SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  37
Télécharger pour lire hors ligne
มยผ. xxxx-51
   มาตรฐานหัวกระจายนํ้าดับเพลิงอัตโนมัติ
 (Automatic Sprinklers for Fire-Protection)



       าง
       ่
   ับร
ฉบ


     รหัสมาตรฐาน…………………….. การและผังเมือง
                     กรมโยธาธิ
 LOGO ชื่อมาตรฐาน……………………..กระทรวงมหาดไทย
                                พ.ศ. 2551
LOGO




มาตรฐานหัวกระจายนํา
                  ้
       าง
ดับเพลิงอัตโนมัติ
       ่
   ับร
(Automatic Sprinklers for Fire-Protection)
ฉบ

                             มยผ. xxxx-51
                           กรมโยธาธิการและผังเมือง
                              กระทรวงมหาดไทย


มยผ. xxxx-51 : มาตรฐานหัวกระจายนํ ้าดับเพลิงอัตโนมัติ
บทนํา

        มาตรฐานนี้ ใช้สําหรั บหัวกระจายนํ้าดับเพลิ งอัตโนมัติสําหรั บ ติ ดตั้งในระบบหัว
กระจายนํ้าอัตโนมัติเพื่อการดับเพลิง โดยมาตรฐานนี้ กล่าวถึงคุณลักษณะของหัวกระจายนํ้า
ดับเพลิงอัตโนมัติ การออกแบบ การติดตั้ง การทดสอบการรับแรงของส่ วนตอบสนองความ
ร้อน การทดสอบความแข็งแรงของส่ วนตอบสนองความร้อน การทดสอบการรั่วซึ ม การอัด
แรงดันนํ้าทดสอบ การทดสอบความทนทานต่อการเกิ ดค้อนนํ้า การทดสอบอุณหภูมิการ
ทํางานด้วยการแช่ในของเหลว การทดสอบความไวการทํางาน การทดสอบการทํางานด้วย
การติ ด ตั้ง ในห้อ งทดสอบ การทดสอบการไหลต่ อ เนื่ อ ง การทดสอบที่ อุ ณ หภู มิ สูง การ


       าง
ทดสอบความแข็งแรงของโครงหัวกระจายนํ้า การทดสอบการทนต่ อแรงกระแทก การ
ทดสอบการทนต่อแรงสั่นสะเทือน การทดสอบการกระจายตัวของนํ้า การทดสอบการทน
ต่อการกัดกร่ อน การทดสอบชิ้นส่ วนที่เป็ นยาง
       ่
   ับร
ฉบ



มยผ. xxxx-51 : มาตรฐานหัวกระจายนํ ้าดับเพลิงอัตโนมัติ
คณะทํางานจัดทํามาตรฐาน

      1)     ผูจดการโครงการ
                 ้ั
             รศ.วิเชียร เต็งอํานวย
      2)     ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านวัสดุและผลิตภัณฑ์ดานการป้ องกันอัคคีภย (1)
                                                ้                  ั
             ผศ.ดร.ชัชชาติ สิ ทธิพนธุ์
                                    ั
      3)     ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านวัสดุและผลิตภัณฑ์ดานการป้ องกันอัคคีภย (2)
                                                  ้                  ั
             ผศ.ดร.ธัญวัฒน์ โพธิศิริ
      4)     ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมงานระบบหรื อความปลอดภัยจากอัคคีภย  ั
             นายพิชญะ จันทรานุวฒน์    ั


       าง
       ่     นางสาวบุษกร แสนสุ ข
             นายจุลดิษย์ จายนียโยธิน
             นายปฐเมศ ผาณิตพจมาน
   ับร
             นายเอกชัย แก้ วกาญจนดิษฐ
      5)     ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านสถาปั ตยกรรม
             นายอาคม เวพาสยนันท์
      6)     ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านกฎหมาย
ฉบ

             รศ.ดร.วิศณุ ทรัพย์ สมพล




มยผ. xxxx-51 : มาตรฐานหัวกระจายนํ ้าดับเพลิงอัตโนมัติ
สารบัญ

ส่ วนที่                                 หน้ า
1. ขอบข่าย                               1
2. นิยาม                                 2
3. มาตรฐานอ้างถึง                        4
4. มาตรฐานการทดสอบ                       5
5. ภาคผนวก                               31
     5.1. เครื่ องหมายและฉลาก            31



       าง
     5.2. มาตรฐานอ้างอิง

       ่                                 31
   ับร
ฉบ
มยผ. xxxx-51
                               มาตรฐานหัวกระจายนําดับเพลิงอัตโนมัติ
                                                 ้
1.    ขอบข่ าย
1.1 วัตถุประสงค์
    1.1.1 การกําหนดคุณสมบัติดานอัคคีภยของวัสดุหรื อผลิตภัณฑ์ที่ใช้งานในประเทศไทยนี้จดทําเพื่อเป็ น
                                       ้       ั                                              ั
            แนวทางในการควบคุมมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ให้มีการออกแบบ ติดตั้ง และทดสอบผลิตภัณฑ์ให้
            ได้มาตรฐานและสามารถใช้งานอย่างมีประสิ ทธิภาพ
    1.1.2 มาตรฐานหัวกระจายนํ้าดับเพลิงอัตโนมัติน้ ี ได้กล่าวถึงคุณลักษณะผลิตภัณฑ์ การออกแบบ การ
            ติดตั้งและการทดสอบหัวกระจายนํ้าดับเพลิง เพื่อให้อุปกรณ์มีความพร้อมในการดับเพลิงได้
            ทันทีตามความต้องการ สามารถทําการดับเพลิงที่เกิดขึ้นทันทีอย่างอัตโนมัติ ซึ่งเป็ นการดับไฟที่


       าง
1.2 ขอบข่าย
       ่    บริ เวณต้นเหตุของเพลิง ทําให้เพลิงดับลงอย่างรวดเร็ ว ยับยั้งการเกิดควันไฟและความร้อนไม่ให้
            ขยายตัวไปยังพื้นที่ขางเคียง เป็ นการป้ องกันชีวิตและทรัพย์สินได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
                                     ้
   ับร
    1.2.1 ข้อกําหนดต่าง ๆ ของมาตรฐานนี้ ครอบคลุมหัวกระจายนํ้าดับเพลิงอัตโนมัติสําหรับติดตั้งใน
            ระบบหัวกระจายนํ้าอัตโนมัติเพื่อการดับเพลิง ซึ่ งมีขอกําหนดสําหรับการติดตั้งและการใช้งาน
                                                                    ้
            ของหัวกระจายนํ้าดับเพลิงรวมอยู่ในมาตรฐานป้ องกันอัคคีภยของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่ ง
                                                                          ั
            ประเทศไทย หรื อ มาตรฐานการติดตั้งระบบหัวกระจายนํ้าดับเพลิงอัตโนมัติ NFPA13
ฉบ

    1.2.2 ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณสมบัติ พฤติกรรม ส่ วนประกอบ วัสดุ หรื อระบบที่ใหม่กว่าหรื อแตกต่างไปจาก
            ที่ครอบคลุมโดยมาตรฐานนี้ และมีความเกี่ยวข้องกับความเสี่ ยงที่เกี่ยวกับไฟไหม้หรื อไฟฟ้ าดูด
            หรื อเป็ นก่ อ ให้เ กิ ด การบาดเจ็บกับมนุ ษ ย์ตอ งได้รับการประเมิ น โดยใช้ขอกํา หนดเพิ่มเติ มที่
                                                           ้                            ้
                                                                ่
            เหมาะสมเพื่อรักษาระดับความปลอดภัยให้คงอยูตามเจตนารมณ์ของมาตรฐานนี้ ผลิตภัณฑ์ใดที่มี
            คุณสมบัติขดแย้งกับข้อกําหนดของมาตรฐานถือว่าไม่เป็ นไปตามมาตรฐานนี้
                         ั
    1.2.3 หัว กระจายนํ้าดับ เพลิ ง ถู ก จํา แนกโดยระดับพิ กัด อุ ณ หภู มิทางาน ค่า สัมประสิ ทธ์ ก ารไหล K
                                                                            ํ
            ตําแหน่งการติดตั้ง ชนิดของการเคลือบผิวป้ องกัน และตัวแปรอื่นที่มีผลต่อการใช้งาน
    1.2.4 เมื่ อข้อ กํา หนดในมาตรฐานนี้ อ้า งถึ ง หัว กระจายนํ้า ดับ เพลิ ง ชนิ ด ขยายความครอบคลุ ม นั่น
            หมายถึ งใช้บงคับกับทั้งหัว กระจายนํ้า ขยายความครอบคลุมกับพื้น ที่ อนตรายน้อยและพื้น ที่
                            ั                                                         ั
            อันตรายปานกลาง
    1.2.5 กรณี อุปกรณ์มีสภาวะการทํางานจํากัด อุปกรณ์น้ นต้องถูกใช้งานภายใต้สภาวะที่ระบุไว้เท่านั้น
                                                              ั




                                                    -1-
2.    นิยาม
เพื่อให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของมาตรฐานนี้ ให้ใช้ความหมายของศัพท์ต่าง ๆ ดังนี้ นอกจากกรณี ระบุไว้เป็ น
อย่างอื่น
ศัพท์ ทวไป
         ั่
“ค่ าสั มประสิ ทธ์ การไหล K ” หมายถึงค่าสัมประสิ ทธิ์การไหลจากสู ตร
                                Q=K P
                   โดย   Q      หมายถึง อัตราการไหลหน่วยเป็ น ลิตรต่อวินาที
                            P หมายถึง แรงดันนํ้าหน่วยเป็ น เมกะปาสกาล
“ส่ วนตอบสนองต่ อความร้ อน” (Heat Responsive Element) หมายถึง ส่ วนประกอบของหัวกระจายนํ้าที่จะแตก
ละลาย หรื ออย่างอื่น เพื่อเริ่ มการทํางานของหัวกระจายนํ้าได้โดยอัตโนมัติเมื่อได้รับความร้อนมากเพียงพอ
“อุณหภูมิใช้ งาน” (Operating Temperature) หมายถึง ค่าอุณหภูมิที่ส่วนตอบสนองต่อความร้อนของหัวกระจาย


       าง      ํ
แรงดันนํ้าที่กาหนด
       ่                                    ่                                             ่
นํ้าทํางานเมื่อได้รับความร้อนที่อตราการเพิมอุณหภูมิ 0.5 องศาเซลเซียสต่อนาที ขณะแช่อยูในอ่างของเหลว
                                   ั
“รู ทางผ่ านนํ้า” (Orifice) หมายถึง ช่องเปิ ดที่ควบคุมอัตราการไหลของนํ้าที่ปล่อยออกจากหัวกระจายนํ้าที่ค่า
   ับร
“หัวกระจายนํ้าดับเพลิงอัตโนมัติ” (Automatic Sprinkler) หมายถึง หัวกระจายนํ้าที่สามารถเปิ ดให้น้ าไหลได้
                                                                                                   ํ
โดยอัตโนมัติจากการทํางานของส่ วนตอบสนองต่ อความร้ อนที่ ปิดรู ทางผ่านนํ้าไว้ในสภาวะปกติ และหัว
                                                               ํ
กระจายนํ้าที่ติดตั้งบนระบบท่อยืนที่จะกระจายนํ้าในรู ปแบบที่กาหนดไว้เพื่อการควบคุมเพลิง
คําจํากัดความของชนิดของหัวกระจายนําดับเพลิง
                                          ้
ฉบ

“หัวกระจายนําดับเพลิงชนิดขยายความครอบคลุมพืนทีอนตรายน้ อย” หมายถึง หัวกระจายนํ้าที่จะ
                   ้                                 ้ ่ั
ก) ใช้ติดตั้งโดยมีระยะห่ างแต่ละหัวมากกว่าระยะห่ างปกติ
ข) เริ่ มทํางานได้โดยอัตโนมัติโดยส่ วนตอบสนองความร้อนและกลไกการปล่อยนํ้าที่มีระยะเวลาตอบสนอง
     เท่ากับหรื อตํ่ากว่าหัวกระจายนํ้าประเภทความเร็ วการตอบสนองปกติที่มีระยะห่างการติดตั้งปกติ
ค) ปล่อยนํ้าเหนือพื้นที่ครอบคลุมที่ระบุ ขณะได้รับอัตราการไหลของนํ้าตํ่าสุ ดที่กาหนดํ
                     ั                                ํ
ง) สําหรั บใช้กบพื้นที่ ครอบคลุมอันตรายน้อยที่กาหนดในมาตรฐานป้ องกันอัคคีภยของสมาคมวิศวกรรม
                                                                                       ั
     สถานแห่ งประเทศไทย หรื อมาตรฐาน NFPA13, Standard for the Installation of Sprinkler Systems
“หัวกระจายนําดับเพลิงชนิดขยายความครอบคลุมพืนทีอนตรายปานกลาง” หมายถึง หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่
                 ้                                  ้ ่ั
ก) ใช้ติดตั้งโดยมีระยะห่ างแต่ละหัวมากกว่าระยะห่างปกติ
ข) เริ่ มทํางานได้โดยอัตโนมัติโดยส่ วนตอบสนองความร้อนและกลไกการปล่อยนํ้าที่มีระยะเวลาตอบสนอง
     เท่ากับหรื อตํ่ากว่าหัวกระจายนํ้าประเภทความเร็ วการตอบสนองปกติที่มีระยะห่ างการติดตั้งปกติ
ค) ปล่อยนํ้าเหนือพื้นที่ครอบคลุมที่ระบุ ขณะได้รับอัตราการไหลของนํ้าตํ่าสุ ดที่กาหนด  ํ



                                                  -2-
ั                                     ํ
ง) สําหรับใช้กบพื้นที่ครอบคลุมอันตรายปานกลางที่กาหนดในมาตรฐานป้ องกันอัคคีภยของสมาคมวิศวกรรม
                                                                                      ั
      สถานแห่ งประเทศไทย หรื อมาตรฐาน NFPA13, Standard for the Installation of Sprinkler Systems ฉบับ
      ล่าสุ ด
“หัวกระจายนําดับเพลิงชนิดฝังเสมอแนวฝ้ า” (Flush Ceiling Sprinkler) หมายถึงหัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่มีส่วน
                ้
ที่โผล่พนฝ้ าเพดานลงมาเพียงเล็กน้อย
          ้
“หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่มีการเคลือบผิว การเคลือบสี ที่ผิว หรือการชุ บโลหะที่ผิว” (Coated, Painted or Plated
Sprinkler) หมายถึง หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่ได้รับการเคลือบผิว หรื อ ทําสี หรื อชุบโลหะมาจากโรงงานโดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อการตกแต่ง
“หัวกระจายนํ้าดับเพลิงชนิดซ่ อนในฝ้ าเพดาน” (Concealed Ceiling Sprinkler) หมายถึง หัวกระจายนํ้าดับเพลิง
ที่ซ่อนอยูในฝ้ าเพดานและมีฝาครอบที่ติดตั้งปิ ดอยูในแนวฝ้ าเพื่อความสวยงาม
             ่                                      ่
“หัวกระจายนํ้าดับเพลิงชนิดท่ อแห้ ง” (Dry Type Sprinkler) หมายถึง หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่ติดตั้งร่ วมกับ



       าง
อุปกรณ์ที่สามารถกักนํ้าไว้จนกว่าหัวกระจายนํ้าดับเพลิงจะทํางานจึงปล่อยนํ้าเข้าสู่ หวกระจายนํ้า ซึ่งหัวกระจาย
นํ้านี้หมายถึงหัวกระจายนํ้าแบบตั้งขึ้น ควํ่าลง ติดผนัง หัวจม และอื่น ๆ
                                                                                   ั

“หัวกระจายนํ้าดับเพลิงรุ่ นเก่ า” (Conventional (Old Style) Sprinkler)) หมายถึง หัวกระจายนํ้าที่ใช้ติดตั้งแบบ
       ่
   ับร
หงายขึ้น หรื อแบบควํ่าลง ที่กระจายนํ้าระหว่างร้อยละ 40 ถึง 60 ของปริ มาณนํ้าทั้งหมดลงสู่พ้ืนด้านล่าง โดยการ
กระจายนํ้าจะครอบคลุมพื้นที่รัศมี 3.05 เมตรใต้หวกระจายนํ้าที่อตราการไหล 0.95 ลิตรต่อวินาที
                                                  ั             ั
“หัวกระจายนํ้าที่สามารถควบคุมอัตราการไหล” (Flow Control (FC) Sprinkler) หมายถึง หัวกระจายนํ้าที่
สามารถควบคุมอัตราการไหลของนํ้าได้เองโดยอัตโนมัติตามช่วงอุณหภูมิที่กาหนด   ํ
ฉบ

