SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  236
Télécharger pour lire hors ligne
Project Manager
Downstream business development, Sahaviriya Steel Industry (SSI)
Advisor
Pacific Pipe PCL. (PAP)
Steel Structure Sub-committee, Engineering Institute of Thailand (EIT)
การทารายละเอียดการต่อโครงสร้างเหล็ก
Detailing for Steel Construction
November 13, 2015
1
Mr. Nuttapon Suttitam
Seminar Outline Nov 13 – 14, 2015
November 14, 2015 November 13, 2015
• Failure Modes
• Steel Connection Design
▫ Shear Connection
 Shear Plate (Tab)
 Shear End Plate
 Single/Double Angle
▫ Moment Connection
• Other Considerations
▫ Web Crippling / Buckling
▫ Prying Action
• Steel Materials
▫ Steel Products
▫ Assemblage (Bolt / Weld)
• Steel Detailing
• Steel Fabrication
▫ Bolting Systems
▫ Welding Processes
• Introduction to Steel
Connection Design
• Introduction to BIM
2
3
ราคานี้ รวม ค่าแรงพนักงาน ค่าขนส่งพนักงาน ค่าวัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือพื้นฐาน
main contractor จะเป็นผู้ทาแบบตัดต่อเชื่อม โดยอาศัยข้อมูลจาก designer และ
เป็นผู้ควบคุมสั่งการแรงงานช่างเหล็ก นั่นคือ ความผิดพลาด (human error) จากการ
ทางานเหล็ก และความล่าช้าที่เกิดขึ้น main contractor จะต้องรับผิดชอบเองทั้งหมด
ถ้าเป็นงานเหล็ก แนวทางปฏิบัติทั่วไปคือ main contractor จะหา sub contractor
มารับงานเหล็ก โดย sub มักจะ charge ตามน้าหนักวัสดุโครงสร้างเหล็กเป็นหลัก เช่น
อาคารหนัก 10 ตัน หรือ 10,000 กิโลกรัม รับเหมาค่าแรง กิโลกรัมละ 12 – 18 บาท
หรือ เฉลี่ยค่าแรงงานเหล็กที่ 15 บาท/กก. หรือ ค่าแรงงานเหล็ก รวม 150,000 บาท
Standard practice
ออกแบบ ก่อสร้าง
• ข้อกำหนดทั่วไป General note
• รูปแปลน Plan
• รูปด้ำน Elevation
• ขนำดคำนเสำ B/C Schedule
• รูปตัด Section
• รำยละเอียดทั่วไป Typical detail
งำนโครงสร้ำง (Structural work)
• กำหนดวิธีกำรก่อสร้ำง
• ทำแบบก่อสร้ำง
• สั่งวัสดุ
• ก่อสร้ำง
• ทำ as-built และส่งงำน
Consult
คุมงาน
Designer
อนุมัติ
แล้วมันไม่ดี / มีช่องโหว่ตรงไหน ???
4
Pre-fab practice
ออกแบบ ผลิต ติดตั้ง
• General note
• Plan
• Elevation
• B/C Schedule
• Section
• Typical detail
งำนโครงสร้ำง (Structural work)
• กาหนดวิธี และ
sequence การติดตั้ง
• ตรวจสอบควบคุม
คุณภาพสินค้าที่ส่งมา
• ดาเนินการติดตั้ง
ทำแบบกำรผลิต
+
ผลิตขึ้นรูป
+
ขนส่งไปติดตั้ง
แล้วมันดีกว่ำตรงไหน ???
5
Pre-fab practice
งำนไม้ (Wood work)
6
Pre-fab practice
SKIRO
7
Pre-fab practice
ออกแบบ ผลิต ติดตั้ง
• General note
• Plan
• Elevation
• B/C Schedule
• Section
• Typical detail
งำนโครงสร้ำง (Structural work)
• กาหนดวิธี และ
sequence การ
ติดตั้ง
• ตรวจสอบควบคุม
คุณภาพสินค้า
• ดาเนินการติดตั้ง
ทำแบบกำรผลิต
+
ผลิตขึ้นรูป
+
ขนส่งไปติดตั้ง
รูปแบบ finished
product
ขนาดมิติและพิกัด
ของชิ้นส่วนแต่ละชิ้น
ทา shop แสดง
ขนาด และการตัด
เจาะบาก ชิ้นส่วน
ทาแบบแสดงวิธีการ
ติดตั้ง
PROCESS
8
Pre-fab practice
• General note
• Plan
• Elevation
• B/C Schedule
• Section
• Typical detail
ทำแบบกำรผลิต
+
ผลิตขึ้นรูป
+
ขนส่งไปติดตั้ง
รูปแบบ finished
product
ขนาดมิติและพิกัด
ของชิ้นส่วนแต่ละชิ้น
ทา shop แสดง
ขนาด และการตัด
เจาะบาก ชิ้นส่วน
ทาแบบแสดงวิธีการ
ติดตั้ง
ในงำนโครงสร้ำงเหล็ก
วิศวกร เป็นผู้ออกแบบขนาด คาน เสา พิกัดโครงสร้าง และรูปแบบการต่อ
แบบทั่ว ๆ ไป เช่น รูปแบบทั่วไปของ การต่อเสากับคาน การต่อ moment
connection การ splice เสาหรือคาน ฯลฯ รวมถึง รูปตัดเพื่อช่วยให้ความ
กระจ่างแก่ผู้ก่อสร้าง ให้ดาเนินการตาม design concept ของผู้ออกแบบ
ใครมีหน้าที่แยก
องค์ประกอบ
ชิ้นส่วน เพื่อมา
fabricate
ใครเป็นผู้ทา
connection
detail & shop
drawing
9
Pre-fab practice
• General note
• Plan
• Elevation
• B/C Schedule
• Section
• Typical detail
ถ้าให้วิศวกรทา shop drawing
วิศวกร ต้องทราบรายละเอียดของเครื่องมือเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิต เช่น
เครื่องเชื่อมมีกี่แบบ จะต่อ plate เข้ากับ beam หรือ ประกอบ plate ทา
box column ควรใช้การเชื่อมแบบใด ระยะการตัดบากหลบงานระบบ
มีขนาดที่เหมาะในการขนส่ง (ไม่เกินน้าหนักบรรทุกตามกฎหมาย) ฯลฯ และ
ต้องมี “State-of-Art” ในการก่อสร้าง คือเข้าใจสภาพหน้างาน และเข้าใจ
วิธีการก่อสร้างว่าจะขึ้นรูปอย่างไร ถึงจะทาให้ก่อสร้าง (ติดตั้ง) ได้ง่ายที่สุด
ส่งแบบ shop
drawing ให้กับ
fabricator เพื่อ
ผลิต
10
Pre-fab practice
• General note
• Plan
• Elevation
• B/C Schedule
• Section
• Typical detail
ถ้าให้ fabricator ทา shop drawing
Fabricator ต้องสามารถทาความเข้าใจต่อ “input” หรือ แบบโครงสร้างที่
ได้รับจากผู้ออกแบบ (Structural & MEP engineer/ Arch) พร้อม
ศักยภาพในการผลิตของโรงงาน การปรับเปลี่ยนวัสดุหรือวิธีการหากไม่
สามารถดาเนินการตามผู้ออกแบบได้ทั้งหมด ตลอดจน “State-of-Art” ใน
การก่อสร้าง คือเข้าใจสภาพหน้างาน และเข้าใจวิธีการก่อสร้างว่าจะขึ้นรูป
อย่างไร ถึงจะทาให้ก่อสร้าง (ติดตั้ง) ได้ง่ายที่สุด
แปล design
drawings ให้เป็น
shop drawing และ
ส่งกลับไปให้
designer เพื่อขอ
approve
คำถำมคือ ???
แล้ว designer กับ fabricator จะสื่อสารกัน
อย่างไร ด้วยภาษาอะไร ที่ designer จะสามารถ
เข้าใจรายละเอียดในการผลิตจาก shop เพื่อจะ
สามารถ approve shop drawing ได้
11
Pre-fab practice
ภาษาช่าง
Designer Fabricator
Detailer
(translator)
Erector
ภาษาวิศวกร ภาษาช่าง
กำรทำ shop drawing ยังเป็นกำร
ตรวจสอบควำมถูกต้องของ
design drawing อีกด้วย
12
Steel Detailing
การทารายละเอียดโครงสร้างเหล็ก
คือ
กระบวนการ
ในการแปลข้อมูล จากผู้ออกแบบโครงสร้าง
ไปเป็นข้อมูล
การแปรรูปวัสดุเหล็ก ภายในโรงงานขึ้นรูป
ประโยชน์ ของ Steel Detailing
ได้ Output คือ Shop drawing
ซึ่งช่วยให้เกิดการเพิ่มประสิทธิภาพงานก่อสร้าง
โดย
ลด ปริมาณ Field work
ลด Construction error
ลดระยะเวลางานก่อสร้าง
เพิ่มขั้นตอน ให้เกิดการตรวจสอบซ้า
ก่อนการเริ่มงานจัดซื้อวัสดุ และการขึ้นรูป
ซึ่งไปช่วย
ลดความผิดพลาดจากผู้ออกแบบ อันเป็นการเพิ่ม
ระดับความปลอดภัยให้กับโครงสร้าง
13
จุดประสงค์ของการสัมมนา
1. เข้าใจ structural steel ในส่วนที่การเรียนการสอนวิศวกรรมโยธา ไม่ได้กล่าวถึง เช่น
ผลิตภัณฑ์เหล็ก งานผลิต งาน bolt งานเชื่อม เป็นต้น
2. สร้างความเข้าใจ practice งานโครงสร้างเหล็ก แบบ modular ที่ใช้กันในสากล โดยเฉพาะ
อย่างยิ่ง ในส่วนของ work flow ของการทางาน และ บทบาทหน้าที่ของแต่ละ party
3. สร้างความเข้าใจ technical term ภาษาช่างในโรง fabrication ที่ใช้กันในสากล
4. ปรับตัว ปรับใจ เตรียมความพร้อมกับ การทางานกับระบบสากล เมื่อเปิด AEC
5. เข้าใจ ระบบวิธีการทางานและการจัดการพื้นฐาน ของโรงงาน fabrication
6. แนะนา (introduction) วิธีการอ่านคู่มือ Steel Detailing Manual
7. แนะนา อาชีพใหม่ที่น่าสนใจ ในตลาดงานก่อสร้าง “fabricator & detailer”
8. นาเสนอพื้นฐานการวิเคราะห์และคานวณออกแบบการต่อโครงสร้างเหล็ก
14
15
Double Angle Shear Connection
OSL & NSL Bolted Connection OSL & NSL Welded Connection
Ref: Salmon et. al, “Steel Structures: Design and Behavior”, Pearson 16
Beam-to-Girder Double Angle Shear Connection
Ref: Salmon et. al, “Steel Structures: Design and Behavior”, Pearson 17
Seated Connection
Ref: Salmon et. al, “Steel Structures: Design and Behavior”, Pearson
เหล็กฉาก clip angle หนาประมาณ 2 หุน
เหล็กฉากยึดปีกบน
หนาประมาณ 2 หุน
เหล็กฉาก ความหนา
เป็นไปตามรายการ
คานวณแรงที่กระทา
ที่ Critical section
ขนาดของขาเหล็กฉาก
ขึ้นกับกาลังแรงกดที่
กระทาจากคาน
ขนาดของขาเหล็กฉาก ขึ้นกับ
กาลังแรงเฉือนที่กระทาจากคาน
ความยาวของเหล็กฉาก
ขึ้นกับความกว้างของปีก
คาน และระยะเกจ
18
ตัวอย่าง Seated Connection ที่ต้องรับแรงเฉือนมาก
Ref: Salmon et. al, “Steel Structures: Design and Behavior”, Pearson 19
Moment Connection
Ref: Salmon et. al, “Steel Structures: Design and Behavior”, Pearson 20
Moment Connection
Ref: Salmon et. al, “Steel Structures: Design and Behavior”, Pearson 21
Moment Connection
Ref: Salmon et. al, “Steel Structures: Design and Behavior”, Pearson
เกี่ยวข้องกับ
(column) web
yielding
22
𝐻 − 2𝑡𝑓 − 2𝑘
𝒕 𝒘
𝒕𝒇𝒃+𝟓𝒌
Column Base Connection
Ref: Salmon et. al, “Steel Structures: Design and Behavior”, Pearson 23
Beam Splice Connection
Ref: Salmon et. al, “Steel Structures: Design and Behavior”, Pearson 24
• ขึ้นรูปอย่างไรให้
ประหยัด และได้
ตามมาตฐาน
• ต่ออย่างไร ให้
ถูกต้องและไม่พัง
ระหว่างก่อสร้าง
• ทา Detail อย่างไร
ให้ขึ้นรูป ติดตั้งง่าย
และตรงตาม
design concept
• ออกแบบอย่างไร
ให้ ประหยัด
และแข็งแรง
Structural
Designer
Steel
Detailer
Steel
Fabricator
Steel
Erector
สื่อสาร
สื่อสาร
สื่อสาร
สื่อสาร
25
26
Table of Content
1. Introduction
2. Contract Documents and Detailing
Process
3. Common Connection Details
4. Basic Detailing Conventions
5. Project Set-up and Control
6. Erection Drawings
7. Shop Drawings and Bills of Materials
8. Detailing Quality Control and
Assurances
Appendix: Basic Engineering Fundamental
REFERENCE
27
คณะกรรมการดาเนินการ
1. ศ.ดร. เอกสิทธิ์ ลิ้มสุวรรณ
2. ดร. สันติสุข ปลูกสวัสดิ์
3. ดร. ธีระวุฒิ มูฮำหมัด
4. ผศ.ดร. สุทัศน์ ลีลำทวีวัฒน์
5. คุณ กิตติ จันทร์แสงศรี
6. คุณ สุวัฒน์ เหรียญศิริวรรณ
7. คุณ สมยศ เจียมจิรังกร
8. คุณ จรินทร์ ศรีสงครำม
9. คุณ สมเกียรติ ลำภทวี
10. คุณ ณัฐพล สุทธิธรรม
11. ดร. พลเดช เทอดพิทักษ์วำนิช
สภำวิศวกร
สถำบันเหล็กฯ
พระจอมเกล้ำธนบุรีฯ
พระจอมเกล้ำธนบุรีฯ
บมจ. STP&I PCL.
บมจ. STP&I PCL.
บมจ. M.C.S. Steel
บจก. วัฒนไพศำลเอ็นยิเนียริ่ง
บจก. Thai Nippon Steel
สถำบันเหล็กฯ
บจก. RKV Consultant
28
ภาพรวมของบทย่อย
บทที่ 1 บทนำ (Introduction)
• บทบำทและหน้ำที่ของ Steel Detailer
• วัสดุ คุณสมบัติทำงกำยภำพ และผลิตภัณฑ์ตำมมำตรฐำน
• กำรผลิตเหล็กกล้ำสำหรับงำนก่อสร้ำง และควำมคลำดเคลื่อนที่ยอมให้จำกโรงรีด
• กำรคำนวณน้ำหนัก และกำรทำรำยกำรเรียกเก็บเงิน
• กำรควบคุมด้วยระบบ CNC และกำรขึ้นรูปชิ้นส่วน
29
ภาพรวมของบทย่อย
บทที่ 2 เอกสำรสัญญำและขั้นตอน (กระบวนกำร) กำรทำ
รำยละเอียดโครงสร้ำงเหล็ก
• เอกสำรสัญญำ
• แบบแปลน ข้อกำหนด และ ข้อมูลกำรออกแบบทำงวิศวกรรม
• ข้อบังคับเพื่อสวัสดิภำพและควำมปลอดภัยตำมมำตรฐำน OSHA
30
ภาพรวมของบทย่อย
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อโครงสร้ำงทั่วไป
• กำรต่อด้วยสลักเกลียว – ชนิดของสลักเกลียว แรงในสลักเกลียว รูปแบบกำรขัน
ให้แน่น
• กำรต่อด้วยกำรเชื่อม – ชนิดของกำรเชื่อมจำแนกตำมรูปแบบกำรเชื่อม ปริมำณ
กำรซึมหรือหลอมลึก กำรคำนวณกำลัง
• กำรต่อด้วยกำรเชื่อมควบคู่ไปกับกำรใช้สลักเกลียว
• รูปแบบกำรต่อโครงสร้ำง – Shear Connection, Seated Connection, Skewed
Connection, Column Splice Connection, Truss Connection
31
ภาพรวมของบทย่อย
บทที่ 4 สัญลักษณ์และกฎเกณฑ์พื้นฐำน
• หลักปฏิบัติในกำรจัดทำรำยละเอียดที่ถูกต้อง
• สลักเกลียว – กำรใช้สัญลักษณ์
• กำรเชื่อม – กำรใช้สัญลักษณ์ กระบวนกำรเชื่อม กำรทดสอบแบบไม่ทำลำย
• กำรทำสี
• กำรชุบสังกะสี
32
ภาพรวมของบทย่อย
บทที่ 5 กำรเตรียมกำรและกำรควบคุมโครงกำร
• กำรวำงแผนกำรจัดกำรข้อมูลและกำรประสำนงำนโครงกำร
• วำระกำรประชุมเริ่มโครงกำร
• รำยกำรล่วงหน้ำสำหรับกำรสั่งวัสดุ
33
ภาพรวมของบทย่อย
บทที่ 6 แผนกำรประกอบติดตั้งโครงสร้ำง
• แนวทำงกำรปฏิบัติงำน (Practical Guideline) ในกำรจัดทำแบบกำรประกอบ
ติดตั้งโครงสร้ำง
• อุปกรณ์รองรับชั่วครำวเพื่อกำรประกอบติดตั้งโครงสร้ำงเหล็ก
• กำรแก้ไขเปลี่ยนแปลงในภำคสนำม
34
ภาพรวมของบทย่อย
บทที่ 7 แบบรำยละเอียดกำรขึ้นรูปและรำยกำรวัสดุ
• ตัวอย่ำงกำรทำแบบรำยละเอียดกำรขึ้นรูปสำหรับอำคำรโครงสร้ำงเหล็ก
• ตัวอย่ำงกำรทำแบบรำยละเอียดกำรขึ้นรูปสำหรับโครงถักเหล็ก
• ตัวอย่ำงกำรทำแบบรำยละเอียดกำรขึ้นรูปสำหรับโครงหลังคำและโครงรับผนัง
• ตัวอย่ำงกำรทำแบบรำยละเอียดกำรขึ้นรูปสำหรับระบบค้ำยันโครงสร้ำงเหล็ก
• ตัวอย่ำงกำรทำแบบรำยละเอียดกำรขึ้นรูปสำหรับโครงเหล็กประกอบ
• ข้อผิดพลำดจำกกำรทำแบบรำยละเอียด
35
ภาพรวมของบทย่อย
บทที่ 8 กำรควบคุมและกำรประกันคุณภำพ
• กำรตรวจสอบแบบรำยละเอียดกำรขึ้นรูปและแบบกำรประกอบติดตั้ง
• กำรสอบทวนแบบรำยละเอียดกำรขึ้นรูปและแบบกำรประกอบติดตั้ง
• กำรอนุมัติแบบ และกำรเก็บรักษำข้อมูล
36
37
Pre Construction Phase Construction Phase
1.1 ขั้นตอนกำรก่อสร้ำงและหน้ำที่ของ Detailer
บทที่ 1 บทนำ
Owner
Designer and/or
Engineer of Record (EOR)
Preliminary Design
Design Development (DD)
Contract Document (CD)
CD for
Bidding
General Contractor (GC)
Construction Manager (CM)
Controlled Inspector
Steel Fabricator Steel DetailerStruct Arch MEP
Project Manager (PM)
38
39
1.1 ขั้นตอนกำรก่อสร้ำงและหน้ำที่ของ Detailer
บทที่ 1 บทนำ
เมื่อผู้ขึ้นรูปต้องกำรเปลี่ยนแปลงรำยละเอียดกำรต่อโครงสร้ำง ที่ได้แสดงไว้
ในเอกสำรสัญญำ ผู้ขึ้นรูปจะต้องทำกำรแจ้งไปยังตัวแทนของเจ้ำของงำนใน
ฝ่ำยงำนออกแบบและงำนก่อสร้ำงได้รับทรำบอย่ำงเป็นลำยลักษณ์อักษร
ก่อนกำรส่งแบบกำรขึ้นรูปและแบบกำรประกอบติดตั้งอย่ำงเป็นทำงกำร
โดยตัวแทนของเจ้ำของงำนในฝ่ำยงำนออกแบบและงำนก่อสร้ำงจะต้องทำ
กำรตรวจสอบและให้กำรอนุมัติ หรือไม่ให้กำรอนุมัติ (หรือให้กำรอนุมัติแบบ
มีเงื่อนไข) เอกสำรดังกล่ำวภำยในเวลำอันสมควร
หน้ำที่หลักของผู้ขึ้นรูป คือกำรจัดทำแบบกำรขึ้นรูป (Shop Drawing) และ
แบบกำรติดตั้ง (Erection Drawing) ของงำนโครงสร้ำงเหล็ก โดยต้อง
(a) แปลข้อมูลที่แสดงในเอกสำรสัญญำ ไปสู่ข้อมูลในแบบกำรขึ้นรูปและ
แบบกำรติดตั้ง
(b) จัดทำรำยละเอียดกำรขึ้นรูปที่ถูกต้องและแม่นยำเพื่อกำรติดตั้งชิ้นส่วน
องค์อำคำรโครงสร้ำงเหล็กที่หน้ำงำน
40
1.1 ขั้นตอนกำรก่อสร้ำงและหน้ำที่ของ Detailer
บทที่ 1 บทนำ
บทขยำยควำมเพิ่มเติม
ผู้ขึ้นรูป (Fabricator) สำมำรถจะจ้ำงผู้จัดทำรำยละเอียด (Detailer) เพื่อจัดทำแบบ
กำรขึ้นรูปและแบบกำรประกอบติดตั้ง (Shop & Erection Drawing) ตลอดจนงำนที่
เกี่ยวข้องอื่น ๆ เช่น กำรทำรำยกำรวัสดุ และรำยกำรสลักเกลียว เป็นต้น
41
42
43
1.1 ขั้นตอนกำรก่อสร้ำงและหน้ำที่ของ Detailer
บทที่ 1 บทนำ
(หน้า 2)
“ เนื่องจำกผู้จัดทำรำยละเอียดโครงสร้ำงเหล็ก (Steel Detailer) จะต้องเป็นเสมือน
ผู้แปลควำมหมำยจำกแบบโดยผู้ออกแบบ (Design Drawing) และข้อกำหนด
ต่ำง ๆ ในเอกสำรสัญญำ (Contract Drawing) มำเป็นแบบที่บรรจุข้อมูล
สำหรับผู้ขึ้นรูป (Fabricator) ดังนั้น Steel Detailer ที่ดี ควรจะต้องคุ้นเคยกับ
วิธีกำรทำงำนของ Fabricator และเครื่องมือเครื่องใช้ใน Fabrication Shop
นอกจำกนี้ยังต้องทรำบถึง พิกัดขนำดและน้ำหนักสูงสุดของชิ้นส่วนงำนสูงสุดที่ผู้
ติดตั้ง (Erector) มีขีดควำมสำมำรถในกำรทำงำนดำเนินกำรได้ ”
44
1.1 ขั้นตอนกำรก่อสร้ำงและหน้ำที่ของ Detailer (& Fabricator)
บทที่ 1 บทนำ
 JOB & FABRICATOR SET-UP
 PREPARE JOB STANDARD &
CONNECTION CALCULATION SHEETS
 PREPARE SYSTEM OF ASSEMBLING &
SHIPPING PIECE MARKS
 PREPARE & CHECK ADVANCE BILLS
for ORDERING
 จัดเตรียมระบบกำรขึ้นรูปชิ้นส่วนใน
โรงงำนขึ้นรูปโครงสร้ำงเหล็ก
 จัดเตรียมมำตรฐำนเฉพำะงำนและ
รำยกำรคำนวณกำรต่อโครงสร้ำง
เหล็ก
 จัดเตรียมระบบกำรให้สัญลักษณ์ใน
กำรประกอบติดตั้งและกำรขนส่ง
ชิ้นงำน
 จัดเตรียมและตรวจสอบรำยกำรสั่ง
วัสดุล่วงหน้ำ
45
1.1 ขั้นตอนกำรก่อสร้ำงและหน้ำที่ของ Detailer (& Fabricator)
บทที่ 1 บทนำ
 PREPARE & CHECK ANCHOR
ROD/EMBEDMENT DRAWINGS
 PREPARE LIST OF FIELD FASTENERS
 PREPARE & CHECK ERECTION
DRAWINGS, SHOP DRAWINGS & BILL
OF MATERIALS
 RECORD APPROVED SHOP
DRAWINGS
 จัดเตรียมแบบแสดงตำแหน่งของ
สลักสมอและรำยละเอียดกำรติดตั้ง
 จัดเตรียมรำยกำรอุปกรณ์ยึดต่อ
โครงสร้ำงที่หน้ำงำน
 จัดเตรียมและตรวจสอบแบบกำร
ติดตั้งและแบบกำรขึ้นรูป ตลอดจน
รำยกำรวัสดุทั้งหมดในงำนก่อสร้ำง
 จัดเก็บแบบกำรขึ้นรูปที่ได้รับกำร
อนุมัติแล้ว
46
1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง
บทที่ 1 บทนำ
มอก. 1227
2539
JIS G3101
1995
JIS G3106
1995
JIS G3136
1994
BS 4360
1986
BS EN
10025
1986
ASTM
1997
SS400
SS490
SS540
SS400
SS490
SS540
43A
50A
A36
SM400
SM400A
SM400B
SN400A
SN400B
43B
43C
S275JR A572 Gr.42
SM490
SM490B
SM490 YA
SM490 YB
SN490B 50B
50C
S355JR
A572 Gr.50
A992
SM520
SM570
SM520B
SM570
47
1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง (สำหรับประเทศไทย)
บทที่ 1 บทนำ
มำตรฐำนทั่วไป
เป็นเครื่องหมำยที่แสดงกับผลิตภัณฑ์ที่เป็นมำตรฐำนไม่บังคับ ผู้ผลิต
สำมำรถยื่นขอใบอนุญำตแสดงเครื่องหมำยมำตรฐำนได้ด้วยควำมสมัครใจ
มำตรฐำนบังคับ
เป็นเครื่องหมำยที่แสดงบนผลิตภัณฑ์ที่มีกฎหมำยกำหนดให้ต้องเป็นไป
ตำมมำตรฐำน เพื่อคุ้มครองควำมปลอดภัยให้แก่ผู้บริโภค และป้องกัน
ควำมเสียหำยที่จะเกิดขึ้นแก่เศรษฐกิจของประเทศ ผู้ผลิต ผู้นำเข้ำและผู้
จำหน่ำย จะต้องผลิต นำเข้ำและจำหน่ำยเฉพำะผลิตภัณฑ์ที่ต้องเป็นไปตำม
มำตรฐำนเท่ำนั้น
48
1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง
บทที่ 1 บทนำ
 เหล็กโครงสร้างรูปพรรณรีดร้อน (Hot-Rolled Section)
49
1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง (สำหรับประเทศไทย)
บทที่ 1 บทนำ
 เหล็กโครงสร้างรูปพรรณรีดเย็น (Cold-Rolled Section)
 C / Lip C
 Z / Lip Z
 Angle
 Hat
(มอก. 1228-2549 มาตรฐานบังคับ)
 เหล็กโครงสร้างรูปพรรณกลวง (Hollow Steel Section, HSS)
(มอก. 107-2533 มาตรฐานทั่วไป)
เหล็กโครงสร้างรูปพรรณขึ้นรูปเย็น (Cold-Formed Section)
50
ข้อควรระวังสาหรับเหล็กขึ้นรูปเย็น
1. Local buckling
• For compression zone of either compression or flexural member
2. Distortional buckling
• For flexural member
3. Lateral-Torsional buckling
• For flexural member
L
Bending Moment Diagram
Mmax
Collapse mechanism
Plastic hinges
Mp
Formation of Collapse Mechanism in a Fixed Beam
w
Bending Moment Diagram
BASIC CONCEPTS OF PLASTIC THEORY
(a) at My (b) My < M<Mp
(c) at Mp
Plastification of Cross-section under Bending
Mp
SECTION CLASSIFICATION
Mp
Rotation 
My
y u
Slender
Semi-compact
Compact
Plastic
Section Classification based on Moment-Rotation Characteristics
Moment Capacities of Sections
My
Mp
1 2 3 =b/t
Semi-
Compact
SlenderPlastic Compact
SECTION CLASSIFICATION BASED ON
WIDTH -THICKNESS RATIO
For Compression members use compact or plastic sections
Type of Element Type of
Section
Class of Section
Plastic (1) Compact (2) Semi-compact (3)
Outstand element of
compression flange
Rolled b/t  9.4 b/t  10.5 b/t  15.7
Welded b/t  8.4 b/t  9.4 b/t  13.6
Internal element of
compression flange
bending b/t  29.3 b/t  33.5 b/t  42
Axial comp. not applicable b/t  42
Web NA at mid
depth
d/t  84.0 d/t  105 d/t  126
Angles bending
Axial comp.
Circular tube with outer
diameter D
D/t  442 D/t  632 D/t  882
Table 2 Limits on Width to Thickness Ratio of Plate Elements
b/t  9.4 b/t  10.5 b/t  15.7
not applicable b/t  15.7
(b+d)/t  25
𝜀 =
250
𝑓𝑦
0 1 2 3
0
50
100
150
200
250
300
350
400
Lcr
Mcr
local buckling
10
0
10
1
10
2
10
3
0
100
200
300
400
500
half-wavelength
loadfactor
BUCKLING CURVE
5.0,172.76
20.0,133.65
distortional buckling
10
0
10
1
10
2
10
3
0
100
200
300
400
500
half-wavelength
loadfactor
BUCKLING CURVE
5.0,172.76
20.0,133.65
lateral-torsional buckling
10
0
10
1
10
2
10
3
0
100
200
300
400
500
half-wavelength
loadfactor
BUCKLING CURVE
5.0,172.76
20.0,133.65
Typical modes in a thin-walled beam
1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง (สำหรับประเทศไทย)
บทที่ 1 บทนำ
มำตรฐำนผลิตภัณฑ์อุตสำหกรรมเหล็ก
โครงสร้ำงรูปพรรณกลวง
มำตรฐำนทั่วไป มอก. 107-2533
Material
Grade
Chemical Composition (%) Mechanical Properties
C
Max
Si
Max
Mn
Max
P
Max
S
Max
Yield
Stress
N/mm2.
Tensile
Strength
N/mm2.
Elongation
(%)
HS 41 0.28 - - 0.048 0.048 235 402 23
HS 50 0.21 0.57 1.53 0.048 0.048 314 490 23
HS 51 0.33 0.37 0.33-1.03 0.048 0.048 353 500 15
ksc
2,400
3,200
3,600
ksc
4,100
5,000
5,100
51
52
source: www.forbesmarshall.com
1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง (สำหรับประเทศไทย)
บทที่ 1 บทนำ
มอก. 1227
2539
JIS G3101
1995
JIS G3106
1995
JIS G3136
1994
BS 4360
1986
BS EN
10025
1986
ASTM
1997
SS400
SS490
SS540
SS400
SS490
SS540
43A
50A
A36
SM400
SM400A
SM400B
SN400A
SN400B
43B
43C
S275JR A572 Gr.42
SM490
SM490B
SM490 YA
SM490 YB
SN490B 50B
50C
S355JR
A572 Gr.50
A992
SM520
SM570
SM520B
SM570
มำตรฐำนบังคับ
มอก. 1227-2539m
53
54
1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง (สำหรับประเทศไทย)
บทที่ 1 บทนำ
1. ขอบข่ำยของมำตรฐำนฉบับนี้ ว่ำครอบคลุม
ผลิตภัณฑ์อะไรบ้ำง
2. บทนิยำม แสดงควำมหมำยของ technical
term ที่สำคัญ
3. ขอบเขตและชั้นคุณภำพ แสดง grade และ
รูปพรรณสัณฐำนของผลิตภัณฑ์ในข้อ 1
55
1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง (สำหรับประเทศไทย)
บทที่ 1 บทนำ
4. ขนำด ควำมยำว และเกณฑ์
ควำมคลำดเคลื่อน แสดงกรอบกำรยอมรับ
ของขนำดมิติต่ำง ๆ ที่ มอก. ให้กำรรับรอง
ความคลาดเคลื่อนจากโรงรีด
Mill Tolerance
56
1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง (สำหรับประเทศไทย)
บทที่ 1 บทนำ
ตำรำงแสดงขนำดมิติ และคุณสมบัติเชิงกลของ
หน้ำตัด เช่น
• โมเมนต์ควำมเฉื่อย (moment of inertia)
• รัศมีไจเรชั่น (radius of gyration)
• ใช้สัญลักษณ์ ix, iy ในขณะที่วสท. และ
AISC ใช้ rx, ry
• โมดุลัสภำคตัด (section modulus)
• ใช้สัญลักษณ์ Zx, Zy ในขณะที่วสท. และ
AISC ใช้ Sx, Sy
57
1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง (สำหรับประเทศไทย)
บทที่ 1 บทนำ
ตำรำงแสดงเกณฑ์ควำมคลำดเคลื่อนของขนำด
ควำมได้ฉำก ควำมโค้ง ฯลฯ
• แสดงถึงกำรยอมรับได้ต่อควำมแม่นจำจำกกำร
รีดโดยโรงรีดเหล็ก (mill tolerance)
• Squareness
• Bend
• Eccentricity
• Concavity of web
58
1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง (สำหรับประเทศไทย)
บทที่ 1 บทนำ
5. ส่วนประกอบทำงเคมี (chemical property)
ของเนื้อวัสดุเหล็ก ว่ำจะต้องมีแร่ธำตุที่ระบุ
ไม่เกินปริมำณเท่ำใด ด้วยหำกเกินเกณฑ์ที่
กำหนด จะทำให้คุณสมบัติและกำรใช้งำน
เปลี่ยนแปลงไป
 Chemical property เป็นหนึ่งใน parameter
ที่ใช้แบ่งเกณฑ์ชั้นคุณภาพ (grade) ของ
ผลิตภัณฑ์โครงสร้างเหล็ก
o SS งานไม่เน้นการเชื่อม
o SM งานเชื่อม
o SN งานเชื่อมที่ควบคุม Yield ratio
และ direction property ของเหล็ก
1227-2539
59
1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง (สำหรับประเทศไทย)
บทที่ 1 บทนำ
6. คุณสมบัติทำงกล (mechanical property)
 Mechanical property เป็นอีกหนึ่ง
parameter ที่ใช้แบ่งเกณฑ์ชั้นคุณภาพ
(grade) ของผลิตภัณฑ์โครงสร้างเหล็ก
o ตัวเลขกากับด้านท้ายแสดง กาลังรับ
แรงดึงประลัย (tensile strength) ใน
หน่วย MPa
7. เครื่องหมำยและฉลำก แสดงข้อมูลที่ผู้ผลิต
ต้องกำกับลงบนผลิตภัณฑ์ เช่น ชั้นคุณภำพ
ขนำด lot กำรผลิต โรงงำนผู้ผลิต เป็นต้น
 เหล็กรูปพรรณรีดร้อน ต้องแสดง grade
และโรงงานผู้ผลิตเป็นตัวนูน
60
1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง (สำหรับประเทศไทย)
บทที่ 1 บทนำ
7. เครื่องหมำยและฉลำก แสดงข้อมูลที่ผู้ผลิต
ต้องกำกับลงบนผลิตภัณฑ์ เช่น ชั้นคุณภำพ
ขนำด lot กำรผลิต โรงงำนผู้ผลิต เป็นต้น
8. กำรชักตัวอย่ำงและเกณฑ์ตัดสิน แสดง
จำนวน sample ที่ สมอ. ต้องสุ่มตรวจสอบ
เพื่อควบคุมคุณภำพ ของผลิตภัณฑ์ ทั้ง
ขนำดมิติ คุณสมบัติเชิงกล และ
ส่วนประกอบทำงเคมี
61
1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง
บทที่ 1 บทนำ
Elements Advantage Disadvantage
Carbon (C) Strength
Reduce Ductility, Impact,
Weldability
Silicon (Si) Strength Reduce Ductility and Impact
Manganese (Mn) Strength Reduce Ductility and Impact
Phosphorus (P)
Weather
Resistance
Reduce Workability and Impact
Cause Segregation during
Solidification, which affects Steel
Performance
Sulfur (S) Machinability
Reduce Impact
Cause Lamilar Tear Cracking
REF: JISF
62
2.3 เอกสำรสัญญำระหว่ำง Fabricator กับ Customer
บทที่ 2 เอกสำรสัญญำและ
ขั้นตอนกำรทำ Detailing
Pre Construction Phase Construction Phase
Owner
Designer and/or
Engineer of Record (EOR)
Preliminary Design
Design Development (DD)
Contract Document (CD)
CD for
Bidding
General Contractor (GC)
Construction Manager (CM)
Controlled Inspector
Steel Fabricator Steel DetailerStruct Arch MEP
Project Manager (PM)
63
ในเชิงวิศวกรรม
วิศวกรโครงสร้างต้องออกแบบโดยไม่ให้โครงสร้างเกิดการวิบัติ
กับชิ้นส่วนองค์อาคาร หรือ member failure และ
กับส่วนชิ้นส่วนองค์ประกอบ หรือ local failure
ในเชิงวิศวกรรม
การออกแบบเพื่อป้องกัน member failure นั้นจะแสดง
รายละเอียดไว้ในเอกสารสัญญา คือ Plan & Elevation
ซึ่งระบุถึง member size ขนาดต่าง ๆ รวมถึง ตาแหน่งการ
ติดตั้ง (grid position & spacing)
ในเชิงวิศวกรรม
การออกแบบเพื่อป้องกัน local failure เช่น connection
failure, web yielding, web buckling ฯลฯ วิศวกรจะแสดง
รายละเอียดคร่าว ๆ ไว้ใน section & typical detail ซึ่ง
detailer มีหน้าที่ต้องแปลง design concept ไปสู่การปฏิบัติ
ในโรง Fabrication shop ต่อไป
บทที่ 2 เอกสำรสัญญำและ
ขั้นตอนกำรทำ Detailing
2.4 Plans and Specifications
2.5 Design Information
2.6 Engineering Design Data
2.7 Types of Columns
2.8 Column Schedule
64
STRUCTURAL STEEL NOTES (Ref. TT Group)
- ข้อ 16 ระบุว่า รูปแบบการต่อโครงสร้าง “สามารถ
ปรับเปลี่ยนแก้ไขได้” (แก้ไขโดย contractor หรือ fabricator
ในฐานะ sub contractor) แต่ต้องได้รับการ approve จาก
consult (EOR) อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร)
- ข้อ 18 ระบุว่า หากไม่มีระบุใน drawing ว่าจะต่อ คาน-
คาน แบบใด ให้ยึดตาม typical detail เป็นหลัก
- ข้อ 19 ระบุว่า “ตาแหน่งการต่อทาบ หรือ splice” ต้อง
เป็นไปตามระยะที่ระบุในแบบ เว้นเสียแต่ว่าจะได้รับการแจ้ง
จาก consult อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร
- ข้อ 20 ระบุว่า ให้ต่อคานกับคาน (หรือคานกับเสา) โดย
อ้างอิงแรงปฏิกิริยาที่ระบุในแบบ (plan) และให้ใช้ bolt
อย่างน้อย 2 ตัว ในการต่อ
- ข้อ 21 ระบุว่า การต่อคานกับคาน อย่างน้อยต้องสามารถ
รับนาหนักแผ่ (uniformly distributed load) ที่สามารถรับ
reaction ที่ระบุไว้ในแบบ ทังนี สาหรับ composite beam
ให้ออกแบบรอยต่อ โดยให้สามารถรับนาหนักได้ ตาม
reaction ใน plan คูณด้วย Section modulus of
transformed section / Section modulus of steel
section
- ข้อ 22 ระบุว่า ให้ใส่ stiffener plate ทั้ง 2 ด้านของคาน
ณ ตาแหน่งที่มี concentrated load (column load) มา
กระทาที่คาน โดย stiffener plate นี้หนาอย่างน้อย ½”
แต่ไม่น้อยกว่าความหนาของปีกเสา column flange
thickness (อ้างอิงแบบใน typical detail)
- ข้อ 23 ระบุว่า คานซอย (filler beam) จะถูกจัดวางให้ห่าง
เท่า ๆ กัน หากในแบบไม่ได้ระบุเป็นอย่างอื่น
65
SLIP AREA
St. George Intermodal Ferry Terminal
66
STRUCTURAL DRAWING PLAN – Slip Roof Canopy 67
STRUCTURAL DRAWING SECTION 68
COLUMN AND BASEPLATE SCHEDULE 69
STRUCTURAL TYPICAL DETAIL
วิศวกร กาหนด Typical detail หรือ รายระเอียดทั่วไป
ของงานโครงสร้าง เพื่อให้ผู้ก่อสร้าง (ผู้รับเหมา) ได้ใช้
เป็น “แนวทาง” ในการปฏิบัติ ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงให้
การก่อสร้างจริง แตกต่างจาก Typical detail ก็
สามารถกระทาได้ โดยต้องได้รับการอนุมัติรับรอง จาก
consult ผู้ควบคุมงานเสียก่อน
70
STRUCTURAL TYPICAL DETAIL (Alternative)
Composite Beam/Floor
Composite Beam
71
Shear yielding near support
Web buckling Web crippling
Web Buckling
450
d / 2
d / 2 b1 n1
Effective width for web buckling
cft)1n1b(wbP 
t
d
5.2
t
32
d7.0
yr
EL
32
t
t12
3t
A
yI
yr
yr
d7.0
yr
EL



