500
นักศึกษาบางคนอย่าง สมคิด สิงสง กลับบ้านเกิดตัวเอง ร่วมกับเพื่อนคือ ประเสริฐ จันดำ คือกลับไปที่บ้านซับแดง ตำบลโพธิ์ไชย อำเภอมัญจาคีรี  ( ขณะนี้คือตำบลซับสมบูรณ์ กิ่งอำเภอโคกโพธิ์ไชย )  จังหวัดขอนแก่น เพื่อสร้างหมู่บ้านของตนเป็นหมู่บ้านทดลอง หมู่บ้านที่เป็นแกนนำในการขจัดอำนาจนาทุน และการเอารัดเอาเปรียบของคนในชุมชน ประเสริฐ จันดำ สมคิด สิงสง ตอน   6 :  หลัง   2500
นักศึกษาบางคนเข้าไปสนับสนุนการก่อตั้ง สหพันธ์ชาวนาชาวไร่ แห่งประเทศไทย   และมีการก่อตั้งกันเป็นเครือข่ายทั่วประเทศ เคลื่อนไหวเพื่อสิทธิและผลประโยชน์ของชาวนา ตอน   6 :  หลัง   2500
จาก  14  ตุลาคม  2516-6  ตุลาคม  2519  เป็นยุคที่มีการเคลื่อนไหวทางสังคมหนาแน่นที่สุด มีการประเมินกันว่าในช่วงเวลาดังกล่าว มีการประท้วงเดินขบวนไม่น้อยกว่า  5,000  ครั้ง ตอน   6 :  หลัง   2500
เหตุการณ์  6  ตุลาคม  2519 ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],[object Object],ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],[object Object],ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],[object Object],[object Object],ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],[object Object],[object Object],ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],[object Object],ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],[object Object],ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],[object Object],[object Object],ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],ตอน   6 :  หลัง   2500
[object Object],ตอน   6 :  หลัง   2500
เหตุการณ์  6  ตุลาคม  2519 ตอน   6 :  หลัง   2500
เหตุการณ์  6  ตุลาคม  2519 ตอน   6 :  หลัง   2500
เหตุการณ์  6  ตุลาคม  2519 ตอน   6 :  หลัง   2500
เหตุการณ์  6  ตุลาคม  2519 ตอน   6 :  หลัง   2500
เหตุการณ์  6  ตุลาคม  2519 ตอน   6 :  หลัง   2500
เหตุการณ์  6  ตุลาคม  2519 ตอน   6 :  หลัง   2500
เหตุการณ์ 6  ตุลาคม  2519 ตอน   6 :  หลัง   2500
ตอน   6 :  หลัง   2500
เหตุการณ์  6  ตุลาคม  2519 ตอน   6 :  หลัง   2500
เหตุการณ์  6  ตุลาคม  2519 ตอน   6 :  หลัง   2500
เหตุการณ์  6  ตุลาคม  2519 ตอน   6 :  หลัง   2500
เหตุการณ์  6  ตุลาคม  2519 ตอน   6 :  หลัง   2500
เหตุการณ์  6  ตุลาคม  2519 ตอน   6 :  หลัง   2500
เหตุการณ์  6  ตุลาคม  2519 ตอน   6 :  หลัง   2500
เหตุการณ์  6  ตุลาคม  2519 ตอน   6 :  หลัง   2500
เหตุการณ์  6  ตุลาคม  2519 ตอน   6 :  หลัง   2500
หลังการสังหารก็คือความโกรธแค้นดังสะท้อนในเพลง จากภูพานถึงลานโพธิ์ ของวัฒน์ วรรลยางกูร และเพลงถั่งโถมโหมแรงไฟของคาราวาน ตอน   6 :  หลัง   2500
จากภูพานถึงลานโพธิ์   ดินสอโดมธรรมศาสตร์เด่นสู้ศึก เพื่อจารึกหนี้เลือดอันเดือดดับ  หกตุลาเพื่อนเราล่วงลับ มันแค้นคับเดือดระอุอกคุไฟ  เรามีเพียงมือเปล่ามันล้อมปราบ ระเบิดบาปกระสุนบ้ามาสาดใส่  เสียงเสมือนแตรงานศพซบสิ้นใจ สนามหญ้าคลุ้งกลิ่นไอคาวเลือดคน  มันตามจับตามฆ่าล่าถึงบ้าน อ้างหลักฐานจับเข้าคุกทุกแห่งหน  เราอดทนถึงที่สุดก็สุดทน จึงเปลี่ยนหนทางสู้ขึ้นภูพาน  อ้อมอกภูพานคือชีวิตใหม่ คือมหาวิทยาลัยคนกล้าหาญ  จะโค่นล้มไล่เฉดเผด็จการ อันธพาลอเมริกาอย่าหวังครอง  สู้กับปืนต้องมีปืนยืนกระหน่ำ พรรคชี้นำตะวันแดงสาดแสงส่อง  จรยุทธนำประชาสู่ฟ้าทอง กรรมาชีพลั่นกลองอย่างเกรียงไกร  ในวันนี้ลานโพธิ์ธรรมศาสตร์อาจเงียบหงอย ก็เพียงช่วงรอคอยสู่วันใหม่  วันกองทัพประชาชนประกาศชัย จะกลับไปกรีดเลือดพาลล้างลานโพธิ์