“หัวกระจายนํ้าดับเพลิงเคลือบขีผึงสํ าหรับอุณหภูมิแวดล้ อมสู ง” (High Temp, Wax Coated Sprinkler) หมายถึง
                                  ้ ้
หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่ใช้ติดตั้งในพื้นที่ที่ตองการทนต่อการกัดกร่ อนและมีอุณหภูมิแวดล้อมสู งไม่เกิน 65.56
                                               ้
องศาเซลเซียส
“หัวกระจายนํ้าดับเพลิงชนิดหัวเปิ ด” (Open Sprinkler) หมายถึง หัวกระจายนํ้าดับเพลิงแบบอัตโนมัติที่ถูกถอด
เอาส่ วนตอบสนองต่อความร้อนออกไปแล้ว และรู ทางผ่านนํ้าถูกเปิ ดอยู่
“หัวกระจายนํ้าแบบควํ่าลง” (Pendent Sprinkler) หมายถึงหัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่ติดตั้งโดยให้แผ่นกระจายนํ้า
    ่ ํ
อยูต่ากว่ารู ทางผ่านนํ้าและมีทิศทางการไหลของนํ้าไหลลงจากรู ทางผ่านนํ้า
“หัวกระจายนํ้าดับเพลิงแบบตอบสนองไว” (Quick Response (QR) Sprinkler) หมายถึงหัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่
เป็ นตามข้อกําหนดของการทดสอบความไวในการทํางานที่ติดตั้งโดยมีระยะห่างระหว่างหัวปกติ
“หัวกระจายนํ้าแบบตอบสนองไวขยายพืนที่ครอบคลุมกับพืนที่อันตรายน้ อย” (Quick Response-extended
                                            ้                 ้
Coverage Light Hazard Occupancy) หมายถึง หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่เป็ นไปตามข้อกําหนดของมาตรฐานและ
ผ่านการทดสอบความไวในการตอบสนองแล้วและมีการติดตั้งโดยมีระยะการติดตั้งห่ างกว่าหัวกระจายนํ้าแบบ



                                                    -3-
มาตรฐาน และเป็ นไปตามข้อกําหนดของหัวกระจายนํ้าดับเพลิงชนิ ดขยายพื้นที่ครอบคลุมกับพื้นที่อนตรายน้อยั
แล้ว
“หัวกระจายนําแบบตอบสนองไวขยายพืนที่ครอบคลุมกับพืนที่อนตรายปานกลาง” (Quick Response-extended
                 ้                      ้                 ้ ั
Coverage Ordinary Hazard Occupancy) หมายถึง หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่เป็ นไปตามข้อกําหนดของมาตรฐาน
และผ่านการทดสอบความไวในการตอบสนองแล้วและมีการติดตั้งโดยมีระยะการติดตั้งห่ างกว่าหัวกระจายนํ้า
แบบมาตรฐาน และเป็ นไปตามข้อกําหนดของหัวกระจายนํ้าดับเพลิงชนิดขยายพื้นที่ครอบคลุมกับพื้นที่อนตราย     ั
ปานกลางแล้ว
“หัวกระจายนํ้าดับเพลิงชนิดฝังในฝ้ าเพดาน” (Recessed Sprinkler) หมายถึง หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่ส่วน
ทั้งหมดของตัวหัวกระจายนํ้า หรื อ โครง หรื อส่ วนอื่นใดนอกเหนื อจากเกลียวต่อท่อหัวกระจายนํ้า ถูกติดตั้งอยู่
ในตัวเรื อนที่จมอยูเ่ หนือฝ้ าหรื อผนัง
“หัวกระจายนําดับเพลิงชนิดติดตั้งบนผนัง” (Sidewall Spray Sprinkler) หมายถึง หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่ติดตั้ง
               ้

กลม
       าง
บนผนังบริ เวณใกล้ฝ้าเพดานและมีการกระจายนํ้าลงไปบนผนังและพุ่งออกไปในรู ปแบบหนึ่ งส่ วนสี่ ของทรง

“หัวกระจายนํ้าดับเพลิงชนิดหัวโปรยนํ้า” (Water Spray Sprinkler) หมายถึง หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่ติดตั้งใน
       ่
   ับร
รู ปแบบหงายขึ้น หรื อควํ่าลงที่มีการกระจายนํ้าลงบนพื้นเป็ นรู ปทรงร่ ม โดยมีค่าสัมประสิ ทธิ การไหลที่ K=5.6
ครอบคลุมพื้นที่รูปวงกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4.88 เมตรใต้หัวกระจายนํ้าสู ง 1.22 เมตร ที่อตราการไหล
                                                                                                ั
0.95 ลิตรต่อวินาที (15 แกลลอนต่อนาที)
“หัวกระจายนํ้าชนิดหงาย” (Upright sprinkler) หมายถึง หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่ติดตั้งโดยมีแผ่นกระจายนํ้าอยู่
ฉบ

เหนือรู ทางผ่านนํ้าและการไหลของนํ้าไหลขึ้นผ่านรู ทางผ่านนํ้า

3.    มาตรฐานอ้างถึง

3.1 มาตรฐานที่ใช้อางถึงในส่ วนนี้ประกอบด้วย
                  ้
      3.1.1   มาตรฐานป้ องกันอัคคีภย ของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทย
                                    ั
      3.1.2   NFPA 13, Standard for Installation Sprinkler System
      3.1.3   NFPA15, Standard for Water Spray Fixed Systems for Fire Protection
      3.1.4   UL 157, Standard for Gaskets and Seals




                                                   -4-
4.    มาตรฐานการทดสอบ
4.1 คุณลักษณะผลิตภัณฑ์
      4.1.1 ทัวไป
                ่
             4.1.1.1 หัวกระจายนํ้าดับเพลิงอัตโนมัติตองสร้างให้มีการป้ องกันการรั่วซึ มของนํ้าและเมื่อ
                                                               ้
                        อุปกรณ์เปิ ดใช้งาน ส่ วนประกอบที่ใช้ในการกักนํ้าทั้งหมดต้องสามารถหลุดออกจาก
                        ตัวหัวกระจายนํ้าดับเพลิงได้ท้ งหมดที่แรงดัน 0.034 เมกะปาสกาล (5 ปอนด์ต่อ
                                                           ั
                        ตารางนิ้ว) เป็ นอย่างน้อยจนถึงพิกดแรงดันใช้งานโดยไม่กีดขวางการไหลของนํ้า
                                                             ั
             4.1.1.2 ชิ้นส่ วนที่ถูกกดพิมพ์ข้ ึนรู ปบนตัวหัวกระจายนํ้าดับเพลิงต้องไม่มีการแตกร้าวหรื อแยก
                        ส่ วนและมีขอบรอยตัดที่เรี ยบสะอาด
             4.1.1.3 ส่ วนประกอบต่าง ๆ ของหัวกระจายนํ้าดับเพลิงต้องมีการใช้กาวเคมี หรื อกลไกการ
                        ประกอบที่ทาให้ไม่สามารถใช้เครื่ องมือในการปรับตั้งชิ้นส่ วนได้โดยเครื่ องมือช่าง
                                       ํ


       าง               ทัวไปและไม่ก่อให้เกิดความเสี ยหายที่มองเห็นไดักบตัวหัวกระจายนํ้า
                           ่
      4.1.2 เกลียวด้านขาเข้า
       ่                                                                 ั

             4.1.2.1 หัวกระจายนํ้าดับเพลิงต้องมีเกลียวตัวผูทางด้านขาเข้า ขนาดเป็ นไปตามที่กาหนดใน
                                                                  ้                               ํ
   ับร
                        ตาราง 1
                             ตารางที่ 1 ค่ าสั มประสิ ทธิ์การไหลและขนาดเกลียว
                                                  (ข้อ 4.1.2.1)
   ค่าสัมประสิ ทธิ์การไหล, K             Discharge coefficient, K             ชนิดเกลียวนอก
ฉบ

              1.4                                1.3 – 1.5                      ½ นิ้ว NPT
              1.9                                1.8 – 2.0                      ½ นิ้ว NPT
              2.8                                2.6 – 2.9                      ½ นิ้ว NPT
              4.2                                4.0 – 4.4                      ½ นิ้ว NPT
              5.6                                5.3 – 5.8                      ½ นิ้ว NPT
              8.0                                7.4 – 8.2             ¾ นิ้ว NPT หรื อ ½ นิ้ว NPT
             11.2                               11.0 – 11.5            ¾ นิ้ว NPT หรื อ ½ นิ้ว NPT
             14.0                               13.5 – 14.5                     ¾ นิ้ว NPT

            4.1.2.2 เกลียวของหัวกระจายนํ้าต้องมีรอยกัดที่สะอาดและไม่มีรอยสะดุด หรื อบิ่นแหว่ง
               ั
      4.1.3 พิกดอุณหภูมิใช้งาน (Temperature Rating)
            4.1.3.1 พิ กัด อุ ณ หภู มิ แ ละการแบ่ ง ประเภทอุ ณ หภู มิ แ วดล้อ มของหั ว กระจายนํ้า ดับ เพลิ ง
                    อัตโนมัติ เป็ นไปตามตารางที่ 2

                                                    -5-
ตารางที่ 2 ระดับอุณหภูมิการทํางานและรหัสสี
                                              (ข้อ 4.1.3.1)
                                                               รหัสสี                   อุณหภูมิสูงสุ ดที่
                           อุณหภูมิทางาน,
                                    ํ
     ระดับอุณหภูมิ                                                                     ระดับเพดาน, องศา
                            องศาเซลเซี ยส    Fusible Type           กระเปาะแก้ว
                                                                                            เซลเซี ยส
  ธรรมดา (Ordinary)           57 – 77       ไม่มีสี หรื อ สี        ส้ม หรื อ แดง              38
ปานกลาง (Intermediate)       79 – 107             ดํา             เหลือง หรื อ เขียว           66
          สูง (High)        121 – 149            ขาว                   นํ้าเงิน               107
  สูงมาก (Extra high)       163 – 191          นํ้าเงิน                 ม่วง                  149
         สูงมากพิเศษ        204 – 246            แดง                      ดํา                 191
     (Very extra high)                          เขียว
 สู งยิงยวด (Ultra high)
       ่                     260 - 302           ส้ม                     ดํา                  246


       าง
       ่                 ั
            4.1.3.2 พิกดแรงดันใช้งาน
   ับร
                                                              ั
                     4.1.3.2.1 หัวกระจายนํ้าดับเพลิงต้องมีพิกดแรงดันใช้งานที่ 1.2, 1.7 หรื อ 2.1 เมกะ
                                 ปาสกาล (175 , 250 หรื อ 300 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว)
      4.1.4 ค่าสัมประสิ ทธิ์การไหล K
            4.1.4.1 หัวกระจายนํ้าดับเพลิงต้องมีค่าสัมประสิ ทธิ์การไหลเป็ นไปตามตารางที่ 1
ฉบ

            4.1.4.2 เส้นผ่านศูนย์กลางของรู ทางผ่านนํ้าหรื อทางไหลของนํ้าใด ๆ ต้องมีขนาดอย่างน้อย
                     5.3 มิลลิเมตร
      4.1.5 การเคลือบผิวและการชุบเคลือบผิว (Coatings and plating)
            4.1.5.1 การทํางานและพฤติกรรมการกระจายนํ้าของหัวกระจายนํ้าต้องไม่ได้รับผลกระทบ
                     จากการเคลือบผิว หรื อชุบผิวใด ๆ ที่กระทําโดยโรงงานผูผลิต
                                                                           ้
            4.1.5.2 การเคลือบผิวหรื อชุ บผิวป้ องกันการกัดกร่ อน ต้องมีการกระทําโดยสมํ่าเสมอตลอด
                     ชิ้นงาน
            4.1.5.3 การเคลือบขี้ผ้ งต้องไม่มีการแตกกะเทาะตามอายุการใช้งาน
                                   ึ
            4.1.5.4 หัวกระจายนํ้าที่ ใช้กระเปาะแก้วแตกได้เป็ นส่ วนตอบสนองต่ อความร้ อนต้องมี ฝา
                     ครอบป้ องกันกระเปาะแก้วระหว่างการติดตั้งและต้องถูกถอดออกก่ อนเปิ ดใช้งาน
                     ระบบหัวกระจายนํ้า ทั้งนี้ หวกระจายนํ้าแบบซ่อนเหนื อฝ้ าหรื อหัวกระจายนํ้าที่มีโครง
                                                 ั
                     ลวดกันกระแทก อาจไม่จาเป็ นต้องมีการติดตั้งฝาครอบป้ องกันกระเปาะแก้วระหว่าง
                                               ํ
                     การขนส่ งและติดตั้ง

                                                   -6-
4.2 การออกแบบ
    4.2.1 ข้อกําหนดในการออกแบบผลิตภัณฑ์จะต้องเป็ นไปตามคุณลักษณะที่ระบุไว้ในมาตรฐานนี้ และ
          ได้ผ่ า นการทดสอบและรั บ รองจากสถาบัน การทดสอบที่ น่ า เชื่ อ ถื อ ภายในประเทศ หรื อ
          ต่างประเทศ จึงจะสามารถนําไปใช้ในการติดตั้งได้
    4.2.2 ให้ออกแบบและติดตั้งระบบหัวกระจายนํ้าดับเพลิงตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เช่น กฎหมายควบคุม
          อาคาร ฉบับที่ 33 พ.ศ. 2535 กําหนดให้อาคารสู งหรื ออาคารขนาดใหญ่พิเศษต้องจัดให้มีระบบ
          ดับเพลิงอัตโนมัติ เช่น ระบบหัวกระจายนํ้าดับเพลิงอัตโนมัติ (Automatic Sprinkler System)
          หรื อระบบอื่นที่เทียบเท่า ที่สามารถทํางานได้ทนทีเมื่อเกิดเพลิงไหม้
                                                         ั
    4.2.3 ข้อกําหนดในการออกแบบระบบหัวกระจายนํ้าดับเพลิงอัตโนมัติ (Automatic Sprinkler System)
          ต้อ งออกแบบทั้ง ระบบให้ เ ป็ นไปตามหลัก วิ ศ วกรรมที่ ถู ก ต้อ ง โดยสามารถออกแบบตาม
          มาตรฐานป้ องกันอัคคีภยของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทย ซึ่ งมาตรฐานดังกล่าวจะ
                                     ั



       าง
       ่  กล่าวถึงการออกแบบทั้งระบบ ซึ่ งจะประกอบด้วย ระบบการส่ งนํ้า ระบบท่อนํ้า วาล์วควบคุม
          หัวกระจายนํ้าดับเพลิง และอุปกรณ์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ระบบมีความพร้อมในการใช้งานและ
          สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
   ับร
    4.2.4 ข้อกําหนดในการออกแบบเฉพาะส่ วนของหัวกระจายนํ้าดับเพลิงอัตโนมัติตามมาตรฐานป้ องกัน
          อัคคีภย สมาคมวิศวกรรรมสถานแห่งประเทศไทย มีดงนี้
                  ั                                            ั
          4.2.4.1 ออกแบบและเลือกใช้ชนิ ดของหัวกระจายนํ้าดับเพลิงให้เหมาะสมกับระดับอันตราย
                     ในพื้นที่ ซึ่ งจะขึ้นอยู่กบชนิ ดและปริ มาณของวัสดุ ที่เป็ นเชื้ อเพลิงที่ปรากฏในพื้นที่
                                               ั
ฉบ

                     นั้นๆ ว่ามีจานวนมากน้อยเพียงใด ตามมาตรฐานจําแนกประเภทของพื้นที่ครองครอง
                                   ํ
                     ออกเป็ น 3 ประเภท ดังนี้ :-
                     ก) พื้นที่ครอบครองอันตรายน้อย (Light Hazard Occupancies)
                     ข) พื้นที่ครอบครองอันตรายปานกลาง (Ordinary Hazard Occupancies)
                     ค) พื้นที่ครอบครองอันตรายมาก (Extra Hazard Occupancies)
                     ตัวอย่างพื้นที่ครอบครองอันตรายน้อย
                                                        ั ่
                     พื้นที่ดงต่อไปนี้ หรื อคล้ายกันให้จดอยูในประเภทเดียวกัน
                             ั
                     - ที่พกอาศัย
                               ั
                     - สํานักงานทัวไป  ่
                     - โบสถ์ วัด และวิหาร
                     - สโมสร
                     - สถานศึกษา
                     - โรงพยาบาล (ควบคุมวัสดุตามมาตรฐานโรงพยาบาล)


                                                    -7-
- สถานพยาบาลและพักฟื้ น (ควบคุมวัสดุตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง)
  - ห้องสมุด (ยกเว้นห้องสมุดที่มีช้ นวางหนังสื อขนาดใหญ่)
                                       ั
  - พิพิธภัณฑ์
  ตัวอย่างพื้นที่ครอบครองอันตรายปานกลาง
  พื้นที่ครอบครองอันตรายปานกลาง ได้แบ่งการจัดออกเป็ น 2 กลุ่ม
      พื้นที่ครอบครองอันตรายปานกลาง กลุ่มที่ 1
      พื้นที่ดงต่อไปนี้ หรื อคล้ายกัน ให้จดอยูในกลุ่มเดียวกัน
              ั                             ั ่
      - ที่จอดรถยนต์และห้องแสดงรถยนต์
      - โรงงานผลิตอุปกรณ์อีเลคทรอนิคส์
      - โรงงานผลิตเครื่ องดื่ม
      - ร้านทําขนมปัง



