SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
Télécharger pour lire hors ligne
แบบบันทึกผลการทดลอง
ปฏิบัติการ การสกัดคาเฟอีนจากกาแฟ
วัน พฤหัสบดี ที่ 7 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 เวลา 08:20 - 17:45 น.
สมาชิกกลุ่ม
1. ชื่อนางสาวเยาวภา สมฤทธิ์ รหัสนักศึกษา 53191410201
2. ชื่อนายวิระทิน ควรสุข รหัสนักศึกษา 53191410216
3. ชื่อนายศิริพงศ์ แสงทอง รหัสนักศึกษา 53191410219
4. ชื่อนายเสกสรร สุขตัน รหัสนักศึกษา 53191410222
5. ชื่อนางสาวสุมาตรา ศิลาชัย รหัสนักศึกษา 53191410230
6. ชื่อนางสาวสุมาพร ดวงทอง รหัสนักศึกษา 53191410231
7. ชื่อนายสุรชัย เอี่ยมสุข รหัสนักศึกษา 53191410232
8. ชื่อนางสาวอรวรรณ รัมพณีนิล รหัสนักศึกษา 53191410241
9. ชื่อนางสาวไอลดา ศรีดา รหัสนักศึกษา 53191410242
10. ชื่อนางสาวณัฐพร ขาวิราช รหัสนักศึกษา 53191410249
ผู้ควบคุม อาจารย์วิสิทธิ์ มนต์ทอง และ นายศักดิ์ชัย ขาวงาม
.........................................................................................................................................................
ข้อมูลดิบ
ยี่ห้อกาแฟ เนสกาแฟ ปริมาณที่ใช้ 25 กรัม
สีของกาแฟ สีน้าตาลด้า ลักษณะ เป็นผงหยาบ ขนาดเล็ก กลิ่นฉุน
ตอนที่ 1 การแยกสารด้วยเทคนิค TLC
ตารางที่ 1 ผลึกของคาเฟอีนที่ได้จากการแยกสารของกากกาแฟ
ผลึก ลักษณะที่ได้
ก่อนตกผลึก ของเหลว มีสีน้าตาลค่อนข้างเข้ม แต่ใส มีกลิ่นกาแฟเล็กน้อย
ผลึกคาเฟอีน ผลึกสีน้าตาลอ่อน คล้ายสีชา ลักษณะเป็นแผ่นวงกลมแบน
หลังตกผลึก ของเหลว สีขาว ขุ่นเล็กน้อย
การคานวณหาค่า Rf ของคาเฟอีน
จากสูตร
Rf = ก่อนตกผลึก+ตกผลึก+หลังตกผลึก
3.8 cm
= 2.9 + 2.8 + 2.6
3.8 cm
= 0.72
สรุปผลการทดลอง
จากการทดลอง พบว่า เมื่อน้ากาแฟไปต้ม ผ่านกรรมวิธีทางเคมีจนกระทั่งน้าไปกรองและท้าการตก
ผลึก ลักษณะของผลึกคาเฟอีนที่ได้ เป็นผลึกที่มีสีน้าตาลอ่อนคล้ายสีชา ลักษณะเป็นแผ่นกลมแบนบางๆ และ
สารที่ได้ก่อนการตกผลึกมีลักษณะเป็นของเหลวมีสีน้าตาลค่อนข้างเข้ม แต่ใส มีกลิ่นกาแฟเล็กน้อย และสุท้าย
คือสารหลังจากการตกผลึกแล้วโดยผ่านการกรองมีลักษณะของเหลว สีขาว ขุ่นเล็กน้อย และเมื่อน้าสารที่ได้
จากการกรองและตกผลึกแล้วไปแยกสารด้วยเทคนิค TLC จากแผ่น TLC เมื่อน้าไปแช่ในตัวดูดซับที่ใช้ระบบ
ปิดโดยแช่ไดคลอโรมีเทน : เมทานอลที่อัตราส่วน 3:7 เราจะเห็นได้ว่าก่อนตกผลึกมีการเคลื่อนตัวได้เร็วกว่า
ผลึกและหลังตกผลึก ซึ่งผลึกคาเฟอีนของเราอยู่ต้าแหน่งตรงกลางมีการเคลื่อนตัวค่อนข้างจะใกล้เคียงกับหลัง
ตกผลึก และมีค่า Rf เท่ากับ 0.72
อภิปรายผลการทดลอง
จากทฤษฎีสารที่ต้องการแยกมาละลายในตัวท้าละลายที่เหมาะสมแล้วให้เคลื่อนที่ไปบนตัว ดูด
ซับ การเคลื่อนที่ของสารบนตัวดูดซับขึนอยู่กับความสามารถในการละลายของ สารแต่ละชนิดในตัวท้า
ละลาย และความสามารถในการดูดซับที่มีต่อสารนัน กล่าว คือ สารที่ละลายในตัวท้าละลายได้ดี และถูกดูด
ซับน้อยจะถูกเคลื่อนที่ออกมา ก่อนนั่นคือสารก่อนตกผลึก ส่วนสารที่ละลายได้น้อยและถูกดูดซับได้ดี จะ
เคลื่อนที่ออกมาที หลังนั่นคือ สารของผลึกคาเฟอีนและสารหลังตกผลึกเมื่อค้านวณหาค่าRf มีค่าเท่ากับ
0.72 หากสารมีความสามารถในการละลายสูงจะมีค่า Rf มาก เนื่องจากตัวท้าละลายจะเคลื่อนที่เร็วกว่าสารที่
จะแยก ค่า Rf < 1 เสมอ ถ้าใช้ตัวท้าละลายและตัวดูดซับชนิดเดียวกันปรากฏว่ามีค่า Rf เท่ากัน