Web Crippling
b1 n2 1:2.5 slope
Root radius
Stiff bearing length
ywft)2n1b(cripP 
STRUCTURAL TYPICAL DETAIL
?
?
?
72
แสดงน้ำหนักบรรทุกสำหรับ
กำรออกแบบจุดต่อโครงสร้ำง
ระบุรูปตัดแสดง
รำยละเอียดเพิ่มเติม
แสดงระดับพื้น เพื่อกำหนดระดับ
(Elevation) ของจุดต่อในกำรจัดทำ
รำยละเอียดงำนขึ้นรูปเสำ (Column)
ผู้ออกแบบโครงสร้าง ไม่ได้ออกแบบการต่อ
โครงสร้างในรายละเอียด (detailed
connection) แต่ให้ guideline หรือ
concept ในการต่อโครงสร้าง
73
รำยละเอียดกำรต่อโครงสร้ำง
ระบุไว้ใน รำยละเอียดทั่วไป
(Typical Detail)
???
???
ผู้ออกแบบโครงสร้าง ไม่ได้ออกแบบการต่อโครงสร้างในรายละเอียด (detailed connection)
แต่ให้ guideline หรือ concept ในการต่อโครงสร้าง
74
2.11 ข้อผิดพลำดใน Contract Document
บทที่ 2 เอกสำรสัญญำและ
ขั้นตอนกำรทำ Detailing
(หน้า 45) “ กำรต่อคำนรองที่มีควำมลึกมำก เข้ำกับคำนหลักที่ลึกน้อย (เพรำะมี
ควำมยำวน้อย เป็นต้น) สำหรับรับแรงเฉือน เช่น รอยต่อระหว่ำง Secondary Beam -
W24 (ลึก 24 นิ้ว) กับคำน Main Girder - W16 (ลึก 16 นิ้ว) นั้น คำน W24 จะต้องต่อกับ
ส่วนเอวของคำน W16 โดยที่ส่วนบนสุดของคำนทั้งสองอยู่ที่ระดับเดียวกัน (Flush Top)
ซึ่งส่งผลทำให้ Shear Connection เช่น Shear Tab มีขนำดลึกหรือยำวเกินกว่ำควำมลึก
ของหน้ำตัด Main Girder – W16 ด้วยเหตุนี้ก็จะทำให้รำคำค่ำก่อสร้ำงสำหรับรอยต่อมี
รำคำสูง ซึ่งรวมไปถึงกำรเสริมเหล็กพิเศษสำหรับส่วนเอวของคำน W24 และ/หรือ W16
อีกด้วย ”
ทำงออกคือ Detailer ต้องสอบถำมกลับไปยัง Designer ว่ำถูกต้องหรือไม่อย่ำงไร
และอำจรวมถึงกำรเสนอแนวทำงกำรแก้ไขเพื่อลดค่ำใช้จ่ำยของเจ้ำของโครงกำรลง ผ่ำน
Request for Information (RFI)
W16W16
W24
W24
W24
24ft.
16 ft 16 ft
W24
W24
ตัวอย่ำง
 ขนาดของ Member ได้มาจากการ
วิเคราะห์โครงสร้างโดยใช้ Program
คอมพิวเตอร์
 ผู้ออกแบบทาแบบโดยไม่ได้ตรวจสอบ
ความเหมาะสมในงานก่อสร้างจริง
75
OK!
2.14 ข้อบังคับเพื่อสวัสดิภำพและควำมปลอดภัยตำม OSHA
บทที่ 2 เอกสำรสัญญำและ
ขั้นตอนกำรทำ Detailing
OSHA = Occupational Safety and Health Administration
2.14.3 Tripping Hazard
ข้อกำหนดของ OSHA ไม่อนุญำตให้ติดตั้งสลักรับแรงเฉือน, เหล็กแท่งเสริมกำลัง, สลักสมอ
หรือแท่งเกลียวกับชิ้นส่วนโครงสร้ำงมำจำก Fabrication Shop เนื่องจำกอำจเกิดอันตรำยต่อ
คนงำนก่อสร้ำงจำกกำรสะดุดหกล้มในระหว่ำงกำรก่อสร้ำงที่หน้ำงำนได้ ยกเว้นเสียแต่ว่ำ จะ
มีกำรกำหนดให้ช่ำงก่อสร้ำงทุกคน ต้องสวมใส่อุปกรณ์กันตก (Fall Protection)
76
2.14 ข้อบังคับเพื่อสวัสดิภำพและควำมปลอดภัยตำม OSHA
บทที่ 2 เอกสำรสัญญำและ
ขั้นตอนกำรทำ Detailing
OSHA = Occupational Safety and Health Administration
2.14.3 Tripping Hazard
77
บทที่ 2 เอกสำรสัญญำและ
ขั้นตอนกำรทำ Detailing
2.14.6 Column Anchor Bolt
2.14 ข้อบังคับเพื่อสวัสดิภำพและควำมปลอดภัยตำม OSHA
ข้อกำหนดของ OSHA กำหนดว่ำต้องใช้ Anchor Bolt 4 ตัว เพื่อรับน้ำหนักให้ได้อย่ำงน้อย 150
กิโลกรัม (300 ปอนด์) กระทำที่ตำแหน่งปลำยสุดของเสำ ในทิศทำงลง (เสมือนน้ำหนักคน)
โดยมีระยะห่ำงของศูนย์กลำงแรงที่กระทำวัดจำกหน้ำเสำอย่ำงน้อย 45 เซนติเมตร (18 นิ้ว)
*** ข้อพิจำรณำประกอบอื่น ๆ ที่สำคัญคือ ควำมรุนแรงของกระแสลมที่หน้ำงำน
78
บทที่ 2 เอกสำรสัญญำและ
ขั้นตอนกำรทำ Detailing
2.14.9 Column Splice Strength
2.14.10 Column Splice Location
2.14 ข้อบังคับเพื่อสวัสดิภำพและควำมปลอดภัยตำม OSHA
ข้อกำหนดของ OSHA กำหนดว่ำ Column Splice Connection
ต้องรับน้ำหนักให้ได้อย่ำงน้อย 150 kg (300 lbs) กระทำที่
ตำแหน่งปลำยสุดของเสำ ในทิศทำงลง โดยมีระยะห่ำงของ
ศูนย์กลำงแรงที่กระทำวัดจำกหน้ำเสำอย่ำงน้อย 45 cm (18”)
ส่วนตำแหน่งกำร Splice ในทำงปฏิบัติมักจะกำหนดให้มี
ตำแหน่งสูงจำกพื้นประมำณ 120 cm เพื่อควำมสะดวกในกำร
ทำงำน โดยทั้งนี้ควรกำหนดให้ Column Splice Connection
ห่ำงจำกกันทุกๆ 2 ชั้น หรือในบำงกรณีอำจกำหนดให้ห่ำงกัน
ทุกๆ 4 ชั้น ตำมแต่ควำมเหมำะสม (ควำมคุ้มค่ำ) ของงำน
ก่อสร้ำงแต่ละงำน
79
3.2 ชนิดของสลักเกลียว (Type of Fastener)
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
ASTM Specification Min Tensile
Strength (ksc)
Max. Diameter
(cm)
Type of
Material
A307 4,200 10.00 Carbon
A325 8,400 1.25 – 2.50 Carbon,
Quenched &
Tempered
7,400 2.85 – 3.80
A490 10,500 1.25 – 3.80
F1852 & F2280: Twist-Off-Tension-Control Bolts
80
120 ksi
150 ksi
105 ksi
3.3 แรงในสลักเกลียว (Forces in Bolts)
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
กำลังรับแรงเฉือนในสลักเกลียว ขึ้นกับตำแหน่งของเกลียวในระนำบรับแรงเฉือน แบ่งเป็น
1) N (Included): เกลียวอยู่ในระนำบรับแรงเฉือน
2) X (Excluded): เกลียวไม่อยู่ในระนำบรับแรงเฉือน
“ ผู้ออกแบบ นิยมที่จะกำหนดให้ใช้
Bolt ประเภท A325N หรือ A490N
เพื่อความสะดวกในการออกแบบ และ
การควบคุมงานเนื่องจากไม่จาเป็นที่
จะต้องตรวจสอบว่าเกลียวอยู่ในระนาบ
รับแรงเฉือนหรือไม่ ”
81
3.3 แรงในสลักเกลียว (Forces in Bolts)
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
กำลังรับน้ำหนัก ตำมลักษณะกำรขันแน่นและกำรเตรียมผิวสัมผัส แบ่งเป็น
1) สลักเกลียวแบบขันแน่นพอดี (Snug-Tightened Bolt)
2) สลักเกลียวแบบใส่แรงดึงก่อน (Pretention Bolt)
3) สลักเกลียวแบบเลื่อนวิกฤต (Slip Critical Bolt)
อ้างอิงตาม Specification for Structural Joints Using ASTM
A325 or A490 Bolts ของ RCSC
Free DOWNLOAD!!!
82
3.3 แรงในสลักเกลียว (Forces in Bolts)
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
กำลังรับน้ำหนัก ตำมลักษณะกำรขันแน่นและกำรเตรียมผิวสัมผัส แบ่งเป็น
1) สลักเกลียวแบบขันแน่นพอดี (Snug-Tightened Bolt)
กำรขันแน่นพอดี ได้นิยำมไว้ใน หัวข้อ 10.3ก วสท. 1020-51 ว่ำคือ “ควำมแน่นที่ได้จำกกำรขัน
โดยใช้ประแจชนิด Impact Wrench หรือกำรใช้แรงเต็มที่ของคนงำนหนึ่งคนขันโดยใช้ประแจแบบ
ธรรมดำให้รอยต่อแน่นสนิทพอดี”
83
3.3 แรงในสลักเกลียว (Forces in Bolts)
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
กำลังรับน้ำหนัก ตำมลักษณะกำรขันแน่นและกำรเตรียมผิวสัมผัส แบ่งเป็น
2) สลักเกลียวแบบใส่แรงดึงก่อน (Pretention Bolt) ใช้ในกรณีต่ำง ๆ เช่น
 กรณีที่ต้องกำรให้ข้อต่อเกิดควำมแน่น แต่หำกเกิดกำรเลื่อนไถลก็ไม่ส่งผลต่อควำมสำมำรถในกำรรับ
น้ำหนักของข้อต่อ เช่น ในกรณีกำรต่อดำมของเสำเหล็กในอำคำร ข้อต่อสำหรับองค์อำคำรที่ยึดรั้งเสำ
สำหรับอำคำรสูง ข้อต่อโครงสร้ำงรับเครนที่เกินกว่ำ 5 ตัน หรือข้อต่อโครงสร้ำงที่รับอุปกรณ์หรือ
เครื่องจักรที่เลื่อนบนรำงที่อำจก่อให้เกิดกำรเปลี่ยนทิศทำงของแรงที่เกิดขึ้นได้
 ข้อต่อที่รับน้ำหนักที่มีกำรเปลี่ยนทิศทำงของน้ำหนัก
 ข้อต่อที่รับน้ำหนักบรรทุกที่ก่อให้เกิดกำรล้ำต่อข้อต่อโครงสร้ำง โดยที่ทิศทำงของน้ำหนักบรรทุกไม่มี
กำรเปลี่ยนแปลง
 ข้อต่อที่ใช้สลักเกลียวประเภท ASTM A325 หรือ F1852 ที่รับแรงที่ก่อให้เกิดกำรล้ำอันเนื่องมำจำก
แรงดึง
 ข้อต่อที่ใช้สลักเกลียวประเภท ASTM A490 ที่หรือ F2280 รับแรงดึง หรือรับแรงเฉือนควบคู่ไปกับ
กำรรับแรงดึงโดยไม่ก่อให้เกิดกำรล้ำขึ้นกับส่วนของข้อต่อโครงสร้ำง
84
3.3 แรงในสลักเกลียว (Forces in Bolts)
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
กำลังรับน้ำหนัก ตำมลักษณะกำรขันแน่นและกำรเตรียมผิวสัมผัส แบ่งเป็น
3) สลักเกลียวแบบเลื่อนวิกฤต (Slip Critical Bolt) ใช้กับข้อต่อที่หำกเกิดกำรเลื่อนไถลจะเกิด
ควำมเสียหำยต่อควำมสำมำรถในกำรรับแรงของข้อต่อ
 ใช้ในกรณีที่ข่อต่อมีกำรรับแรงที่มีกำรเปลี่ยนทิศทำง และก่อให้เกิดกำรล้ำต่อข้อต่อของโครงสร้ำง
 ข้อต่อสลักเกลียวที่มีรูเจำะแบบใหญ่กว่ำมำตรฐำน (Oversized Hole)
 ข้อต่อสลักเกลียวที่มีรูเจำะแบบร่อง (Slotted Hole) ยกเว้นในกรณีที่ทิศทำงของแรงที่กระทำตั้งฉำก
กับทิศทำงตำมยำวของร่องรูเจำะ
 ข้อต่อที่กำรเลื่อนไถลที่ผิวสัมผัสจะส่งผลเสียต่อควำมสำมำรถในกำรรับน้ำหนักของโครงสร้ำง
ข้อแตกต่ำงระหว่ำง TC กับ SC Bolt ในแง่ของการติดตั้งคือ การเตรียมพื้นผิวสัมผัสบริเวณ Bolt
ที่เรียกว่า Faying Surface เพื่อให้เกิดความฝืด อันส่งผลต่อการถ่ายแรงผ่านระนาบที่มีความฝืดนี้
85
3.3 แรงในสลักเกลียว (Forces in Bolts)
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
ASTM Conn.
Type
Hole
Type
Fv
(ksc)
Loading Nominal Diameter (cm.)
1.9 2.5 3.2 3.8
A307 STD
NSL
700 Single
Double
2.0
4.0
3.6
7.1
5.6
11.1
8.0
16.0
A325 SC STD 1,200 S
D
3.4
6.8
6.1
12.1
9.5
19.4
13.6
27.3
OVS,
SSL
1,050 S
D
3.0
6.0
5.4
10.7
8.3
16.7
12.0
24.0
LSL 850 S
D
2.4
4.8
4.3
8.5
6.7
13.3
9.6
19.2
N STD,
NSL
1,475 S
D
4.2
8.4
7.5
15.0
11.7
23.4
16.8
33.7
X STD,
NSL
2,100 S
D
6.0
12.0
10.7
21.4
16.8
33.4
24.0
48.1
ALLOWABLE LOAD (SHEAR) IN TONS
Ref: AISC/ASD 9th Edition
86
3.3 แรงในสลักเกลียว (Forces in Bolts)
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
1 𝑘𝑠𝑖 ~ 70 𝑘𝑠𝑐
75% Fu,bolt
ส่วนเกลียว
87
Fu = 120 Fu = 150
= 120*.62*.9 = 150*.62*.9
= 120*.62*.75 = 150*.62*.75
= 68*.8 = 84*.8
3.3 แรงในสลักเกลียว (Forces in Bolts)
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
ข้อกาหนดการใช้ shim plate ที่ bolted connection
ถ้าแผ่นเสริมช่องว่าง หรือ shim หนาไม่
เกิน 2 หุน ก็ออกแบบ bolt ตามปกติ
แต่ถ้าหนาเกิน ก็พิจารณาตามข้อกาหนด
เช่น หาก t = 0.5” (4 หุน) … Fn ต้องปรับลดด้วยค่า [1 – 0.4(0.5 – 0.25)] = 0.9 หรือ 90% Fn
88
89
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
3.4 แรงปฏิกิริยำในคำน (Beam Reaction)
ในกำรทำรำยละเอียดคำน Steel Detailer ต้องดำเนินกำรออกแบบ Connection เพื่อให้สำมำรถ
ถ่ำยแรงไปยัง Support ได้ ซึ่งในทำงปฏิบัติผู้ออกแบบโครงสร้ำง ต้องแสดง End Reaction ใน
Design Drawing
อย่ำงไรก็ดี ในคู่มือกำรออกแบบของ AISC บทที่ 2 ได้ระบุไว้ว่ำ หำกใน Design Drawing ไม่ได้
แสดงค่ำ End Reaction ไว้ ก็สำมำรถประมำณค่ำ End Reaction ได้จำกขนำดของคำนที่ระบุไว้ใน
แบบ โดยอำศัย Load Table ที่แสดงไว้ในคู่มือกำรออกแบบของ AISC บทที่ 5
อย่ำงไรก็ดีวิธีกำรนี้ก็ไม่ได้เป็นวิธีที่แนะนาให้ดาเนินการ ด้วยสำเหตุต่ำง ๆ เช่น กรณีกำรเลือกคำน
จำกกำรใช้ขนำดซ้ำเพื่อไม่ให้เกิดควำมสับสนในกำรสั่งซื้อและกำรประกอบติดตั้ง กรณีที่คำนมีขนำดไม่
ยำวมำกอันส่งผลให้ขนำด End Connection ใหญ่เกินกว่ำที่ต้องกำรมำก หรือในกรณี Composite Beam
ที่ต้องกำร End Connection ขนำดใหญ่กว่ำขนำดของคำนตำม Load Table ก็อำจทำให้ Connection ที่ได้
ทำรำยละเอียดมำ มีขนำดเล็กกว่ำควำมต้องกำร
90
แสดงน้ำหนักบรรทุกสำหรับ
กำรออกแบบจุดต่อโครงสร้ำง
91
Compute Required Shear Capacity of W12x14
(No force indicated on plan)
W12x14W12x14
W21x44
W21x44
W24x68
4@6ft=24ft.
16 ft 16 ft
DL = 100 psf.
LL = 100 psf.
TL = 200 psf.
Steel Grade
A992 Fy = 50 ksi.
Steel Section
W12x14 Sx = 14.9 in3
W24x68 Sx = 154 in3
3.4 แรงปฏิกิริยำในคำน (Beam Reaction)
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
-> Capacity design
Moment
capacity
Shear
capacity
???
92
https://www.facebook.com/jtepasteelconstruction/posts/948124891875028
Compute Required Shear Capacity of W12x14
(No force indicated on plan)
W12x14W12x14
W21x44
W21x44
W24x68
4@6ft=24ft.
16 ft 16 ft
M = wL2 = (200x6).(162)
8 8
M = 38.4 kips-ft.
W12x14
MR = 0.66Sx.Fy = 41 kips-ft.
MR > M OK.
3.4 แรงปฏิกิริยำในคำน (Beam Reaction)
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
ออกแบบให้สามารถ
รับ moment ได้ตาม
code คือ ที่ 66%
ของก้าลังรับน้าหนัก
ที่จุดคราก (yield)
93
https://www.facebook.com/jtepasteelconstruction/posts/948124891875028
Compute Required Shear Capacity of W12x14
(No force indicated on plan)
W12x14W12x14
W21x44
W21x44
W24x68
4@6ft=24ft.
16 ft 16 ft
W12x14
M = 41 kips-ft.
V = 4M = 4(41) = 10.24 kips
L 16
VR = 10.24 x (SF = 1.5)
Required Shear Capacity
VR = 15.4 kips
3.4 แรงปฏิกิริยำในคำน (Beam Reaction)
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
แรงเฉือนที่ต้อง
ออกแบบให้จุดต่อคาน
สามารถรับได้ โดยต้อง
ไม่น้อยกว่าก้าลังรับ
moment หรือ “คาน
อาจพังเพราะ moment
แต่ connection ยัง
ต้องรับแรงเฉือนได้”
94
https://www.facebook.com/jtepasteelconstruction/posts/948124891875028
BEAM CONNECTION
 การออกแบบ connection เริ่มจาก การกาหนด ขนาดความยาวตามแบบสถาปัตยกรรม
แล้วกาหนดขนาดนาหนักบรรทุกที่จะรองรับ ตามข้อกาหนดการใช้อาคาร
 จากนันเลือกระบบโครงสร้าง พืน คาน วัสดุตกแต่ง ก็จะสามารถคานวณ ขนาดของ
คาน และคานวณแรงปฏิกิริยาที่ support เพื่อไปใช้ออกแบบ connection
 ในทางกลับกัน หากทราบขนาดของคาน ก็พอจะประมาณขนาดของ แรงปฏิกิริยาที่
support ได้เช่นกัน ตามวิธีที่ได้แสดงไว้ “แต่ไม่เป็นวิธีที่แนะนา” เพราะการใช้แรง
ปฏิกิริยาจากการคานวณของผู้ออกแบบจริง ๆ จะทาให้การออกแบบ connection ทา
ได้ถูกต้องแม่นยากว่า
 การพิจารณาคานวณย้อนกลับ ที่กล่าวถึงไม่ได้พิจารณาถึงพฤติกรรมการโก่งเดาะทาง
ด้านข้าง ที่เรียกว่า lateral torsional buckling ซึ่งเกิดจากการคายันทางด้านข้างใน
ส่วนที่รับแรงอัดของคานที่น้อย ซึ่งจะไปทาให้กาลังโดยรวมของคานลดลงอย่างมาก
STRUCTURAL TYPICAL DETAIL (2)
M = 41 kips-ft.
V = 4M = 4(41) = 10.24 kips
L 16
W12x14
UDL
1 UDL requires shear capacity
of 20/2 = 10 kips
Ref: Page 2-120, Manual of Steel Construction, Allowable Stress Design, 9th Edition
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
95
Knife connectionField Bolt
Shop Bolt
3.5 Common Bolted Shear Connection
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
3.5.1 Double-Angle Connection
 Flexible
 Good Torsional Resistance
 Excellent Axial Compression
Resistance
เหมาะกับการนาไปใช้กับ double angle shear connection ที่ต่อ angle กับ เสา (shop)
96
3.5 Common Bolted Shear Connection
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
3.5.2 Shear End-Plate Connection
 For beam to be cut square at
ends (preferred by some
fabricators)
 Fair Torsional Resistance
 Good Axial Compression
Resistance
97
3.5 Common Bolted Shear Connection
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
3.5.3 Seated Beam Connection
 Good for Beam-to-Column Web
Connection
 Easy to Fabricate
 Easy to Erect
 Reduce Field Bolts
- Headroom / Clearance (especially
stiffened seated beam connection)
98
3.5 Common Bolted Shear Connection
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
3.5.4 Stiffened Seated Beam Connection
ใช้เมื่อ Beam Reaction มีค่าสูงมาก ๆ
99
3.5 Common Bolted Shear Connection
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
3.5.5 Single plate Connection
 Cheap
 Flexible especially skewed member
- Poor Torsional Resistance
- Poor Axial Compression Resistance
100
3.5 Common Bolted Shear Connection
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
3.5.6 Single Angle Connection
 Similar Application to Single-
Plate Connection
 Very Simple
 Very Flexible
- Poor Torsional Resistance
- Poor Axial Compression