       าง
      - ร้านซักผ้า
      - โรงงานผลิตอาหารกระป๋ อง
      - โรงงานผลิตแก้ว และวัสดุที่ทาจากแก้ว
       ่
      - ภัตตาคาร
                                          ํ
   ับร
      - โรงงานผลิตเครื่ องบริ โภคประจําวัน
      - โรงภาพยนตร์ และศูนย์ประชุม (ไม่รวมเวที และเวทีหลังม่าน)
      พื้นที่ครอบครองอันตรายปานกลาง กลุ่มที่ 2
      พื้นที่ดงต่อไปนี้ หรื อคล้ายกัน ให้จดอยูในกลุ่มเดียวกัน
                ั                            ั ่
ฉบ

      - โรงงานผลิตสิ นค้าที่ทาจากหนังสัตว์
                                  ํ
      - โรงงานผลิตลูกกวาดและลูกอม
      - โรงงานผลิตสิ่ งทอ
      - โรงงานยาสูบ
      - โรงงานประกอบผลิตภัณฑ์ไม้
      - โรงพิมพ์และสิ่ งพิมพ์โฆษณา
      - โรงงานใช้สารเคมี
      - โรงสี ขาว  ้
      - โรงกลึง
      - โรงงานประกอบผลิตภัณฑ์โลหะ
      - โรงต้มกลัน   ่
      - อู่ซ่อมรถยนต์


                          -8-
- โรงงานผลิตยางรถยนต์
      - โรงงานแปรรู ปไม้ดวยเครื่ อง
                                 ้
      - โรงงานกระดาษและผลิตเยือกระดาษ    ่
      - โรงงานผลิตภัณฑ์กระดาษ
      - ท่าเรื อและสะพานส่ วนที่ยนไปในนํ้า
                                      ื่
      - โรงงานผลิตอาหารสัตว์
      - โรงภาพยนต์
      - โรงมหรสพที่มีการแสดง
      - ที่ทาการไปรษณี ย ์
                ํ
      - ร้านค้า
      - ห้องสมุด (มีช้ นเก็บหนังสื อขนาดใหญ่)
                             ั



       าง
      - ร้านซักแห้ง
      - ห้องเก็บของ
      - ห้างสรรพสิ นค้า
       ่
      - ซุปเปอร์สโตร์
   ับร
  ตัวอย่างพื้นที่ครอบครองอันตรายมาก
  พื้นที่ครอบครองอันตรายมาก แบ่งเป็ น 2 กลุ่ม ดังนี้
      พื้นที่ครอบครองอันตรายมากกลุ่มที่ 1
      พื้นที่กลุ่มนี้ จะมีลกษณะการใช้งานที่เกี่ยวข้องกับของเหลวติดไฟ (Combustible
                           ั
ฉบ

      Liquid) หรื อของเหลวไวไฟ (Flammable Liquid) ในปริ มาณไม่มาก
      พื้นที่ดงต่อไปนี้ หรื อคล้ายกันให้จดอยูในกลุ่มเดียวกัน
              ั                            ั ่
      - โรงเก็บและซ่อมเครื่ องบิน
      - พื้นที่ที่ใช้งานโดยมีของเหลวไฮดรอลิคติดไฟได้
      - หล่อด้วยแบบโลหะ
      - ขึ้นรู ปโลหะ
      - โรงงานผลิตไม้อดและไม้แผ่น
                               ั
      - โรงพิมพ์ (ใช้หมึกพิมพ์ที่มีจุดวาบไฟตํ่ากว่า 37.90 เซลเซียส)
      - อุตสาหกรรมยาง
      - โรงเลื่อย
      - โรงงานสิ่ งทอรวมทั้งโรงฟอก, ย้อม, ปั่นฝ้ าย, เส้นใยสังเคราะห์ และฟอกขน
           สัตว์


                            -9-
- โรงทําเฟอร์นิเจอร์ดวยโฟม     ้
             พื้นที่ครอบครองอันตรายมากกลุ่มที่ 2
             พื้นที่กลุ่มนี้ จะมีลกษณะการใช้งานที่เกี่ยวข้องกับของเหลวติดไฟ (Combustible
                                  ั
             Liquid) หรื อของเหลวไวไฟ (Flammable Liquid) โดยตรง
                                                ั ่
             พื้นที่ดงต่อไปนี้หรื อคล้ายกันให้จดอยูในลําดับเดียวกัน
                     ั
             - โรงงานผลิตยางมะตอย
             - โรงพ่นสี
             - โรงกลันนํ้ามัน
                            ่
             - โรงงานผลิตนํ้ามันเครื่ อง
             - พื้นที่ที่ใช้สารฉีดชนิดของเหลวติดไฟได้
             - โรงชุบโลหะที่ใช้น้ ามัน    ํ



       าง
       ่     - อุตสาหกรรมพลาสติก
             - พื้นที่ลางโลหะด้วยสารละลาย
                          ้
             - การเคลือบสี ดวยการจุ่ม
                                    ้
 4.2.4.2 ต้องออกแบบหัวกระจายนํ้าดับเพลิงให้ติดตั้งครอบคลุมทัวทั้งอาคาร นอกจากพื้นที่
   ับร
                                                                   ่
         บางส่ วนที่ได้รับการพิจารณาให้ยกเว้น เช่น
         ก) ห้องไฟฟ้ าที่ติดตั้งเฉพาะอุปกรณ์ไฟฟ้ าชนิดแห้ง (Dry Type) โดยห้องจะต้องสร้าง
             ด้วยผนังทนไฟไม่นอยกว่า 2 ชัวโมง และไม่ใช้เป็ นที่เก็บของ
                                        ้     ่
         ข) อาคารจอดรถที่มีผนังเปิ ดโล่งเหนื อระดับพื้นดินที่ผนังตรงข้ามเปิ ดอย่างน้อย 2
ฉบ

             ด้าน และผนังที่เปิ ดต้องห่ างกันไม่เกิน 23 เมตร (75ฟุต) มีพ้ืนที่เปิ ดที่ผนังแต่ละ
             ด้านไม่นอยกว่าร้อยละ 40 และช่องเปิ ดต้องกว้างอย่างน้อย 760 มิลลิเมตร (30 นิ้ว)
                        ้
             โดยอาคารจอดรถจะต้องเป็ นอาคารที่มีโครงสร้างแยกอิสระจากอาคารที่ใช้งาน
             ประเภทอื่น
         ค) ช่องว่างในฝ้ าที่มีวสดุไม่ติดไฟ (Non combustible Material) หรื อวัสดุที่อตราการ
                                      ั                                                 ั
             แพร่ กระจายเปลวเพลิง(Flame Spread Rating) น้อยกว่า 25 หรื อวัสดุที่ให้ความ
             ร้อนจากผิวและฉนวนไม่เกิน 1,000 บีทียต่อตารางฟุต
                                                       ู
         ง) ห้องหรื อพื้นที่ที่การฉี ดนํ้าจากหัวกระจายนํ้าดับเพลิงอาจเป็ นอันตรายต่อชีวิต เช่น
             ห้องผ่าตัด ห้องเด็กแรกเกิด
 4.2.4.3 หัวกระจายนํ้าดับเพลิงจะต้องเลือกชนิด และติดตั้งให้ถูกต้องตามคําแนะนําของผูผลิต   ้




                                      -10-
4.2.4.4 หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่ติดตั้งในระบบท่อเปี ยกที่ใช้ทวไปให้ใช้รูทางผ่านนํ้า (Orifice)
                                                                     ั่
                ขนาดมาตรฐาน (Standard Orifice) มีขนาดไม่นอยกว่า 15 มิลลิเมตร (1/2นิ้ว) ยกเว้น
                                                                  ้
                จะระบุขนาดรู ทางผ่านนํ้า (Orifice) เป็ นอย่างอื่น
        4.2.4.5 หัวกระจายนํ้าดับเพลิงจะต้องเลือกอุณหภูมิทางาน (Temperature Rating) ให้เหมาะสม
                                                             ํ
                กับพื้นที่ที่ติดตั้งตามที่ระบุในตารางที่ 3

         ตารางที่ 3 อุณหภูมิทางาน, ระดับอุณหภูมิ และรหัสสี ของหัวกระจายนําดับเพลิง
                             ํ                                           ้
                                        (ข้อ 4.2.4.5)
   อุณหภูมิสูงสุ ด                                                         รหัสสี (Color Code)
                                                ระดับอุณหภูมิทางาน
                                                                ํ
ที่ระดับเพดาน (oซ)                        o
                         อุณหภูมิทางาน ( ซ)
                                  ํ
                                                   Temperature
Maximum Ceiling          Temperature Rating                          Fusible Type     Glass Bulb
                                                   Classification
    Temperature



       าง
       ่ 38
         66
        107
        149
                             57 ถึง 77
                            79 ถึง 107
                            121 ถึง 149
                            163 ถึง 191
                                                       ธรรมดา
                                                      ปานกลาง
                                                          สูง
                                                        สูงมาก
                                                                        ไม่มีสี
                                                                        สี ขาว
                                                                        นํ้าเงิน
                                                                          แดง
                                                                                      ส้มหรื อแดง
                                                                                    เหลืองหรื อเขียว
                                                                                         นํ้าเงิน
                                                                                          ม่วง
   ับร
        191                 204 ถึง 246              สูงมากพิเศษ         เขียว              ดํา
        246                 260 ถึง 302               สูงยิงยวด
                                                           ่              ส้ม               ดํา

        4.2.4.6 หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่ติดตั้งในบริ เวณที่หัวมีโอกาสถูกทําให้เสี ยหาย จะต้องมี
ฉบ

                อุปกรณ์ป้องกันการกระแทกหัวกระจายนํ้าดับเพลิง (Sprinkler Guard) ติดตั้งที่ครอบ
                หัวด้วย
                                                                                            ํ
        4.2.4.7 การออกแบบพื้นที่ป้องกันสู งสุ ดต่อหัวกระจายนํ้าดับเพลิง จะต้องไม่เกินค่าที่กาหนด
                ในตารางที่ 4




                                              -11-
ตารางที่ 4 พืนทีปองกันสู งสุ ดต่ อหัวกระจายนําดับเพลิง
                                             ้ ่้                              ้
                                                    (ข้อ 4.2.4.7)
                                                                    พื้นที่ครอบครอง
                                         อันตรายน้อย               อันตรายปานกลาง        อันตรายมาก
                                          ตารางเมตร                  ตารางเมตร            ตารางเมตร
                                          (ตารางฟุต)                 (ตารางฟุต)           (ตารางฟุต)
ไม่มีส่ิ งกีดขวางจากโครงสร้าง                20.9                       12.1                 9.3
                                            (225)                      (130)                (100)
โครงสร้างที่กีดขวางไม่ติดไฟ                  18.6                       12.1                 9.3
                                            (200)                      (130)                (100)
 โครงสร้างที่กีดขวางติดไฟ                    15.6                       12.1                 9.3
                                            (168)                      (130)                (100)



       าง
       ่       4.2.4.8 การเลือกใช้หวกระจายนํ้าดับเพลิง
                                        ั
                        หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่ผ่านการรั บรองจะต้องเลือกใช้และติดตั้งให้สอดคล้องกับ
   ับร
                        ข้อกําหนดที่ระบุไว้น้ น
                                              ั
                        ก) หัวกระจายนํ้าดับเพลิงชนิ ดหัวหงาย (Upright ) ต้องติดตั้งให้โครงแขน (Frame
                            Arm) ขนานกับท่อย่อยนั้น
                        ข) หัวกระจายนํ้าดับเพลิงชนิดหัวหงาย (Upright) หรื อหัวควํ่า (Pendent) ให้ติดตั้งใน
ฉบ

                            พื้นที่ครอบครองทุกประเภทได้
                        ค) หัวกระจายนํ้าดับเพลิงชนิดติดกําแพง (Sidewall) ให้ติดตั้งเฉพาะพื้นที่ครอบครอง
                            อันตรายน้อย (Light Hazard) และมีเพดานเรี ยบ
               4.2.4.9 อุณหภูมิทางาน (Temperature Ratings)
                                    ํ
                        ก) หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่นามาติดตั้งใช้งานในอาคารทั้งหมด ให้เลือกใช้ระดับ
                                                        ํ
                            อุณหภูมิธรรมดา (Ordinary Temperature Rating)
                            ข้อยกเว้น ในกรณี ที่อุณหภูมิสูงสุ ดที่ระดับเพดาน (Maximum Ceiling -
                            Temperature) สูงเกินกว่า 38 องศาเซลเซีส ให้เลือกอุณหภูมิทางานของหัวกระจาย
                                                                                      ํ
                            นํ้าดับเพลิงสอดคล้องกับอุณหภูมิสูงสุ ดที่ระดับเพดานนั้น ตามตารางที่ 3
               4.2.4.10 ในกรณี ที่ตองติดตั้งหัวกระจายนํ้าดับเพลิงในพื้นที่เฉพาะ ให้พิจารณาจากพื้นที่ติดตั้ง
                                      ้
                        ตามที่ระบุในตารางที่ 5 เพื่อเลือกระดับอุณหภูมิทางานของหัวกระจายนํ้าดับเพลิง
                                                                        ํ




                                                        -12-
ตารางที่ 5 ระดับอุณหภูมิทางานของหัวกระจายนําดับเพลิงในพืนทีเ่ ฉพาะ
                                          ํ                 ้            ้
                                             (ข้อ 4.2.4.10)
            พื้นที่ติดตั้ง          ระดับอุณหภูมิทางาน ระดับอุณหภูมิทางาน
                                                    ํ                  ํ          ระดับอุณหภูมิ
                                          ธรรมดา              ปานกลาง               ทํางานสูง
  ช่องแสงของหลังคา                          -             เป็ นกระจกหรื อพลาสติก          -
  หลังคาจัว่
  - หลังคาทําด้วยโลหะ หรื ออโลหะ
  - มีหรื อไม่มีฝ้า                    ระบายอากาศ             ไม่มีระบายอากาศ             -
  - มีหรื อไม่มีฉนวนกันความร้อน
  หลังคาเรี ยบ
  - ทําด้วยโลหะ                                          ตรวจสอบสภาพอากาศในที่
  - ไม่มีฝ้า                         ระบายอากาศ และ      ติดตั้งสําหรับหลังคาที่ไม่มี     -



       าง
  - มีหรื อไม่มีฉนวนกันความร้อน
  หลังคาเรี ยบ
  - ทําด้วยโลหะ
  - มีฝ้า
       ่                             ไม่มีระบายอากาศ



                                       ระบายอากาศ
                                                         ฉนวนกันความร้อน



                                                              ไม่มีระบายอากาศ             -
   ับร
  - มีหรื อไม่มีฉนวนกันความร้อน
  บริ เวณหน้าต่างกระจก                 ระบายอากาศ            ไม่มีระบายอากาศ              -
หมายเหตุ ตรวจสอบสถานที่ติดตั้งด้วยเทอร์โมมิเตอร์ถาจําเป็ น
                                                 ้
ฉบ

             4.2.4.11 การจัดวางตําแหน่งหัวกระจายนํ้าดับเพลิง
                      ก) การจัดวางตําแหน่ งหัวกระจายนํ้าดับเพลิงชนิ ดหัวหงาย (Upright) และหัวควํ่า
                         (Pendent) ต้องออกแบบให้ระยะห่ างสู งสุ ดระหว่างหัวกระจายนํ้าดับเพลิงบนท่อ
                         ย่อย (Branch Line) หรื อระยะห่ างสูงสุ ดระหว่างท่อย่อย ให้เป็ นไปตามตารางที่ 6




                                                -13-
ตารางที่ 6 ตารางการจัดระยะห่ างสู งสุ ดของหัวกระจายนําดับเพลิง
                                                                      ้
                                         (ข้อ 4.2.4.11)
                            ระยะห่ างสูงสุ ดของหัวกระจายนํ้า     ระยะห่างสูงสุ ดของหัวกระจายนํ้า
   ประเภทของพื้นที่
                              ดับเพลิงบนท่อย่อยเดียวกัน            ดับเพลิงบนท่อย่อยแต่ละท่อ
     ครอบครอง
                                        เมตร(ฟุต)                            เมตร(ฟุต)
อันตรายน้อย                              4.6(15)                             4.6(15)
อันตรายปานกลาง                           4.2(14)                             4.2(14)
อันตรายมาก                               3.7(12)                             3.7(12)

                   ข) การจัดวางหัวกระจายนํ้าดับเพลิง แบบติดกําแพง ( Sidewall Sprinkler )
                      1. ติดตั้งเฉพาะพื้นที่ครอบครองอันตรายน้อย (Light Hazard) ที่มีเพดานราบและ