ตอนที่ 2 การหาอนุพันธ์ของ Caffeine Salicylate ด้วยเครื่อง Melting point
ตารางที่ 2 จุดหลอมเหลวของ Caffeine Salicylate
Man. Temp (๐
C )
1 162.1
2 162.3
3 162.4
Average 162.27
การหาช่วงอุณหภูมิของ Caffeine Salicylate ด้วยเครื่อง Melting point
ค่าหลอมเหลวของ Caffeine Salicylate หาช่วง Temp แสดงผลของ Caffeine Salicylate
เริ่มต้น
โดยตังค่า
Setpoint : 400 °C
Gradient : 1 °C
Maxpoint : 410 °C
ค่าที่ได้
1. 156.8
2. 163.6
3. 165.8
X =156.5+163.6+165.8 = 162.06 °C
3
นี่คือจุดหลอมเหลวเท่ากับ 162.06 °C ของคาเฟอีนที่ประมาณค่าได้
หลังจากนันน้าไปตังค่า Setpoint และ Maxpoint เพื่อหาจุดหลอมเหลวของคาเฟอีนที่แน่นอน
โดยมีการค้านวณหาค่าของความคลาดเคลื่อนของจุดหลอมเหลวของคาเฟอีนที่ใช้ในช่วงของ Setpoint และ
Maxpoint ที่แน่นอนโดย +15 และ -15 จะได้ค่าดังต่อไปนี
โดยตังค่า
Setpoint : 157 °C
Gradient : 1 °C
Maxpoint : 172 °C
ค่าที่ได้
1. 162.1
2. 162.3
3. 162.4
X =162.1+162.3+162.4 = 162.3 °C
3
ดังนั้น ค่าจุดหลอมเหลวที่แน่นอนของผลึก Caffeine Salicylate อยู่ที่ 162.3 °C
น้ามาแสดงโดยกราฟได้ดังนี
สรุปผลการทดลอง
จากการทดลองพบว่า ลักษณะของผลึก Caffeine Salicylate มีสีขาว เป็นคล้ายผงขนาดเล็กๆและ
เมื่อน้าไปหาจุดหลอมเหลวที่แน่นอนของผลึก Caffeine Salicylate อยู่ที่ 162.3 องศาเซลเซียส หลังจากที่ได้
ท้าการค้านวณหาช่วงอุณหภูมิที่แน่นอนดังที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น จะเห็นได้ว่าค่าของ Setpoint อยู่ที่ 157 องศา
เซลเซียส และ Maxpoint อยู่ที่ 172 องศาเซลเซียส ดังกระดาษข้างต้น
อภิปรายผลการทดลอง
จากการทดลอง ในการศึกษาผลึกของคาเฟอีนที่มีอยู่ในกาแฟ ซึ่งในการทดลองครังนีเลือกใช้กาแฟ
เนสกาแฟพบว่ากาแฟที่ใช้ทังหมด 25 กรัม ให้ผลึกคาเฟอีนค่อนข้างปริมาณมากซึ่งผลึกของคาเฟอีนมีลักษณะสี
ชา หรือสีน้าตาลอ่อนๆนั่นเองทังนีอาจเป็นเพราะสีของกาแฟจึงท้าให้ผลึกมีสีเมื่อน้าไปท้าการเตรียมอนุพันธ์
เพื่อหาจุดหลอมเหลวพบว่า จุดหลอมเหลวของคาเฟอีนซาลิไซเลตเฉลี่ยแล้วมีค่าเท่ากับ 162.3 องศาเซลเซียส
ซึ่งตามทฤษฎีแล้วจุดหลอมเหลวของคาเฟอีนจะอยู่ที่ 178 องศาเซลเซียส จากการทดลองจุดหลอมเหลวมีค่า
แตกต่างกับผลึกคาเฟอีนตามทฤษฎีอยู่ประมาณ 15.7 องศาเซลเซียส
161.9
162
162.1
162.2
162.3
162.4
162.5
1 2 3
Melting
point
Man.
จุดหลอมเหลวของคาเฟอีน
ปัญหาและอุปสรรค์ในการทดลอง
1. จากการทดลองมีขันตอนที่ต้องเขย่าสารละลายกาแฟเพื่อให้ได้ส่วนของสารละลายที่จะน้าไปตกผลึก
ต่อไปเกิดอิมัลชัน สาเหตุมาจากผู้จัดท้าได้ท้าการเขย่ากรวยแยกแรงเกินไป จึงท้าให้เกิดอิมัลชันขึนท้าให้
เสียเวลาในการกรองเป็นอย่างมาก
2. ในการแยกสารเมื่อสารละลายแยกชันแล้ว ผู้จัดท้าได้ท้าการทดลองพลาด คือ ปล่อยสารในส่วนที่ไม่
ต้องการออกมาด้วยจึงต้องท้าการแยกสารใหม่อีกครัง อันเป็นเหตุท้าให้การทดลองล่าช้าและใช้เวลามากกว่า
ปกติ
วิธีการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค์ในการทดลอง
1. ไม่ควรเขย่าสารละลายแรงเมื่อต้องการแยกสารนันๆออก ด้วยกรวยแยก
2. ควรปล่อยสารละลายที่แยกชันออกมาจากกรวยกรองอย่างช้าๆ และทีละเล็กน้อย
ภาคผนวก
ภาพการทดลองการแยกสารด้วยเทคนิค TLC
ภาพการหาจุดหลอมเหลวของคาเฟอีนซาลิไซเลต
บรรณานุกรม
http://th.wikipedia.org
www.chemistry.sc.chula.ac.th/.../chapter10
www.google.co.th//
http://shawaphon.wordpress.com