ถั่งโถม .. โหมแรงไฟ  ปฏิวัติโค่นล้มสังคมแบบเก่า ปฏิวัติเพื่อเราประชาชาติไทย มาร่วมกันดันกงล้อประวัติศาสตร์ สู่เอกราชจริงแท้และสดใส จับอาวุธถั่งโถมโหมแรงไฟ เพื่อก้าวไกลแห่งสังคมอุดมการณ์ ทหารแห่งประชาทำหน้าที่ กำจัดเหล่าไพรี ปฏิกิริยา  ความลำบากนั่นคือมิตรล้างอุปสรรค โค่นจักรพรรดิฟาสซิสต์และศักดินา  มันก่อกรรมทำร้ายเราเรื่อยมา ชาติประชาเป็นดังผู้พลีกรรม  มวลชนดั่งผนังทองแดงกำแพงเหล็ก เอกลักษณ์นี่แหละหนาใช่คนต้อยต่ำ  คือผู้ยืนอยู่ยงคงทนยิ่ง ทุกอย่างสิ่งผลิตผลมวลชนทำ เรานักรบแห่งประชามาก้าวนำ มือจักกำปืนกล้าประกาศชัย  อำนาจรัฐจักได้มาด้วยกระบอกปืน ปืนต่อปืนมันยิงมาเรายิงไป  ติดอาวุธความคิดพิชิตศึก ปลุกสำนึกปลดปล่อยและปลุกใจ     ตอน   6 :  หลัง   2500
ถั่งโถม .. โหมแรงไฟ  ( ต่อ ) ** ปฏิวัติโค่นล้มสังคมแบบเก่า ปฏิวัติเพื่อเราประชาชาติไทย มาร่วมกันดันกงล้อประวัติศาสตร์ สู่เอกราชจริงแท้และสดใส จับอาวุธถั่งโถมโหมแรงไฟ เพื่อก้าวไกลแห่งสังคมอุดมการณ์  จับอาวุธถั่งโถม… .. โหมแรงไฟ เพื่อก้าวไกลแห่งสังคม… .. อุดมการณ์   ตอน   6 :  หลัง   2500
หลัง  2519  นักศึกษาเข้าร่วมกับพรรคคอมมูนิสม์แห่งประเทศไทย . ตอน   6 :  หลัง   2500
ร่วมกับพรรคคอมมูนิสม์แห่งประเทศไทย . ตอน   6 :  หลัง   2500
ร่วมกับพรรคคอมมูนิสม์แห่งประเทศไทย . ตอน   6 :  หลัง   2500

Contenu connexe

En vedette

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

En vedette (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

Pw6

  • 1. บนทางสองแพร่ง : การปะทะของแนวคิดตะวันตก ในสังคมไทย ตอน 6 : หลัง 2500
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5. อุดมการณ์แบบคอมมูนิสม์มีรากฐานมาจากแนวคิดของ Karl Marx เมื่อต้นศตวรรษที่ 19 Karl Marx ( 1818 – 1883 ) มารกซ์เป็นชาวเยอรมัน เป็นนักปรัชญา นักเศรษฐศาสตร์การเมืองและนักปฏิวัติ มารกซ์มองประวัติศาสตร์ของมนุษย์ว่าคือ ประวัติศาสตร์การต่อสู้ทางชนชั้น ตอน 6 : หลัง 2500
  • 6.
  • 7.
  • 8. รากฐานทางเศรษฐกิจที่เป็นที่มาของการกดขี่นั้นมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเปลี่ยน คือต้องเปลี่ยนระบบกรรมสิทธิที่เป็นของส่วนบุคคลไปสู่กรรมสิทธิแบบรวมหมู่ หรือเป็นระบบเศรษฐกิจแบบคอมมูนิสม์ การเมืองก็ต้องเปลี่ยนไปอยู่ในมือของชนชั้นกรรมาชีพหรือกรรมกร ตอน 6 : หลัง 2500
  • 9.
  • 10.
  • 11. ซึ่งนำโดยนักปฏิวัติคนสำคัญอย่าง วี ไอ เลนินและลีออน ทรอตสกี้ วี ไอ เลนิน ลีออน ทรอตสกี้ ตอน 6 : หลัง 2500
  • 12. การปฏิวัติรัสเซียมีเป้าหมายล้มล้างระบบซาร์ ( ระบบกษัตริย์ ) ของรัสเซีย และมุ่งสถาปนาระบอบคอมมูนิสม์ขึ้นในรัสเซีย พระเจ้าซาร์แห่งรัสเซีย ตอน 6 : หลัง 2500
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17. หลังการปฏิวัติจีน ขบวนการปฏิวัติ / ขบวนการคอมมูนิสม์เคลื่อนตัวลงใต้ คือ เคลื่อนเข้ามาใน เวียตนาม ลาว เขมรและไทย การเคลื่อนตัวลงใต้ของขบวนการคอมมูนิสม์ในเวียตนาม ลาว และเขมร มีที่มาจากแหล่งเดียวกัน คือ นักศึกษาในฝรั่งเศส ตอน 6 : หลัง 2500
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24. ตอน 6 : หลัง 2500
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29.