       าง
       ่                 เรี ยบ (Smooth Flat Ceiling)
                      2. การหาพื้นที่ป้องกันต่อหัวกระจายนํ้าดับเพลิงแบบติดกําแพง ให้กาหนด
                         ดังต่อไปนี้
                                                                                                  ํ
   ับร
                               ระยะห่ างของหัวกระจายนํ้าดับเพลิงตามแนวกําแพง (Along the wall)
                               เรี ยกระยะนี้ว่า “S” โดยให้ใช้ตวเลขที่มากกว่าระหว่างตัวเลขที่วดได้จาก
                                                                  ั                            ั
                               ระยะห่ างของหัวถัดไป หรื อ 2 เท่าของตัวเลขที่วดได้จากระยะห่ างจาก
                                                                                   ั
                               ปลายกําแพง ( End Wall)
ฉบ

                               ระยะห่ างของหัวกระจายนํ้าดับเพลิงตามแนวขวางของห้อง (Across the
                               room) เรี ยกระยะนี้ ว่า “L” ใช้ตวเลขที่วดได้จากระยะห่ างของหัวกระจาย
                                                                ั       ั
                               นํ้าดับเพลิงถึงกําแพงฝั่งตรงข้าม หรื อตัวเลขที่วดได้จากกําแพงถึงกึ่งกลาง
                                                                                 ั
                                                                               ํ                    ่
                               ห้อง ในกรณี ที่ติดตั้งหัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่กาแพงทั้ง 2 ด้านที่อยูตรง
                               ข้ามกัน
                               พื้นที่ป้องกันของหัวกระจายนํ้าดับเพลิง = S X L
                               พื้นที่ป้องกันต่อหัวสู งสุ ดต่อหัวกระจายนํ้าดับเพลิงแบบติดกําแพง ให้
                               เป็ นไปตามคําแนะนําของผูผลิต ้




                                              -14-
าง
 4.2.4.12 สําหรับห้องที่จดอยู่ในพื้นที่ครอบครองอันตรายน้อย ที่มีขนาดพื้นที่น้อยกว่า 800
       ่                   ั
   ับร
          ตารางฟุต (74.3 ตารางเมตร) อนุโลมให้ติดตั้งหัวกระจายนํ้าดับเพลิงห่ างจากผนังห้อง
          ได้สูงสุ ดไม่เกิน 9 ฟุต (2.7เมตร) เมื่อวัดตั้งฉากกับผนัง
ฉบ

        2.3



        3.6                                                              8.2



        2.3       1.8                  4.6                   2.7




                                    -15-
ํ
 4.2.4.13 การหาพื้นที่ป้องกันต่อหัวกระจายนํ้าดับเพลิง ให้กาหนดดังต่อไปนี้
          (1) ระยะห่ างของหัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่อยูบนท่อย่อยเดียวกัน เรี ยกระยะนี้ ว่า “S”
                                                      ่
              โดยให้ใช้ตวเลขที่มากกว่าระหว่างตัวเลขที่วดได้จากระยะห่ างของหัวถัดไป หรื อ
                           ั                             ั
              2 เท่าของตัวเลขที่วดได้จากระยะห่างจากปลายกําแพง (End wall)
                                  ั
          (2) ระยะห่ างของหัวกระจายนํ้าดับเพลิงกับหัวกระจายนํ้าดับเพลิ งที่ อยู่บนท่อย่อย
              ถัดไป เรี ยกระยะนี้ ว่า “L” โดยให้ใช้ตวเลขที่มากกว่าระหว่างตัวเลขที่วดได้จาก
                                                    ั                              ั
              ระยะห่ างของหัวถัดไป หรื อ 2 เท่าของตัวเลขที่วดได้จากระยะห่ างจากปลาย
                                                               ั
              กําแพง (End Wall)
          (3) พื้นที่ป้องกันของหัวกระจายนํ้าดับเพลิง = S X L




       าง
       ่
   ับร
ฉบ



                                     -16-
ฉบ



-17-
          ับร
              ่
              าง
4.3 การติดตั้ง
    4.3.1 หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่นามาใช้ในการติดตั้ง จะต้องเป็ นของใหม่ที่ไม่เคยผ่านการใช้งานมาก่อน
                                       ํ
             และเป็ นชนิดที่ได้รับการรับรองจากสถาบันที่เชื่อถือได้เท่านั้น
    4.3.2 หัวกระจายนํ้าดับเพลิงจะต้องติดตั้งในตําแหน่งที่ระยะเวลาในการทํางาน (Activation Time) และ
             การกระจายนํ้า (Distribution) สามารถดับเพลิงได้ผลดี ไม่มีส่ิ งกีดขวางการกระจายนํ้า
    4.3.3 แผ่นกระจายนํ้าดับเพลิงจะต้องติดตั้งให้ขนานกับเพดาน ฝ้ า หรื อหลังคา
    4.3.4 ระยะติดตั้งหัวกระจายนํ้าดับเพลิง
             4.3.4.1 ระยะห่ างของหัวกระจายนํ้าดับเพลิงจากผนัง จะต้องมีระยะห่ างครึ่ งหนึ่งของระยะห่ าง
                      ระหว่างหัวกระจายนํ้าดับเพลิงแต่ละหัว และห่างจากผนังไม่นอยกว่า 100 มิลลิเมตร
                                                                                     ้
             4.3.4.2 ระยะห่ างของแผ่นกระจายนํ้าดับเพลิงที่ติดตั้งใต้เพดานของโครงสร้างที่ไม่มีส่ิ งกี ด
                      ขวาง จะต้องห่ างจากเพดานอย่างน้อย 25 มิลลิเมตร(1 นิ้ว) และห่ างมากสุ ดไม่เกิน 300


       าง
       ่              มิลลิเมตร (12 นิ้ว) ยกเว้นหัวกระจายนํ้าดับเพลิงแบบพิเศษให้ติดตั้งตามคําแนะนําของ
                      ผูผลิตที่ระบุไว้
                         ้
             4.3.4.3 กรณี ที่หวกระจายนํ้าดับเพลิงติดตั้งบริ เวณโครงสร้างที่กีดขวางการกระจายนํ้า สามารถ
                                 ั
   ับร
                                                  ่
                      ติดตั้งให้แผ่นกระจายนํ้าอยูใต้โครงสร้างในระยะ 25 มิลลิเมตร(1 นิ้ว) จนถึง 150
                      มิลลิเมตร(6 นิ้ว) และต้องห่ างจากเพดานได้สูงสุ ดไม่เกิน 559 มิลลิเมตร(22 นิ้ว)
             4.3.4.4 ระยะห่ างระหว่างหัวกระจายนํ้าดับเพลิงกับจุดใด ๆ ในพื้นที่ไม่ควรเกินกว่า 0.75 เท่า
                      ของระยะห่ างสู งสุ ด 3.4 เมตร หรื อ11.25 ฟุต สําหรับพื้นที่ครอบครองอันตรายน้อย
ฉบ

                      พื้นที่ครอบครองปานกลาง และ 2.8 เมตร หรื อ 9 ฟุต สําหรับพื้นที่ครอบครองปาน
                      กลาง
             4.3.4.5 ระยะห่ างระหว่างหัวกระจายนํ้าดับเพลิง ต้องติดตั้งให้ห่างกันมากกว่า 1.8 เมตร
             4.3.4.6 ตําแหน่งหัวกระจายนํ้าเพลิงแบบติดกําแพง (Sidewall) ต้องจัดวางให้แผ่นกระจายนํ้า
                      ดับเพลิง (Position Of Deflectors)
                      (1) ต้องห่ างจากเพดานอย่างน้อย 100 มิลลิเมตรแต่ตองไม่เกิน 150 มิลลิเมตร
                                                                            ้
                      (2) ต้องห่ างจากกําแพงอย่างน้อย 100 มิลลิเมตร
                      (3) เป็ นไปตามคําแนะนําของผูผลิต   ้
    4.3.5 สิ่ งกีดขวางการกระจายนํ้าจากหัวกระจายนํ้าดับเพลิง(Obstruction to Sprinkler Discharge)
             4.3.5.1 สิ่ งกีดขวางติดตั้งที่เพดาน (Obstruction at the ceiling)
                      (1) สิ่ งกีดขวางในแนวดิ่ง (Vertical Obstruction)
                            ระยะห่ างน้อยที่สุดจากสิ่ งกีดขวางแนวดิ่ง (Vertical Obstruction) ให้เป็ นไป
                            ตามตารางที่ 7 และรู ปที่ 1

                                                 -18-
ตารางที่ 7 ระยะห่ างน้ อยทีสุดในแนวราบของหัวกระจายนําดับเพลิงจากสิ่ งกีดขวางแนวดิ่ง
                                  ่                        ้
                                             (ข้อ 4.3.5.1)
      ขนาดของสิ่ งกีดขวางในแนวดิ่ง (ก)                       ระยะห่างน้อยที่สุดในแนวราบ (ข)
           น้อยกว่า 25 มิลลิเมตร                                     150 มิลลิเมตร
        25 มิลลิเมตร – 100 มิลลิเมตร                                 300 มิลลิเมตร
              > 100 มิลลิเมตร                                        600 มิลลิเมตร

                                     สิ่ งกีดขวางแนวดิ่ง


(ก)                                                                   หัวกระจายนํ้าดับเพลิง




       าง
       ่                                            (ข)
   ับร
                  รู ปที่ 1 ระยะห่ างของหัวกระจายนําดับเพลิงกับสิ่ งกีดขวางแนวดิง
                                                     ้                          ่
                                             (ข้อ 4.3.5.1)

                    (2) สิ่ งกีดขวางในแนวนอน (Horizontal Obstruction)
ฉบ

                        ระยะห่างน้อยที่สุดจากสิ่ งกีดขวางในแนวนอน (Horizontal Obstruction) ให้
                        เป็ นไปตามตารางที่ 8 และรู ปที่ 2




                                                  -19-
ตารางที่ 8 ตําแหน่ งของแผ่ นกระจายนําติดตั้งอยู่เหนือส่ วนล่ างสุ ดของสิ่งกีดขวาง
                                              ้
                                          (ข้อ 4.3.5.1)
ระยะห่างจากหัวกระจายนํ้าดับเพลิงถึงด้านใกล้สุด                ระยะห่างมากที่สุดของแผ่นกระจายนํ้า (Deflector)
        ของสิ่ งกีดขวาง (มิลลิเมตร) (ก)                        เหนือส่ วนล่างสุ ดของสิ่ งกีดขวาง (มิลลิเมตร) (ข)
                  น้อยกว่า 300                                                          0
                 > 300 ถึง 600                                                       25
                 > 600 ถึง 750                                                       50
                 > 750 ถึง 900                                                       75
                > 900 ถึง 1005                                                      100
               > 1005 ถึง 1200                                                      150
                > 1200 ถึง 1350                                                     175
                > 1350 ถึง 1500                                                     225



       าง
       ่        > 1500 ถึง 1650
                > 1650 ถึง 1800
                                                                                    275
                                                                                    350
   ับร
                                                               (ข)
ฉบ

                                                                                       หัวกระจายนํ้าดับเพลิง




                                                 (ก)

           รู ปที่ 2 ตําแหน่ งแผ่ นกระจายนําดับเพลิงเมื่อติดเหนือส่ วนล่ างสุ ดของสิ่ งกีดขวาง
                                           ้
                                              (ข้อ 4.3.5.1)

          4.3.5.2 สิ่ งกีดขวางติดตั้งใต้หวกระจายนํ้าดับเพลิง (Obstruction Located Below Sprinklers)
                                         ั
                  (1) ให้ติดตั้งหัวกระจายนํ้าดับเพลิงใต้ท่อลม และสิ่ งกีดขวางที่มีความกว้างมากกว่า
                        1.20 เมตร ยกเว้นหัวกระจายนํ้าดับเพลิงติดตั้งที่เพดานได้ การจัดระยะเป็ นไปตาม
                        ตารางที่ 8


                                                       -20-
(2) ระยะห่ างจากหัวกระจายนํ้าดับเพลิงถึงฉากกั้นห้องที่ติดตั้งไม่ถึงเพดาน ให้เป็ นไป
                   ตามตารางที่ 9 และรู ปที่ 3

    ตารางที่ 9 การติดตั้งหัวกระจายนําดับเพลิงสํ าหรับผนังกั้นห้ องทีติดตั้งไม่ ถึงเพดาน
                                    ้                               ่
                                      (ข้อ 4.3.5.2)
 ระยะห่างในแนวนอน (มิลลิเมตร)                 ระยะห่างน้อยที่สุดในแนวดิ่งระหว่างแผ่นกระจายนํ้า
              (ก)                                 เหนือส่ วนบนสุ ดของผนัง (มิลลิเมตร) (ข)
          น้อยกว่า 150                                              75
         > 150 ถึง 250                                              100
         > 250 ถึง 300                                              150
         > 300 ถึง 375                                              200
         > 375 ถึง 450                                              237



       าง
       ่ > 450 ถึง 600
         > 600 ถึง 750
             > 750
                                                                    312
                                                                    387
                                                                    450
   ับร
ฉบ


                  รู ปที่ 3 การติดตั้งหัวกระจายนําดับเพลิงสํ าหรับฉากกั้นห้ อง
                                                   ้
                                         (ข้อ 4.3.5.2)


                                           -21-
4.4 การทดสอบผลิตภัณฑ์
    4.4.1 ทัวไป
            ่
          4.4.1.1 เพื่อให้เป็ นไปตามมาตรฐาน หัวกระจายนํ้าดับเพลิงทุกประเภทต้องผ่านการทดสอบ
                    สมรรถนะดังนี้
          4.4.1.2 หัว กระจายนํ้าชนิ ดซ่ อนเหนื อฝ้ าหรื อหัวกระจายนํ้าชนิ ดจมฝ้ าต้องทําการทดสอบ
                    สมรรถนะขณะที่ถูกติดตั้งที่ความลึกสู งสุ ดที่ผผลิตยอมให้ติดตั้ง
                                                                 ู้
    4.4.2 ตัวอย่างทดสอบ (Samples)
          4.4.2.1 จํานวนตัวอย่างทดสอบขึ้นกับชนิดของหัวกระจายนํ้า และรายละเอียดการทดสอบ
    4.4.3 การทดสอบการรับแรงของส่ วนตอบสนองด้วยความร้อน (Load on Heat Responsive Element
          Test)
          4.4.3.1 ทดสอบโดยการให้แรงกระทําสู งกว่าที่แรงดันนํ้ากระทําบนส่ วนตอบสนองด้วยความ


       าง           ร้อนร้อยละ 10
          4.4.3.2 ทดสอบหัวกระจายนํ้าเป็ นจํานวน 25 หัว ของหัวกระจายนํ้าแต่ละชนิด
    4.4.4 การทดสอบความแข็งแรงของส่ วนตอบสนองด้วยความร้อน (Strength of Heat Responsive
       ่
   ับร
          Element Test)
          4.4.4.1 ส่ วนตอบสนองความร้อนแบบโลหะหลอมละลาย (Fusible Alloy Type)
                    ส่ วนตอบสนองด้วยความร้อนต้องมีสมบัติดงนี้ ั
                    ก) รับแรงกระทําได้ 15 เท่าของแรงกระทําที่ออกแบบไว้เป็ นเวลา 100 ชัวโมงหรื อ
                                                                                        ่
ฉบ

                    ข) สามารถรับแรงกระทําที่ออกแบบไว้สูงสุ ดได้ตามสมการ
                                   Ld ≤ 1.02 Lm 2 / Lo
                                   Ld  = แรงกระทําที่ออกแบบไว้สูงสุ ด
                                    Lm = แรงกระทําต่อเนื่ อง 1000 ชัวโมง
                                                                    ่
                                    Lo = แรงกระทําต่อเนื่ อง 1 ชัวโมง
                                                                 ่
            4.4.4.2 ส่ วนตอบสนองความร้อนแบบกระเปาะแก้วเปราะแตก (Frangible-bulb Type)
                    ก) ขีดจํากัดความแข็งแรงของกระเปาะแก้วได้จากการคํานวณ
                    ข) หัวกระจายนํ้าที่ใช้กระเปาะแก้วเปราะแตกต้องทนทานต่อการเปลี่ยนอุณหภูมิโดย
                         เฉี ยบพลัน (Thermal Shock) ได้โดยทดสอบให้กระเปาะมีอุณหภูมิต่ากว่าอุณหภูมิ
                                                                                       ํ
                         ใช้งานที่ระบุไว้ 11 องศาเซลเซี ยสแล้วนําไปจุ่มในอ่างของเหลวที่มีอุณหภูมิ 10
                         องศาเซลเซียส ได้โดยไม่แตก




                                               -22-
32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ
32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ
32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ
32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ
32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ
32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ
32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ
32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ
32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ
32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ

Contenu connexe

Tendances

ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
Thitaree Samphao
 
งานโลหะแผ่น3 1 2
งานโลหะแผ่น3 1 2งานโลหะแผ่น3 1 2
งานโลหะแผ่น3 1 2
Pannathat Champakul
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
wangasom
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
ครู กรุณา
 
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาดเรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
kruood
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
Wan Ngamwongwan
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
Lakkana Wuittiket
 
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
Anawat Supappornchai
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
krurutsamee
 

Tendances (20)

ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
งานโลหะแผ่น3 1 2
งานโลหะแผ่น3 1 2งานโลหะแผ่น3 1 2
งานโลหะแผ่น3 1 2
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
วงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้าน
วงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้านวงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้าน
วงจรไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้าน
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2553
 
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาดเรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้ง
 
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
 
ตารางการแจกแจง F
ตารางการแจกแจง Fตารางการแจกแจง F
ตารางการแจกแจง F
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
 
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
 
อินทิเกรต
อินทิเกรตอินทิเกรต
อินทิเกรต
 

En vedette

Connections in steel structures
Connections in steel structuresConnections in steel structures
Connections in steel structures
Rizwan Khurram
 
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpคู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
SKETCHUP HOME
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
techno UCH
 

En vedette (20)

STEEL CONSTRUCTION
STEEL CONSTRUCTIONSTEEL CONSTRUCTION
STEEL CONSTRUCTION
 
detailing for steel construction
detailing for steel constructiondetailing for steel construction
detailing for steel construction
 
Connections in steel structures
Connections in steel structuresConnections in steel structures
Connections in steel structures
 
Steel connections
Steel connectionsSteel connections
Steel connections
 
Honda cbr600 f evolution of the engine
Honda cbr600 f evolution of the engine   Honda cbr600 f evolution of the engine
Honda cbr600 f evolution of the engine
 
The innovated bike to travel 24 countries from malaysia to london
The innovated bike to travel 24 countries from malaysia to londonThe innovated bike to travel 24 countries from malaysia to london
The innovated bike to travel 24 countries from malaysia to london
 
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้างแจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
 
กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...
กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...
กระบวนการทำงานแบบ EASY BIM (ฺBuilding Information Modeling) ด้วยโปรแกรม Sketc...
 