Contenu connexe

Tendances

แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
Mam Chongruk
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
10846
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
พัน พัน
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
พัน พัน
 

Tendances (20)

แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
Solubility
SolubilitySolubility
Solubility
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลายการสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
 
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมีการคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
การคำนวณเกี่ยวกับสูตรเคมี
 
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
 
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้นเคมีอินทรีย์เบื้องต้น
เคมีอินทรีย์เบื้องต้น
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bonds
 
แก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติแก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติ
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 

En vedette

สารคาเฟอีนเร่งรากจากเมล็ดกาแฟ
สารคาเฟอีนเร่งรากจากเมล็ดกาแฟสารคาเฟอีนเร่งรากจากเมล็ดกาแฟ
สารคาเฟอีนเร่งรากจากเมล็ดกาแฟ
Ben Sirawan
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
Kaka619
 
การทดลองสบู่เหลว
การทดลองสบู่เหลวการทดลองสบู่เหลว
การทดลองสบู่เหลว
kasetpcc
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ด
Nokko Bio
 
การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2
Jariya Jaiyot
 
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
BELL N JOYE
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ด
Nokko Bio
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
chemnpk
 
โครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพโครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพ
Kris Niyomphandh
 
โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014
Hospital for Health
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
พัน พัน
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
พัน พัน
 

En vedette (19)

สารคาเฟอีนเร่งรากจากเมล็ดกาแฟ
สารคาเฟอีนเร่งรากจากเมล็ดกาแฟสารคาเฟอีนเร่งรากจากเมล็ดกาแฟ
สารคาเฟอีนเร่งรากจากเมล็ดกาแฟ
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
การทดลองสบู่เหลว
การทดลองสบู่เหลวการทดลองสบู่เหลว
การทดลองสบู่เหลว
 