  • 30. การเคลื่อนไหว ของนักศึกษา 14 ตุลาคม 2516 ตอน 6 : หลัง 2500
  • 31. กล่าวตามความจริงแล้ว นักศึกษาชาวสยามได้เข้ามามีส่วนร่วมในทางการเมืองนับตั้งแต่ในยุค สมบูรณาญาสิทธิราชย์ และหากจะกล่าวตามความเป็นจริงแล้วการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ก็เป็นขบวนการที่กระทำโดยนักศึกษานอก โดยเฉพาะนักศึกษาในฝรั่งเศสและอังกฤษ คนอย่างปรีดี พนมยงค์ซึ่งถือว่าเป็นมันสมองของคณะราษฎรก็คือนักศึกษาวิชากฎหมายในฝรั่งเศสและการเป็นคณะราษฎรก็ก่อตัวตั้งแต่สมัยที่ปรีดีเรียนหนังสือในฝรั่งเศส ตอน 6 : หลัง 2500
  • 32. แต่คณะราษฎรก็ไม่อาจจะถือว่าเป็นขบวนการนักศึกษาซะทีเดียว เพราะเป็นเพียงนักศึกษาจำนวนน้อย และการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ก็มิใช่ขบวนการประชาชน และมิใช่ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม ( social movement ) อย่างแท้จริง กล่าวให้ถึงที่สุดแล้ว 2475 คือการยึดอำนาจจากสถาบันพระมหากษัตริย์โดยคณะทหารและมีพลเรือนเข้าร่วมเพียงไม่กี่คน ตอน 6 : หลัง 2500
  • 34. และ 14 ตุลาคม 2516 ก็อาจจะเป็นขบวนการเคลื่อนทางสังคมที่ใหญ่ที่สุดในสังคมไทย ตอน 6 : หลัง 2500
  • 36. เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 แม้จะเรียกว่าขบวนการนักศึกษา แต่ผู้เข้าร่วมใน 14 ตุลา มิได้มีเฉพาะนักศึกษา แต่รวมถึงนักเรียนด้วย ตอน 6 : หลัง 2500
  • 38. การเติบโตและขยายของนักเรียน นิสิต นักศึกษาในไทย นักเรียน นิสิต นักศึกษาผู้เป็นองค์ประกอบของ 14 ตุลา ล้มล้างอำนาจเผด็จการทหารมิใช่ใครอื่น แต่เป็นผลผลิต ของเผด็จการทหารนั้นเอง ตอน 6 : หลัง 2500
  • 39. ด้วยนโยบายการพัฒนาและนโยบายด้านการศึกษา ของรัฐตั้งแต่สมัยรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ มีการขยายการศึกษาระดับอุดมศึกษาออกไปอย่างกว้างขวางมากกว่ายุคก่อนหน้า ส่งผลให้นักศึกษาและปัญญาชนขยายตัวมากขึ้น การขยายตัวมาพร้อมกับการขยายตัวของมหาวิทยาลัย ซึ่งขยายมากขึ้นในช่วงนับตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 1 เป็นต้นมา การขยายตัวของมหาวิทยาลัยดำเนินควบคู่ไปกับการขยายตัวของโรงเรียน ตอน 6 : หลัง 2500
  • 40. จำนวนนักเรียน - นักเรียนมัธยมของรัฐ 195,936 คนเมื่อปี 2007  216, 621 คนในปี 2510 จำนวนนักศึกษา - นักศึกษาในมหาวิทยาลัยของรัฐ 15,000 คนเมื่อปี 2004  50,000 คนในปี 2516 - นักเรียนมัธยมของเอกชน 151,728 คนเมื่อปี 2007  228,495 คนในปี 2510 - นักศึกษาไทยที่ไปศึกษาในต่างประเทศมีประมาณ 50 ,000 คนในปี 2516 - ปี 2515 ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประไทยระบุว่ามีสมาชิก 1 แสนตน ตอน 6 : หลัง 2500
  • 41. ก่อน 14 ตุลา นิสิตนักศึกษาส่วนใหญ่ยังคงดำเนินชีวิตแบบ “สายลมแสงแดด” ... กูเป็นนิสิตนักศึกษา วาสนาสูงส่งสโมสร ย่ำค่ำนี่จะย่ำไปงานบอลล์ เสพเสน่ห์เกสรสุมาลี กูเป็นนิสิตนักศึกษา พริ้งสง่างามผงาดเพียงราชสีห์ มันสมองของสยามธานี ค่ำนี้กูจะนาบให้หนำใจ ... ... กูเป็นนิสิตนักศึกษา หรูหราแหลมหลักอัครฐาน พรุ่งนี้ก็ต้องไปร่วมงาน สังสรรค์ในระดับปริญญา ได้โปรดฟังกูเถิดสักนิด กูเป็นนิสิตนักศึกษา เงียบโว้ย - ฟังกู -- ปรัชญา กูอยู่มหาวิทยาลัย … ... กูอยู่มหาวิทยาลัย รู้ไหม เห็นไหม ดีไหม อีกไม่นานเราก็ต่างจะตายไป กอบโกยใส่ตัวเองเสียก่อนเอย . สุจิตต์ วงษ์เทศ ตอน 6 : หลัง 2500
  • 42. แต่เยาวชน - คนหนุ่มสาว - รุ่นใหม่บางส่วนก็เริ่มตั้งคำถามต่อความไม่พัฒนาของการเมืองการปกครองไทย พร้อม ๆ กับตั้งคำถามต่อการเมืองโลกในยุคสงครามเย็น เช่นเดียวกับขบวนการนักศึกษาทั่วโลก ผลักดันให้พวกเขาก้าวเข้าไปมีบทบาททางสังคมอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน ขบวนการนิสิตนักศึกษาเริ่มก่อตัวด้วยเวทีแลกเปลี่ยนความคิดที่สำคัญในยุคนั้น คือ สังคมศาสตร์ปริทัศน์ เป็นนิตยสารราย 3 เดือน ของสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประทศไทย ซึ่งออกฉบับปฐมฤกษ์เมื่อเดือนมิถุนายน 2506 และในปี 2509 ตอน 6 : หลัง 2500