หนังสืองานวิศวกรรมครบวงจรด้วยโปรแกรม SketchUp
หนังสืองานวิศวกรรมครบวงจรด้วยโปรแกรม SketchUpหนังสืองานวิศวกรรมครบวงจรด้วยโปรแกรม SketchUp
หนังสืองานวิศวกรรมครบวงจรด้วยโปรแกรม SketchUp
 
Profile builder เบื้องต้น
Profile builder เบื้องต้นProfile builder เบื้องต้น
Profile builder เบื้องต้น
 
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpคู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
 
Honda cbr600 f history of the marque uk models
Honda cbr600 f history of the marque   uk modelsHonda cbr600 f history of the marque   uk models
Honda cbr600 f history of the marque uk models
 
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
 
การทำ Component ให้เคลื่อนที่ได้ด้วยคำสั่ง Dynamic component
การทำ Component ให้เคลื่อนที่ได้ด้วยคำสั่ง Dynamic componentการทำ Component ให้เคลื่อนที่ได้ด้วยคำสั่ง Dynamic component
การทำ Component ให้เคลื่อนที่ได้ด้วยคำสั่ง Dynamic component
 
Fm model by SketchUp
Fm model by SketchUpFm model by SketchUp
Fm model by SketchUp
 
การพัฒรากระบวนการ BIM หรือ Building Information Modeling ที่ยั้งยืนในประเทศไทย
การพัฒรากระบวนการ BIM หรือ Building Information Modeling ที่ยั้งยืนในประเทศไทยการพัฒรากระบวนการ BIM หรือ Building Information Modeling ที่ยั้งยืนในประเทศไทย
การพัฒรากระบวนการ BIM หรือ Building Information Modeling ที่ยั้งยืนในประเทศไทย
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพหนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
 
คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUp
 
คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2
คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2
คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2
 

Similaire à 32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ

ระบบปรับอากาศในโรงพยาบาล
ระบบปรับอากาศในโรงพยาบาลระบบปรับอากาศในโรงพยาบาล
ระบบปรับอากาศในโรงพยาบาล
Abdulasit Abalee
 
บทที่ 1 อุปกรณ์จำลองสถานการณ์การฝึกทักษะ
บทที่ 1  อุปกรณ์จำลองสถานการณ์การฝึกทักษะบทที่ 1  อุปกรณ์จำลองสถานการณ์การฝึกทักษะ
บทที่ 1 อุปกรณ์จำลองสถานการณ์การฝึกทักษะ
ozonehome
 
Short_report_Senior Project_2008
Short_report_Senior Project_2008Short_report_Senior Project_2008
Short_report_Senior Project_2008
MooaKe Kub
 
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
Kasetsart University
 

Similaire à 32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ (7)

kaarkaeaebb_rabboprynam.pdf
kaarkaeaebb_rabboprynam.pdfkaarkaeaebb_rabboprynam.pdf
kaarkaeaebb_rabboprynam.pdf
 
[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วส
[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วส[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วส
[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วส
 
ระบบปรับอากาศในโรงพยาบาล
ระบบปรับอากาศในโรงพยาบาลระบบปรับอากาศในโรงพยาบาล
ระบบปรับอากาศในโรงพยาบาล
 
Fire  Safety  System & Codes
Fire  Safety  System & CodesFire  Safety  System & Codes
Fire  Safety  System & Codes
 
บทที่ 1 อุปกรณ์จำลองสถานการณ์การฝึกทักษะ
บทที่ 1  อุปกรณ์จำลองสถานการณ์การฝึกทักษะบทที่ 1  อุปกรณ์จำลองสถานการณ์การฝึกทักษะ
บทที่ 1 อุปกรณ์จำลองสถานการณ์การฝึกทักษะ
 
Short_report_Senior Project_2008
Short_report_Senior Project_2008Short_report_Senior Project_2008
Short_report_Senior Project_2008
 
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
รายงานผลการทดสอบมวลรวม ฉบับสมบูรณ์ วิชาปฏิบัติการวัสดุวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรร...
 