การทำกะหรี่ปั๊บไส้เห็ด
การทำกะหรี่ปั๊บไส้เห็ดการทำกะหรี่ปั๊บไส้เห็ด
การทำกะหรี่ปั๊บไส้เห็ด
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ด
 
การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2
 
Thai rice project malaysia host maket
Thai rice project   malaysia host maketThai rice project   malaysia host maket
Thai rice project malaysia host maket
 
รายงานแลป สบู่(Soap) 2556
รายงานแลป สบู่(Soap) 2556รายงานแลป สบู่(Soap) 2556
รายงานแลป สบู่(Soap) 2556
 
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
บทที่ 5 สรชีวโมเลกุล (เอกสารประกอบการสอน)
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ด
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
โครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพโครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพ
 
โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 

Plus de BELL N JOYE

Lab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and applicationLab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and application
BELL N JOYE
 
Lab 1 calibrations of volumetric glasswars
Lab 1 calibrations of volumetric glasswarsLab 1 calibrations of volumetric glasswars
Lab 1 calibrations of volumetric glasswars
BELL N JOYE
 
โครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atomsโครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atoms
BELL N JOYE
 

Plus de BELL N JOYE (7)

Biochemical Oxygen Demand Test
 Biochemical  Oxygen  Demand  Test  Biochemical  Oxygen  Demand  Test
Biochemical Oxygen Demand Test
 
Lab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and applicationLab 3 complexometric titration and application
Lab 3 complexometric titration and application
 
Lab 1 calibrations of volumetric glasswars
Lab 1 calibrations of volumetric glasswarsLab 1 calibrations of volumetric glasswars
Lab 1 calibrations of volumetric glasswars
 
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม
(6) สื่อ ppt เรื่อง อะตอม
 
พันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bondsพันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bonds
 
โครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atomsโครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atoms
 
พันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bondsพันธะเคมี Part ionic bonds
พันธะเคมี Part ionic bonds
 