  • 43. บรรณาธิการของ สังคมศาสตร์ปริทัศน์ ก็ได้ชวนนิสิตนักศึกษาจากสถาบันต่าง ๆ เข้ามาร่วมกันทำ สังคมศาสตร์ปริทัศน์ฉบับนิสิตนักศึกษา นำไปสู่การตั้งกลุ่ม “ปริทัศน์เสวนา” เพื่อพบปะพูดคุยกันถึงปัญหาสังคมและเรื่องราวที่น่าสนใจ     นอกจากนิตยสารของปัญญาที่เผยแพร่ในสังคมวงกว้างแล้ว ในรั้วมหาวิทยาลัยเองคนหนุ่มสาวก็ตื่นตัวในการจัดทำหนังสือรายสะดวกจำหน่ายแจกจ่ายกันมากขึ้น ซึ่งมักเรียกกันว่า “หนังสือเล่มละบาท” ผู้จัดทำมีตั้งแต่สโมสรนักศึกษาคณะต่าง ๆ ไปถึงระดับชมรมและกลุ่มอิสระต่าง ๆ ตอน 6 : หลัง 2500
  • 44. กิจกรรมการแสดงความคิดเห็นผ่าน “หนังสือเล่มละบาท” ได้แพร่หลายเป็นวัฒนธรรมของนักศึกษาแทบทุกมหาวิทยาลัย โดยมีเนื้อหาที่เปลี่ยนจากแนวเพ้อฝันสายลมแสงแดดไปสู่เรื่องที่มีเนื้อหาจริงจังและวิพากษ์วิจารณ์มากขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะหนังสือของกลุ่มคนหนุ่มสาวที่สนใจสถานการณ์สังคมแล้วรวมตัวกันเป็น “กลุ่มอิสระ” ตามสถาบันการศึกษาต่าง ๆ เช่น ชมรมนิติศึกษา กลุ่มเศรษฐธรรม และ สภาหน้าโดมที่ ม . ธรรมศาสตร์ สภากาแฟที่ ม . เกษตรศาสตร์ กลุ่มฟื้นฟูโซตัสใหม่ที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชมรมคนรุ่นใหม่ที่ ม . รามคำแหง กลุ่มนักศึกษาหัวก้าวหน้าที่ ม . เชียงใหม่ ฯลฯ ซึ่งมักจะจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและออกหนังสือรายสะดวกยืนขายตามหน้าประตูมหาวิทยาลัยอยู่เสมอ ตอน 6 : หลัง 2500
  • 45.     หนังสือ คัมภีร์ ที่มีการเรียกร้องให้คนหนุ่มสาวคนรุ่นใหม่ยอมเสียสละเพื่อก้าวไปสู่ระบบเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมที่ดีกว่า ทำโดยนักศึกษารัฐศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เมื่อเดือนกรกฎาคม 2513      หนังสือ ภัยขาว ที่มุ่งเปิดโปงนโยบายและพฤติกรรมของอเมริกาในประเทศด้อยพัฒนา โดยเฉพาะในสงครามเวียดนามและในประเทศไทย ทำออกมาขายเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2514 โดยกลุ่มสภาหน้าโดม ซึ่งก่อนหน้านั้น สังคมศาสตร์ปริทัศน์ ได้ออกฉบับ “ภัยเหลือง” เพื่อวิพากษ์วิจารณ์จักรวรรดินิยมญี่ปุ่น     หนังสือ วลัญชทัศน์ ฉบับ “ภัยเขียว” ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ออกมาวิพากษ์วิจารณ์เผด็จการทหารหลังเกิดการรัฐประหารตัวเองของจอมพลถนอมในวันที่ 17 พฤศจิกายน 2514 ตอน 6 : หลัง 2500
  • 46. ฉันเยาว์ ฉันเขลา ฉันทึ่ง ฉันจึงมาหาความหมาย ฉันหวังเก็บอะไรไปมากมาย สุดท้ายให้กระดาษฉันแผ่นเดียว เพียงหวังจะเฟื่องฟุ้ง หรือจึงมุ่งมาศึกษา เพียงเพื่อปริญญา เอาตัวรอดเท่านั้นฤๅ แท้ควรสหายคิดและตั้งจิตร่วมยึดถือ รับใช้ประชาคือปลายทางเราที่เล่าเรียน ตอน 6 : หลัง 2500
  • 47. ในด้านการรวมตัวกันระหว่างนิสิตนักศึกษาระหว่างสถาบันต่าง ๆ ก็เริ่มเป็นรูปเป็นร่างมากขึ้น จนกระทั่งมีการจัดตั้ง “ศูนย์กลางนิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย ( ศนท .)” ขึ้นเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2513 โดยมีสมาชิกระดับอุดมศึกษา 11 สถาบัน ( ได้แก่ ม . เกษตรศาสตร์ ม . ขอนแก่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ม . เชียงใหม่ ม . ธรรมศาสตร์ วิทยาลัยวิชาการศึกษาทั่วประเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ม . สงขลานครินทร์ ม . ศิลปากร ม . รามคำแหง และ ม . มหิดล ) ซึ่งกิจกรรมของ ศนท . ในช่วงแรกส่วนใหญ่เป็นกิจกรรมทางสังคมปกติ เช่น จัดรายการช่วยผู้ประสบภัย จัดรายการถวายพระพร จัดแนะแนวการศึกษาแก่นักเรียน ออกร้านขายอาหารเพื่อหาทุน เป็นต้น กระทั่งในปี 2515 ศนท . จึงเริ่มมีกิจกรรมที่แสดงบทบาททางสังคมการเมืองมากขึ้น ตอน 6 : หลัง 2500