32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ

  • 1. มยผ. xxxx-51 มาตรฐานหัวกระจายนํ้าดับเพลิงอัตโนมัติ (Automatic Sprinklers for Fire-Protection) าง ่ ับร ฉบ รหัสมาตรฐาน…………………….. การและผังเมือง กรมโยธาธิ LOGO ชื่อมาตรฐาน……………………..กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2551
  • 2. LOGO มาตรฐานหัวกระจายนํา ้ าง ดับเพลิงอัตโนมัติ ่ ับร (Automatic Sprinklers for Fire-Protection) ฉบ มยผ. xxxx-51 กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย มยผ. xxxx-51 : มาตรฐานหัวกระจายนํ ้าดับเพลิงอัตโนมัติ
  • 3. บทนํา มาตรฐานนี้ ใช้สําหรั บหัวกระจายนํ้าดับเพลิ งอัตโนมัติสําหรั บ ติ ดตั้งในระบบหัว กระจายนํ้าอัตโนมัติเพื่อการดับเพลิง โดยมาตรฐานนี้ กล่าวถึงคุณลักษณะของหัวกระจายนํ้า ดับเพลิงอัตโนมัติ การออกแบบ การติดตั้ง การทดสอบการรับแรงของส่ วนตอบสนองความ ร้อน การทดสอบความแข็งแรงของส่ วนตอบสนองความร้อน การทดสอบการรั่วซึ ม การอัด แรงดันนํ้าทดสอบ การทดสอบความทนทานต่อการเกิ ดค้อนนํ้า การทดสอบอุณหภูมิการ ทํางานด้วยการแช่ในของเหลว การทดสอบความไวการทํางาน การทดสอบการทํางานด้วย การติ ด ตั้ง ในห้อ งทดสอบ การทดสอบการไหลต่ อ เนื่ อ ง การทดสอบที่ อุ ณ หภู มิ สูง การ าง ทดสอบความแข็งแรงของโครงหัวกระจายนํ้า การทดสอบการทนต่ อแรงกระแทก การ ทดสอบการทนต่อแรงสั่นสะเทือน การทดสอบการกระจายตัวของนํ้า การทดสอบการทน ต่อการกัดกร่ อน การทดสอบชิ้นส่ วนที่เป็ นยาง ่ ับร ฉบ มยผ. xxxx-51 : มาตรฐานหัวกระจายนํ ้าดับเพลิงอัตโนมัติ
  • 4. คณะทํางานจัดทํามาตรฐาน 1) ผูจดการโครงการ ้ั รศ.วิเชียร เต็งอํานวย 2) ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านวัสดุและผลิตภัณฑ์ดานการป้ องกันอัคคีภย (1) ้ ั ผศ.ดร.ชัชชาติ สิ ทธิพนธุ์ ั 3) ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านวัสดุและผลิตภัณฑ์ดานการป้ องกันอัคคีภย (2) ้ ั ผศ.ดร.ธัญวัฒน์ โพธิศิริ 4) ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมงานระบบหรื อความปลอดภัยจากอัคคีภย ั นายพิชญะ จันทรานุวฒน์ ั าง ่ นางสาวบุษกร แสนสุ ข นายจุลดิษย์ จายนียโยธิน นายปฐเมศ ผาณิตพจมาน ับร นายเอกชัย แก้ วกาญจนดิษฐ 5) ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านสถาปั ตยกรรม นายอาคม เวพาสยนันท์ 6) ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านกฎหมาย ฉบ รศ.ดร.วิศณุ ทรัพย์ สมพล มยผ. xxxx-51 : มาตรฐานหัวกระจายนํ ้าดับเพลิงอัตโนมัติ
  • 5. สารบัญ ส่ วนที่ หน้ า 1. ขอบข่าย 1 2. นิยาม 2 3. มาตรฐานอ้างถึง 4 4. มาตรฐานการทดสอบ 5 5. ภาคผนวก 31 5.1. เครื่ องหมายและฉลาก 31 าง 5.2. มาตรฐานอ้างอิง ่ 31 ับร ฉบ
  • 6. มยผ. xxxx-51 มาตรฐานหัวกระจายนําดับเพลิงอัตโนมัติ ้ 1. ขอบข่ าย 1.1 วัตถุประสงค์ 1.1.1 การกําหนดคุณสมบัติดานอัคคีภยของวัสดุหรื อผลิตภัณฑ์ที่ใช้งานในประเทศไทยนี้จดทําเพื่อเป็ น ้ ั ั แนวทางในการควบคุมมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ให้มีการออกแบบ ติดตั้ง และทดสอบผลิตภัณฑ์ให้ ได้มาตรฐานและสามารถใช้งานอย่างมีประสิ ทธิภาพ 1.1.2 มาตรฐานหัวกระจายนํ้าดับเพลิงอัตโนมัติน้ ี ได้กล่าวถึงคุณลักษณะผลิตภัณฑ์ การออกแบบ การ ติดตั้งและการทดสอบหัวกระจายนํ้าดับเพลิง เพื่อให้อุปกรณ์มีความพร้อมในการดับเพลิงได้ ทันทีตามความต้องการ สามารถทําการดับเพลิงที่เกิดขึ้นทันทีอย่างอัตโนมัติ ซึ่งเป็ นการดับไฟที่ าง 1.2 ขอบข่าย ่ บริ เวณต้นเหตุของเพลิง ทําให้เพลิงดับลงอย่างรวดเร็ ว ยับยั้งการเกิดควันไฟและความร้อนไม่ให้ ขยายตัวไปยังพื้นที่ขางเคียง เป็ นการป้ องกันชีวิตและทรัพย์สินได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ้ ับร 1.2.1 ข้อกําหนดต่าง ๆ ของมาตรฐานนี้ ครอบคลุมหัวกระจายนํ้าดับเพลิงอัตโนมัติสําหรับติดตั้งใน ระบบหัวกระจายนํ้าอัตโนมัติเพื่อการดับเพลิง ซึ่ งมีขอกําหนดสําหรับการติดตั้งและการใช้งาน ้ ของหัวกระจายนํ้าดับเพลิงรวมอยู่ในมาตรฐานป้ องกันอัคคีภยของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่ ง ั ประเทศไทย หรื อ มาตรฐานการติดตั้งระบบหัวกระจายนํ้าดับเพลิงอัตโนมัติ NFPA13 ฉบ 1.2.2 ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณสมบัติ พฤติกรรม ส่ วนประกอบ วัสดุ หรื อระบบที่ใหม่กว่าหรื อแตกต่างไปจาก ที่ครอบคลุมโดยมาตรฐานนี้ และมีความเกี่ยวข้องกับความเสี่ ยงที่เกี่ยวกับไฟไหม้หรื อไฟฟ้ าดูด หรื อเป็ นก่ อ ให้เ กิ ด การบาดเจ็บกับมนุ ษ ย์ตอ งได้รับการประเมิ น โดยใช้ขอกํา หนดเพิ่มเติ มที่ ้ ้ ่ เหมาะสมเพื่อรักษาระดับความปลอดภัยให้คงอยูตามเจตนารมณ์ของมาตรฐานนี้ ผลิตภัณฑ์ใดที่มี คุณสมบัติขดแย้งกับข้อกําหนดของมาตรฐานถือว่าไม่เป็ นไปตามมาตรฐานนี้ ั 1.2.3 หัว กระจายนํ้าดับ เพลิ ง ถู ก จํา แนกโดยระดับพิ กัด อุ ณ หภู มิทางาน ค่า สัมประสิ ทธ์ ก ารไหล K ํ ตําแหน่งการติดตั้ง ชนิดของการเคลือบผิวป้ องกัน และตัวแปรอื่นที่มีผลต่อการใช้งาน 1.2.4 เมื่ อข้อ กํา หนดในมาตรฐานนี้ อ้า งถึ ง หัว กระจายนํ้า ดับ เพลิ ง ชนิ ด ขยายความครอบคลุ ม นั่น หมายถึ งใช้บงคับกับทั้งหัว กระจายนํ้า ขยายความครอบคลุมกับพื้น ที่ อนตรายน้อยและพื้น ที่ ั ั อันตรายปานกลาง 1.2.5 กรณี อุปกรณ์มีสภาวะการทํางานจํากัด อุปกรณ์น้ นต้องถูกใช้งานภายใต้สภาวะที่ระบุไว้เท่านั้น ั -1-
  • 7. 2. นิยาม เพื่อให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของมาตรฐานนี้ ให้ใช้ความหมายของศัพท์ต่าง ๆ ดังนี้ นอกจากกรณี ระบุไว้เป็ น อย่างอื่น ศัพท์ ทวไป ั่ “ค่ าสั มประสิ ทธ์ การไหล K ” หมายถึงค่าสัมประสิ ทธิ์การไหลจากสู ตร Q=K P โดย Q หมายถึง อัตราการไหลหน่วยเป็ น ลิตรต่อวินาที P หมายถึง แรงดันนํ้าหน่วยเป็ น เมกะปาสกาล “ส่ วนตอบสนองต่ อความร้ อน” (Heat Responsive Element) หมายถึง ส่ วนประกอบของหัวกระจายนํ้าที่จะแตก ละลาย หรื ออย่างอื่น เพื่อเริ่ มการทํางานของหัวกระจายนํ้าได้โดยอัตโนมัติเมื่อได้รับความร้อนมากเพียงพอ “อุณหภูมิใช้ งาน” (Operating Temperature) หมายถึง ค่าอุณหภูมิที่ส่วนตอบสนองต่อความร้อนของหัวกระจาย าง ํ แรงดันนํ้าที่กาหนด ่ ่ ่ นํ้าทํางานเมื่อได้รับความร้อนที่อตราการเพิมอุณหภูมิ 0.5 องศาเซลเซียสต่อนาที ขณะแช่อยูในอ่างของเหลว ั “รู ทางผ่ านนํ้า” (Orifice) หมายถึง ช่องเปิ ดที่ควบคุมอัตราการไหลของนํ้าที่ปล่อยออกจากหัวกระจายนํ้าที่ค่า ับร “หัวกระจายนํ้าดับเพลิงอัตโนมัติ” (Automatic Sprinkler) หมายถึง หัวกระจายนํ้าที่สามารถเปิ ดให้น้ าไหลได้ ํ โดยอัตโนมัติจากการทํางานของส่ วนตอบสนองต่ อความร้ อนที่ ปิดรู ทางผ่านนํ้าไว้ในสภาวะปกติ และหัว ํ กระจายนํ้าที่ติดตั้งบนระบบท่อยืนที่จะกระจายนํ้าในรู ปแบบที่กาหนดไว้เพื่อการควบคุมเพลิง คําจํากัดความของชนิดของหัวกระจายนําดับเพลิง ้ ฉบ “หัวกระจายนําดับเพลิงชนิดขยายความครอบคลุมพืนทีอนตรายน้ อย” หมายถึง หัวกระจายนํ้าที่จะ ้ ้ ่ั ก) ใช้ติดตั้งโดยมีระยะห่ างแต่ละหัวมากกว่าระยะห่ างปกติ ข) เริ่ มทํางานได้โดยอัตโนมัติโดยส่ วนตอบสนองความร้อนและกลไกการปล่อยนํ้าที่มีระยะเวลาตอบสนอง เท่ากับหรื อตํ่ากว่าหัวกระจายนํ้าประเภทความเร็ วการตอบสนองปกติที่มีระยะห่างการติดตั้งปกติ ค) ปล่อยนํ้าเหนือพื้นที่ครอบคลุมที่ระบุ ขณะได้รับอัตราการไหลของนํ้าตํ่าสุ ดที่กาหนดํ ั ํ ง) สําหรั บใช้กบพื้นที่ ครอบคลุมอันตรายน้อยที่กาหนดในมาตรฐานป้ องกันอัคคีภยของสมาคมวิศวกรรม ั สถานแห่ งประเทศไทย หรื อมาตรฐาน NFPA13, Standard for the Installation of Sprinkler Systems “หัวกระจายนําดับเพลิงชนิดขยายความครอบคลุมพืนทีอนตรายปานกลาง” หมายถึง หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่ ้ ้ ่ั ก) ใช้ติดตั้งโดยมีระยะห่ างแต่ละหัวมากกว่าระยะห่างปกติ ข) เริ่ มทํางานได้โดยอัตโนมัติโดยส่ วนตอบสนองความร้อนและกลไกการปล่อยนํ้าที่มีระยะเวลาตอบสนอง เท่ากับหรื อตํ่ากว่าหัวกระจายนํ้าประเภทความเร็ วการตอบสนองปกติที่มีระยะห่ างการติดตั้งปกติ ค) ปล่อยนํ้าเหนือพื้นที่ครอบคลุมที่ระบุ ขณะได้รับอัตราการไหลของนํ้าตํ่าสุ ดที่กาหนด ํ -2-
  • 8. ํ ง) สําหรับใช้กบพื้นที่ครอบคลุมอันตรายปานกลางที่กาหนดในมาตรฐานป้ องกันอัคคีภยของสมาคมวิศวกรรม ั สถานแห่ งประเทศไทย หรื อมาตรฐาน NFPA13, Standard for the Installation of Sprinkler Systems ฉบับ ล่าสุ ด “หัวกระจายนําดับเพลิงชนิดฝังเสมอแนวฝ้ า” (Flush Ceiling Sprinkler) หมายถึงหัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่มีส่วน ้ ที่โผล่พนฝ้ าเพดานลงมาเพียงเล็กน้อย ้ “หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่มีการเคลือบผิว การเคลือบสี ที่ผิว หรือการชุ บโลหะที่ผิว” (Coated, Painted or Plated Sprinkler) หมายถึง หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่ได้รับการเคลือบผิว หรื อ ทําสี หรื อชุบโลหะมาจากโรงงานโดยมี วัตถุประสงค์เพื่อการตกแต่ง “หัวกระจายนํ้าดับเพลิงชนิดซ่ อนในฝ้ าเพดาน” (Concealed Ceiling Sprinkler) หมายถึง หัวกระจายนํ้าดับเพลิง ที่ซ่อนอยูในฝ้ าเพดานและมีฝาครอบที่ติดตั้งปิ ดอยูในแนวฝ้ าเพื่อความสวยงาม ่ ่ “หัวกระจายนํ้าดับเพลิงชนิดท่ อแห้ ง” (Dry Type Sprinkler) หมายถึง หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่ติดตั้งร่ วมกับ าง อุปกรณ์ที่สามารถกักนํ้าไว้จนกว่าหัวกระจายนํ้าดับเพลิงจะทํางานจึงปล่อยนํ้าเข้าสู่ หวกระจายนํ้า ซึ่งหัวกระจาย นํ้านี้หมายถึงหัวกระจายนํ้าแบบตั้งขึ้น ควํ่าลง ติดผนัง หัวจม และอื่น ๆ ั “หัวกระจายนํ้าดับเพลิงรุ่ นเก่ า” (Conventional (Old Style) Sprinkler)) หมายถึง หัวกระจายนํ้าที่ใช้ติดตั้งแบบ ่ ับร หงายขึ้น หรื อแบบควํ่าลง ที่กระจายนํ้าระหว่างร้อยละ 40 ถึง 60 ของปริ มาณนํ้าทั้งหมดลงสู่พ้ืนด้านล่าง โดยการ กระจายนํ้าจะครอบคลุมพื้นที่รัศมี 3.05 เมตรใต้หวกระจายนํ้าที่อตราการไหล 0.95 ลิตรต่อวินาที ั ั “หัวกระจายนํ้าที่สามารถควบคุมอัตราการไหล” (Flow Control (FC) Sprinkler) หมายถึง หัวกระจายนํ้าที่ สามารถควบคุมอัตราการไหลของนํ้าได้เองโดยอัตโนมัติตามช่วงอุณหภูมิที่กาหนด ํ ฉบ “หัวกระจายนํ้าดับเพลิงเคลือบขีผึงสํ าหรับอุณหภูมิแวดล้ อมสู ง” (High Temp, Wax Coated Sprinkler) หมายถึง ้ ้ หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่ใช้ติดตั้งในพื้นที่ที่ตองการทนต่อการกัดกร่ อนและมีอุณหภูมิแวดล้อมสู งไม่เกิน 65.56 ้ องศาเซลเซียส “หัวกระจายนํ้าดับเพลิงชนิดหัวเปิ ด” (Open Sprinkler) หมายถึง หัวกระจายนํ้าดับเพลิงแบบอัตโนมัติที่ถูกถอด เอาส่ วนตอบสนองต่อความร้อนออกไปแล้ว และรู ทางผ่านนํ้าถูกเปิ ดอยู่ “หัวกระจายนํ้าแบบควํ่าลง” (Pendent Sprinkler) หมายถึงหัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่ติดตั้งโดยให้แผ่นกระจายนํ้า ่ ํ อยูต่ากว่ารู ทางผ่านนํ้าและมีทิศทางการไหลของนํ้าไหลลงจากรู ทางผ่านนํ้า “หัวกระจายนํ้าดับเพลิงแบบตอบสนองไว” (Quick Response (QR) Sprinkler) หมายถึงหัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่ เป็ นตามข้อกําหนดของการทดสอบความไวในการทํางานที่ติดตั้งโดยมีระยะห่างระหว่างหัวปกติ “หัวกระจายนํ้าแบบตอบสนองไวขยายพืนที่ครอบคลุมกับพืนที่อันตรายน้ อย” (Quick Response-extended ้ ้ Coverage Light Hazard Occupancy) หมายถึง หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่เป็ นไปตามข้อกําหนดของมาตรฐานและ ผ่านการทดสอบความไวในการตอบสนองแล้วและมีการติดตั้งโดยมีระยะการติดตั้งห่ างกว่าหัวกระจายนํ้าแบบ -3-
  • 9. มาตรฐาน และเป็ นไปตามข้อกําหนดของหัวกระจายนํ้าดับเพลิงชนิ ดขยายพื้นที่ครอบคลุมกับพื้นที่อนตรายน้อยั แล้ว “หัวกระจายนําแบบตอบสนองไวขยายพืนที่ครอบคลุมกับพืนที่อนตรายปานกลาง” (Quick Response-extended ้ ้ ้ ั Coverage Ordinary Hazard Occupancy) หมายถึง หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่เป็ นไปตามข้อกําหนดของมาตรฐาน และผ่านการทดสอบความไวในการตอบสนองแล้วและมีการติดตั้งโดยมีระยะการติดตั้งห่ างกว่าหัวกระจายนํ้า แบบมาตรฐาน และเป็ นไปตามข้อกําหนดของหัวกระจายนํ้าดับเพลิงชนิดขยายพื้นที่ครอบคลุมกับพื้นที่อนตราย ั ปานกลางแล้ว “หัวกระจายนํ้าดับเพลิงชนิดฝังในฝ้ าเพดาน” (Recessed Sprinkler) หมายถึง หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่ส่วน ทั้งหมดของตัวหัวกระจายนํ้า หรื อ โครง หรื อส่ วนอื่นใดนอกเหนื อจากเกลียวต่อท่อหัวกระจายนํ้า ถูกติดตั้งอยู่ ในตัวเรื อนที่จมอยูเ่ หนือฝ้ าหรื อผนัง “หัวกระจายนําดับเพลิงชนิดติดตั้งบนผนัง” (Sidewall Spray Sprinkler) หมายถึง หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่ติดตั้ง ้ กลม าง บนผนังบริ เวณใกล้ฝ้าเพดานและมีการกระจายนํ้าลงไปบนผนังและพุ่งออกไปในรู ปแบบหนึ่ งส่ วนสี่ ของทรง “หัวกระจายนํ้าดับเพลิงชนิดหัวโปรยนํ้า” (Water Spray Sprinkler) หมายถึง หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่ติดตั้งใน ่ ับร รู ปแบบหงายขึ้น หรื อควํ่าลงที่มีการกระจายนํ้าลงบนพื้นเป็ นรู ปทรงร่ ม โดยมีค่าสัมประสิ ทธิ การไหลที่ K=5.6 ครอบคลุมพื้นที่รูปวงกลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 4.88 เมตรใต้หัวกระจายนํ้าสู ง 1.22 เมตร ที่อตราการไหล ั 0.95 ลิตรต่อวินาที (15 แกลลอนต่อนาที) “หัวกระจายนํ้าชนิดหงาย” (Upright sprinkler) หมายถึง หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่ติดตั้งโดยมีแผ่นกระจายนํ้าอยู่ ฉบ เหนือรู ทางผ่านนํ้าและการไหลของนํ้าไหลขึ้นผ่านรู ทางผ่านนํ้า 3. มาตรฐานอ้างถึง 3.1 มาตรฐานที่ใช้อางถึงในส่ วนนี้ประกอบด้วย ้ 3.1.1 มาตรฐานป้ องกันอัคคีภย ของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทย ั 3.1.2 NFPA 13, Standard for Installation Sprinkler System 3.1.3 NFPA15, Standard for Water Spray Fixed Systems for Fire Protection 3.1.4 UL 157, Standard for Gaskets and Seals -4-