Resistance
101
3.5 Common Bolted Shear Connection
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
3.5.7 Tee Connection
 Fair Torsional Resistance
 Good Axial Compression
Resistance
 Fast to Erect
- Expensive (Preparation of T)
- Poor Axial Tension Resistance
102
3.6 แรงในรอยเชื่อม (Forces in Welds)
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
Rweld = (กำลังรับน้ำหนักปลอดภัย) (พื้นที่รับน้ำหนัก)
= (0.3 Fu) [(Effective Weld Throat) (Weld Length)]
ASD
103
3.6 แรงในรอยเชื่อม (Forces in Welds)
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
Rweld = (กำลังรับน้ำหนักปลอดภัย) (พื้นที่รับน้ำหนัก)
= (0.3 Fu) [(Effective Weld Throat) (Weld Length)]
104
3.6 แรงในรอยเชื่อม (Forces in Welds)
ASD LRFD
Rweld = (0.3 Fu) (Effective Throat Area) Rn = (0.6 Fu) (Effective Throat Area)
105
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
3.6 แรงในรอยเชื่อม (Forces in Welds)
LRFD
Rweld = (0.3 Fu) (Effective Throat Area) Rn = (0.6 Fu) (Effective Throat Area)
106
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
ASD
3.6 แรงในรอยเชื่อม (Forces in Welds)
ASD LRFD
Rweld = (0.3 Fu) (Effective Throat Area)
= 0.928 * D * L (หน่วย kilo pounds)
NOTE: D = ขนำดของ Weld leg
Fu = FE70XX = 70 ksi
มุม = 90
Rn = (0.6 Fu) (Effective Throat Area)
= 1.856 * D * L (หน่วย kilo pounds)
107
เช่น Weld leg = 5/16” , D = 5
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
 = 0.75 for shear
= 0.8 for tension
3.6 แรงในรอยเชื่อม (Forces in Welds)
ASD LRFD
Rweld = (0.3 Fu) (Effective Throat Area)
= 0.928 * D * L (หน่วย kilo pounds)
= Rn/2 โดย 2 = Factor of Safety
NOTE: D = ขนำดของ Weld leg
Fu = FE70XX = 70 ksi
มุม = 90
Rn = (0.6 Fu) (Effective Throat Area)
= 1.856 * D * L (หน่วย kilo pounds)
108
เช่น Weld leg = 5/16” , D = 5
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
 = 0.75 for shear
= 0.8 for tension
3.7 Common Welded Shear Connection
3.8 Connections Combining Bolts and Welds
3.9 Selecting Connections
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไปAISCLRFDAISCASD
109
การถ่ายแรง
6 𝑚
8𝑚
𝐷𝐿 = 300 𝑘𝑔/𝑚2
𝐿𝐿 = 400 𝑘𝑔/𝑚2
สมมติ
𝑃 𝐷𝐿 =
1
2
6
2
300 8 = 3,600 𝑘𝑔
𝑃𝐿𝐿 =
1
2
6
2
400 8 = 4,800 𝑘𝑔
𝑉𝐷𝐿 =
1
2
(3,600) = 1,800 𝑘𝑔
𝑉𝐿𝐿 =
1
2
(4,800) = 2,400 𝑘𝑔
𝑉𝑇𝐿 = 4,200 𝑘𝑔
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
110
การถ่ายแรง
𝐷𝐿 = 300 𝑘𝑔/𝑚2
𝐿𝐿 = 400 𝑘𝑔/𝑚2
สมมติ
𝑃 𝐷𝐿 =
1
2
6
2
300 8 = 3,600 𝑘𝑔
𝑃𝐿𝐿 =
1
2
6
2
400 8 = 4,800 𝑘𝑔
𝑉𝐷𝐿 =
1
2
(3,600) = 1,800 𝑘𝑔
𝑉𝐿𝐿 =
1
2
(4,800) = 2,400 𝑘𝑔
𝑉𝑇𝐿 = 3,600 𝑘𝑔
𝑉𝑇𝐿 = 4,200 𝑘𝑔
Connectioncapacity(strength)
≥VTL=4,200kg
 Beam เมื่อรับแรงภายนอก จะเกิดแรงภายในขึ้น
โดยแรงภายในที่เกิดขึ้นนี้ จะต้องมีค่าไม่เกิน
กาลังรับแรงของ Beam
 Support (Column + Connection) จะรองรับ
แรงภายในที่ Beam ถ่ายมา
 ถ้า Support พัง การถ่ายแรงก็ไม่สามารถเกิดขึ้น
ได้ ดังนั้น Column & Connection ต้อง
แข็งแรงมาก (Capacity >> Force ที่จุดต่อคาน)
 เนื่องจาก Connection เกี่ยวข้องกับ ทั้ง Beam
(shear capacity พอไหม) และ Connection
ซึ่งประกอบขึ้นจาก ทั้ง angle/plate มา
weld/bolt ที่ Beam เพื่อไป weld/bolt ที่
Column ดังนั้น Connection อาจวิบัติที่จุดใด
ตาแหน่งใด ด้วยรูปแบบการวิบัติแบบใดก็ได้
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
Strength ควรมากกว่า
designed load เท่าไหร่
111
การถ่ายแรง
𝑉𝑇𝐿 = 4,200 𝑘𝑔
Connectioncapacity(strength)
≥VTL=3,600kg
 สมมติไม่เกิดการวิบัติที่ Column
Beam Connection
 Beam shear
capacity
o Shear yielding
o Shear rupture
 Beam web
yielding &
web crippling
 Bearing (at bolt)
 Angle (Plate) capacity
o Shear yielding
o Shear rupture
(Net/Block shear)
o Bearing (at bolt)
o Bending (seated
connection)
 Bolt shear capacity
 Weld shear capacity
Connectioncapacity(strength)
≥VTL=4,200kg
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
112
การถ่ายแรง  สมมติไม่เกิดการวิบัติที่ Column
Beam Connection
 Beam shear
capacity
o Shear yielding
o Shear rupture
 Beam web
yielding &
web crippling
 Bearing (at bolt)
 Angle (Plate) capacity
o Shear yielding
o Shear rupture
(Net/Block shear)
o Bearing (at bolt)
o Bending (seated
connection)
 Bolt shear capacity
 Weld shear capacity
Connection capacity คือ ค่า capacity ที่ต่าที่สุดของ
รูปแบบ failure mode ทั้งหมด
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
113
การถ่ายแรง  สมมติไม่เกิดการวิบัติที่ Column
Beam Connection
 Beam shear
capacity
o Shear yielding
o Shear rupture
 Beam web
yielding &
web crippling
 Bearing (at bolt)
 Angle (Plate) capacity
o Shear yielding
o Shear rupture
(Net/Block shear)
o Bearing (at bolt)
o Bending (seated
connection)
 Bolt shear capacity
 Weld shear capacity
Connection capacity คือ ค่า capacity ที่ต่าที่สุดของ
รูปแบบ failure mode ทั้งหมด
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
114
การถ่ายแรง  สมมติไม่เกิดการวิบัติที่ Column
Beam Connection
 Beam shear
capacity
o Shear yielding
o Shear rupture
 Beam web
yielding &
web crippling
 Bearing (at bolt)
 Angle (Plate) capacity
o Shear yielding
o Shear rupture
(Net/Block shear)
o Bearing (at bolt)
o Bending (seated
connection)
 Bolt shear capacity
 Weld shear capacity
Connection capacity คือ ค่า capacity ที่ต่าที่สุดของ
รูปแบบ failure mode ทั้งหมด
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
115
การถ่ายแรง  สมมติไม่เกิดการวิบัติที่ Column
Beam Connection
 Beam shear
capacity
o Shear yielding
o Shear rupture
 Beam web
yielding &
web crippling
 Bearing (at bolt)
 Angle (Plate) capacity
o Shear yielding
o Shear rupture
(Net/Block shear)
o Bearing (at bolt)
o Bending (seated
connection)
 Bolt shear capacity
 Weld shear capacity
Connection capacity คือ ค่า capacity ที่ต่าที่สุดของ
รูปแบบ failure mode ทั้งหมด
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
N
d
tf
tw
Local web yielding
∅𝑅 𝑛 = (∅ = 1.0)𝐹𝑦(2.5𝑘 𝑑𝑒𝑠𝑖𝑔𝑛 + 𝑁) 𝑡 𝑤∅𝑅 𝑛 = (0.75)0.4𝑡 𝑤
2
[1 + 3(
𝑁
𝑑
)(
𝑡 𝑤
𝑡𝑓
)1.5
]
𝐸𝐹𝑦 𝑡𝑓
𝑡 𝑤
Local web crippling 𝑁
𝑑
≤ 0.2Local web crippling 𝑁
𝑑
> 0.2
∅𝑅 𝑛 = (0.75)0.4𝑡 𝑤
2
[1 + (
4𝑁
𝑑
− 0.2)(
𝑡 𝑤
𝑡𝑓
)1.5
]
𝐸𝐹𝑦 𝑡𝑓
𝑡 𝑤
116
การถ่ายแรง  สมมติไม่เกิดการวิบัติที่ Column
Beam Connection
 Beam shear
capacity
o Shear yielding
o Shear rupture
 Beam web
yielding &
web crippling
 Bearing (at bolt)
 Angle (Plate) capacity
o Shear yielding
o Shear rupture
(Net/Block shear)
o Bearing (at bolt)
o Bending (seated
connection)
 Bolt shear capacity
 Weld shear capacity
Connection capacity คือ ค่า capacity ที่ต่าที่สุดของ
รูปแบบ failure mode ทั้งหมด
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
∅𝑅 𝑛 = 0.75 (0.6𝐹𝑦 𝐴 𝑔𝑣)
∅𝑅 𝑛 = 0.75 (0.6𝐹𝑢 𝐴 𝑛𝑣)
+𝐹𝑢 𝐴 𝑛𝑡
117
1.0 (0.6𝐹𝑦 𝐴 𝑔𝑣) 0.75 (0.6𝐹𝑢 𝐴 𝑛𝑡)
การถ่ายแรง  สมมติไม่เกิดการวิบัติที่ Column
Beam Connection
 Beam shear
capacity
o Shear yielding
o Shear rupture
 Beam web
yielding &
web crippling
 Bearing (at bolt)
 Angle (Plate) capacity
o Shear yielding
o Shear rupture
(Net/Block shear)
o Bearing (at bolt)
o Bending (seated
connection)
 Bolt shear capacity
 Weld shear capacity
Connection capacity คือ ค่า capacity ที่ต่าที่สุดของ
รูปแบบ failure mode ทั้งหมด
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
∅𝑅 𝑛 = 0.75 (1.2𝐿 𝑐 𝑡𝐹𝑢)
∅𝑅 𝑛 = 0.75 (1.5𝐿 𝑐 𝑡𝐹𝑢)
≤ 2.4𝑑𝑡𝐹𝑢
≤ 3.0𝑑𝑡𝐹𝑢
ถ้าไม่ต้องการให้รูเจาะเสียรูป
ถ้ายอมให้รูเจาะเสียรูป
118
การถ่ายแรง  สมมติไม่เกิดการวิบัติที่ Column
Beam Connection
 Beam shear
capacity
o Shear yielding
o Shear rupture
 Beam web
yielding &
web crippling
 Bearing (at bolt)
 Angle (Plate) capacity
o Shear yielding
o Shear rupture
(Net/Block shear)
o Bearing (at bolt)
o Bending (seated
connection)
 Bolt shear capacity
 Weld shear capacity
Connection capacity คือ ค่า capacity ที่ต่าที่สุดของ
รูปแบบ failure mode ทั้งหมด
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
∅𝑅 𝑛 = 0.8 (0.6𝐹𝐸𝑋𝑋 𝐴 𝑤𝑒𝑙𝑑)
∅𝑅 𝑛 = 0.75 (0.6𝐹𝐸𝑋𝑋 𝐴 𝑤𝑒𝑙𝑑)
PJP Groove
Fillet & Plug
119
การถ่ายแรง
Beam action
Weld 𝑉𝑇𝐿 = 3,600 𝑘𝑔
𝜎𝑣𝜎𝑒
𝜎2
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
ประมาณได้ว่า
𝜎 𝑇 = (𝜎𝑣)2+(𝜎𝑒)2
𝑒 𝑐
120
การถ่ายแรง
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
WP
Bracing connection
Load
 รับแรงทางด้านข้าง ซึ่งกระทาได้ทุก
ทิศทาง
 ดังนั้นแรง P จึงเป็นได้ทั้งแรงดึงและ
แรงอัด
 ในการวิเคราะห์ มักจะกาหนดสมมติฐาน
ให้ แรงกระทาโดยไม่เยื้องศูนย์ หรือ แนว
แรงผ่าน แกน centroid ของทั้ง Column
Beam และ Diagonal bracing มาตัดกัน
อยู่ที่จุดจุดหนึ่งเรียกว่า Work Point (WP)
𝑒 𝐶
𝑒 𝐵
𝜃
121
𝑒 𝐶
𝑒 𝐵
การถ่ายแรง
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
WP
Bracing connection
Load
 แรง 𝐏 cos 𝜽 จะกระจายออกไป 2 ส่วน
คือ ถ่ายไปยังเสา ผ่านเหล็กฉากที่ติดกับ
เสา ( 𝑽 𝑪) และถ่ายไปยังคาน ผ่าน เหล็ก
ฉากที่ติดกับคาน ( 𝑽 𝑩)
 แรง 𝐏 sin 𝜽 จะกระจายออกไป 2 ส่วน
คือ ถ่ายไปยังคาน ผ่านเหล็กฉากที่ติดกับ
คาน ( 𝑯 𝑩) และถ่ายไปยังเสา ผ่านเหล็ก
ฉากที่ติดกับเสา ( 𝑯 𝑪)
 (𝑒 𝐵+𝛽) tan 𝜃 = 𝑒 𝑐 + 𝛼 หรือ
𝛼 −𝛽 tan 𝜃 = 𝑒 𝐵 tan 𝜃 − 𝑒 𝑐
𝜃
𝐏 cos 𝜽
𝐏 sin 𝜽
𝛼
𝛽
สมมติว่าเป็น Tension
𝑽 𝑪
𝑯 𝑪
𝑽 𝑩
𝑯 𝑩
122
𝑒 𝐶
𝑒 𝐵
การถ่ายแรง
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
WP
𝜃
𝐏 cos 𝜽
𝐏 sin 𝜽
𝛼
𝛽
𝑽 𝑪
𝑯 𝑪
𝑽 𝑩
𝑯 𝑩
𝛽
𝒓
𝑷 =
=
𝑒 𝐶
𝒓
𝑷
=
𝑒 𝐵
𝒓
𝑷
=
𝛽
𝒓
𝑷
𝑽 𝑪
𝑯 𝑪
𝑽 𝑩
𝑯 𝑩
นาไปพิจารณา เทียบกับ
connection strength
(resistance) ในทุก failure
mode
Load
123
3.7 Common Welded Shear Connection
3.8 Connections Combining Bolts and Welds
3.9 Selecting Connections
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไปAISCLRFDAISCASD
124
3.7 Common Welded Shear Connection
3.8 Connections Combining Bolts and Welds
3.9 Selecting Connections
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไปAISCLRFD
Block shear = ( = 0.75) [0.6FuAnv + FyAgt]
(LRFD 1986) = ( = 0.75) [0.6FyAgv + FuAgt]
Block shear = ( = 0.75) [0.6FyAgv + FuAnt ]
(LRFD 2005) ≤ ( = 0.75) [0.6FuAnv + FuAnt ]
Weld shear = ( = 0.75) [0.6FEXX .lw.sizew ]
125
Steel Design Fundamental
ASD vs. LRFD
a) Allowable Stress Design (ASD)
b) Load and Resistance Factored
Design (LRFD)
 หลักในการออกแบบ คือ ต้องออกแบบโครงสร้าง
ให้มีกาลังรับน้าหนัก (resistance) มากกว่า แรง
(load) ที่เกิดขึ้นภายในโครงสร้าง
Mean Resistance (Nominal Resistance, R)
Designed Load, L
(ค่ากลางของกาลังรับน้าหนัก)
Designed Resistance, R
ในทางสถิติ หากทราบลักษณะการกระจายตัว
ก็จะสามารถหาค่า Resistance ณ ระดับความเชื่อมั่น
หรือระดับนัยสาคัญ (significance) ที่ต้องการได้ที่ระดับความเชื่อมั่นหนึ่งๆ
(เช่น ที่ 99%) แรงที่ออกแบบ
จะไม่เกิน กาลังรับน้าหนักที่
ปลอดภัย
𝑭𝑺
ASD
𝑳 ≤
𝑹
𝑭𝑺
126 https://web.facebook.com/jtepasteelconstruction/posts/994307867256730
Steel Design Fundamental
ASD vs. LRFD
a) Allowable Stress Design (ASD)
b) Load and Resistance Factored
Design (LRFD)
 หลักในการออกแบบ คือ ต้องออกแบบโครงสร้าง
ให้มีกาลังรับน้าหนัก (resistance) มากกว่า แรง
(load) ที่เกิดขึ้นภายในโครงสร้าง
Mean Resistance (Nominal Resistance)
Factored Load , 𝝓𝑹
ที่ระดับความเชื่อมั่นหนึ่งๆ (เช่น ที่ 99%)
จะสามารถหากาลังรับน้าหนักที่ลดทอนค่าลง
หรือ factored resistance ได้
เนื่องจากแรงที่กระทาก็มีความ
ไม่แน่นอน มีการกระจายตัว
ในทางสถิติ ดังนั้นหากกาหนด
ระดับความเชื่อมั่นหนึ่งๆ (เช่น ที่
99%) ก็ามารถหาแรงที่ secure
ระดับความเชื่อมั่นที่กาหนดได้
𝝓
LRFD
𝜸
Mean Load, L
(เท่ากับ 𝝓𝑹)
𝜸𝑳 ≤ 𝝓𝑹
, 𝜸𝑳
Factored
Resistance
127 https://web.facebook.com/jtepasteelconstruction/posts/994307867256730
3.11 ข้อต่อดำมใสเสำ (Column Splice Connection)
บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ
โครงสร้ำงทั่วไป
กำรพิจำรณำขนำดมิติของเสำสำหรับ
Column splice detailing
128
Fabrication Plant Tour
Japan
129
Fabrication Plant Tour
Singapore
130
Fabrication Plant Tour
Thailand
131
บทที่ 4 สัญลักษณ์และกฎเกณฑ์
พื้นฐำนในกำรจัดทำรำยละเอียด
ในการเปลี่ยนข้อมูลจาก structural design contract document เป็น
fabrication shop data จะต้องมีการ “แปลความ” จากข้อมูลโดยวิศวกร
ผู้ออกแบบ ให้ไปเป็นข้อมูลที่ช่างในโรง fabrication เข้าใจ และสามารถ
นาไปปฏิบัติการขึนรูปชินส่วนโครงสร้างเหล็กต่อได้อย่างลูกต้อง
ผู้จัดทาข้อมูลดังกล่าวนี หรือที่เราเรียกว่า steel detailer นันยังจะต้อง
สามารถ “แปลความ” โดยใช้ภาษาที่วิศวกรผู้ออกแบบเข้าใจ เพื่อที่จะ
สามารถตรวจสอบ (cross check) ความถูกต้องได้
Fabrication shop data นี ประกอบไปด้วย shop piece-mark drawing
หรือแบบการขึนรูป และ erection drawing หรือแบบการติดตัง โดยใช้
ภาษาที่สามารถสื่อความระหว่าง วิศวกรผู้ออกแบบ และ ช่างในโรงงานขึน
รูป รวมไปจนถึงการสื่อความกับ trade ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างสากล
ภาษาที่ใช้ดังกล่าว แสดงไว้ใน “บทที่ 4 สัญลักษณ์และกฎเกณฑ์พื้นฐาน
ในการจัดทารายละเอียด”
นอกจากความเข้าใจด้านภาษาช่าง ที่ Steel detailer ต้องมีความเข้าใจแล้ว
Steel detailer ยังควรต้องทราบถึง “กระบวนการ” ในการขึนรูป หรือ
fabrication process ต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง fabrication process
ของโรง fabrication คู่สัญญา เพื่อจะได้สามารถระบุรายละเอียดให้เหมาะ
กับโรง fabrication นัน ๆ อันจะ maximize shop efficiency ให้เกิดขึนได้
นอกจากความเข้าใจถึง fabrication process ในโรง fabrication แล้ว
steel detailer ที่ดี ยังต้องเข้าใจถึง ลักษณะการทางานที่หน้างาน (field
work) เพื่ออานวยให้ช่างก่อสร้าง ทางานได้โดยง่าย ไม่เสียเวลา และยัง
ควรต้องเข้าใจถึงผลกระทบต่อการใช้งานโครงสร้างอื่นๆ ในระยะยาวด้วย
เช่น การระแวดระวังจุดที่อาจก่อให้เกิดนาขัง หรือ การชุบสังกะสี เป็นต้น
4.1 Good Detailing Practices
14. หลีกเลี่ยงกำรจัดทำแบบรำยละเอียดข้อต่อโครงสร้ำงเหล็กให้มีสลักเกลียว (Bolt)
เพียงตัวเดียว ยกเว้นข้อต่อสำหรับ สลักรับแรงดึง (Tension Rod)
- 127/249 -
132
4.1 Good Detailing Practices
บทที่ 4 สัญลักษณ์และกฎเกณฑ์
พื้นฐำนในกำรจัดทำรำยละเอียด
17. ขนำดมิติที่ของรูปภำพองค์อำคำรในแบบกำรขึ้นรูปชิ้นงำนองค์อำคำรโครงสร้ำงเหล็ก
นั้นไม่จำเป็นต้องเป็นไปตำมสัดส่วนที่แท้จริง
133
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction
detailing for steel construction