  • 48. สายธารความคิด    การก่อตัวทางปัญญาและความเคลื่อนไหวทางความคิดของนักศึกษาและปัญญาชนไทยในขณะนั้น ได้รับอิทธิพลทั้งจากบริบททางการเมืองภายในและภายนอกประเทศ    ขบวนการนักศึกษาปัญญาชนก่อน 14 ตุลา มีลักษณะหลากหลายทางอุดมการณ์ คือ มีทั้ง “ชาตินิยม” ที่เห็นว่าเผด็จการทหารทำให้ประเทศต้องเสียเอกราชและอธิปไตยในยุคอเมริกันในไทย มีทั้ง “ซ้ายใหม่” จากขบวนการคนหนุ่มสาวในต่างประเทศ บวก “ซ้ายเก่า” จากนักคิดสังคมนิยมไทยในช่วงทศวรรษ 2490 และมีทั้งแนวคิด “กษัตริย์ประชาธิปไตย” ซึ่งก่อตัวขึ้นมาท่ามกลางกระแสยกย่องเชิดชูสถาบันกษัตริย์ ตอน 6 : หลัง 2500
  • 49. Karl Marx Frederick Engels อิทธิพลนักคิดต่อขบวนการ 14 ตุลาคม 2516 ตอน 6 : หลัง 2500
  • 50. Leon Trotsky V.I. Lenin ตอน 6 : หลัง 2500
  • 51. Mao Zedong Joseph Stalin ตอน 6 : หลัง 2500
  • 52. Che Guevara ตอน 6 : หลัง 2500
  • 54. ในฟ้าบ่อมีน้ำ            ในดินซ้ำมีแต่ทราย น้ำตาที่ตกราย                     คือเลือดหลั่งลงโลมดิน สองมือเฮามีแฮง                 เสียงเฮาแย้งมีคนยิน สงสารอีศานสิ้น                  อย่าซุด , สู้ด้วยสองแขน พายุยิ่งพัดอื้อ                     ราวป่ารื้อราบทั้งแดน อีศานนับแสนแสน               สิจะพ่ายผู้ใดหนอ ? นายผี " อัศนี พลจันทร์ http://www.youtube.com/watch?v=uvu2D3l03Jc ตอน 6 : หลัง 2500
  • 55. เหตุการณ์ที่ทำให้นักศึกษาก่อหวอด ( นอกประเทศ ) 1. Paris 1968 ( พ . ศ . 2511 ) นักศึกษาก่อหวอดเดินขบวนประท้วงระบบอำนาจนิยมในมหาวิทยาลัย ตอน 6 : หลัง 2500
  • 56. 2. Korea 1960 ( พ . ศ . 2503 ) นักศึกษาเกาหลีใต้ประท้วงถอด Syngman Rhee ผู้นำประเทศออกจากอำนาจ ตอน 6 : หลัง 2500
  • 57. 3. Indonesia 1965 ( พ . ศ . 2508 ) นักศึกษาก่อหวอดประท้วง ถอด Sukarno ผู้นำประเทศ ตอน 6 : หลัง 2500
  • 58. 4. 1960s นักศึกษาในอินเดีย ปากีสถาน พม่า ศรีลังกา มาเลเชียและสิงคโปร์ก่อหวอดประท้วงอำนาจการกดขี่ของรัฐบาล ตอน 6 : หลัง 2500
  • 59. 5. 1968 ในอินโดจีน ปี 1965 สหรัฐฯต้องเพิ่มกำลังทหารเข้าไปในเวียตนามใต้ โดยมีจำนวนทหารประจำการสูงสุดถึง 500,000 นาย สถานการณ์ทางการ เมืองเริ่มมั่นคงขึ้น เมื่อเหงียนวันเทียวขึ้นเป็นประธานาธิบดี เพราะการปกครองในรูปแบบเผด็จการทางทหาร ตอน 6 : หลัง 2500
  • 60. แต่เมื่อถึงเทศกาลตรุษญวนในปี 1968 ซึ่งฝ่ายเวียตนามเหนือและเวียตกงดำเนินการรุกใหญ่ทั่วทั้งประเทศ เมืองสำคัญบางเมืองอย่างเช่นเว้ เมืองหลวงเก่าโดนยึด ยังความเสียหายให้กับสหรัฐฯอย่างมหาศาล และนั่นคือจุดเริ่มขิงการพ่ายแพ้ของสหรัฐอเมริกา อเมริกาเริ่มถอนทหารออกจากเวียตนาม ตอน 6 : หลัง 2500
  • 61. เหตุการณ์ที่ทำให้นักศึกษาก่อหวอด ( ในประเทศ ) 1. กรณีถังแดง ตอน 6 : หลัง 2500
  • 62. ถังแดงคือกรณีชาวบ้าน 3,008 ศพ ที่ถูกสังหารไปในระหว่างปี 2508 ในเหตุการณ์ " ถีบลงเขา เผาถังแดง " คือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ณ ชุมชน ตำบลลำสินธุ์ และชุมชนอื่นๆ ในบริเวณใกล้เคียง ทั้งในเขต อำเภอกงหรา กิ่ง อ . ศรีนครินทร์ และอำเภออื่นๆ ใน จังหวัดพัทลุง ซึ่งถูกตราหน้าว่า " คอมมิวนิสต์ " การก่อสร้างอนุสรณ์สถานวีรชนถังแดง ตอน 6 : หลัง 2500
  • 63. ๏ เหตุการณ์ปีหนึ่งห้า ..................... ขอยกมาเพื่อรำลึก เพื่อให้ไทยสำนึก ............................ ประวัติศาสตร์ที่พลาดพลั้ง ๏ น้ำมันสองร้อยลิตร ..................... ที่สถิตอยู่สะพรั่ง จับไทยไปใส่ถัง ............................. แล้วก็เผาเป็นเถ้าถ่าน ๏ พ่อจ๋าพ่ออยู่ไหน ......................... แม้ร่างไร้จิตวิญญาณ ไม่มีให้ลูกหลาน .............................. ทำพิธีทางศาสนา ๏ ๓๐๐๘ ชีวิต ............................... ใครลิขิตดวงชะตา อำนาจที่ล้นฟ้า ................................ เผด็จการที่ผลาญชน ๏ ตื่นเถิดไทยทั้งผอง ...................... จงตรึกตรองด้วยเหตุผล อย่าให้ไทยผจญ ............................. กับฝันร้ายนั้นอีกเลย ๚ ตอน 6 : หลัง 2500
  • 64. ตอน 6 : หลัง 2500