  • 10. 4. มาตรฐานการทดสอบ 4.1 คุณลักษณะผลิตภัณฑ์ 4.1.1 ทัวไป ่ 4.1.1.1 หัวกระจายนํ้าดับเพลิงอัตโนมัติตองสร้างให้มีการป้ องกันการรั่วซึ มของนํ้าและเมื่อ ้ อุปกรณ์เปิ ดใช้งาน ส่ วนประกอบที่ใช้ในการกักนํ้าทั้งหมดต้องสามารถหลุดออกจาก ตัวหัวกระจายนํ้าดับเพลิงได้ท้ งหมดที่แรงดัน 0.034 เมกะปาสกาล (5 ปอนด์ต่อ ั ตารางนิ้ว) เป็ นอย่างน้อยจนถึงพิกดแรงดันใช้งานโดยไม่กีดขวางการไหลของนํ้า ั 4.1.1.2 ชิ้นส่ วนที่ถูกกดพิมพ์ข้ ึนรู ปบนตัวหัวกระจายนํ้าดับเพลิงต้องไม่มีการแตกร้าวหรื อแยก ส่ วนและมีขอบรอยตัดที่เรี ยบสะอาด 4.1.1.3 ส่ วนประกอบต่าง ๆ ของหัวกระจายนํ้าดับเพลิงต้องมีการใช้กาวเคมี หรื อกลไกการ ประกอบที่ทาให้ไม่สามารถใช้เครื่ องมือในการปรับตั้งชิ้นส่ วนได้โดยเครื่ องมือช่าง ํ าง ทัวไปและไม่ก่อให้เกิดความเสี ยหายที่มองเห็นไดักบตัวหัวกระจายนํ้า ่ 4.1.2 เกลียวด้านขาเข้า ่ ั 4.1.2.1 หัวกระจายนํ้าดับเพลิงต้องมีเกลียวตัวผูทางด้านขาเข้า ขนาดเป็ นไปตามที่กาหนดใน ้ ํ ับร ตาราง 1 ตารางที่ 1 ค่ าสั มประสิ ทธิ์การไหลและขนาดเกลียว (ข้อ 4.1.2.1) ค่าสัมประสิ ทธิ์การไหล, K Discharge coefficient, K ชนิดเกลียวนอก ฉบ 1.4 1.3 – 1.5 ½ นิ้ว NPT 1.9 1.8 – 2.0 ½ นิ้ว NPT 2.8 2.6 – 2.9 ½ นิ้ว NPT 4.2 4.0 – 4.4 ½ นิ้ว NPT 5.6 5.3 – 5.8 ½ นิ้ว NPT 8.0 7.4 – 8.2 ¾ นิ้ว NPT หรื อ ½ นิ้ว NPT 11.2 11.0 – 11.5 ¾ นิ้ว NPT หรื อ ½ นิ้ว NPT 14.0 13.5 – 14.5 ¾ นิ้ว NPT 4.1.2.2 เกลียวของหัวกระจายนํ้าต้องมีรอยกัดที่สะอาดและไม่มีรอยสะดุด หรื อบิ่นแหว่ง ั 4.1.3 พิกดอุณหภูมิใช้งาน (Temperature Rating) 4.1.3.1 พิ กัด อุ ณ หภู มิ แ ละการแบ่ ง ประเภทอุ ณ หภู มิ แ วดล้อ มของหั ว กระจายนํ้า ดับ เพลิ ง อัตโนมัติ เป็ นไปตามตารางที่ 2 -5-
  • 11. ตารางที่ 2 ระดับอุณหภูมิการทํางานและรหัสสี (ข้อ 4.1.3.1) รหัสสี อุณหภูมิสูงสุ ดที่ อุณหภูมิทางาน, ํ ระดับอุณหภูมิ ระดับเพดาน, องศา องศาเซลเซี ยส Fusible Type กระเปาะแก้ว เซลเซี ยส ธรรมดา (Ordinary) 57 – 77 ไม่มีสี หรื อ สี ส้ม หรื อ แดง 38 ปานกลาง (Intermediate) 79 – 107 ดํา เหลือง หรื อ เขียว 66 สูง (High) 121 – 149 ขาว นํ้าเงิน 107 สูงมาก (Extra high) 163 – 191 นํ้าเงิน ม่วง 149 สูงมากพิเศษ 204 – 246 แดง ดํา 191 (Very extra high) เขียว สู งยิงยวด (Ultra high) ่ 260 - 302 ส้ม ดํา 246 าง ่ ั 4.1.3.2 พิกดแรงดันใช้งาน ับร ั 4.1.3.2.1 หัวกระจายนํ้าดับเพลิงต้องมีพิกดแรงดันใช้งานที่ 1.2, 1.7 หรื อ 2.1 เมกะ ปาสกาล (175 , 250 หรื อ 300 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว) 4.1.4 ค่าสัมประสิ ทธิ์การไหล K 4.1.4.1 หัวกระจายนํ้าดับเพลิงต้องมีค่าสัมประสิ ทธิ์การไหลเป็ นไปตามตารางที่ 1 ฉบ 4.1.4.2 เส้นผ่านศูนย์กลางของรู ทางผ่านนํ้าหรื อทางไหลของนํ้าใด ๆ ต้องมีขนาดอย่างน้อย 5.3 มิลลิเมตร 4.1.5 การเคลือบผิวและการชุบเคลือบผิว (Coatings and plating) 4.1.5.1 การทํางานและพฤติกรรมการกระจายนํ้าของหัวกระจายนํ้าต้องไม่ได้รับผลกระทบ จากการเคลือบผิว หรื อชุบผิวใด ๆ ที่กระทําโดยโรงงานผูผลิต ้ 4.1.5.2 การเคลือบผิวหรื อชุ บผิวป้ องกันการกัดกร่ อน ต้องมีการกระทําโดยสมํ่าเสมอตลอด ชิ้นงาน 4.1.5.3 การเคลือบขี้ผ้ งต้องไม่มีการแตกกะเทาะตามอายุการใช้งาน ึ 4.1.5.4 หัวกระจายนํ้าที่ ใช้กระเปาะแก้วแตกได้เป็ นส่ วนตอบสนองต่ อความร้ อนต้องมี ฝา ครอบป้ องกันกระเปาะแก้วระหว่างการติดตั้งและต้องถูกถอดออกก่ อนเปิ ดใช้งาน ระบบหัวกระจายนํ้า ทั้งนี้ หวกระจายนํ้าแบบซ่อนเหนื อฝ้ าหรื อหัวกระจายนํ้าที่มีโครง ั ลวดกันกระแทก อาจไม่จาเป็ นต้องมีการติดตั้งฝาครอบป้ องกันกระเปาะแก้วระหว่าง ํ การขนส่ งและติดตั้ง -6-
  • 12. 4.2 การออกแบบ 4.2.1 ข้อกําหนดในการออกแบบผลิตภัณฑ์จะต้องเป็ นไปตามคุณลักษณะที่ระบุไว้ในมาตรฐานนี้ และ ได้ผ่ า นการทดสอบและรั บ รองจากสถาบัน การทดสอบที่ น่ า เชื่ อ ถื อ ภายในประเทศ หรื อ ต่างประเทศ จึงจะสามารถนําไปใช้ในการติดตั้งได้ 4.2.2 ให้ออกแบบและติดตั้งระบบหัวกระจายนํ้าดับเพลิงตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เช่น กฎหมายควบคุม อาคาร ฉบับที่ 33 พ.ศ. 2535 กําหนดให้อาคารสู งหรื ออาคารขนาดใหญ่พิเศษต้องจัดให้มีระบบ ดับเพลิงอัตโนมัติ เช่น ระบบหัวกระจายนํ้าดับเพลิงอัตโนมัติ (Automatic Sprinkler System) หรื อระบบอื่นที่เทียบเท่า ที่สามารถทํางานได้ทนทีเมื่อเกิดเพลิงไหม้ ั 4.2.3 ข้อกําหนดในการออกแบบระบบหัวกระจายนํ้าดับเพลิงอัตโนมัติ (Automatic Sprinkler System) ต้อ งออกแบบทั้ง ระบบให้ เ ป็ นไปตามหลัก วิ ศ วกรรมที่ ถู ก ต้อ ง โดยสามารถออกแบบตาม มาตรฐานป้ องกันอัคคีภยของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่ งประเทศไทย ซึ่ งมาตรฐานดังกล่าวจะ ั าง ่ กล่าวถึงการออกแบบทั้งระบบ ซึ่ งจะประกอบด้วย ระบบการส่ งนํ้า ระบบท่อนํ้า วาล์วควบคุม หัวกระจายนํ้าดับเพลิง และอุปกรณ์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ระบบมีความพร้อมในการใช้งานและ สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ ับร 4.2.4 ข้อกําหนดในการออกแบบเฉพาะส่ วนของหัวกระจายนํ้าดับเพลิงอัตโนมัติตามมาตรฐานป้ องกัน อัคคีภย สมาคมวิศวกรรรมสถานแห่งประเทศไทย มีดงนี้ ั ั 4.2.4.1 ออกแบบและเลือกใช้ชนิ ดของหัวกระจายนํ้าดับเพลิงให้เหมาะสมกับระดับอันตราย ในพื้นที่ ซึ่ งจะขึ้นอยู่กบชนิ ดและปริ มาณของวัสดุ ที่เป็ นเชื้ อเพลิงที่ปรากฏในพื้นที่ ั ฉบ นั้นๆ ว่ามีจานวนมากน้อยเพียงใด ตามมาตรฐานจําแนกประเภทของพื้นที่ครองครอง ํ ออกเป็ น 3 ประเภท ดังนี้ :- ก) พื้นที่ครอบครองอันตรายน้อย (Light Hazard Occupancies) ข) พื้นที่ครอบครองอันตรายปานกลาง (Ordinary Hazard Occupancies) ค) พื้นที่ครอบครองอันตรายมาก (Extra Hazard Occupancies) ตัวอย่างพื้นที่ครอบครองอันตรายน้อย ั ่ พื้นที่ดงต่อไปนี้ หรื อคล้ายกันให้จดอยูในประเภทเดียวกัน ั - ที่พกอาศัย ั - สํานักงานทัวไป ่ - โบสถ์ วัด และวิหาร - สโมสร - สถานศึกษา - โรงพยาบาล (ควบคุมวัสดุตามมาตรฐานโรงพยาบาล) -7-
  • 13. - สถานพยาบาลและพักฟื้ น (ควบคุมวัสดุตามมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง) - ห้องสมุด (ยกเว้นห้องสมุดที่มีช้ นวางหนังสื อขนาดใหญ่) ั - พิพิธภัณฑ์ ตัวอย่างพื้นที่ครอบครองอันตรายปานกลาง พื้นที่ครอบครองอันตรายปานกลาง ได้แบ่งการจัดออกเป็ น 2 กลุ่ม พื้นที่ครอบครองอันตรายปานกลาง กลุ่มที่ 1 พื้นที่ดงต่อไปนี้ หรื อคล้ายกัน ให้จดอยูในกลุ่มเดียวกัน ั ั ่ - ที่จอดรถยนต์และห้องแสดงรถยนต์ - โรงงานผลิตอุปกรณ์อีเลคทรอนิคส์ - โรงงานผลิตเครื่ องดื่ม - ร้านทําขนมปัง าง - ร้านซักผ้า - โรงงานผลิตอาหารกระป๋ อง - โรงงานผลิตแก้ว และวัสดุที่ทาจากแก้ว ่ - ภัตตาคาร ํ ับร - โรงงานผลิตเครื่ องบริ โภคประจําวัน - โรงภาพยนตร์ และศูนย์ประชุม (ไม่รวมเวที และเวทีหลังม่าน) พื้นที่ครอบครองอันตรายปานกลาง กลุ่มที่ 2 พื้นที่ดงต่อไปนี้ หรื อคล้ายกัน ให้จดอยูในกลุ่มเดียวกัน ั ั ่ ฉบ - โรงงานผลิตสิ นค้าที่ทาจากหนังสัตว์ ํ - โรงงานผลิตลูกกวาดและลูกอม - โรงงานผลิตสิ่ งทอ - โรงงานยาสูบ - โรงงานประกอบผลิตภัณฑ์ไม้ - โรงพิมพ์และสิ่ งพิมพ์โฆษณา - โรงงานใช้สารเคมี - โรงสี ขาว ้ - โรงกลึง - โรงงานประกอบผลิตภัณฑ์โลหะ - โรงต้มกลัน ่ - อู่ซ่อมรถยนต์ -8-
  • 14. - โรงงานผลิตยางรถยนต์ - โรงงานแปรรู ปไม้ดวยเครื่ อง ้ - โรงงานกระดาษและผลิตเยือกระดาษ ่ - โรงงานผลิตภัณฑ์กระดาษ - ท่าเรื อและสะพานส่ วนที่ยนไปในนํ้า ื่ - โรงงานผลิตอาหารสัตว์ - โรงภาพยนต์ - โรงมหรสพที่มีการแสดง - ที่ทาการไปรษณี ย ์ ํ - ร้านค้า - ห้องสมุด (มีช้ นเก็บหนังสื อขนาดใหญ่) ั าง - ร้านซักแห้ง - ห้องเก็บของ - ห้างสรรพสิ นค้า ่ - ซุปเปอร์สโตร์ ับร ตัวอย่างพื้นที่ครอบครองอันตรายมาก พื้นที่ครอบครองอันตรายมาก แบ่งเป็ น 2 กลุ่ม ดังนี้ พื้นที่ครอบครองอันตรายมากกลุ่มที่ 1 พื้นที่กลุ่มนี้ จะมีลกษณะการใช้งานที่เกี่ยวข้องกับของเหลวติดไฟ (Combustible ั ฉบ Liquid) หรื อของเหลวไวไฟ (Flammable Liquid) ในปริ มาณไม่มาก พื้นที่ดงต่อไปนี้ หรื อคล้ายกันให้จดอยูในกลุ่มเดียวกัน ั ั ่ - โรงเก็บและซ่อมเครื่ องบิน - พื้นที่ที่ใช้งานโดยมีของเหลวไฮดรอลิคติดไฟได้ - หล่อด้วยแบบโลหะ - ขึ้นรู ปโลหะ - โรงงานผลิตไม้อดและไม้แผ่น ั - โรงพิมพ์ (ใช้หมึกพิมพ์ที่มีจุดวาบไฟตํ่ากว่า 37.90 เซลเซียส) - อุตสาหกรรมยาง - โรงเลื่อย - โรงงานสิ่ งทอรวมทั้งโรงฟอก, ย้อม, ปั่นฝ้ าย, เส้นใยสังเคราะห์ และฟอกขน สัตว์ -9-
  • 15. - โรงทําเฟอร์นิเจอร์ดวยโฟม ้ พื้นที่ครอบครองอันตรายมากกลุ่มที่ 2 พื้นที่กลุ่มนี้ จะมีลกษณะการใช้งานที่เกี่ยวข้องกับของเหลวติดไฟ (Combustible ั Liquid) หรื อของเหลวไวไฟ (Flammable Liquid) โดยตรง ั ่ พื้นที่ดงต่อไปนี้หรื อคล้ายกันให้จดอยูในลําดับเดียวกัน ั - โรงงานผลิตยางมะตอย - โรงพ่นสี - โรงกลันนํ้ามัน ่ - โรงงานผลิตนํ้ามันเครื่ อง - พื้นที่ที่ใช้สารฉีดชนิดของเหลวติดไฟได้ - โรงชุบโลหะที่ใช้น้ ามัน ํ าง ่ - อุตสาหกรรมพลาสติก - พื้นที่ลางโลหะด้วยสารละลาย ้ - การเคลือบสี ดวยการจุ่ม ้ 4.2.4.2 ต้องออกแบบหัวกระจายนํ้าดับเพลิงให้ติดตั้งครอบคลุมทัวทั้งอาคาร นอกจากพื้นที่ ับร ่ บางส่ วนที่ได้รับการพิจารณาให้ยกเว้น เช่น ก) ห้องไฟฟ้ าที่ติดตั้งเฉพาะอุปกรณ์ไฟฟ้ าชนิดแห้ง (Dry Type) โดยห้องจะต้องสร้าง ด้วยผนังทนไฟไม่นอยกว่า 2 ชัวโมง และไม่ใช้เป็ นที่เก็บของ ้ ่ ข) อาคารจอดรถที่มีผนังเปิ ดโล่งเหนื อระดับพื้นดินที่ผนังตรงข้ามเปิ ดอย่างน้อย 2 ฉบ ด้าน และผนังที่เปิ ดต้องห่ างกันไม่เกิน 23 เมตร (75ฟุต) มีพ้ืนที่เปิ ดที่ผนังแต่ละ ด้านไม่นอยกว่าร้อยละ 40 และช่องเปิ ดต้องกว้างอย่างน้อย 760 มิลลิเมตร (30 นิ้ว) ้ โดยอาคารจอดรถจะต้องเป็ นอาคารที่มีโครงสร้างแยกอิสระจากอาคารที่ใช้งาน ประเภทอื่น ค) ช่องว่างในฝ้ าที่มีวสดุไม่ติดไฟ (Non combustible Material) หรื อวัสดุที่อตราการ ั ั แพร่ กระจายเปลวเพลิง(Flame Spread Rating) น้อยกว่า 25 หรื อวัสดุที่ให้ความ ร้อนจากผิวและฉนวนไม่เกิน 1,000 บีทียต่อตารางฟุต ู ง) ห้องหรื อพื้นที่ที่การฉี ดนํ้าจากหัวกระจายนํ้าดับเพลิงอาจเป็ นอันตรายต่อชีวิต เช่น ห้องผ่าตัด ห้องเด็กแรกเกิด 4.2.4.3 หัวกระจายนํ้าดับเพลิงจะต้องเลือกชนิด และติดตั้งให้ถูกต้องตามคําแนะนําของผูผลิต ้ -10-
  • 16. 4.2.4.4 หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่ติดตั้งในระบบท่อเปี ยกที่ใช้ทวไปให้ใช้รูทางผ่านนํ้า (Orifice) ั่ ขนาดมาตรฐาน (Standard Orifice) มีขนาดไม่นอยกว่า 15 มิลลิเมตร (1/2นิ้ว) ยกเว้น ้ จะระบุขนาดรู ทางผ่านนํ้า (Orifice) เป็ นอย่างอื่น 4.2.4.5 หัวกระจายนํ้าดับเพลิงจะต้องเลือกอุณหภูมิทางาน (Temperature Rating) ให้เหมาะสม ํ กับพื้นที่ที่ติดตั้งตามที่ระบุในตารางที่ 3 ตารางที่ 3 อุณหภูมิทางาน, ระดับอุณหภูมิ และรหัสสี ของหัวกระจายนําดับเพลิง ํ ้ (ข้อ 4.2.4.5) อุณหภูมิสูงสุ ด รหัสสี (Color Code) ระดับอุณหภูมิทางาน ํ ที่ระดับเพดาน (oซ) o อุณหภูมิทางาน ( ซ) ํ Temperature Maximum Ceiling Temperature Rating Fusible Type Glass Bulb Classification Temperature าง ่ 38 66 107 149 57 ถึง 77 79 ถึง 107 121 ถึง 149 163 ถึง 191 ธรรมดา ปานกลาง สูง สูงมาก ไม่มีสี สี ขาว นํ้าเงิน แดง ส้มหรื อแดง เหลืองหรื อเขียว นํ้าเงิน ม่วง ับร 191 204 ถึง 246 สูงมากพิเศษ เขียว ดํา 246 260 ถึง 302 สูงยิงยวด ่ ส้ม ดํา 4.2.4.6 หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่ติดตั้งในบริ เวณที่หัวมีโอกาสถูกทําให้เสี ยหาย จะต้องมี ฉบ อุปกรณ์ป้องกันการกระแทกหัวกระจายนํ้าดับเพลิง (Sprinkler Guard) ติดตั้งที่ครอบ หัวด้วย ํ 4.2.4.7 การออกแบบพื้นที่ป้องกันสู งสุ ดต่อหัวกระจายนํ้าดับเพลิง จะต้องไม่เกินค่าที่กาหนด ในตารางที่ 4 -11-