Contenu connexe

Tendances

Practical design and_detailing_of_steel_column_base_...
Practical design and_detailing_of_steel_column_base_...Practical design and_detailing_of_steel_column_base_...
Practical design and_detailing_of_steel_column_base_...
suchit03
 
Etabs concrete-design
Etabs concrete-designEtabs concrete-design
Etabs concrete-design
mamilli
 

Tendances (20)

Important topics in civil engineering Eng.Anas Dawas
Important topics  in civil engineering Eng.Anas DawasImportant topics  in civil engineering Eng.Anas Dawas
Important topics in civil engineering Eng.Anas Dawas
 
Steel building detail
Steel building detailSteel building detail
Steel building detail
 
Simplified notes of calculate Wind & Snow loads based on CYS EC1
Simplified notes of calculate Wind & Snow loads based on CYS EC1Simplified notes of calculate Wind & Snow loads based on CYS EC1
Simplified notes of calculate Wind & Snow loads based on CYS EC1
 
Rcc structure design by etabs (acecoms)
Rcc structure design by etabs (acecoms)Rcc structure design by etabs (acecoms)
Rcc structure design by etabs (acecoms)
 
Structural elements and their arrangements
Structural elements and their arrangementsStructural elements and their arrangements
Structural elements and their arrangements
 
Practical design and_detailing_of_steel_column_base_...
Practical design and_detailing_of_steel_column_base_...Practical design and_detailing_of_steel_column_base_...
Practical design and_detailing_of_steel_column_base_...
 