  • 65. 2. ฐานทัพอเมริกาในไทย ฐานทัพ มาได้รับการให้ความสำคัญอย่างมากในทางยุทธศาสตร์ เมื่อสหรัฐเข้ามาทำสงครามอินโดจีนต่อจากฝรั่งเศส ฐานทัพเริ่มมีการสร้าง ปรับปรุงขนานใหญ่ในไทยโดยสหรัฐ ตั้งแต่ปี 2498 เป็นต้นมา กว่าจะเสร็จสมบูรณ์ในช่วงรัฐบาลสฤษดิ์และถนอม ตอน 6 : หลัง 2500
  • 66. ถึง พ . ศ . 2516 จึงมีฐานทัพอเมริกาในไทยถึง 12 แห่ง คือ ที่อู่ตะเภา ตาคลี อุบลราชธานี อุดรธานี นครพนม น้ำพอง สัตหีบ ลพบุรี เขื่อนน้ำพุง โคราช และ กาญจนบุรี โดยมีศูนย์บัญชาการใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงเทพฯ มีเครื่องบินสหรัฐประจำในไทยถึง 550 ลำ เพื่อใช้ในการทิ้งระเบิดในลาว เขมร และเวียดนาม ตอน 6 : หลัง 2500
  • 67. มีการประมาณการว่าในช่วงที่สหรัฐมาทำสงครามอินโดจีน และถอนตัวไปในปี 2518 เมื่อพ่ายแพ้ 80% ของปฏิบัติการทางอากาศคือการบินไปทิ้งระเบิดใน 3 ประเทศอินโดจีน มาจากปฏิบัติการของฐานทัพในประเทศไทย จำนวนทหารสหรัฐ ณ จุดที่สูงสุดในปี 2516 มีทหารสหรัฐในไทยประมาณ 48,000 คน นักศึกษาเห็นว่าการดำรงอยู่ของฐานทัพนั้น นอกจากจะเป็นการละเมิดอธิปไตยของประเทศตนเอง คือเรายอมขายอธิปไตยตนเองให้ต่างชาติ แลกกับเม็ดเงินช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและการทหาร ยังเป็นการละเมิดกฎหมายระหว่างประเทศ เนื่องจากไทยไปบุกรุกประเทศเพื่อนบ้าน ทำสงครามที่ไม่ประกาศ B52 ตอน 6 : หลัง 2500
  • 68. 3. การสังหารนักการเมืองหัวก้าวหน้า คือ การสังหารนายถวิล อุดล พร้อมกับ อดีตรัฐมนตรีอีสานอีก 3 คน คือ นายทองอินทร์ ภูรพัฒน์ นายจำลอง ดาวเรือง และนายทองเปลว ชลภูมิ และถูกนำตัวไปที่บริเวณ ทุ่งบางเขน ถนนพหลโยธิน กิโลเมตรที่ 11 โดย กรมตำรวจ ในเวลานั้นอ้างเหตุว่า มีโจรคอมมิวนิสต์มลายู มาชิงตัว 4 อดีตรัฐมนตรี และเกิดการต่อสู้ขึ้น จนทำให้ทั้ง 4 คน ถูกลูกหลงเสียชีวิตทั้งหมด แต่ไม่ใคร่จะมีใครเชื่อข้ออ้างดังกล่าวนัก เมื่อมีนาคม 2492 ตอน 6 : หลัง 2500
  • 69. 4. ญี่ปุ่นครอบเศรษฐกิจไทย “ เมื่อปลายปี พ . ศ . 2515 นักเรียนนักศึกษาไทยได้ดำเนินการต่อต้านสินค้าญี่ปุ่น มาครั้ง หนึ่งแล้ว ซึ่งทางกรุงโตเกียวหวาดวิตกเป็นอันมาก รัฐบาลจึงส่งนายนากาโวเน่ รัฐมนตรี ว่าการค้าต่างประเทศ และอุตสาหกรรมให้เดินทางมากรุงเทพ ฯ เมื่อเดือนมกราคมศกนี้ เพื่อแก้ไขสถานการณ์ด้วยการสนองคำเรียกร้องของไทย ต่อพฤติการณ์ของพ่อค้าญี่ปุ่น และมีผลให้ญี่ปุ่นซื้อข้าวโพด และมันสำปะหลังจากไทยเพิ่มขึ้น” ตอน 6 : หลัง 2500
  • 70. 5. ทุ่งใหญ่นเรศวร การเคลื่อนไหวเรื่องทุ่งใหญ่นเรศวร ที่มีข้าราชการผู้ใหญ่บางคนนำเฮลิคอปเตอร์พานักแสดงไปล่าสัตว์ในเขตป่าสงวนจนเกิดอุบัติเหตุเฮลิคอปเตอร์ตกเป็นเรื่องอื้อฉาว กลุ่มอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ได้ออกมาเปิดเผยถึงเหตุการณ์ที่คณะนายทหารและนายตำรวจชั้นผู้ใหญ่พากันเข้าไปล่าสัตว์ที่ทุ่งใหญ่นเรศวร จังหวัดกาญจนบุรี โดยใช้อาวุธในราชการสงคราม รถจี๊ป แม้กระทั่งเฮลิคอปเตอร์ในการล่าสัตว์ ตอน 6 : หลัง 2500
  • 71. แต่ความได้แตกขึ้นเมื่อในเที่ยวกลับ เฮลิคอปเตอร์ 1 ลำเกิดอุบัติเหตุตกลง ซากสัตว์ป่าที่บรรทุกมากระจายเกลื่อน เกิดการวิพากษ์วิจารณ์ให้มีการสอบสวนเอาความผิดกับคณะบุคคลดังกล่าว แต่จอมพลถนอม และจอมพลประภาส กลับพูดในทำนองว่า คณะบุคคลดังกล่าวไม่ได้เข้าไปล่าสัตว์ หากแต่เข้าไปราชการลับ     เหตุการณ์ล่าสัตว์ที่ทุ่งใหญ่ฯ นี่เอง ที่ทำให้เกิดการคัดชื่อนักศึกษา ม . รามคำแหงจำนวน 9 คนออก เหตุเพราะพวกเขาได้รวมกลุ่มกันออกหนังสือของชมรมคนรุ่นใหม่ชื่อ มหาวิทยาลัยที่ยังไม่มีคำตอบ ซึ่งมีข้อความที่ถากถางรัฐบาลต่อกรณีล่าสัตว์ที่ทุ่งใหญ่ฯ และการต่ออายุราชการของจอมพลถนอม ในฐานะผู้บัญชาการทหารสูงสุด และจอมพลประภาส ในฐานะผู้บัญชาการทหารบกอีกคนละ 1 ปี ตอน 6 : หลัง 2500