Extraction of Caffeine from Coffee

  • 1. แบบบันทึกผลการทดลอง ปฏิบัติการ การสกัดคาเฟอีนจากกาแฟ วัน พฤหัสบดี ที่ 7 เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 เวลา 08:20 - 17:45 น. สมาชิกกลุ่ม 1. ชื่อนางสาวเยาวภา สมฤทธิ์ รหัสนักศึกษา 53191410201 2. ชื่อนายวิระทิน ควรสุข รหัสนักศึกษา 53191410216 3. ชื่อนายศิริพงศ์ แสงทอง รหัสนักศึกษา 53191410219 4. ชื่อนายเสกสรร สุขตัน รหัสนักศึกษา 53191410222 5. ชื่อนางสาวสุมาตรา ศิลาชัย รหัสนักศึกษา 53191410230 6. ชื่อนางสาวสุมาพร ดวงทอง รหัสนักศึกษา 53191410231 7. ชื่อนายสุรชัย เอี่ยมสุข รหัสนักศึกษา 53191410232 8. ชื่อนางสาวอรวรรณ รัมพณีนิล รหัสนักศึกษา 53191410241 9. ชื่อนางสาวไอลดา ศรีดา รหัสนักศึกษา 53191410242 10. ชื่อนางสาวณัฐพร ขาวิราช รหัสนักศึกษา 53191410249 ผู้ควบคุม อาจารย์วิสิทธิ์ มนต์ทอง และ นายศักดิ์ชัย ขาวงาม ......................................................................................................................................................... ข้อมูลดิบ ยี่ห้อกาแฟ เนสกาแฟ ปริมาณที่ใช้ 25 กรัม สีของกาแฟ สีน้าตาลด้า ลักษณะ เป็นผงหยาบ ขนาดเล็ก กลิ่นฉุน
  • 2. ตอนที่ 1 การแยกสารด้วยเทคนิค TLC ตารางที่ 1 ผลึกของคาเฟอีนที่ได้จากการแยกสารของกากกาแฟ ผลึก ลักษณะที่ได้ ก่อนตกผลึก ของเหลว มีสีน้าตาลค่อนข้างเข้ม แต่ใส มีกลิ่นกาแฟเล็กน้อย ผลึกคาเฟอีน ผลึกสีน้าตาลอ่อน คล้ายสีชา ลักษณะเป็นแผ่นวงกลมแบน หลังตกผลึก ของเหลว สีขาว ขุ่นเล็กน้อย การคานวณหาค่า Rf ของคาเฟอีน จากสูตร Rf = ก่อนตกผลึก+ตกผลึก+หลังตกผลึก 3.8 cm = 2.9 + 2.8 + 2.6 3.8 cm = 0.72 สรุปผลการทดลอง จากการทดลอง พบว่า เมื่อน้ากาแฟไปต้ม ผ่านกรรมวิธีทางเคมีจนกระทั่งน้าไปกรองและท้าการตก ผลึก ลักษณะของผลึกคาเฟอีนที่ได้ เป็นผลึกที่มีสีน้าตาลอ่อนคล้ายสีชา ลักษณะเป็นแผ่นกลมแบนบางๆ และ สารที่ได้ก่อนการตกผลึกมีลักษณะเป็นของเหลวมีสีน้าตาลค่อนข้างเข้ม แต่ใส มีกลิ่นกาแฟเล็กน้อย และสุท้าย คือสารหลังจากการตกผลึกแล้วโดยผ่านการกรองมีลักษณะของเหลว สีขาว ขุ่นเล็กน้อย และเมื่อน้าสารที่ได้ จากการกรองและตกผลึกแล้วไปแยกสารด้วยเทคนิค TLC จากแผ่น TLC เมื่อน้าไปแช่ในตัวดูดซับที่ใช้ระบบ ปิดโดยแช่ไดคลอโรมีเทน : เมทานอลที่อัตราส่วน 3:7 เราจะเห็นได้ว่าก่อนตกผลึกมีการเคลื่อนตัวได้เร็วกว่า ผลึกและหลังตกผลึก ซึ่งผลึกคาเฟอีนของเราอยู่ต้าแหน่งตรงกลางมีการเคลื่อนตัวค่อนข้างจะใกล้เคียงกับหลัง ตกผลึก และมีค่า Rf เท่ากับ 0.72 อภิปรายผลการทดลอง จากทฤษฎีสารที่ต้องการแยกมาละลายในตัวท้าละลายที่เหมาะสมแล้วให้เคลื่อนที่ไปบนตัว ดูด ซับ การเคลื่อนที่ของสารบนตัวดูดซับขึนอยู่กับความสามารถในการละลายของ สารแต่ละชนิดในตัวท้า ละลาย และความสามารถในการดูดซับที่มีต่อสารนัน กล่าว คือ สารที่ละลายในตัวท้าละลายได้ดี และถูกดูด