Designing a Cold-Formed Steel Beam Using AS4600:2018 and 2005 - Webinar
Designing a Cold-Formed Steel Beam Using AS4600:2018 and 2005 - WebinarDesigning a Cold-Formed Steel Beam Using AS4600:2018 and 2005 - Webinar
Designing a Cold-Formed Steel Beam Using AS4600:2018 and 2005 - Webinar
 
Strut and Tie Model for Pile Cap
Strut and Tie Model for Pile CapStrut and Tie Model for Pile Cap
Strut and Tie Model for Pile Cap
 
Bolted connections
Bolted connectionsBolted connections
Bolted connections
 
problems on Staad.pro and analysis of a 5 storey building using Etabs
problems on Staad.pro and analysis of a 5 storey building using Etabsproblems on Staad.pro and analysis of a 5 storey building using Etabs
problems on Staad.pro and analysis of a 5 storey building using Etabs
 
Etabs presentation
Etabs presentationEtabs presentation
Etabs presentation
 
Graduation Project (DESIGN AND ANALYSIS OF MULTI-TOWER STRUCTURE USING ETABS).
Graduation Project (DESIGN AND ANALYSIS OF MULTI-TOWER STRUCTURE USING ETABS).Graduation Project (DESIGN AND ANALYSIS OF MULTI-TOWER STRUCTURE USING ETABS).
Graduation Project (DESIGN AND ANALYSIS OF MULTI-TOWER STRUCTURE USING ETABS).
 
ETABS manual - Seismic design of steel buildings according to Eurocode 3 & 8
ETABS manual - Seismic design of steel buildings according to Eurocode 3 & 8 ETABS manual - Seismic design of steel buildings according to Eurocode 3 & 8
ETABS manual - Seismic design of steel buildings according to Eurocode 3 & 8
 
Etabs multistory-steel
Etabs multistory-steelEtabs multistory-steel
Etabs multistory-steel
 
Etabs concrete-design
Etabs concrete-designEtabs concrete-design
Etabs concrete-design
 
Intro to AutoCAD 2016 2D | 03 - user interface
Intro to AutoCAD 2016  2D | 03 - user interfaceIntro to AutoCAD 2016  2D | 03 - user interface
Intro to AutoCAD 2016 2D | 03 - user interface
 
Ch3 Design Considerations (Steel Bridges تصميم الكباري المعدنية & Prof. Dr. M...
Ch3 Design Considerations (Steel Bridges تصميم الكباري المعدنية & Prof. Dr. M...Ch3 Design Considerations (Steel Bridges تصميم الكباري المعدنية & Prof. Dr. M...
Ch3 Design Considerations (Steel Bridges تصميم الكباري المعدنية & Prof. Dr. M...
 
Beam column connections
Beam column connectionsBeam column connections
Beam column connections
 
AutoCAD Presentation 2021 (Internship Project)
AutoCAD Presentation 2021 (Internship Project)AutoCAD Presentation 2021 (Internship Project)
AutoCAD Presentation 2021 (Internship Project)
 
Etabs acecoms rcc structure design
 Etabs acecoms rcc structure design Etabs acecoms rcc structure design
Etabs acecoms rcc structure design
 

En vedette (9)

STEEL CONSTRUCTION
STEEL CONSTRUCTIONSTEEL CONSTRUCTION
STEEL CONSTRUCTION
 
Connections in steel structures
Connections in steel structuresConnections in steel structures
Connections in steel structures
 
Steel connections
Steel connectionsSteel connections
Steel connections
 
คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2
คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2
คู่มือกระบวนการหลักด้านกระบวนการผลิตน้ำประปา เล่ม 2
 
32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ
32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ
32 มาตรฐานหัวกระจายน้ำดับเพลิงอัตโนมัติ
 
welding
weldingwelding
welding
 
มาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบมาตรฐานการเขียนแบบ
มาตรฐานการเขียนแบบ
 
Bolted connections
Bolted connectionsBolted connections
Bolted connections
 
steel structural basics
steel structural basicssteel structural basics
steel structural basics
 