  • 72. จากกรณีลบชื่อนักศึกษาออกนี่เอง ทำให้นักศึกษารามคำแหงรวมตัวประท้วงคำสั่งของ ดร . ศักดิ์ ผาสุขนิรันดร์ อธิการบดี โดยมี ศนท . เข้าร่วมสนับสนุนด้วย การประท้วงจึงมีนิสิตนักศึกษาจากทุกสถาบันนับหมื่นคนเข้าร่วมเดินขบวนประท้วงจากทบวงมหาวิทยาลัยไปที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยระหว่างวันที่ 21-22 มิถุนายน 2516 โดยในระยะแรก การเรียกร้องของนักศึกษาต้องการเพียงให้ ม . รามคำแหงรับนักศึกษาทั้ง 9 คนกลับเข้าเรียนดังเดิม และเรียกร้องให้อธิการบดีลาออก แต่ต่อมาก็มีการเรียกร้องเพิ่มเติมให้รัฐบาลคืนอำนาจการปกครองแก่ประชาชน และประกาศใช้รัฐธรรมนูญภายใน 6 เดือน ผลการประท้วงทำให้นักศึกษาทั้ง 9 คนได้กลับเข้าเรียนตามปกติ ดร . ศักดิ์ ผาสุขนิรันดร์ ก็ลาออกจากตำแหน่งอธิการบดี และรัฐบาลสัญญาว่าจะให้รัฐธรรมนูญในเร็ววัน ซึ่งบรรดาผู้นำนักศึกษาได้ให้คำมั่นสัญญากับผู้ชุมนุมว่า อีก 6 เดือนถ้ารัฐบาลไม่ยอมคืนรัฐธรรมนูญให้ประชาชน ก็ขอให้ทุกคนมาพบกันเพื่อทวงถามด้วยการเดินขบวนประท้วง ตอน 6 : หลัง 2500
  • 73. จากเหตุการณ์นี้ทำให้กลุ่มผู้นำนักศึกษา ตลอดจนอาจารย์มหาวิทยาลัย นักการเมือง นักหนังสือพิมพ์ และผู้สนใจ ร่วมกันก่อตั้ง “กลุ่มเรียกร้องรัฐธรรมนูญ” ขึ้น แล้วในเวลาต่อมาก็มีการร่วมเซ็นชื่อในคำประกาศเรียกร้องรัฐธรรมนูญ 100 คน จนกระทั่งเกิดการจับกุมสมาชิก “กลุ่มเรียกร้องรัฐธรรมนูญ” ที่ออกเดินรณรงค์ แจกใบปลิวและหนังสือเรียกร้องรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2516 กลายเป็นจุดชนวนประวัติศาสตร์นำไปสู่เหตุการณ์ “ 14 ตุลา” ในที่สุด ตอน 6 : หลัง 2500
  • 74. ตอน 6 : หลัง 2500
  • 75. ตอน 6 : หลัง 2500
  • 76. เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ตอน 6 : หลัง 2500
  • 77. ตอน 6 : หลัง 2500
  • 78. ตอน 6 : หลัง 2500
  • 80. ตอน 6 : หลัง 2500
  • 81. ตอน 6 : หลัง 2500
  • 82. ตอน 6 : หลัง 2500
  • 83. ตอน 6 : หลัง 2500
  • 84. ตอน 6 : หลัง 2500
  • 85. ตอน 6 : หลัง 2500
  • 86. ตอน 6 : หลัง 2500
  • 87. ตอน 6 : หลัง 2500
  • 88. เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ตอน 6 : หลัง 2500
  • 89. ตอน 6 : หลัง 2500
  • 90. แม้จะตายไปแต่นักศึกษาก็สามารถล้มอำนาจถนอม - ประภาส และก่อให้เกิดการเมืองแบบประชาธิปไตยอีกครั้ง 14 ตุลา – 6 ตุลา จึงเป็นยุคประชาธิปไตยเบ่งบาน ในช่วง 14 ตุลา – 6 ตุลา นักศึกษาทำอะไร ตอน 6 : หลัง 2500
  • 91. = เข้าหามวลชน / GO TO THE PEOPLE * ดอกไม้ ดอกไม้จะบาน บริสุทธิ์กล้าหาญจะบานในใจ สีขาว หนุ่มสาวจะใฝ่ แน่วแน่แก้ไขจุดไฟศรัทธา ** เรียนรู้ต่อสู้มายา ก้าวไปข้างหน้า เข้าหามวลชน ชีวิตอุทิศยอมตน ฝ่าความสับสันเพื่อผลประชา *** ดอกไม้บานให้คุณค่า จงบานช้าๆ แต่ว่ายั่งยืน ที่นี่และที่อื่นๆ ดอกไม้สดชื่นยื่นให้มวลชน ตอน 6 : หลัง 2500
  • 92. มวลชนที่นักศึกษาเข้าเป็นใคร 1. กรรมกร นักศึกษาเข้าไปจัดตั้ง โดยเฉพาะในเขตอ้อมน้อย อ้อมใหญ่ การรถไปและอื่นๆ ตอน 6 : หลัง 2500
  • 93. 2. ชาวนา - ชาวไร่ ตอน 6 : หลัง 2500
  • 94. นักศึกษาบางคนอย่าง สมคิด สิงสง กลับบ้านเกิดตัวเอง ร่วมกับเพื่อนคือ ประเสริฐ จันดำ คือกลับไปที่บ้านซับแดง ตำบลโพธิ์ไชย อำเภอมัญจาคีรี ( ขณะนี้คือตำบลซับสมบูรณ์ กิ่งอำเภอโคกโพธิ์ไชย ) จังหวัดขอนแก่น เพื่อสร้างหมู่บ้านของตนเป็นหมู่บ้านทดลอง หมู่บ้านที่เป็นแกนนำในการขจัดอำนาจนาทุน และการเอารัดเอาเปรียบของคนในชุมชน ประเสริฐ จันดำ สมคิด สิงสง ตอน 6 : หลัง 2500
  • 95. นักศึกษาบางคนเข้าไปสนับสนุนการก่อตั้ง สหพันธ์ชาวนาชาวไร่ แห่งประเทศไทย และมีการก่อตั้งกันเป็นเครือข่ายทั่วประเทศ เคลื่อนไหวเพื่อสิทธิและผลประโยชน์ของชาวนา ตอน 6 : หลัง 2500
  • 96. จาก 14 ตุลาคม 2516-6 ตุลาคม 2519 เป็นยุคที่มีการเคลื่อนไหวทางสังคมหนาแน่นที่สุด มีการประเมินกันว่าในช่วงเวลาดังกล่าว มีการประท้วงเดินขบวนไม่น้อยกว่า 5,000 ครั้ง ตอน 6 : หลัง 2500
  • 97. เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ตอน 6 : หลัง 2500
  • 98.