  • 3. ซับน้อยจะถูกเคลื่อนที่ออกมา ก่อนนั่นคือสารก่อนตกผลึก ส่วนสารที่ละลายได้น้อยและถูกดูดซับได้ดี จะ เคลื่อนที่ออกมาที หลังนั่นคือ สารของผลึกคาเฟอีนและสารหลังตกผลึกเมื่อค้านวณหาค่าRf มีค่าเท่ากับ 0.72 หากสารมีความสามารถในการละลายสูงจะมีค่า Rf มาก เนื่องจากตัวท้าละลายจะเคลื่อนที่เร็วกว่าสารที่ จะแยก ค่า Rf < 1 เสมอ ถ้าใช้ตัวท้าละลายและตัวดูดซับชนิดเดียวกันปรากฏว่ามีค่า Rf เท่ากัน ตอนที่ 2 การหาอนุพันธ์ของ Caffeine Salicylate ด้วยเครื่อง Melting point ตารางที่ 2 จุดหลอมเหลวของ Caffeine Salicylate Man. Temp (๐ C ) 1 162.1 2 162.3 3 162.4 Average 162.27 การหาช่วงอุณหภูมิของ Caffeine Salicylate ด้วยเครื่อง Melting point ค่าหลอมเหลวของ Caffeine Salicylate หาช่วง Temp แสดงผลของ Caffeine Salicylate เริ่มต้น โดยตังค่า Setpoint : 400 °C Gradient : 1 °C Maxpoint : 410 °C ค่าที่ได้ 1. 156.8 2. 163.6 3. 165.8 X =156.5+163.6+165.8 = 162.06 °C 3 นี่คือจุดหลอมเหลวเท่ากับ 162.06 °C ของคาเฟอีนที่ประมาณค่าได้ หลังจากนันน้าไปตังค่า Setpoint และ Maxpoint เพื่อหาจุดหลอมเหลวของคาเฟอีนที่แน่นอน
  • 4. โดยมีการค้านวณหาค่าของความคลาดเคลื่อนของจุดหลอมเหลวของคาเฟอีนที่ใช้ในช่วงของ Setpoint และ Maxpoint ที่แน่นอนโดย +15 และ -15 จะได้ค่าดังต่อไปนี โดยตังค่า Setpoint : 157 °C Gradient : 1 °C Maxpoint : 172 °C ค่าที่ได้ 1. 162.1 2. 162.3 3. 162.4 X =162.1+162.3+162.4 = 162.3 °C 3 ดังนั้น ค่าจุดหลอมเหลวที่แน่นอนของผลึก Caffeine Salicylate อยู่ที่ 162.3 °C
  • 5. น้ามาแสดงโดยกราฟได้ดังนี สรุปผลการทดลอง จากการทดลองพบว่า ลักษณะของผลึก Caffeine Salicylate มีสีขาว เป็นคล้ายผงขนาดเล็กๆและ เมื่อน้าไปหาจุดหลอมเหลวที่แน่นอนของผลึก Caffeine Salicylate อยู่ที่ 162.3 องศาเซลเซียส หลังจากที่ได้ ท้าการค้านวณหาช่วงอุณหภูมิที่แน่นอนดังที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น จะเห็นได้ว่าค่าของ Setpoint อยู่ที่ 157 องศา เซลเซียส และ Maxpoint อยู่ที่ 172 องศาเซลเซียส ดังกระดาษข้างต้น อภิปรายผลการทดลอง จากการทดลอง ในการศึกษาผลึกของคาเฟอีนที่มีอยู่ในกาแฟ ซึ่งในการทดลองครังนีเลือกใช้กาแฟ เนสกาแฟพบว่ากาแฟที่ใช้ทังหมด 25 กรัม ให้ผลึกคาเฟอีนค่อนข้างปริมาณมากซึ่งผลึกของคาเฟอีนมีลักษณะสี ชา หรือสีน้าตาลอ่อนๆนั่นเองทังนีอาจเป็นเพราะสีของกาแฟจึงท้าให้ผลึกมีสีเมื่อน้าไปท้าการเตรียมอนุพันธ์ เพื่อหาจุดหลอมเหลวพบว่า จุดหลอมเหลวของคาเฟอีนซาลิไซเลตเฉลี่ยแล้วมีค่าเท่ากับ 162.3 องศาเซลเซียส ซึ่งตามทฤษฎีแล้วจุดหลอมเหลวของคาเฟอีนจะอยู่ที่ 178 องศาเซลเซียส จากการทดลองจุดหลอมเหลวมีค่า แตกต่างกับผลึกคาเฟอีนตามทฤษฎีอยู่ประมาณ 15.7 องศาเซลเซียส 161.9 162 162.1 162.2 162.3 162.4 162.5 1 2 3 Melting point Man. จุดหลอมเหลวของคาเฟอีน
  • 6. ปัญหาและอุปสรรค์ในการทดลอง 1. จากการทดลองมีขันตอนที่ต้องเขย่าสารละลายกาแฟเพื่อให้ได้ส่วนของสารละลายที่จะน้าไปตกผลึก ต่อไปเกิดอิมัลชัน สาเหตุมาจากผู้จัดท้าได้ท้าการเขย่ากรวยแยกแรงเกินไป จึงท้าให้เกิดอิมัลชันขึนท้าให้ เสียเวลาในการกรองเป็นอย่างมาก 2. ในการแยกสารเมื่อสารละลายแยกชันแล้ว ผู้จัดท้าได้ท้าการทดลองพลาด คือ ปล่อยสารในส่วนที่ไม่ ต้องการออกมาด้วยจึงต้องท้าการแยกสารใหม่อีกครัง อันเป็นเหตุท้าให้การทดลองล่าช้าและใช้เวลามากกว่า ปกติ วิธีการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค์ในการทดลอง 1. ไม่ควรเขย่าสารละลายแรงเมื่อต้องการแยกสารนันๆออก ด้วยกรวยแยก 2. ควรปล่อยสารละลายที่แยกชันออกมาจากกรวยกรองอย่างช้าๆ และทีละเล็กน้อย