detailing for steel construction

  • 1. Project Manager Downstream business development, Sahaviriya Steel Industry (SSI) Advisor Pacific Pipe PCL. (PAP) Steel Structure Sub-committee, Engineering Institute of Thailand (EIT) การทารายละเอียดการต่อโครงสร้างเหล็ก Detailing for Steel Construction November 13, 2015 1 Mr. Nuttapon Suttitam
  • 2. Seminar Outline Nov 13 – 14, 2015 November 14, 2015 November 13, 2015 • Failure Modes • Steel Connection Design ▫ Shear Connection  Shear Plate (Tab)  Shear End Plate  Single/Double Angle ▫ Moment Connection • Other Considerations ▫ Web Crippling / Buckling ▫ Prying Action • Steel Materials ▫ Steel Products ▫ Assemblage (Bolt / Weld) • Steel Detailing • Steel Fabrication ▫ Bolting Systems ▫ Welding Processes • Introduction to Steel Connection Design • Introduction to BIM 2
  • 3. 3
  • 4. ราคานี้ รวม ค่าแรงพนักงาน ค่าขนส่งพนักงาน ค่าวัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือพื้นฐาน main contractor จะเป็นผู้ทาแบบตัดต่อเชื่อม โดยอาศัยข้อมูลจาก designer และ เป็นผู้ควบคุมสั่งการแรงงานช่างเหล็ก นั่นคือ ความผิดพลาด (human error) จากการ ทางานเหล็ก และความล่าช้าที่เกิดขึ้น main contractor จะต้องรับผิดชอบเองทั้งหมด ถ้าเป็นงานเหล็ก แนวทางปฏิบัติทั่วไปคือ main contractor จะหา sub contractor มารับงานเหล็ก โดย sub มักจะ charge ตามน้าหนักวัสดุโครงสร้างเหล็กเป็นหลัก เช่น อาคารหนัก 10 ตัน หรือ 10,000 กิโลกรัม รับเหมาค่าแรง กิโลกรัมละ 12 – 18 บาท หรือ เฉลี่ยค่าแรงงานเหล็กที่ 15 บาท/กก. หรือ ค่าแรงงานเหล็ก รวม 150,000 บาท Standard practice ออกแบบ ก่อสร้าง • ข้อกำหนดทั่วไป General note • รูปแปลน Plan • รูปด้ำน Elevation • ขนำดคำนเสำ B/C Schedule • รูปตัด Section • รำยละเอียดทั่วไป Typical detail งำนโครงสร้ำง (Structural work) • กำหนดวิธีกำรก่อสร้ำง • ทำแบบก่อสร้ำง • สั่งวัสดุ • ก่อสร้ำง • ทำ as-built และส่งงำน Consult คุมงาน Designer อนุมัติ แล้วมันไม่ดี / มีช่องโหว่ตรงไหน ??? 4
  • 5. Pre-fab practice ออกแบบ ผลิต ติดตั้ง • General note • Plan • Elevation • B/C Schedule • Section • Typical detail งำนโครงสร้ำง (Structural work) • กาหนดวิธี และ sequence การติดตั้ง • ตรวจสอบควบคุม คุณภาพสินค้าที่ส่งมา • ดาเนินการติดตั้ง ทำแบบกำรผลิต + ผลิตขึ้นรูป + ขนส่งไปติดตั้ง แล้วมันดีกว่ำตรงไหน ??? 5
  • 8. Pre-fab practice ออกแบบ ผลิต ติดตั้ง • General note • Plan • Elevation • B/C Schedule • Section • Typical detail งำนโครงสร้ำง (Structural work) • กาหนดวิธี และ sequence การ ติดตั้ง • ตรวจสอบควบคุม คุณภาพสินค้า • ดาเนินการติดตั้ง ทำแบบกำรผลิต + ผลิตขึ้นรูป + ขนส่งไปติดตั้ง รูปแบบ finished product ขนาดมิติและพิกัด ของชิ้นส่วนแต่ละชิ้น ทา shop แสดง ขนาด และการตัด เจาะบาก ชิ้นส่วน ทาแบบแสดงวิธีการ ติดตั้ง PROCESS 8
  • 9. Pre-fab practice • General note • Plan • Elevation • B/C Schedule • Section • Typical detail ทำแบบกำรผลิต + ผลิตขึ้นรูป + ขนส่งไปติดตั้ง รูปแบบ finished product ขนาดมิติและพิกัด ของชิ้นส่วนแต่ละชิ้น ทา shop แสดง ขนาด และการตัด เจาะบาก ชิ้นส่วน ทาแบบแสดงวิธีการ ติดตั้ง ในงำนโครงสร้ำงเหล็ก วิศวกร เป็นผู้ออกแบบขนาด คาน เสา พิกัดโครงสร้าง และรูปแบบการต่อ แบบทั่ว ๆ ไป เช่น รูปแบบทั่วไปของ การต่อเสากับคาน การต่อ moment connection การ splice เสาหรือคาน ฯลฯ รวมถึง รูปตัดเพื่อช่วยให้ความ กระจ่างแก่ผู้ก่อสร้าง ให้ดาเนินการตาม design concept ของผู้ออกแบบ ใครมีหน้าที่แยก องค์ประกอบ ชิ้นส่วน เพื่อมา fabricate ใครเป็นผู้ทา connection detail & shop drawing 9
  • 10. Pre-fab practice • General note • Plan • Elevation • B/C Schedule • Section • Typical detail ถ้าให้วิศวกรทา shop drawing วิศวกร ต้องทราบรายละเอียดของเครื่องมือเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิต เช่น เครื่องเชื่อมมีกี่แบบ จะต่อ plate เข้ากับ beam หรือ ประกอบ plate ทา box column ควรใช้การเชื่อมแบบใด ระยะการตัดบากหลบงานระบบ มีขนาดที่เหมาะในการขนส่ง (ไม่เกินน้าหนักบรรทุกตามกฎหมาย) ฯลฯ และ ต้องมี “State-of-Art” ในการก่อสร้าง คือเข้าใจสภาพหน้างาน และเข้าใจ วิธีการก่อสร้างว่าจะขึ้นรูปอย่างไร ถึงจะทาให้ก่อสร้าง (ติดตั้ง) ได้ง่ายที่สุด ส่งแบบ shop drawing ให้กับ fabricator เพื่อ ผลิต 10
  • 11. Pre-fab practice • General note • Plan • Elevation • B/C Schedule • Section • Typical detail ถ้าให้ fabricator ทา shop drawing Fabricator ต้องสามารถทาความเข้าใจต่อ “input” หรือ แบบโครงสร้างที่ ได้รับจากผู้ออกแบบ (Structural & MEP engineer/ Arch) พร้อม ศักยภาพในการผลิตของโรงงาน การปรับเปลี่ยนวัสดุหรือวิธีการหากไม่ สามารถดาเนินการตามผู้ออกแบบได้ทั้งหมด ตลอดจน “State-of-Art” ใน การก่อสร้าง คือเข้าใจสภาพหน้างาน และเข้าใจวิธีการก่อสร้างว่าจะขึ้นรูป อย่างไร ถึงจะทาให้ก่อสร้าง (ติดตั้ง) ได้ง่ายที่สุด แปล design drawings ให้เป็น shop drawing และ ส่งกลับไปให้ designer เพื่อขอ approve คำถำมคือ ??? แล้ว designer กับ fabricator จะสื่อสารกัน อย่างไร ด้วยภาษาอะไร ที่ designer จะสามารถ เข้าใจรายละเอียดในการผลิตจาก shop เพื่อจะ สามารถ approve shop drawing ได้ 11
  • 12. Pre-fab practice ภาษาช่าง Designer Fabricator Detailer (translator) Erector ภาษาวิศวกร ภาษาช่าง กำรทำ shop drawing ยังเป็นกำร ตรวจสอบควำมถูกต้องของ design drawing อีกด้วย 12
  • 13. Steel Detailing การทารายละเอียดโครงสร้างเหล็ก คือ กระบวนการ ในการแปลข้อมูล จากผู้ออกแบบโครงสร้าง ไปเป็นข้อมูล การแปรรูปวัสดุเหล็ก ภายในโรงงานขึ้นรูป ประโยชน์ ของ Steel Detailing ได้ Output คือ Shop drawing ซึ่งช่วยให้เกิดการเพิ่มประสิทธิภาพงานก่อสร้าง โดย ลด ปริมาณ Field work ลด Construction error ลดระยะเวลางานก่อสร้าง เพิ่มขั้นตอน ให้เกิดการตรวจสอบซ้า ก่อนการเริ่มงานจัดซื้อวัสดุ และการขึ้นรูป ซึ่งไปช่วย ลดความผิดพลาดจากผู้ออกแบบ อันเป็นการเพิ่ม ระดับความปลอดภัยให้กับโครงสร้าง 13
  • 14. จุดประสงค์ของการสัมมนา 1. เข้าใจ structural steel ในส่วนที่การเรียนการสอนวิศวกรรมโยธา ไม่ได้กล่าวถึง เช่น ผลิตภัณฑ์เหล็ก งานผลิต งาน bolt งานเชื่อม เป็นต้น 2. สร้างความเข้าใจ practice งานโครงสร้างเหล็ก แบบ modular ที่ใช้กันในสากล โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง ในส่วนของ work flow ของการทางาน และ บทบาทหน้าที่ของแต่ละ party 3. สร้างความเข้าใจ technical term ภาษาช่างในโรง fabrication ที่ใช้กันในสากล 4. ปรับตัว ปรับใจ เตรียมความพร้อมกับ การทางานกับระบบสากล เมื่อเปิด AEC 5. เข้าใจ ระบบวิธีการทางานและการจัดการพื้นฐาน ของโรงงาน fabrication 6. แนะนา (introduction) วิธีการอ่านคู่มือ Steel Detailing Manual 7. แนะนา อาชีพใหม่ที่น่าสนใจ ในตลาดงานก่อสร้าง “fabricator & detailer” 8. นาเสนอพื้นฐานการวิเคราะห์และคานวณออกแบบการต่อโครงสร้างเหล็ก 14
  • 15. 15
  • 16. Double Angle Shear Connection OSL & NSL Bolted Connection OSL & NSL Welded Connection Ref: Salmon et. al, “Steel Structures: Design and Behavior”, Pearson 16
  • 17. Beam-to-Girder Double Angle Shear Connection Ref: Salmon et. al, “Steel Structures: Design and Behavior”, Pearson 17
  • 18. Seated Connection Ref: Salmon et. al, “Steel Structures: Design and Behavior”, Pearson เหล็กฉาก clip angle หนาประมาณ 2 หุน เหล็กฉากยึดปีกบน หนาประมาณ 2 หุน เหล็กฉาก ความหนา เป็นไปตามรายการ คานวณแรงที่กระทา ที่ Critical section ขนาดของขาเหล็กฉาก ขึ้นกับกาลังแรงกดที่ กระทาจากคาน ขนาดของขาเหล็กฉาก ขึ้นกับ กาลังแรงเฉือนที่กระทาจากคาน ความยาวของเหล็กฉาก ขึ้นกับความกว้างของปีก คาน และระยะเกจ 18
  • 19. ตัวอย่าง Seated Connection ที่ต้องรับแรงเฉือนมาก Ref: Salmon et. al, “Steel Structures: Design and Behavior”, Pearson 19
  • 20. Moment Connection Ref: Salmon et. al, “Steel Structures: Design and Behavior”, Pearson 20
  • 21. Moment Connection Ref: Salmon et. al, “Steel Structures: Design and Behavior”, Pearson 21
  • 22. Moment Connection Ref: Salmon et. al, “Steel Structures: Design and Behavior”, Pearson เกี่ยวข้องกับ (column) web yielding 22 𝐻 − 2𝑡𝑓 − 2𝑘 𝒕 𝒘 𝒕𝒇𝒃+𝟓𝒌
  • 23. Column Base Connection Ref: Salmon et. al, “Steel Structures: Design and Behavior”, Pearson 23
  • 24. Beam Splice Connection Ref: Salmon et. al, “Steel Structures: Design and Behavior”, Pearson 24
  • 25. • ขึ้นรูปอย่างไรให้ ประหยัด และได้ ตามมาตฐาน • ต่ออย่างไร ให้ ถูกต้องและไม่พัง ระหว่างก่อสร้าง • ทา Detail อย่างไร ให้ขึ้นรูป ติดตั้งง่าย และตรงตาม design concept • ออกแบบอย่างไร ให้ ประหยัด และแข็งแรง Structural Designer Steel Detailer Steel Fabricator Steel Erector สื่อสาร สื่อสาร สื่อสาร สื่อสาร 25
  • 26. 26
  • 27. Table of Content 1. Introduction 2. Contract Documents and Detailing Process 3. Common Connection Details 4. Basic Detailing Conventions 5. Project Set-up and Control 6. Erection Drawings 7. Shop Drawings and Bills of Materials 8. Detailing Quality Control and Assurances Appendix: Basic Engineering Fundamental REFERENCE 27
  • 28. คณะกรรมการดาเนินการ 1. ศ.ดร. เอกสิทธิ์ ลิ้มสุวรรณ 2. ดร. สันติสุข ปลูกสวัสดิ์ 3. ดร. ธีระวุฒิ มูฮำหมัด 4. ผศ.ดร. สุทัศน์ ลีลำทวีวัฒน์ 5. คุณ กิตติ จันทร์แสงศรี 6. คุณ สุวัฒน์ เหรียญศิริวรรณ 7. คุณ สมยศ เจียมจิรังกร 8. คุณ จรินทร์ ศรีสงครำม 9. คุณ สมเกียรติ ลำภทวี 10. คุณ ณัฐพล สุทธิธรรม 11. ดร. พลเดช เทอดพิทักษ์วำนิช สภำวิศวกร สถำบันเหล็กฯ พระจอมเกล้ำธนบุรีฯ พระจอมเกล้ำธนบุรีฯ บมจ. STP&I PCL. บมจ. STP&I PCL. บมจ. M.C.S. Steel บจก. วัฒนไพศำลเอ็นยิเนียริ่ง บจก. Thai Nippon Steel สถำบันเหล็กฯ บจก. RKV Consultant 28
  • 29. ภาพรวมของบทย่อย บทที่ 1 บทนำ (Introduction) • บทบำทและหน้ำที่ของ Steel Detailer • วัสดุ คุณสมบัติทำงกำยภำพ และผลิตภัณฑ์ตำมมำตรฐำน • กำรผลิตเหล็กกล้ำสำหรับงำนก่อสร้ำง และควำมคลำดเคลื่อนที่ยอมให้จำกโรงรีด • กำรคำนวณน้ำหนัก และกำรทำรำยกำรเรียกเก็บเงิน • กำรควบคุมด้วยระบบ CNC และกำรขึ้นรูปชิ้นส่วน 29
  • 30. ภาพรวมของบทย่อย บทที่ 2 เอกสำรสัญญำและขั้นตอน (กระบวนกำร) กำรทำ รำยละเอียดโครงสร้ำงเหล็ก • เอกสำรสัญญำ • แบบแปลน ข้อกำหนด และ ข้อมูลกำรออกแบบทำงวิศวกรรม • ข้อบังคับเพื่อสวัสดิภำพและควำมปลอดภัยตำมมำตรฐำน OSHA 30
  • 31. ภาพรวมของบทย่อย บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อโครงสร้ำงทั่วไป • กำรต่อด้วยสลักเกลียว – ชนิดของสลักเกลียว แรงในสลักเกลียว รูปแบบกำรขัน ให้แน่น • กำรต่อด้วยกำรเชื่อม – ชนิดของกำรเชื่อมจำแนกตำมรูปแบบกำรเชื่อม ปริมำณ กำรซึมหรือหลอมลึก กำรคำนวณกำลัง • กำรต่อด้วยกำรเชื่อมควบคู่ไปกับกำรใช้สลักเกลียว • รูปแบบกำรต่อโครงสร้ำง – Shear Connection, Seated Connection, Skewed Connection, Column Splice Connection, Truss Connection 31
  • 32. ภาพรวมของบทย่อย บทที่ 4 สัญลักษณ์และกฎเกณฑ์พื้นฐำน • หลักปฏิบัติในกำรจัดทำรำยละเอียดที่ถูกต้อง • สลักเกลียว – กำรใช้สัญลักษณ์ • กำรเชื่อม – กำรใช้สัญลักษณ์ กระบวนกำรเชื่อม กำรทดสอบแบบไม่ทำลำย • กำรทำสี • กำรชุบสังกะสี 32
  • 33. ภาพรวมของบทย่อย บทที่ 5 กำรเตรียมกำรและกำรควบคุมโครงกำร • กำรวำงแผนกำรจัดกำรข้อมูลและกำรประสำนงำนโครงกำร • วำระกำรประชุมเริ่มโครงกำร • รำยกำรล่วงหน้ำสำหรับกำรสั่งวัสดุ 33
  • 34. ภาพรวมของบทย่อย บทที่ 6 แผนกำรประกอบติดตั้งโครงสร้ำง • แนวทำงกำรปฏิบัติงำน (Practical Guideline) ในกำรจัดทำแบบกำรประกอบ ติดตั้งโครงสร้ำง • อุปกรณ์รองรับชั่วครำวเพื่อกำรประกอบติดตั้งโครงสร้ำงเหล็ก • กำรแก้ไขเปลี่ยนแปลงในภำคสนำม 34
  • 35. ภาพรวมของบทย่อย บทที่ 7 แบบรำยละเอียดกำรขึ้นรูปและรำยกำรวัสดุ • ตัวอย่ำงกำรทำแบบรำยละเอียดกำรขึ้นรูปสำหรับอำคำรโครงสร้ำงเหล็ก • ตัวอย่ำงกำรทำแบบรำยละเอียดกำรขึ้นรูปสำหรับโครงถักเหล็ก • ตัวอย่ำงกำรทำแบบรำยละเอียดกำรขึ้นรูปสำหรับโครงหลังคำและโครงรับผนัง • ตัวอย่ำงกำรทำแบบรำยละเอียดกำรขึ้นรูปสำหรับระบบค้ำยันโครงสร้ำงเหล็ก • ตัวอย่ำงกำรทำแบบรำยละเอียดกำรขึ้นรูปสำหรับโครงเหล็กประกอบ • ข้อผิดพลำดจำกกำรทำแบบรำยละเอียด 35
  • 36. ภาพรวมของบทย่อย บทที่ 8 กำรควบคุมและกำรประกันคุณภำพ • กำรตรวจสอบแบบรำยละเอียดกำรขึ้นรูปและแบบกำรประกอบติดตั้ง • กำรสอบทวนแบบรำยละเอียดกำรขึ้นรูปและแบบกำรประกอบติดตั้ง • กำรอนุมัติแบบ และกำรเก็บรักษำข้อมูล 36
  • 37. 37
  • 38. Pre Construction Phase Construction Phase 1.1 ขั้นตอนกำรก่อสร้ำงและหน้ำที่ของ Detailer บทที่ 1 บทนำ Owner Designer and/or Engineer of Record (EOR) Preliminary Design Design Development (DD) Contract Document (CD) CD for Bidding General Contractor (GC) Construction Manager (CM) Controlled Inspector Steel Fabricator Steel DetailerStruct Arch MEP Project Manager (PM) 38
  • 39. 39
  • 40. 1.1 ขั้นตอนกำรก่อสร้ำงและหน้ำที่ของ Detailer บทที่ 1 บทนำ เมื่อผู้ขึ้นรูปต้องกำรเปลี่ยนแปลงรำยละเอียดกำรต่อโครงสร้ำง ที่ได้แสดงไว้ ในเอกสำรสัญญำ ผู้ขึ้นรูปจะต้องทำกำรแจ้งไปยังตัวแทนของเจ้ำของงำนใน ฝ่ำยงำนออกแบบและงำนก่อสร้ำงได้รับทรำบอย่ำงเป็นลำยลักษณ์อักษร ก่อนกำรส่งแบบกำรขึ้นรูปและแบบกำรประกอบติดตั้งอย่ำงเป็นทำงกำร โดยตัวแทนของเจ้ำของงำนในฝ่ำยงำนออกแบบและงำนก่อสร้ำงจะต้องทำ กำรตรวจสอบและให้กำรอนุมัติ หรือไม่ให้กำรอนุมัติ (หรือให้กำรอนุมัติแบบ มีเงื่อนไข) เอกสำรดังกล่ำวภำยในเวลำอันสมควร หน้ำที่หลักของผู้ขึ้นรูป คือกำรจัดทำแบบกำรขึ้นรูป (Shop Drawing) และ แบบกำรติดตั้ง (Erection Drawing) ของงำนโครงสร้ำงเหล็ก โดยต้อง (a) แปลข้อมูลที่แสดงในเอกสำรสัญญำ ไปสู่ข้อมูลในแบบกำรขึ้นรูปและ แบบกำรติดตั้ง (b) จัดทำรำยละเอียดกำรขึ้นรูปที่ถูกต้องและแม่นยำเพื่อกำรติดตั้งชิ้นส่วน องค์อำคำรโครงสร้ำงเหล็กที่หน้ำงำน 40
  • 41. 1.1 ขั้นตอนกำรก่อสร้ำงและหน้ำที่ของ Detailer บทที่ 1 บทนำ บทขยำยควำมเพิ่มเติม ผู้ขึ้นรูป (Fabricator) สำมำรถจะจ้ำงผู้จัดทำรำยละเอียด (Detailer) เพื่อจัดทำแบบ กำรขึ้นรูปและแบบกำรประกอบติดตั้ง (Shop & Erection Drawing) ตลอดจนงำนที่ เกี่ยวข้องอื่น ๆ เช่น กำรทำรำยกำรวัสดุ และรำยกำรสลักเกลียว เป็นต้น 41
  • 42. 42
  • 43. 43
  • 44. 1.1 ขั้นตอนกำรก่อสร้ำงและหน้ำที่ของ Detailer บทที่ 1 บทนำ (หน้า 2) “ เนื่องจำกผู้จัดทำรำยละเอียดโครงสร้ำงเหล็ก (Steel Detailer) จะต้องเป็นเสมือน ผู้แปลควำมหมำยจำกแบบโดยผู้ออกแบบ (Design Drawing) และข้อกำหนด ต่ำง ๆ ในเอกสำรสัญญำ (Contract Drawing) มำเป็นแบบที่บรรจุข้อมูล สำหรับผู้ขึ้นรูป (Fabricator) ดังนั้น Steel Detailer ที่ดี ควรจะต้องคุ้นเคยกับ วิธีกำรทำงำนของ Fabricator และเครื่องมือเครื่องใช้ใน Fabrication Shop นอกจำกนี้ยังต้องทรำบถึง พิกัดขนำดและน้ำหนักสูงสุดของชิ้นส่วนงำนสูงสุดที่ผู้ ติดตั้ง (Erector) มีขีดควำมสำมำรถในกำรทำงำนดำเนินกำรได้ ” 44
  • 45. 1.1 ขั้นตอนกำรก่อสร้ำงและหน้ำที่ของ Detailer (& Fabricator) บทที่ 1 บทนำ  JOB & FABRICATOR SET-UP  PREPARE JOB STANDARD & CONNECTION CALCULATION SHEETS  PREPARE SYSTEM OF ASSEMBLING & SHIPPING PIECE MARKS  PREPARE & CHECK ADVANCE BILLS for ORDERING  จัดเตรียมระบบกำรขึ้นรูปชิ้นส่วนใน โรงงำนขึ้นรูปโครงสร้ำงเหล็ก  จัดเตรียมมำตรฐำนเฉพำะงำนและ รำยกำรคำนวณกำรต่อโครงสร้ำง เหล็ก  จัดเตรียมระบบกำรให้สัญลักษณ์ใน กำรประกอบติดตั้งและกำรขนส่ง ชิ้นงำน  จัดเตรียมและตรวจสอบรำยกำรสั่ง วัสดุล่วงหน้ำ 45
  • 46. 1.1 ขั้นตอนกำรก่อสร้ำงและหน้ำที่ของ Detailer (& Fabricator) บทที่ 1 บทนำ  PREPARE & CHECK ANCHOR ROD/EMBEDMENT DRAWINGS  PREPARE LIST OF FIELD FASTENERS  PREPARE & CHECK ERECTION DRAWINGS, SHOP DRAWINGS & BILL OF MATERIALS  RECORD APPROVED SHOP DRAWINGS  จัดเตรียมแบบแสดงตำแหน่งของ สลักสมอและรำยละเอียดกำรติดตั้ง  จัดเตรียมรำยกำรอุปกรณ์ยึดต่อ โครงสร้ำงที่หน้ำงำน  จัดเตรียมและตรวจสอบแบบกำร ติดตั้งและแบบกำรขึ้นรูป ตลอดจน รำยกำรวัสดุทั้งหมดในงำนก่อสร้ำง  จัดเก็บแบบกำรขึ้นรูปที่ได้รับกำร อนุมัติแล้ว 46
  • 47. 1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง บทที่ 1 บทนำ มอก. 1227 2539 JIS G3101 1995 JIS G3106 1995 JIS G3136 1994 BS 4360 1986 BS EN 10025 1986 ASTM 1997 SS400 SS490 SS540 SS400 SS490 SS540 43A 50A A36 SM400 SM400A SM400B SN400A SN400B 43B 43C S275JR A572 Gr.42 SM490 SM490B SM490 YA SM490 YB SN490B 50B 50C S355JR A572 Gr.50 A992 SM520 SM570 SM520B SM570 47
  • 48. 1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง (สำหรับประเทศไทย) บทที่ 1 บทนำ มำตรฐำนทั่วไป เป็นเครื่องหมำยที่แสดงกับผลิตภัณฑ์ที่เป็นมำตรฐำนไม่บังคับ ผู้ผลิต สำมำรถยื่นขอใบอนุญำตแสดงเครื่องหมำยมำตรฐำนได้ด้วยควำมสมัครใจ มำตรฐำนบังคับ เป็นเครื่องหมำยที่แสดงบนผลิตภัณฑ์ที่มีกฎหมำยกำหนดให้ต้องเป็นไป ตำมมำตรฐำน เพื่อคุ้มครองควำมปลอดภัยให้แก่ผู้บริโภค และป้องกัน ควำมเสียหำยที่จะเกิดขึ้นแก่เศรษฐกิจของประเทศ ผู้ผลิต ผู้นำเข้ำและผู้ จำหน่ำย จะต้องผลิต นำเข้ำและจำหน่ำยเฉพำะผลิตภัณฑ์ที่ต้องเป็นไปตำม มำตรฐำนเท่ำนั้น 48
  • 49. 1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง บทที่ 1 บทนำ  เหล็กโครงสร้างรูปพรรณรีดร้อน (Hot-Rolled Section) 49
  • 50. 1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง (สำหรับประเทศไทย) บทที่ 1 บทนำ  เหล็กโครงสร้างรูปพรรณรีดเย็น (Cold-Rolled Section)  C / Lip C  Z / Lip Z  Angle  Hat (มอก. 1228-2549 มาตรฐานบังคับ)  เหล็กโครงสร้างรูปพรรณกลวง (Hollow Steel Section, HSS) (มอก. 107-2533 มาตรฐานทั่วไป) เหล็กโครงสร้างรูปพรรณขึ้นรูปเย็น (Cold-Formed Section) 50
  • 51. ข้อควรระวังสาหรับเหล็กขึ้นรูปเย็น 1. Local buckling • For compression zone of either compression or flexural member 2. Distortional buckling • For flexural member 3. Lateral-Torsional buckling • For flexural member L Bending Moment Diagram Mmax Collapse mechanism Plastic hinges Mp Formation of Collapse Mechanism in a Fixed Beam w Bending Moment Diagram BASIC CONCEPTS OF PLASTIC THEORY (a) at My (b) My < M<Mp (c) at Mp Plastification of Cross-section under Bending Mp SECTION CLASSIFICATION Mp Rotation  My y u Slender Semi-compact Compact Plastic Section Classification based on Moment-Rotation Characteristics Moment Capacities of Sections My Mp 1 2 3 =b/t Semi- Compact SlenderPlastic Compact SECTION CLASSIFICATION BASED ON WIDTH -THICKNESS RATIO For Compression members use compact or plastic sections Type of Element Type of Section Class of Section Plastic (1) Compact (2) Semi-compact (3) Outstand element of compression flange Rolled b/t  9.4 b/t  10.5 b/t  15.7 Welded b/t  8.4 b/t  9.4 b/t  13.6 Internal element of compression flange bending b/t  29.3 b/t  33.5 b/t  42 Axial comp. not applicable b/t  42 Web NA at mid depth d/t  84.0 d/t  105 d/t  126 Angles bending Axial comp. Circular tube with outer diameter D D/t  442 D/t  632 D/t  882 Table 2 Limits on Width to Thickness Ratio of Plate Elements b/t  9.4 b/t  10.5 b/t  15.7 not applicable b/t  15.7 (b+d)/t  25 𝜀 = 250 𝑓𝑦 0 1 2 3 0 50 100 150 200 250 300 350 400 Lcr Mcr local buckling 10 0 10 1 10 2 10 3 0 100 200 300 400 500 half-wavelength loadfactor BUCKLING CURVE 5.0,172.76 20.0,133.65 distortional buckling 10 0 10 1 10 2 10 3 0 100 200 300 400 500 half-wavelength loadfactor BUCKLING CURVE 5.0,172.76 20.0,133.65 lateral-torsional buckling 10 0 10 1 10 2 10 3 0 100 200 300 400 500 half-wavelength loadfactor BUCKLING CURVE 5.0,172.76 20.0,133.65 Typical modes in a thin-walled beam 1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง (สำหรับประเทศไทย) บทที่ 1 บทนำ มำตรฐำนผลิตภัณฑ์อุตสำหกรรมเหล็ก โครงสร้ำงรูปพรรณกลวง มำตรฐำนทั่วไป มอก. 107-2533 Material Grade Chemical Composition (%) Mechanical Properties C Max Si Max Mn Max P Max S Max Yield Stress N/mm2. Tensile Strength N/mm2. Elongation (%) HS 41 0.28 - - 0.048 0.048 235 402 23 HS 50 0.21 0.57 1.53 0.048 0.048 314 490 23 HS 51 0.33 0.37 0.33-1.03 0.048 0.048 353 500 15 ksc 2,400 3,200 3,600 ksc 4,100 5,000 5,100 51