  • 99.
  • 100.
  • 101.
  • 102.
  • 103.
  • 104.
  • 105.
  • 106.
  • 107.
  • 108.
  • 109.
  • 110. เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ตอน 6 : หลัง 2500
  • 111. เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ตอน 6 : หลัง 2500
  • 112. เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ตอน 6 : หลัง 2500
  • 113. เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ตอน 6 : หลัง 2500
  • 114. เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ตอน 6 : หลัง 2500
  • 115. เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ตอน 6 : หลัง 2500
  • 116. เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ตอน 6 : หลัง 2500
  • 117. ตอน 6 : หลัง 2500
  • 118. เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ตอน 6 : หลัง 2500
  • 119. เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ตอน 6 : หลัง 2500
  • 120. เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ตอน 6 : หลัง 2500
  • 121. เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ตอน 6 : หลัง 2500
  • 122. เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ตอน 6 : หลัง 2500
  • 123. เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ตอน 6 : หลัง 2500
  • 124. เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ตอน 6 : หลัง 2500
  • 125. เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 ตอน 6 : หลัง 2500
  • 126. หลังการสังหารก็คือความโกรธแค้นดังสะท้อนในเพลง จากภูพานถึงลานโพธิ์ ของวัฒน์ วรรลยางกูร และเพลงถั่งโถมโหมแรงไฟของคาราวาน ตอน 6 : หลัง 2500
  • 127. จากภูพานถึงลานโพธิ์ ดินสอโดมธรรมศาสตร์เด่นสู้ศึก เพื่อจารึกหนี้เลือดอันเดือดดับ หกตุลาเพื่อนเราล่วงลับ มันแค้นคับเดือดระอุอกคุไฟ เรามีเพียงมือเปล่ามันล้อมปราบ ระเบิดบาปกระสุนบ้ามาสาดใส่ เสียงเสมือนแตรงานศพซบสิ้นใจ สนามหญ้าคลุ้งกลิ่นไอคาวเลือดคน มันตามจับตามฆ่าล่าถึงบ้าน อ้างหลักฐานจับเข้าคุกทุกแห่งหน เราอดทนถึงที่สุดก็สุดทน จึงเปลี่ยนหนทางสู้ขึ้นภูพาน อ้อมอกภูพานคือชีวิตใหม่ คือมหาวิทยาลัยคนกล้าหาญ จะโค่นล้มไล่เฉดเผด็จการ อันธพาลอเมริกาอย่าหวังครอง สู้กับปืนต้องมีปืนยืนกระหน่ำ พรรคชี้นำตะวันแดงสาดแสงส่อง จรยุทธนำประชาสู่ฟ้าทอง กรรมาชีพลั่นกลองอย่างเกรียงไกร ในวันนี้ลานโพธิ์ธรรมศาสตร์อาจเงียบหงอย ก็เพียงช่วงรอคอยสู่วันใหม่ วันกองทัพประชาชนประกาศชัย จะกลับไปกรีดเลือดพาลล้างลานโพธิ์
  • 128. ถั่งโถม .. โหมแรงไฟ ปฏิวัติโค่นล้มสังคมแบบเก่า ปฏิวัติเพื่อเราประชาชาติไทย มาร่วมกันดันกงล้อประวัติศาสตร์ สู่เอกราชจริงแท้และสดใส จับอาวุธถั่งโถมโหมแรงไฟ เพื่อก้าวไกลแห่งสังคมอุดมการณ์ ทหารแห่งประชาทำหน้าที่ กำจัดเหล่าไพรี ปฏิกิริยา ความลำบากนั่นคือมิตรล้างอุปสรรค โค่นจักรพรรดิฟาสซิสต์และศักดินา มันก่อกรรมทำร้ายเราเรื่อยมา ชาติประชาเป็นดังผู้พลีกรรม มวลชนดั่งผนังทองแดงกำแพงเหล็ก เอกลักษณ์นี่แหละหนาใช่คนต้อยต่ำ คือผู้ยืนอยู่ยงคงทนยิ่ง ทุกอย่างสิ่งผลิตผลมวลชนทำ เรานักรบแห่งประชามาก้าวนำ มือจักกำปืนกล้าประกาศชัย อำนาจรัฐจักได้มาด้วยกระบอกปืน ปืนต่อปืนมันยิงมาเรายิงไป ติดอาวุธความคิดพิชิตศึก ปลุกสำนึกปลดปล่อยและปลุกใจ   ตอน 6 : หลัง 2500
  • 129. ถั่งโถม .. โหมแรงไฟ ( ต่อ ) ** ปฏิวัติโค่นล้มสังคมแบบเก่า ปฏิวัติเพื่อเราประชาชาติไทย มาร่วมกันดันกงล้อประวัติศาสตร์ สู่เอกราชจริงแท้และสดใส จับอาวุธถั่งโถมโหมแรงไฟ เพื่อก้าวไกลแห่งสังคมอุดมการณ์ จับอาวุธถั่งโถม… .. โหมแรงไฟ เพื่อก้าวไกลแห่งสังคม… .. อุดมการณ์ ตอน 6 : หลัง 2500
  • 130. หลัง 2519 นักศึกษาเข้าร่วมกับพรรคคอมมูนิสม์แห่งประเทศไทย . ตอน 6 : หลัง 2500