  • 17. ตารางที่ 4 พืนทีปองกันสู งสุ ดต่ อหัวกระจายนําดับเพลิง ้ ่้ ้ (ข้อ 4.2.4.7) พื้นที่ครอบครอง อันตรายน้อย อันตรายปานกลาง อันตรายมาก ตารางเมตร ตารางเมตร ตารางเมตร (ตารางฟุต) (ตารางฟุต) (ตารางฟุต) ไม่มีส่ิ งกีดขวางจากโครงสร้าง 20.9 12.1 9.3 (225) (130) (100) โครงสร้างที่กีดขวางไม่ติดไฟ 18.6 12.1 9.3 (200) (130) (100) โครงสร้างที่กีดขวางติดไฟ 15.6 12.1 9.3 (168) (130) (100) าง ่ 4.2.4.8 การเลือกใช้หวกระจายนํ้าดับเพลิง ั หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่ผ่านการรั บรองจะต้องเลือกใช้และติดตั้งให้สอดคล้องกับ ับร ข้อกําหนดที่ระบุไว้น้ น ั ก) หัวกระจายนํ้าดับเพลิงชนิ ดหัวหงาย (Upright ) ต้องติดตั้งให้โครงแขน (Frame Arm) ขนานกับท่อย่อยนั้น ข) หัวกระจายนํ้าดับเพลิงชนิดหัวหงาย (Upright) หรื อหัวควํ่า (Pendent) ให้ติดตั้งใน ฉบ พื้นที่ครอบครองทุกประเภทได้ ค) หัวกระจายนํ้าดับเพลิงชนิดติดกําแพง (Sidewall) ให้ติดตั้งเฉพาะพื้นที่ครอบครอง อันตรายน้อย (Light Hazard) และมีเพดานเรี ยบ 4.2.4.9 อุณหภูมิทางาน (Temperature Ratings) ํ ก) หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่นามาติดตั้งใช้งานในอาคารทั้งหมด ให้เลือกใช้ระดับ ํ อุณหภูมิธรรมดา (Ordinary Temperature Rating) ข้อยกเว้น ในกรณี ที่อุณหภูมิสูงสุ ดที่ระดับเพดาน (Maximum Ceiling - Temperature) สูงเกินกว่า 38 องศาเซลเซีส ให้เลือกอุณหภูมิทางานของหัวกระจาย ํ นํ้าดับเพลิงสอดคล้องกับอุณหภูมิสูงสุ ดที่ระดับเพดานนั้น ตามตารางที่ 3 4.2.4.10 ในกรณี ที่ตองติดตั้งหัวกระจายนํ้าดับเพลิงในพื้นที่เฉพาะ ให้พิจารณาจากพื้นที่ติดตั้ง ้ ตามที่ระบุในตารางที่ 5 เพื่อเลือกระดับอุณหภูมิทางานของหัวกระจายนํ้าดับเพลิง ํ -12-
  • 18. ตารางที่ 5 ระดับอุณหภูมิทางานของหัวกระจายนําดับเพลิงในพืนทีเ่ ฉพาะ ํ ้ ้ (ข้อ 4.2.4.10) พื้นที่ติดตั้ง ระดับอุณหภูมิทางาน ระดับอุณหภูมิทางาน ํ ํ ระดับอุณหภูมิ ธรรมดา ปานกลาง ทํางานสูง ช่องแสงของหลังคา - เป็ นกระจกหรื อพลาสติก - หลังคาจัว่ - หลังคาทําด้วยโลหะ หรื ออโลหะ - มีหรื อไม่มีฝ้า ระบายอากาศ ไม่มีระบายอากาศ - - มีหรื อไม่มีฉนวนกันความร้อน หลังคาเรี ยบ - ทําด้วยโลหะ ตรวจสอบสภาพอากาศในที่ - ไม่มีฝ้า ระบายอากาศ และ ติดตั้งสําหรับหลังคาที่ไม่มี - าง - มีหรื อไม่มีฉนวนกันความร้อน หลังคาเรี ยบ - ทําด้วยโลหะ - มีฝ้า ่ ไม่มีระบายอากาศ ระบายอากาศ ฉนวนกันความร้อน ไม่มีระบายอากาศ - ับร - มีหรื อไม่มีฉนวนกันความร้อน บริ เวณหน้าต่างกระจก ระบายอากาศ ไม่มีระบายอากาศ - หมายเหตุ ตรวจสอบสถานที่ติดตั้งด้วยเทอร์โมมิเตอร์ถาจําเป็ น ้ ฉบ 4.2.4.11 การจัดวางตําแหน่งหัวกระจายนํ้าดับเพลิง ก) การจัดวางตําแหน่ งหัวกระจายนํ้าดับเพลิงชนิ ดหัวหงาย (Upright) และหัวควํ่า (Pendent) ต้องออกแบบให้ระยะห่ างสู งสุ ดระหว่างหัวกระจายนํ้าดับเพลิงบนท่อ ย่อย (Branch Line) หรื อระยะห่ างสูงสุ ดระหว่างท่อย่อย ให้เป็ นไปตามตารางที่ 6 -13-
  • 19. ตารางที่ 6 ตารางการจัดระยะห่ างสู งสุ ดของหัวกระจายนําดับเพลิง ้ (ข้อ 4.2.4.11) ระยะห่ างสูงสุ ดของหัวกระจายนํ้า ระยะห่างสูงสุ ดของหัวกระจายนํ้า ประเภทของพื้นที่ ดับเพลิงบนท่อย่อยเดียวกัน ดับเพลิงบนท่อย่อยแต่ละท่อ ครอบครอง เมตร(ฟุต) เมตร(ฟุต) อันตรายน้อย 4.6(15) 4.6(15) อันตรายปานกลาง 4.2(14) 4.2(14) อันตรายมาก 3.7(12) 3.7(12) ข) การจัดวางหัวกระจายนํ้าดับเพลิง แบบติดกําแพง ( Sidewall Sprinkler ) 1. ติดตั้งเฉพาะพื้นที่ครอบครองอันตรายน้อย (Light Hazard) ที่มีเพดานราบและ าง ่ เรี ยบ (Smooth Flat Ceiling) 2. การหาพื้นที่ป้องกันต่อหัวกระจายนํ้าดับเพลิงแบบติดกําแพง ให้กาหนด ดังต่อไปนี้ ํ ับร ระยะห่ างของหัวกระจายนํ้าดับเพลิงตามแนวกําแพง (Along the wall) เรี ยกระยะนี้ว่า “S” โดยให้ใช้ตวเลขที่มากกว่าระหว่างตัวเลขที่วดได้จาก ั ั ระยะห่ างของหัวถัดไป หรื อ 2 เท่าของตัวเลขที่วดได้จากระยะห่ างจาก ั ปลายกําแพง ( End Wall) ฉบ ระยะห่ างของหัวกระจายนํ้าดับเพลิงตามแนวขวางของห้อง (Across the room) เรี ยกระยะนี้ ว่า “L” ใช้ตวเลขที่วดได้จากระยะห่ างของหัวกระจาย ั ั นํ้าดับเพลิงถึงกําแพงฝั่งตรงข้าม หรื อตัวเลขที่วดได้จากกําแพงถึงกึ่งกลาง ั ํ ่ ห้อง ในกรณี ที่ติดตั้งหัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่กาแพงทั้ง 2 ด้านที่อยูตรง ข้ามกัน พื้นที่ป้องกันของหัวกระจายนํ้าดับเพลิง = S X L พื้นที่ป้องกันต่อหัวสู งสุ ดต่อหัวกระจายนํ้าดับเพลิงแบบติดกําแพง ให้ เป็ นไปตามคําแนะนําของผูผลิต ้ -14-
  • 20. าง 4.2.4.12 สําหรับห้องที่จดอยู่ในพื้นที่ครอบครองอันตรายน้อย ที่มีขนาดพื้นที่น้อยกว่า 800 ่ ั ับร ตารางฟุต (74.3 ตารางเมตร) อนุโลมให้ติดตั้งหัวกระจายนํ้าดับเพลิงห่ างจากผนังห้อง ได้สูงสุ ดไม่เกิน 9 ฟุต (2.7เมตร) เมื่อวัดตั้งฉากกับผนัง ฉบ 2.3 3.6 8.2 2.3 1.8 4.6 2.7 -15-
  • 21. ํ 4.2.4.13 การหาพื้นที่ป้องกันต่อหัวกระจายนํ้าดับเพลิง ให้กาหนดดังต่อไปนี้ (1) ระยะห่ างของหัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่อยูบนท่อย่อยเดียวกัน เรี ยกระยะนี้ ว่า “S” ่ โดยให้ใช้ตวเลขที่มากกว่าระหว่างตัวเลขที่วดได้จากระยะห่ างของหัวถัดไป หรื อ ั ั 2 เท่าของตัวเลขที่วดได้จากระยะห่างจากปลายกําแพง (End wall) ั (2) ระยะห่ างของหัวกระจายนํ้าดับเพลิงกับหัวกระจายนํ้าดับเพลิ งที่ อยู่บนท่อย่อย ถัดไป เรี ยกระยะนี้ ว่า “L” โดยให้ใช้ตวเลขที่มากกว่าระหว่างตัวเลขที่วดได้จาก ั ั ระยะห่ างของหัวถัดไป หรื อ 2 เท่าของตัวเลขที่วดได้จากระยะห่ างจากปลาย ั กําแพง (End Wall) (3) พื้นที่ป้องกันของหัวกระจายนํ้าดับเพลิง = S X L าง ่ ับร ฉบ -16-
  • 22. ฉบ -17- ับร ่ าง
  • 23. 4.3 การติดตั้ง 4.3.1 หัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่นามาใช้ในการติดตั้ง จะต้องเป็ นของใหม่ที่ไม่เคยผ่านการใช้งานมาก่อน ํ และเป็ นชนิดที่ได้รับการรับรองจากสถาบันที่เชื่อถือได้เท่านั้น 4.3.2 หัวกระจายนํ้าดับเพลิงจะต้องติดตั้งในตําแหน่งที่ระยะเวลาในการทํางาน (Activation Time) และ การกระจายนํ้า (Distribution) สามารถดับเพลิงได้ผลดี ไม่มีส่ิ งกีดขวางการกระจายนํ้า 4.3.3 แผ่นกระจายนํ้าดับเพลิงจะต้องติดตั้งให้ขนานกับเพดาน ฝ้ า หรื อหลังคา 4.3.4 ระยะติดตั้งหัวกระจายนํ้าดับเพลิง 4.3.4.1 ระยะห่ างของหัวกระจายนํ้าดับเพลิงจากผนัง จะต้องมีระยะห่ างครึ่ งหนึ่งของระยะห่ าง ระหว่างหัวกระจายนํ้าดับเพลิงแต่ละหัว และห่างจากผนังไม่นอยกว่า 100 มิลลิเมตร ้ 4.3.4.2 ระยะห่ างของแผ่นกระจายนํ้าดับเพลิงที่ติดตั้งใต้เพดานของโครงสร้างที่ไม่มีส่ิ งกี ด ขวาง จะต้องห่ างจากเพดานอย่างน้อย 25 มิลลิเมตร(1 นิ้ว) และห่ างมากสุ ดไม่เกิน 300 าง ่ มิลลิเมตร (12 นิ้ว) ยกเว้นหัวกระจายนํ้าดับเพลิงแบบพิเศษให้ติดตั้งตามคําแนะนําของ ผูผลิตที่ระบุไว้ ้ 4.3.4.3 กรณี ที่หวกระจายนํ้าดับเพลิงติดตั้งบริ เวณโครงสร้างที่กีดขวางการกระจายนํ้า สามารถ ั ับร ่ ติดตั้งให้แผ่นกระจายนํ้าอยูใต้โครงสร้างในระยะ 25 มิลลิเมตร(1 นิ้ว) จนถึง 150 มิลลิเมตร(6 นิ้ว) และต้องห่ างจากเพดานได้สูงสุ ดไม่เกิน 559 มิลลิเมตร(22 นิ้ว) 4.3.4.4 ระยะห่ างระหว่างหัวกระจายนํ้าดับเพลิงกับจุดใด ๆ ในพื้นที่ไม่ควรเกินกว่า 0.75 เท่า ของระยะห่ างสู งสุ ด 3.4 เมตร หรื อ11.25 ฟุต สําหรับพื้นที่ครอบครองอันตรายน้อย ฉบ พื้นที่ครอบครองปานกลาง และ 2.8 เมตร หรื อ 9 ฟุต สําหรับพื้นที่ครอบครองปาน กลาง 4.3.4.5 ระยะห่ างระหว่างหัวกระจายนํ้าดับเพลิง ต้องติดตั้งให้ห่างกันมากกว่า 1.8 เมตร 4.3.4.6 ตําแหน่งหัวกระจายนํ้าเพลิงแบบติดกําแพง (Sidewall) ต้องจัดวางให้แผ่นกระจายนํ้า ดับเพลิง (Position Of Deflectors) (1) ต้องห่ างจากเพดานอย่างน้อย 100 มิลลิเมตรแต่ตองไม่เกิน 150 มิลลิเมตร ้ (2) ต้องห่ างจากกําแพงอย่างน้อย 100 มิลลิเมตร (3) เป็ นไปตามคําแนะนําของผูผลิต ้ 4.3.5 สิ่ งกีดขวางการกระจายนํ้าจากหัวกระจายนํ้าดับเพลิง(Obstruction to Sprinkler Discharge) 4.3.5.1 สิ่ งกีดขวางติดตั้งที่เพดาน (Obstruction at the ceiling) (1) สิ่ งกีดขวางในแนวดิ่ง (Vertical Obstruction) ระยะห่ างน้อยที่สุดจากสิ่ งกีดขวางแนวดิ่ง (Vertical Obstruction) ให้เป็ นไป ตามตารางที่ 7 และรู ปที่ 1 -18-
  • 24. ตารางที่ 7 ระยะห่ างน้ อยทีสุดในแนวราบของหัวกระจายนําดับเพลิงจากสิ่ งกีดขวางแนวดิ่ง ่ ้ (ข้อ 4.3.5.1) ขนาดของสิ่ งกีดขวางในแนวดิ่ง (ก) ระยะห่างน้อยที่สุดในแนวราบ (ข) น้อยกว่า 25 มิลลิเมตร 150 มิลลิเมตร 25 มิลลิเมตร – 100 มิลลิเมตร 300 มิลลิเมตร > 100 มิลลิเมตร 600 มิลลิเมตร สิ่ งกีดขวางแนวดิ่ง (ก) หัวกระจายนํ้าดับเพลิง าง ่ (ข) ับร รู ปที่ 1 ระยะห่ างของหัวกระจายนําดับเพลิงกับสิ่ งกีดขวางแนวดิง ้ ่ (ข้อ 4.3.5.1) (2) สิ่ งกีดขวางในแนวนอน (Horizontal Obstruction) ฉบ ระยะห่างน้อยที่สุดจากสิ่ งกีดขวางในแนวนอน (Horizontal Obstruction) ให้ เป็ นไปตามตารางที่ 8 และรู ปที่ 2 -19-
  • 25. ตารางที่ 8 ตําแหน่ งของแผ่ นกระจายนําติดตั้งอยู่เหนือส่ วนล่ างสุ ดของสิ่งกีดขวาง ้ (ข้อ 4.3.5.1) ระยะห่างจากหัวกระจายนํ้าดับเพลิงถึงด้านใกล้สุด ระยะห่างมากที่สุดของแผ่นกระจายนํ้า (Deflector) ของสิ่ งกีดขวาง (มิลลิเมตร) (ก) เหนือส่ วนล่างสุ ดของสิ่ งกีดขวาง (มิลลิเมตร) (ข) น้อยกว่า 300 0 > 300 ถึง 600 25 > 600 ถึง 750 50 > 750 ถึง 900 75 > 900 ถึง 1005 100 > 1005 ถึง 1200 150 > 1200 ถึง 1350 175 > 1350 ถึง 1500 225 าง ่ > 1500 ถึง 1650 > 1650 ถึง 1800 275 350 ับร (ข) ฉบ หัวกระจายนํ้าดับเพลิง (ก) รู ปที่ 2 ตําแหน่ งแผ่ นกระจายนําดับเพลิงเมื่อติดเหนือส่ วนล่ างสุ ดของสิ่ งกีดขวาง ้ (ข้อ 4.3.5.1) 4.3.5.2 สิ่ งกีดขวางติดตั้งใต้หวกระจายนํ้าดับเพลิง (Obstruction Located Below Sprinklers) ั (1) ให้ติดตั้งหัวกระจายนํ้าดับเพลิงใต้ท่อลม และสิ่ งกีดขวางที่มีความกว้างมากกว่า 1.20 เมตร ยกเว้นหัวกระจายนํ้าดับเพลิงติดตั้งที่เพดานได้ การจัดระยะเป็ นไปตาม ตารางที่ 8 -20-
  • 26. (2) ระยะห่ างจากหัวกระจายนํ้าดับเพลิงถึงฉากกั้นห้องที่ติดตั้งไม่ถึงเพดาน ให้เป็ นไป ตามตารางที่ 9 และรู ปที่ 3 ตารางที่ 9 การติดตั้งหัวกระจายนําดับเพลิงสํ าหรับผนังกั้นห้ องทีติดตั้งไม่ ถึงเพดาน ้ ่ (ข้อ 4.3.5.2) ระยะห่างในแนวนอน (มิลลิเมตร) ระยะห่างน้อยที่สุดในแนวดิ่งระหว่างแผ่นกระจายนํ้า (ก) เหนือส่ วนบนสุ ดของผนัง (มิลลิเมตร) (ข) น้อยกว่า 150 75 > 150 ถึง 250 100 > 250 ถึง 300 150 > 300 ถึง 375 200 > 375 ถึง 450 237 าง ่ > 450 ถึง 600 > 600 ถึง 750 > 750 312 387 450 ับร ฉบ รู ปที่ 3 การติดตั้งหัวกระจายนําดับเพลิงสํ าหรับฉากกั้นห้ อง ้ (ข้อ 4.3.5.2) -21-
  • 27. 4.4 การทดสอบผลิตภัณฑ์ 4.4.1 ทัวไป ่ 4.4.1.1 เพื่อให้เป็ นไปตามมาตรฐาน หัวกระจายนํ้าดับเพลิงทุกประเภทต้องผ่านการทดสอบ สมรรถนะดังนี้ 4.4.1.2 หัว กระจายนํ้าชนิ ดซ่ อนเหนื อฝ้ าหรื อหัวกระจายนํ้าชนิ ดจมฝ้ าต้องทําการทดสอบ สมรรถนะขณะที่ถูกติดตั้งที่ความลึกสู งสุ ดที่ผผลิตยอมให้ติดตั้ง ู้ 4.4.2 ตัวอย่างทดสอบ (Samples) 4.4.2.1 จํานวนตัวอย่างทดสอบขึ้นกับชนิดของหัวกระจายนํ้า และรายละเอียดการทดสอบ 4.4.3 การทดสอบการรับแรงของส่ วนตอบสนองด้วยความร้อน (Load on Heat Responsive Element Test) 4.4.3.1 ทดสอบโดยการให้แรงกระทําสู งกว่าที่แรงดันนํ้ากระทําบนส่ วนตอบสนองด้วยความ าง ร้อนร้อยละ 10 4.4.3.2 ทดสอบหัวกระจายนํ้าเป็ นจํานวน 25 หัว ของหัวกระจายนํ้าแต่ละชนิด 4.4.4 การทดสอบความแข็งแรงของส่ วนตอบสนองด้วยความร้อน (Strength of Heat Responsive ่ ับร Element Test) 4.4.4.1 ส่ วนตอบสนองความร้อนแบบโลหะหลอมละลาย (Fusible Alloy Type) ส่ วนตอบสนองด้วยความร้อนต้องมีสมบัติดงนี้ ั ก) รับแรงกระทําได้ 15 เท่าของแรงกระทําที่ออกแบบไว้เป็ นเวลา 100 ชัวโมงหรื อ ่ ฉบ ข) สามารถรับแรงกระทําที่ออกแบบไว้สูงสุ ดได้ตามสมการ Ld ≤ 1.02 Lm 2 / Lo Ld = แรงกระทําที่ออกแบบไว้สูงสุ ด Lm = แรงกระทําต่อเนื่ อง 1000 ชัวโมง ่ Lo = แรงกระทําต่อเนื่ อง 1 ชัวโมง ่ 4.4.4.2 ส่ วนตอบสนองความร้อนแบบกระเปาะแก้วเปราะแตก (Frangible-bulb Type) ก) ขีดจํากัดความแข็งแรงของกระเปาะแก้วได้จากการคํานวณ ข) หัวกระจายนํ้าที่ใช้กระเปาะแก้วเปราะแตกต้องทนทานต่อการเปลี่ยนอุณหภูมิโดย เฉี ยบพลัน (Thermal Shock) ได้โดยทดสอบให้กระเปาะมีอุณหภูมิต่ากว่าอุณหภูมิ ํ ใช้งานที่ระบุไว้ 11 องศาเซลเซี ยสแล้วนําไปจุ่มในอ่างของเหลวที่มีอุณหภูมิ 10 องศาเซลเซียส ได้โดยไม่แตก -22-