  • 53. 1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง (สำหรับประเทศไทย) บทที่ 1 บทนำ มอก. 1227 2539 JIS G3101 1995 JIS G3106 1995 JIS G3136 1994 BS 4360 1986 BS EN 10025 1986 ASTM 1997 SS400 SS490 SS540 SS400 SS490 SS540 43A 50A A36 SM400 SM400A SM400B SN400A SN400B 43B 43C S275JR A572 Gr.42 SM490 SM490B SM490 YA SM490 YB SN490B 50B 50C S355JR A572 Gr.50 A992 SM520 SM570 SM520B SM570 มำตรฐำนบังคับ มอก. 1227-2539m 53
  • 54. 54
  • 55. 1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง (สำหรับประเทศไทย) บทที่ 1 บทนำ 1. ขอบข่ำยของมำตรฐำนฉบับนี้ ว่ำครอบคลุม ผลิตภัณฑ์อะไรบ้ำง 2. บทนิยำม แสดงควำมหมำยของ technical term ที่สำคัญ 3. ขอบเขตและชั้นคุณภำพ แสดง grade และ รูปพรรณสัณฐำนของผลิตภัณฑ์ในข้อ 1 55
  • 56. 1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง (สำหรับประเทศไทย) บทที่ 1 บทนำ 4. ขนำด ควำมยำว และเกณฑ์ ควำมคลำดเคลื่อน แสดงกรอบกำรยอมรับ ของขนำดมิติต่ำง ๆ ที่ มอก. ให้กำรรับรอง ความคลาดเคลื่อนจากโรงรีด Mill Tolerance 56
  • 57. 1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง (สำหรับประเทศไทย) บทที่ 1 บทนำ ตำรำงแสดงขนำดมิติ และคุณสมบัติเชิงกลของ หน้ำตัด เช่น • โมเมนต์ควำมเฉื่อย (moment of inertia) • รัศมีไจเรชั่น (radius of gyration) • ใช้สัญลักษณ์ ix, iy ในขณะที่วสท. และ AISC ใช้ rx, ry • โมดุลัสภำคตัด (section modulus) • ใช้สัญลักษณ์ Zx, Zy ในขณะที่วสท. และ AISC ใช้ Sx, Sy 57
  • 58. 1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง (สำหรับประเทศไทย) บทที่ 1 บทนำ ตำรำงแสดงเกณฑ์ควำมคลำดเคลื่อนของขนำด ควำมได้ฉำก ควำมโค้ง ฯลฯ • แสดงถึงกำรยอมรับได้ต่อควำมแม่นจำจำกกำร รีดโดยโรงรีดเหล็ก (mill tolerance) • Squareness • Bend • Eccentricity • Concavity of web 58
  • 59. 1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง (สำหรับประเทศไทย) บทที่ 1 บทนำ 5. ส่วนประกอบทำงเคมี (chemical property) ของเนื้อวัสดุเหล็ก ว่ำจะต้องมีแร่ธำตุที่ระบุ ไม่เกินปริมำณเท่ำใด ด้วยหำกเกินเกณฑ์ที่ กำหนด จะทำให้คุณสมบัติและกำรใช้งำน เปลี่ยนแปลงไป  Chemical property เป็นหนึ่งใน parameter ที่ใช้แบ่งเกณฑ์ชั้นคุณภาพ (grade) ของ ผลิตภัณฑ์โครงสร้างเหล็ก o SS งานไม่เน้นการเชื่อม o SM งานเชื่อม o SN งานเชื่อมที่ควบคุม Yield ratio และ direction property ของเหล็ก 1227-2539 59
  • 60. 1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง (สำหรับประเทศไทย) บทที่ 1 บทนำ 6. คุณสมบัติทำงกล (mechanical property)  Mechanical property เป็นอีกหนึ่ง parameter ที่ใช้แบ่งเกณฑ์ชั้นคุณภาพ (grade) ของผลิตภัณฑ์โครงสร้างเหล็ก o ตัวเลขกากับด้านท้ายแสดง กาลังรับ แรงดึงประลัย (tensile strength) ใน หน่วย MPa 7. เครื่องหมำยและฉลำก แสดงข้อมูลที่ผู้ผลิต ต้องกำกับลงบนผลิตภัณฑ์ เช่น ชั้นคุณภำพ ขนำด lot กำรผลิต โรงงำนผู้ผลิต เป็นต้น  เหล็กรูปพรรณรีดร้อน ต้องแสดง grade และโรงงานผู้ผลิตเป็นตัวนูน 60
  • 61. 1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง (สำหรับประเทศไทย) บทที่ 1 บทนำ 7. เครื่องหมำยและฉลำก แสดงข้อมูลที่ผู้ผลิต ต้องกำกับลงบนผลิตภัณฑ์ เช่น ชั้นคุณภำพ ขนำด lot กำรผลิต โรงงำนผู้ผลิต เป็นต้น 8. กำรชักตัวอย่ำงและเกณฑ์ตัดสิน แสดง จำนวน sample ที่ สมอ. ต้องสุ่มตรวจสอบ เพื่อควบคุมคุณภำพ ของผลิตภัณฑ์ ทั้ง ขนำดมิติ คุณสมบัติเชิงกล และ ส่วนประกอบทำงเคมี 61
  • 62. 1.2 ข้อกำหนดสำหรับเหล็กโครงสร้ำง บทที่ 1 บทนำ Elements Advantage Disadvantage Carbon (C) Strength Reduce Ductility, Impact, Weldability Silicon (Si) Strength Reduce Ductility and Impact Manganese (Mn) Strength Reduce Ductility and Impact Phosphorus (P) Weather Resistance Reduce Workability and Impact Cause Segregation during Solidification, which affects Steel Performance Sulfur (S) Machinability Reduce Impact Cause Lamilar Tear Cracking REF: JISF 62
  • 63. 2.3 เอกสำรสัญญำระหว่ำง Fabricator กับ Customer บทที่ 2 เอกสำรสัญญำและ ขั้นตอนกำรทำ Detailing Pre Construction Phase Construction Phase Owner Designer and/or Engineer of Record (EOR) Preliminary Design Design Development (DD) Contract Document (CD) CD for Bidding General Contractor (GC) Construction Manager (CM) Controlled Inspector Steel Fabricator Steel DetailerStruct Arch MEP Project Manager (PM) 63
  • 64. ในเชิงวิศวกรรม วิศวกรโครงสร้างต้องออกแบบโดยไม่ให้โครงสร้างเกิดการวิบัติ กับชิ้นส่วนองค์อาคาร หรือ member failure และ กับส่วนชิ้นส่วนองค์ประกอบ หรือ local failure ในเชิงวิศวกรรม การออกแบบเพื่อป้องกัน member failure นั้นจะแสดง รายละเอียดไว้ในเอกสารสัญญา คือ Plan & Elevation ซึ่งระบุถึง member size ขนาดต่าง ๆ รวมถึง ตาแหน่งการ ติดตั้ง (grid position & spacing) ในเชิงวิศวกรรม การออกแบบเพื่อป้องกัน local failure เช่น connection failure, web yielding, web buckling ฯลฯ วิศวกรจะแสดง รายละเอียดคร่าว ๆ ไว้ใน section & typical detail ซึ่ง detailer มีหน้าที่ต้องแปลง design concept ไปสู่การปฏิบัติ ในโรง Fabrication shop ต่อไป บทที่ 2 เอกสำรสัญญำและ ขั้นตอนกำรทำ Detailing 2.4 Plans and Specifications 2.5 Design Information 2.6 Engineering Design Data 2.7 Types of Columns 2.8 Column Schedule 64
  • 65. STRUCTURAL STEEL NOTES (Ref. TT Group) - ข้อ 16 ระบุว่า รูปแบบการต่อโครงสร้าง “สามารถ ปรับเปลี่ยนแก้ไขได้” (แก้ไขโดย contractor หรือ fabricator ในฐานะ sub contractor) แต่ต้องได้รับการ approve จาก consult (EOR) อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร) - ข้อ 18 ระบุว่า หากไม่มีระบุใน drawing ว่าจะต่อ คาน- คาน แบบใด ให้ยึดตาม typical detail เป็นหลัก - ข้อ 19 ระบุว่า “ตาแหน่งการต่อทาบ หรือ splice” ต้อง เป็นไปตามระยะที่ระบุในแบบ เว้นเสียแต่ว่าจะได้รับการแจ้ง จาก consult อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร - ข้อ 20 ระบุว่า ให้ต่อคานกับคาน (หรือคานกับเสา) โดย อ้างอิงแรงปฏิกิริยาที่ระบุในแบบ (plan) และให้ใช้ bolt อย่างน้อย 2 ตัว ในการต่อ - ข้อ 21 ระบุว่า การต่อคานกับคาน อย่างน้อยต้องสามารถ รับนาหนักแผ่ (uniformly distributed load) ที่สามารถรับ reaction ที่ระบุไว้ในแบบ ทังนี สาหรับ composite beam ให้ออกแบบรอยต่อ โดยให้สามารถรับนาหนักได้ ตาม reaction ใน plan คูณด้วย Section modulus of transformed section / Section modulus of steel section - ข้อ 22 ระบุว่า ให้ใส่ stiffener plate ทั้ง 2 ด้านของคาน ณ ตาแหน่งที่มี concentrated load (column load) มา กระทาที่คาน โดย stiffener plate นี้หนาอย่างน้อย ½” แต่ไม่น้อยกว่าความหนาของปีกเสา column flange thickness (อ้างอิงแบบใน typical detail) - ข้อ 23 ระบุว่า คานซอย (filler beam) จะถูกจัดวางให้ห่าง เท่า ๆ กัน หากในแบบไม่ได้ระบุเป็นอย่างอื่น 65
  • 66. SLIP AREA St. George Intermodal Ferry Terminal 66
  • 67. STRUCTURAL DRAWING PLAN – Slip Roof Canopy 67
  • 69. COLUMN AND BASEPLATE SCHEDULE 69
  • 70. STRUCTURAL TYPICAL DETAIL วิศวกร กาหนด Typical detail หรือ รายระเอียดทั่วไป ของงานโครงสร้าง เพื่อให้ผู้ก่อสร้าง (ผู้รับเหมา) ได้ใช้ เป็น “แนวทาง” ในการปฏิบัติ ทั้งนี้การเปลี่ยนแปลงให้ การก่อสร้างจริง แตกต่างจาก Typical detail ก็ สามารถกระทาได้ โดยต้องได้รับการอนุมัติรับรอง จาก consult ผู้ควบคุมงานเสียก่อน 70
  • 71. STRUCTURAL TYPICAL DETAIL (Alternative) Composite Beam/Floor Composite Beam 71
  • 72. Shear yielding near support Web buckling Web crippling Web Buckling 450 d / 2 d / 2 b1 n1 Effective width for web buckling cft)1n1b(wbP  t d 5.2 t 32 d7.0 yr EL 32 t t12 3t A yI yr yr d7.0 yr EL    Web Crippling b1 n2 1:2.5 slope Root radius Stiff bearing length ywft)2n1b(cripP  STRUCTURAL TYPICAL DETAIL ? ? ? 72
  • 73. แสดงน้ำหนักบรรทุกสำหรับ กำรออกแบบจุดต่อโครงสร้ำง ระบุรูปตัดแสดง รำยละเอียดเพิ่มเติม แสดงระดับพื้น เพื่อกำหนดระดับ (Elevation) ของจุดต่อในกำรจัดทำ รำยละเอียดงำนขึ้นรูปเสำ (Column) ผู้ออกแบบโครงสร้าง ไม่ได้ออกแบบการต่อ โครงสร้างในรายละเอียด (detailed connection) แต่ให้ guideline หรือ concept ในการต่อโครงสร้าง 73
  • 74. รำยละเอียดกำรต่อโครงสร้ำง ระบุไว้ใน รำยละเอียดทั่วไป (Typical Detail) ??? ??? ผู้ออกแบบโครงสร้าง ไม่ได้ออกแบบการต่อโครงสร้างในรายละเอียด (detailed connection) แต่ให้ guideline หรือ concept ในการต่อโครงสร้าง 74
  • 75. 2.11 ข้อผิดพลำดใน Contract Document บทที่ 2 เอกสำรสัญญำและ ขั้นตอนกำรทำ Detailing (หน้า 45) “ กำรต่อคำนรองที่มีควำมลึกมำก เข้ำกับคำนหลักที่ลึกน้อย (เพรำะมี ควำมยำวน้อย เป็นต้น) สำหรับรับแรงเฉือน เช่น รอยต่อระหว่ำง Secondary Beam - W24 (ลึก 24 นิ้ว) กับคำน Main Girder - W16 (ลึก 16 นิ้ว) นั้น คำน W24 จะต้องต่อกับ ส่วนเอวของคำน W16 โดยที่ส่วนบนสุดของคำนทั้งสองอยู่ที่ระดับเดียวกัน (Flush Top) ซึ่งส่งผลทำให้ Shear Connection เช่น Shear Tab มีขนำดลึกหรือยำวเกินกว่ำควำมลึก ของหน้ำตัด Main Girder – W16 ด้วยเหตุนี้ก็จะทำให้รำคำค่ำก่อสร้ำงสำหรับรอยต่อมี รำคำสูง ซึ่งรวมไปถึงกำรเสริมเหล็กพิเศษสำหรับส่วนเอวของคำน W24 และ/หรือ W16 อีกด้วย ” ทำงออกคือ Detailer ต้องสอบถำมกลับไปยัง Designer ว่ำถูกต้องหรือไม่อย่ำงไร และอำจรวมถึงกำรเสนอแนวทำงกำรแก้ไขเพื่อลดค่ำใช้จ่ำยของเจ้ำของโครงกำรลง ผ่ำน Request for Information (RFI) W16W16 W24 W24 W24 24ft. 16 ft 16 ft W24 W24 ตัวอย่ำง  ขนาดของ Member ได้มาจากการ วิเคราะห์โครงสร้างโดยใช้ Program คอมพิวเตอร์  ผู้ออกแบบทาแบบโดยไม่ได้ตรวจสอบ ความเหมาะสมในงานก่อสร้างจริง 75
  • 76. OK! 2.14 ข้อบังคับเพื่อสวัสดิภำพและควำมปลอดภัยตำม OSHA บทที่ 2 เอกสำรสัญญำและ ขั้นตอนกำรทำ Detailing OSHA = Occupational Safety and Health Administration 2.14.3 Tripping Hazard ข้อกำหนดของ OSHA ไม่อนุญำตให้ติดตั้งสลักรับแรงเฉือน, เหล็กแท่งเสริมกำลัง, สลักสมอ หรือแท่งเกลียวกับชิ้นส่วนโครงสร้ำงมำจำก Fabrication Shop เนื่องจำกอำจเกิดอันตรำยต่อ คนงำนก่อสร้ำงจำกกำรสะดุดหกล้มในระหว่ำงกำรก่อสร้ำงที่หน้ำงำนได้ ยกเว้นเสียแต่ว่ำ จะ มีกำรกำหนดให้ช่ำงก่อสร้ำงทุกคน ต้องสวมใส่อุปกรณ์กันตก (Fall Protection) 76
  • 77. 2.14 ข้อบังคับเพื่อสวัสดิภำพและควำมปลอดภัยตำม OSHA บทที่ 2 เอกสำรสัญญำและ ขั้นตอนกำรทำ Detailing OSHA = Occupational Safety and Health Administration 2.14.3 Tripping Hazard 77
  • 78. บทที่ 2 เอกสำรสัญญำและ ขั้นตอนกำรทำ Detailing 2.14.6 Column Anchor Bolt 2.14 ข้อบังคับเพื่อสวัสดิภำพและควำมปลอดภัยตำม OSHA ข้อกำหนดของ OSHA กำหนดว่ำต้องใช้ Anchor Bolt 4 ตัว เพื่อรับน้ำหนักให้ได้อย่ำงน้อย 150 กิโลกรัม (300 ปอนด์) กระทำที่ตำแหน่งปลำยสุดของเสำ ในทิศทำงลง (เสมือนน้ำหนักคน) โดยมีระยะห่ำงของศูนย์กลำงแรงที่กระทำวัดจำกหน้ำเสำอย่ำงน้อย 45 เซนติเมตร (18 นิ้ว) *** ข้อพิจำรณำประกอบอื่น ๆ ที่สำคัญคือ ควำมรุนแรงของกระแสลมที่หน้ำงำน 78
  • 79. บทที่ 2 เอกสำรสัญญำและ ขั้นตอนกำรทำ Detailing 2.14.9 Column Splice Strength 2.14.10 Column Splice Location 2.14 ข้อบังคับเพื่อสวัสดิภำพและควำมปลอดภัยตำม OSHA ข้อกำหนดของ OSHA กำหนดว่ำ Column Splice Connection ต้องรับน้ำหนักให้ได้อย่ำงน้อย 150 kg (300 lbs) กระทำที่ ตำแหน่งปลำยสุดของเสำ ในทิศทำงลง โดยมีระยะห่ำงของ ศูนย์กลำงแรงที่กระทำวัดจำกหน้ำเสำอย่ำงน้อย 45 cm (18”) ส่วนตำแหน่งกำร Splice ในทำงปฏิบัติมักจะกำหนดให้มี ตำแหน่งสูงจำกพื้นประมำณ 120 cm เพื่อควำมสะดวกในกำร ทำงำน โดยทั้งนี้ควรกำหนดให้ Column Splice Connection ห่ำงจำกกันทุกๆ 2 ชั้น หรือในบำงกรณีอำจกำหนดให้ห่ำงกัน ทุกๆ 4 ชั้น ตำมแต่ควำมเหมำะสม (ควำมคุ้มค่ำ) ของงำน ก่อสร้ำงแต่ละงำน 79
  • 80. 3.2 ชนิดของสลักเกลียว (Type of Fastener) บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป ASTM Specification Min Tensile Strength (ksc) Max. Diameter (cm) Type of Material A307 4,200 10.00 Carbon A325 8,400 1.25 – 2.50 Carbon, Quenched & Tempered 7,400 2.85 – 3.80 A490 10,500 1.25 – 3.80 F1852 & F2280: Twist-Off-Tension-Control Bolts 80 120 ksi 150 ksi 105 ksi
  • 81. 3.3 แรงในสลักเกลียว (Forces in Bolts) บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป กำลังรับแรงเฉือนในสลักเกลียว ขึ้นกับตำแหน่งของเกลียวในระนำบรับแรงเฉือน แบ่งเป็น 1) N (Included): เกลียวอยู่ในระนำบรับแรงเฉือน 2) X (Excluded): เกลียวไม่อยู่ในระนำบรับแรงเฉือน “ ผู้ออกแบบ นิยมที่จะกำหนดให้ใช้ Bolt ประเภท A325N หรือ A490N เพื่อความสะดวกในการออกแบบ และ การควบคุมงานเนื่องจากไม่จาเป็นที่ จะต้องตรวจสอบว่าเกลียวอยู่ในระนาบ รับแรงเฉือนหรือไม่ ” 81
  • 82. 3.3 แรงในสลักเกลียว (Forces in Bolts) บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป กำลังรับน้ำหนัก ตำมลักษณะกำรขันแน่นและกำรเตรียมผิวสัมผัส แบ่งเป็น 1) สลักเกลียวแบบขันแน่นพอดี (Snug-Tightened Bolt) 2) สลักเกลียวแบบใส่แรงดึงก่อน (Pretention Bolt) 3) สลักเกลียวแบบเลื่อนวิกฤต (Slip Critical Bolt) อ้างอิงตาม Specification for Structural Joints Using ASTM A325 or A490 Bolts ของ RCSC Free DOWNLOAD!!! 82
  • 83. 3.3 แรงในสลักเกลียว (Forces in Bolts) บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป กำลังรับน้ำหนัก ตำมลักษณะกำรขันแน่นและกำรเตรียมผิวสัมผัส แบ่งเป็น 1) สลักเกลียวแบบขันแน่นพอดี (Snug-Tightened Bolt) กำรขันแน่นพอดี ได้นิยำมไว้ใน หัวข้อ 10.3ก วสท. 1020-51 ว่ำคือ “ควำมแน่นที่ได้จำกกำรขัน โดยใช้ประแจชนิด Impact Wrench หรือกำรใช้แรงเต็มที่ของคนงำนหนึ่งคนขันโดยใช้ประแจแบบ ธรรมดำให้รอยต่อแน่นสนิทพอดี” 83
  • 84. 3.3 แรงในสลักเกลียว (Forces in Bolts) บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป กำลังรับน้ำหนัก ตำมลักษณะกำรขันแน่นและกำรเตรียมผิวสัมผัส แบ่งเป็น 2) สลักเกลียวแบบใส่แรงดึงก่อน (Pretention Bolt) ใช้ในกรณีต่ำง ๆ เช่น  กรณีที่ต้องกำรให้ข้อต่อเกิดควำมแน่น แต่หำกเกิดกำรเลื่อนไถลก็ไม่ส่งผลต่อควำมสำมำรถในกำรรับ น้ำหนักของข้อต่อ เช่น ในกรณีกำรต่อดำมของเสำเหล็กในอำคำร ข้อต่อสำหรับองค์อำคำรที่ยึดรั้งเสำ สำหรับอำคำรสูง ข้อต่อโครงสร้ำงรับเครนที่เกินกว่ำ 5 ตัน หรือข้อต่อโครงสร้ำงที่รับอุปกรณ์หรือ เครื่องจักรที่เลื่อนบนรำงที่อำจก่อให้เกิดกำรเปลี่ยนทิศทำงของแรงที่เกิดขึ้นได้  ข้อต่อที่รับน้ำหนักที่มีกำรเปลี่ยนทิศทำงของน้ำหนัก  ข้อต่อที่รับน้ำหนักบรรทุกที่ก่อให้เกิดกำรล้ำต่อข้อต่อโครงสร้ำง โดยที่ทิศทำงของน้ำหนักบรรทุกไม่มี กำรเปลี่ยนแปลง  ข้อต่อที่ใช้สลักเกลียวประเภท ASTM A325 หรือ F1852 ที่รับแรงที่ก่อให้เกิดกำรล้ำอันเนื่องมำจำก แรงดึง  ข้อต่อที่ใช้สลักเกลียวประเภท ASTM A490 ที่หรือ F2280 รับแรงดึง หรือรับแรงเฉือนควบคู่ไปกับ กำรรับแรงดึงโดยไม่ก่อให้เกิดกำรล้ำขึ้นกับส่วนของข้อต่อโครงสร้ำง 84
  • 85. 3.3 แรงในสลักเกลียว (Forces in Bolts) บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป กำลังรับน้ำหนัก ตำมลักษณะกำรขันแน่นและกำรเตรียมผิวสัมผัส แบ่งเป็น 3) สลักเกลียวแบบเลื่อนวิกฤต (Slip Critical Bolt) ใช้กับข้อต่อที่หำกเกิดกำรเลื่อนไถลจะเกิด ควำมเสียหำยต่อควำมสำมำรถในกำรรับแรงของข้อต่อ  ใช้ในกรณีที่ข่อต่อมีกำรรับแรงที่มีกำรเปลี่ยนทิศทำง และก่อให้เกิดกำรล้ำต่อข้อต่อของโครงสร้ำง  ข้อต่อสลักเกลียวที่มีรูเจำะแบบใหญ่กว่ำมำตรฐำน (Oversized Hole)  ข้อต่อสลักเกลียวที่มีรูเจำะแบบร่อง (Slotted Hole) ยกเว้นในกรณีที่ทิศทำงของแรงที่กระทำตั้งฉำก กับทิศทำงตำมยำวของร่องรูเจำะ  ข้อต่อที่กำรเลื่อนไถลที่ผิวสัมผัสจะส่งผลเสียต่อควำมสำมำรถในกำรรับน้ำหนักของโครงสร้ำง ข้อแตกต่ำงระหว่ำง TC กับ SC Bolt ในแง่ของการติดตั้งคือ การเตรียมพื้นผิวสัมผัสบริเวณ Bolt ที่เรียกว่า Faying Surface เพื่อให้เกิดความฝืด อันส่งผลต่อการถ่ายแรงผ่านระนาบที่มีความฝืดนี้ 85
  • 86. 3.3 แรงในสลักเกลียว (Forces in Bolts) บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป ASTM Conn. Type Hole Type Fv (ksc) Loading Nominal Diameter (cm.) 1.9 2.5 3.2 3.8 A307 STD NSL 700 Single Double 2.0 4.0 3.6 7.1 5.6 11.1 8.0 16.0 A325 SC STD 1,200 S D 3.4 6.8 6.1 12.1 9.5 19.4 13.6 27.3 OVS, SSL 1,050 S D 3.0 6.0 5.4 10.7 8.3 16.7 12.0 24.0 LSL 850 S D 2.4 4.8 4.3 8.5 6.7 13.3 9.6 19.2 N STD, NSL 1,475 S D 4.2 8.4 7.5 15.0 11.7 23.4 16.8 33.7 X STD, NSL 2,100 S D 6.0 12.0 10.7 21.4 16.8 33.4 24.0 48.1 ALLOWABLE LOAD (SHEAR) IN TONS Ref: AISC/ASD 9th Edition 86
  • 87. 3.3 แรงในสลักเกลียว (Forces in Bolts) บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป 1 𝑘𝑠𝑖 ~ 70 𝑘𝑠𝑐 75% Fu,bolt ส่วนเกลียว 87 Fu = 120 Fu = 150 = 120*.62*.9 = 150*.62*.9 = 120*.62*.75 = 150*.62*.75 = 68*.8 = 84*.8
  • 88. 3.3 แรงในสลักเกลียว (Forces in Bolts) บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป ข้อกาหนดการใช้ shim plate ที่ bolted connection ถ้าแผ่นเสริมช่องว่าง หรือ shim หนาไม่ เกิน 2 หุน ก็ออกแบบ bolt ตามปกติ แต่ถ้าหนาเกิน ก็พิจารณาตามข้อกาหนด เช่น หาก t = 0.5” (4 หุน) … Fn ต้องปรับลดด้วยค่า [1 – 0.4(0.5 – 0.25)] = 0.9 หรือ 90% Fn 88
  • 89. 89
  • 90. บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป 3.4 แรงปฏิกิริยำในคำน (Beam Reaction) ในกำรทำรำยละเอียดคำน Steel Detailer ต้องดำเนินกำรออกแบบ Connection เพื่อให้สำมำรถ ถ่ำยแรงไปยัง Support ได้ ซึ่งในทำงปฏิบัติผู้ออกแบบโครงสร้ำง ต้องแสดง End Reaction ใน Design Drawing อย่ำงไรก็ดี ในคู่มือกำรออกแบบของ AISC บทที่ 2 ได้ระบุไว้ว่ำ หำกใน Design Drawing ไม่ได้ แสดงค่ำ End Reaction ไว้ ก็สำมำรถประมำณค่ำ End Reaction ได้จำกขนำดของคำนที่ระบุไว้ใน แบบ โดยอำศัย Load Table ที่แสดงไว้ในคู่มือกำรออกแบบของ AISC บทที่ 5 อย่ำงไรก็ดีวิธีกำรนี้ก็ไม่ได้เป็นวิธีที่แนะนาให้ดาเนินการ ด้วยสำเหตุต่ำง ๆ เช่น กรณีกำรเลือกคำน จำกกำรใช้ขนำดซ้ำเพื่อไม่ให้เกิดควำมสับสนในกำรสั่งซื้อและกำรประกอบติดตั้ง กรณีที่คำนมีขนำดไม่ ยำวมำกอันส่งผลให้ขนำด End Connection ใหญ่เกินกว่ำที่ต้องกำรมำก หรือในกรณี Composite Beam ที่ต้องกำร End Connection ขนำดใหญ่กว่ำขนำดของคำนตำม Load Table ก็อำจทำให้ Connection ที่ได้ ทำรำยละเอียดมำ มีขนำดเล็กกว่ำควำมต้องกำร 90
  • 92. Compute Required Shear Capacity of W12x14 (No force indicated on plan) W12x14W12x14 W21x44 W21x44 W24x68 4@6ft=24ft. 16 ft 16 ft DL = 100 psf. LL = 100 psf. TL = 200 psf. Steel Grade A992 Fy = 50 ksi. Steel Section W12x14 Sx = 14.9 in3 W24x68 Sx = 154 in3 3.4 แรงปฏิกิริยำในคำน (Beam Reaction) บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป -> Capacity design Moment capacity Shear capacity ??? 92 https://www.facebook.com/jtepasteelconstruction/posts/948124891875028
  • 93. Compute Required Shear Capacity of W12x14 (No force indicated on plan) W12x14W12x14 W21x44 W21x44 W24x68 4@6ft=24ft. 16 ft 16 ft M = wL2 = (200x6).(162) 8 8 M = 38.4 kips-ft. W12x14 MR = 0.66Sx.Fy = 41 kips-ft. MR > M OK. 3.4 แรงปฏิกิริยำในคำน (Beam Reaction) บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป ออกแบบให้สามารถ รับ moment ได้ตาม code คือ ที่ 66% ของก้าลังรับน้าหนัก ที่จุดคราก (yield) 93 https://www.facebook.com/jtepasteelconstruction/posts/948124891875028
  • 94. Compute Required Shear Capacity of W12x14 (No force indicated on plan) W12x14W12x14 W21x44 W21x44 W24x68 4@6ft=24ft. 16 ft 16 ft W12x14 M = 41 kips-ft. V = 4M = 4(41) = 10.24 kips L 16 VR = 10.24 x (SF = 1.5) Required Shear Capacity VR = 15.4 kips 3.4 แรงปฏิกิริยำในคำน (Beam Reaction) บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป แรงเฉือนที่ต้อง ออกแบบให้จุดต่อคาน สามารถรับได้ โดยต้อง ไม่น้อยกว่าก้าลังรับ moment หรือ “คาน อาจพังเพราะ moment แต่ connection ยัง ต้องรับแรงเฉือนได้” 94 https://www.facebook.com/jtepasteelconstruction/posts/948124891875028
  • 95. BEAM CONNECTION  การออกแบบ connection เริ่มจาก การกาหนด ขนาดความยาวตามแบบสถาปัตยกรรม แล้วกาหนดขนาดนาหนักบรรทุกที่จะรองรับ ตามข้อกาหนดการใช้อาคาร  จากนันเลือกระบบโครงสร้าง พืน คาน วัสดุตกแต่ง ก็จะสามารถคานวณ ขนาดของ คาน และคานวณแรงปฏิกิริยาที่ support เพื่อไปใช้ออกแบบ connection  ในทางกลับกัน หากทราบขนาดของคาน ก็พอจะประมาณขนาดของ แรงปฏิกิริยาที่ support ได้เช่นกัน ตามวิธีที่ได้แสดงไว้ “แต่ไม่เป็นวิธีที่แนะนา” เพราะการใช้แรง ปฏิกิริยาจากการคานวณของผู้ออกแบบจริง ๆ จะทาให้การออกแบบ connection ทา ได้ถูกต้องแม่นยากว่า  การพิจารณาคานวณย้อนกลับ ที่กล่าวถึงไม่ได้พิจารณาถึงพฤติกรรมการโก่งเดาะทาง ด้านข้าง ที่เรียกว่า lateral torsional buckling ซึ่งเกิดจากการคายันทางด้านข้างใน ส่วนที่รับแรงอัดของคานที่น้อย ซึ่งจะไปทาให้กาลังโดยรวมของคานลดลงอย่างมาก STRUCTURAL TYPICAL DETAIL (2) M = 41 kips-ft. V = 4M = 4(41) = 10.24 kips L 16 W12x14 UDL 1 UDL requires shear capacity of 20/2 = 10 kips Ref: Page 2-120, Manual of Steel Construction, Allowable Stress Design, 9th Edition บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป 95
  • 96. Knife connectionField Bolt Shop Bolt 3.5 Common Bolted Shear Connection บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป 3.5.1 Double-Angle Connection  Flexible  Good Torsional Resistance  Excellent Axial Compression Resistance เหมาะกับการนาไปใช้กับ double angle shear connection ที่ต่อ angle กับ เสา (shop) 96
  • 97. 3.5 Common Bolted Shear Connection บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป 3.5.2 Shear End-Plate Connection  For beam to be cut square at ends (preferred by some fabricators)  Fair Torsional Resistance  Good Axial Compression Resistance 97
  • 98. 3.5 Common Bolted Shear Connection บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป 3.5.3 Seated Beam Connection  Good for Beam-to-Column Web Connection  Easy to Fabricate  Easy to Erect  Reduce Field Bolts - Headroom / Clearance (especially stiffened seated beam connection) 98
  • 99. 3.5 Common Bolted Shear Connection บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป 3.5.4 Stiffened Seated Beam Connection ใช้เมื่อ Beam Reaction มีค่าสูงมาก ๆ 99
  • 100. 3.5 Common Bolted Shear Connection บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป 3.5.5 Single plate Connection  Cheap  Flexible especially skewed member - Poor Torsional Resistance - Poor Axial Compression Resistance 100
  • 101. 3.5 Common Bolted Shear Connection บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป 3.5.6 Single Angle Connection  Similar Application to Single- Plate Connection  Very Simple  Very Flexible - Poor Torsional Resistance - Poor Axial Compression Resistance 101
  • 102. 3.5 Common Bolted Shear Connection บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป 3.5.7 Tee Connection  Fair Torsional Resistance  Good Axial Compression Resistance  Fast to Erect - Expensive (Preparation of T) - Poor Axial Tension Resistance 102
  • 103. 3.6 แรงในรอยเชื่อม (Forces in Welds) บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป Rweld = (กำลังรับน้ำหนักปลอดภัย) (พื้นที่รับน้ำหนัก) = (0.3 Fu) [(Effective Weld Throat) (Weld Length)] ASD 103
  • 104. 3.6 แรงในรอยเชื่อม (Forces in Welds) บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป Rweld = (กำลังรับน้ำหนักปลอดภัย) (พื้นที่รับน้ำหนัก) = (0.3 Fu) [(Effective Weld Throat) (Weld Length)] 104
  • 105. 3.6 แรงในรอยเชื่อม (Forces in Welds) ASD LRFD Rweld = (0.3 Fu) (Effective Throat Area) Rn = (0.6 Fu) (Effective Throat Area) 105 บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป
  • 106. 3.6 แรงในรอยเชื่อม (Forces in Welds) LRFD Rweld = (0.3 Fu) (Effective Throat Area) Rn = (0.6 Fu) (Effective Throat Area) 106 บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป ASD
  • 107. 3.6 แรงในรอยเชื่อม (Forces in Welds) ASD LRFD Rweld = (0.3 Fu) (Effective Throat Area) = 0.928 * D * L (หน่วย kilo pounds) NOTE: D = ขนำดของ Weld leg Fu = FE70XX = 70 ksi มุม = 90 Rn = (0.6 Fu) (Effective Throat Area) = 1.856 * D * L (หน่วย kilo pounds) 107 เช่น Weld leg = 5/16” , D = 5 บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป  = 0.75 for shear = 0.8 for tension
  • 108. 3.6 แรงในรอยเชื่อม (Forces in Welds) ASD LRFD Rweld = (0.3 Fu) (Effective Throat Area) = 0.928 * D * L (หน่วย kilo pounds) = Rn/2 โดย 2 = Factor of Safety NOTE: D = ขนำดของ Weld leg Fu = FE70XX = 70 ksi มุม = 90 Rn = (0.6 Fu) (Effective Throat Area) = 1.856 * D * L (หน่วย kilo pounds) 108 เช่น Weld leg = 5/16” , D = 5 บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป  = 0.75 for shear = 0.8 for tension
  • 109. 3.7 Common Welded Shear Connection 3.8 Connections Combining Bolts and Welds 3.9 Selecting Connections บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไปAISCLRFDAISCASD 109
  • 110. การถ่ายแรง 6 𝑚 8𝑚 𝐷𝐿 = 300 𝑘𝑔/𝑚2 𝐿𝐿 = 400 𝑘𝑔/𝑚2 สมมติ 𝑃 𝐷𝐿 = 1 2 6 2 300 8 = 3,600 𝑘𝑔 𝑃𝐿𝐿 = 1 2 6 2 400 8 = 4,800 𝑘𝑔 𝑉𝐷𝐿 = 1 2 (3,600) = 1,800 𝑘𝑔 𝑉𝐿𝐿 = 1 2 (4,800) = 2,400 𝑘𝑔 𝑉𝑇𝐿 = 4,200 𝑘𝑔 บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป 110
  • 111. การถ่ายแรง 𝐷𝐿 = 300 𝑘𝑔/𝑚2 𝐿𝐿 = 400 𝑘𝑔/𝑚2 สมมติ 𝑃 𝐷𝐿 = 1 2 6 2 300 8 = 3,600 𝑘𝑔 𝑃𝐿𝐿 = 1 2 6 2 400 8 = 4,800 𝑘𝑔 𝑉𝐷𝐿 = 1 2 (3,600) = 1,800 𝑘𝑔 𝑉𝐿𝐿 = 1 2 (4,800) = 2,400 𝑘𝑔 𝑉𝑇𝐿 = 3,600 𝑘𝑔 𝑉𝑇𝐿 = 4,200 𝑘𝑔 Connectioncapacity(strength) ≥VTL=4,200kg  Beam เมื่อรับแรงภายนอก จะเกิดแรงภายในขึ้น โดยแรงภายในที่เกิดขึ้นนี้ จะต้องมีค่าไม่เกิน กาลังรับแรงของ Beam  Support (Column + Connection) จะรองรับ แรงภายในที่ Beam ถ่ายมา  ถ้า Support พัง การถ่ายแรงก็ไม่สามารถเกิดขึ้น ได้ ดังนั้น Column & Connection ต้อง แข็งแรงมาก (Capacity >> Force ที่จุดต่อคาน)  เนื่องจาก Connection เกี่ยวข้องกับ ทั้ง Beam (shear capacity พอไหม) และ Connection ซึ่งประกอบขึ้นจาก ทั้ง angle/plate มา weld/bolt ที่ Beam เพื่อไป weld/bolt ที่ Column ดังนั้น Connection อาจวิบัติที่จุดใด ตาแหน่งใด ด้วยรูปแบบการวิบัติแบบใดก็ได้ บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป Strength ควรมากกว่า designed load เท่าไหร่ 111
  • 112. การถ่ายแรง 𝑉𝑇𝐿 = 4,200 𝑘𝑔 Connectioncapacity(strength) ≥VTL=3,600kg  สมมติไม่เกิดการวิบัติที่ Column Beam Connection  Beam shear capacity o Shear yielding o Shear rupture  Beam web yielding & web crippling  Bearing (at bolt)  Angle (Plate) capacity o Shear yielding o Shear rupture (Net/Block shear) o Bearing (at bolt) o Bending (seated connection)  Bolt shear capacity  Weld shear capacity Connectioncapacity(strength) ≥VTL=4,200kg บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป 112
  • 113. การถ่ายแรง  สมมติไม่เกิดการวิบัติที่ Column Beam Connection  Beam shear capacity o Shear yielding o Shear rupture  Beam web yielding & web crippling  Bearing (at bolt)  Angle (Plate) capacity o Shear yielding o Shear rupture (Net/Block shear) o Bearing (at bolt) o Bending (seated connection)  Bolt shear capacity  Weld shear capacity Connection capacity คือ ค่า capacity ที่ต่าที่สุดของ รูปแบบ failure mode ทั้งหมด บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป 113
  • 114. การถ่ายแรง  สมมติไม่เกิดการวิบัติที่ Column Beam Connection  Beam shear capacity o Shear yielding o Shear rupture  Beam web yielding & web crippling  Bearing (at bolt)  Angle (Plate) capacity o Shear yielding o Shear rupture (Net/Block shear) o Bearing (at bolt) o Bending (seated connection)  Bolt shear capacity  Weld shear capacity Connection capacity คือ ค่า capacity ที่ต่าที่สุดของ รูปแบบ failure mode ทั้งหมด บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป 114
  • 115. การถ่ายแรง  สมมติไม่เกิดการวิบัติที่ Column Beam Connection  Beam shear capacity o Shear yielding o Shear rupture  Beam web yielding & web crippling  Bearing (at bolt)  Angle (Plate) capacity o Shear yielding o Shear rupture (Net/Block shear) o Bearing (at bolt) o Bending (seated connection)  Bolt shear capacity  Weld shear capacity Connection capacity คือ ค่า capacity ที่ต่าที่สุดของ รูปแบบ failure mode ทั้งหมด บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป 115
  • 116. การถ่ายแรง  สมมติไม่เกิดการวิบัติที่ Column Beam Connection  Beam shear capacity o Shear yielding o Shear rupture  Beam web yielding & web crippling  Bearing (at bolt)  Angle (Plate) capacity o Shear yielding o Shear rupture (Net/Block shear) o Bearing (at bolt) o Bending (seated connection)  Bolt shear capacity  Weld shear capacity Connection capacity คือ ค่า capacity ที่ต่าที่สุดของ รูปแบบ failure mode ทั้งหมด บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป N d tf tw Local web yielding ∅𝑅 𝑛 = (∅ = 1.0)𝐹𝑦(2.5𝑘 𝑑𝑒𝑠𝑖𝑔𝑛 + 𝑁) 𝑡 𝑤∅𝑅 𝑛 = (0.75)0.4𝑡 𝑤 2 [1 + 3( 𝑁 𝑑 )( 𝑡 𝑤 𝑡𝑓 )1.5 ] 𝐸𝐹𝑦 𝑡𝑓 𝑡 𝑤 Local web crippling 𝑁 𝑑 ≤ 0.2Local web crippling 𝑁 𝑑 > 0.2 ∅𝑅 𝑛 = (0.75)0.4𝑡 𝑤 2 [1 + ( 4𝑁 𝑑 − 0.2)( 𝑡 𝑤 𝑡𝑓 )1.5 ] 𝐸𝐹𝑦 𝑡𝑓 𝑡 𝑤 116
  • 117. การถ่ายแรง  สมมติไม่เกิดการวิบัติที่ Column Beam Connection  Beam shear capacity o Shear yielding o Shear rupture  Beam web yielding & web crippling  Bearing (at bolt)  Angle (Plate) capacity o Shear yielding o Shear rupture (Net/Block shear) o Bearing (at bolt) o Bending (seated connection)  Bolt shear capacity  Weld shear capacity Connection capacity คือ ค่า capacity ที่ต่าที่สุดของ รูปแบบ failure mode ทั้งหมด บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป ∅𝑅 𝑛 = 0.75 (0.6𝐹𝑦 𝐴 𝑔𝑣) ∅𝑅 𝑛 = 0.75 (0.6𝐹𝑢 𝐴 𝑛𝑣) +𝐹𝑢 𝐴 𝑛𝑡 117 1.0 (0.6𝐹𝑦 𝐴 𝑔𝑣) 0.75 (0.6𝐹𝑢 𝐴 𝑛𝑡)
  • 118. การถ่ายแรง  สมมติไม่เกิดการวิบัติที่ Column Beam Connection  Beam shear capacity o Shear yielding o Shear rupture  Beam web yielding & web crippling  Bearing (at bolt)  Angle (Plate) capacity o Shear yielding o Shear rupture (Net/Block shear) o Bearing (at bolt) o Bending (seated connection)  Bolt shear capacity  Weld shear capacity Connection capacity คือ ค่า capacity ที่ต่าที่สุดของ รูปแบบ failure mode ทั้งหมด บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป ∅𝑅 𝑛 = 0.75 (1.2𝐿 𝑐 𝑡𝐹𝑢) ∅𝑅 𝑛 = 0.75 (1.5𝐿 𝑐 𝑡𝐹𝑢) ≤ 2.4𝑑𝑡𝐹𝑢 ≤ 3.0𝑑𝑡𝐹𝑢 ถ้าไม่ต้องการให้รูเจาะเสียรูป ถ้ายอมให้รูเจาะเสียรูป 118
  • 119. การถ่ายแรง  สมมติไม่เกิดการวิบัติที่ Column Beam Connection  Beam shear capacity o Shear yielding o Shear rupture  Beam web yielding & web crippling  Bearing (at bolt)  Angle (Plate) capacity o Shear yielding o Shear rupture (Net/Block shear) o Bearing (at bolt) o Bending (seated connection)  Bolt shear capacity  Weld shear capacity Connection capacity คือ ค่า capacity ที่ต่าที่สุดของ รูปแบบ failure mode ทั้งหมด บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป ∅𝑅 𝑛 = 0.8 (0.6𝐹𝐸𝑋𝑋 𝐴 𝑤𝑒𝑙𝑑) ∅𝑅 𝑛 = 0.75 (0.6𝐹𝐸𝑋𝑋 𝐴 𝑤𝑒𝑙𝑑) PJP Groove Fillet & Plug 119
  • 120. การถ่ายแรง Beam action Weld 𝑉𝑇𝐿 = 3,600 𝑘𝑔 𝜎𝑣𝜎𝑒 𝜎2 บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป ประมาณได้ว่า 𝜎 𝑇 = (𝜎𝑣)2+(𝜎𝑒)2 𝑒 𝑐 120
  • 121. การถ่ายแรง บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป WP Bracing connection Load  รับแรงทางด้านข้าง ซึ่งกระทาได้ทุก ทิศทาง  ดังนั้นแรง P จึงเป็นได้ทั้งแรงดึงและ แรงอัด  ในการวิเคราะห์ มักจะกาหนดสมมติฐาน ให้ แรงกระทาโดยไม่เยื้องศูนย์ หรือ แนว แรงผ่าน แกน centroid ของทั้ง Column Beam และ Diagonal bracing มาตัดกัน อยู่ที่จุดจุดหนึ่งเรียกว่า Work Point (WP) 𝑒 𝐶 𝑒 𝐵 𝜃 121
  • 122. 𝑒 𝐶 𝑒 𝐵 การถ่ายแรง บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป WP Bracing connection Load  แรง 𝐏 cos 𝜽 จะกระจายออกไป 2 ส่วน คือ ถ่ายไปยังเสา ผ่านเหล็กฉากที่ติดกับ เสา ( 𝑽 𝑪) และถ่ายไปยังคาน ผ่าน เหล็ก ฉากที่ติดกับคาน ( 𝑽 𝑩)  แรง 𝐏 sin 𝜽 จะกระจายออกไป 2 ส่วน คือ ถ่ายไปยังคาน ผ่านเหล็กฉากที่ติดกับ คาน ( 𝑯 𝑩) และถ่ายไปยังเสา ผ่านเหล็ก ฉากที่ติดกับเสา ( 𝑯 𝑪)  (𝑒 𝐵+𝛽) tan 𝜃 = 𝑒 𝑐 + 𝛼 หรือ 𝛼 −𝛽 tan 𝜃 = 𝑒 𝐵 tan 𝜃 − 𝑒 𝑐 𝜃 𝐏 cos 𝜽 𝐏 sin 𝜽 𝛼 𝛽 สมมติว่าเป็น Tension 𝑽 𝑪 𝑯 𝑪 𝑽 𝑩 𝑯 𝑩 122
  • 123. 𝑒 𝐶 𝑒 𝐵 การถ่ายแรง บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป WP 𝜃 𝐏 cos 𝜽 𝐏 sin 𝜽 𝛼 𝛽 𝑽 𝑪 𝑯 𝑪 𝑽 𝑩 𝑯 𝑩 𝛽 𝒓 𝑷 = = 𝑒 𝐶 𝒓 𝑷 = 𝑒 𝐵 𝒓 𝑷 = 𝛽 𝒓 𝑷 𝑽 𝑪 𝑯 𝑪 𝑽 𝑩 𝑯 𝑩 นาไปพิจารณา เทียบกับ connection strength (resistance) ในทุก failure mode Load 123
  • 124. 3.7 Common Welded Shear Connection 3.8 Connections Combining Bolts and Welds 3.9 Selecting Connections บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไปAISCLRFDAISCASD 124
  • 125. 3.7 Common Welded Shear Connection 3.8 Connections Combining Bolts and Welds 3.9 Selecting Connections บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไปAISCLRFD Block shear = ( = 0.75) [0.6FuAnv + FyAgt] (LRFD 1986) = ( = 0.75) [0.6FyAgv + FuAgt] Block shear = ( = 0.75) [0.6FyAgv + FuAnt ] (LRFD 2005) ≤ ( = 0.75) [0.6FuAnv + FuAnt ] Weld shear = ( = 0.75) [0.6FEXX .lw.sizew ] 125
  • 126. Steel Design Fundamental ASD vs. LRFD a) Allowable Stress Design (ASD) b) Load and Resistance Factored Design (LRFD)  หลักในการออกแบบ คือ ต้องออกแบบโครงสร้าง ให้มีกาลังรับน้าหนัก (resistance) มากกว่า แรง (load) ที่เกิดขึ้นภายในโครงสร้าง Mean Resistance (Nominal Resistance, R) Designed Load, L (ค่ากลางของกาลังรับน้าหนัก) Designed Resistance, R ในทางสถิติ หากทราบลักษณะการกระจายตัว ก็จะสามารถหาค่า Resistance ณ ระดับความเชื่อมั่น หรือระดับนัยสาคัญ (significance) ที่ต้องการได้ที่ระดับความเชื่อมั่นหนึ่งๆ (เช่น ที่ 99%) แรงที่ออกแบบ จะไม่เกิน กาลังรับน้าหนักที่ ปลอดภัย 𝑭𝑺 ASD 𝑳 ≤ 𝑹 𝑭𝑺 126 https://web.facebook.com/jtepasteelconstruction/posts/994307867256730
  • 127. Steel Design Fundamental ASD vs. LRFD a) Allowable Stress Design (ASD) b) Load and Resistance Factored Design (LRFD)  หลักในการออกแบบ คือ ต้องออกแบบโครงสร้าง ให้มีกาลังรับน้าหนัก (resistance) มากกว่า แรง (load) ที่เกิดขึ้นภายในโครงสร้าง Mean Resistance (Nominal Resistance) Factored Load , 𝝓𝑹 ที่ระดับความเชื่อมั่นหนึ่งๆ (เช่น ที่ 99%) จะสามารถหากาลังรับน้าหนักที่ลดทอนค่าลง หรือ factored resistance ได้ เนื่องจากแรงที่กระทาก็มีความ ไม่แน่นอน มีการกระจายตัว ในทางสถิติ ดังนั้นหากกาหนด ระดับความเชื่อมั่นหนึ่งๆ (เช่น ที่ 99%) ก็ามารถหาแรงที่ secure ระดับความเชื่อมั่นที่กาหนดได้ 𝝓 LRFD 𝜸 Mean Load, L (เท่ากับ 𝝓𝑹) 𝜸𝑳 ≤ 𝝓𝑹 , 𝜸𝑳 Factored Resistance 127 https://web.facebook.com/jtepasteelconstruction/posts/994307867256730
  • 128. 3.11 ข้อต่อดำมใสเสำ (Column Splice Connection) บทที่ 3 รำยละเอียดรอยต่อ โครงสร้ำงทั่วไป กำรพิจำรณำขนำดมิติของเสำสำหรับ Column splice detailing 128
  • 132. บทที่ 4 สัญลักษณ์และกฎเกณฑ์ พื้นฐำนในกำรจัดทำรำยละเอียด ในการเปลี่ยนข้อมูลจาก structural design contract document เป็น fabrication shop data จะต้องมีการ “แปลความ” จากข้อมูลโดยวิศวกร ผู้ออกแบบ ให้ไปเป็นข้อมูลที่ช่างในโรง fabrication เข้าใจ และสามารถ นาไปปฏิบัติการขึนรูปชินส่วนโครงสร้างเหล็กต่อได้อย่างลูกต้อง ผู้จัดทาข้อมูลดังกล่าวนี หรือที่เราเรียกว่า steel detailer นันยังจะต้อง สามารถ “แปลความ” โดยใช้ภาษาที่วิศวกรผู้ออกแบบเข้าใจ เพื่อที่จะ สามารถตรวจสอบ (cross check) ความถูกต้องได้ Fabrication shop data นี ประกอบไปด้วย shop piece-mark drawing หรือแบบการขึนรูป และ erection drawing หรือแบบการติดตัง โดยใช้ ภาษาที่สามารถสื่อความระหว่าง วิศวกรผู้ออกแบบ และ ช่างในโรงงานขึน รูป รวมไปจนถึงการสื่อความกับ trade ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างสากล ภาษาที่ใช้ดังกล่าว แสดงไว้ใน “บทที่ 4 สัญลักษณ์และกฎเกณฑ์พื้นฐาน ในการจัดทารายละเอียด” นอกจากความเข้าใจด้านภาษาช่าง ที่ Steel detailer ต้องมีความเข้าใจแล้ว Steel detailer ยังควรต้องทราบถึง “กระบวนการ” ในการขึนรูป หรือ fabrication process ต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง fabrication process ของโรง fabrication คู่สัญญา เพื่อจะได้สามารถระบุรายละเอียดให้เหมาะ กับโรง fabrication นัน ๆ อันจะ maximize shop efficiency ให้เกิดขึนได้ นอกจากความเข้าใจถึง fabrication process ในโรง fabrication แล้ว steel detailer ที่ดี ยังต้องเข้าใจถึง ลักษณะการทางานที่หน้างาน (field work) เพื่ออานวยให้ช่างก่อสร้าง ทางานได้โดยง่าย ไม่เสียเวลา และยัง ควรต้องเข้าใจถึงผลกระทบต่อการใช้งานโครงสร้างอื่นๆ ในระยะยาวด้วย เช่น การระแวดระวังจุดที่อาจก่อให้เกิดนาขัง หรือ การชุบสังกะสี เป็นต้น 4.1 Good Detailing Practices 14. หลีกเลี่ยงกำรจัดทำแบบรำยละเอียดข้อต่อโครงสร้ำงเหล็กให้มีสลักเกลียว (Bolt) เพียงตัวเดียว ยกเว้นข้อต่อสำหรับ สลักรับแรงดึง (Tension Rod) - 127/249 - 132
  • 133. 4.1 Good Detailing Practices บทที่ 4 สัญลักษณ์และกฎเกณฑ์ พื้นฐำนในกำรจัดทำรำยละเอียด 17. ขนำดมิติที่ของรูปภำพองค์อำคำรในแบบกำรขึ้นรูปชิ้นงำนองค์อำคำรโครงสร้ำงเหล็ก นั้นไม่จำเป็นต้องเป็นไปตำมสัดส่วนที่แท้จริง 133