SlideShare a Scribd company logo
Soumettre la recherche
Mettre en ligne
S’identifier
S’inscrire
การปลูกต้นกุหลาบ
Signaler
nam34348skw
Suivre
3 Sep 2011
•
0 j'aime
•
571 vues
การปลูกต้นกุหลาบ
3 Sep 2011
•
0 j'aime
•
571 vues
nam34348skw
Suivre
Signaler
Formation
การปลูกต้นกุหลาบ
1 sur 14
Télécharger maintenant
1
sur
14
Recommandé
กุหลาบ
nangna
1K vues
•
12 diapositives
Rose
Ronnachai0708
573 vues
•
12 diapositives
ไม้ดอกไม้ประดับ
Wanlop Chimpalee
15.1K vues
•
7 diapositives
3.2 ornamental plant
Toffee.Phuenpha
2.5K vues
•
32 diapositives
หญ้าแฝก
Praew Choosanga
561 vues
•
11 diapositives
บทที่ 4 การขยายพันธุ์พืชผักสวนครัว
Benjamart2534
6.7K vues
•
34 diapositives
Contenu connexe
Tendances
natchuda
fanchan7777
1.3K vues
•
100 diapositives
มะพร้าวไทย
sakuntra
492 vues
•
12 diapositives
การขยายพันธุ์พืช
Hataitip Suwanachote
9.6K vues
•
31 diapositives
รายงานมะพร้าวไทย
sakuntra
734 vues
•
12 diapositives
มะพร้าวไทย
sakuntra
451 vues
•
12 diapositives
รายงานมะพร้าวไทย
sakuntra
1.9K vues
•
12 diapositives
Tendances
(18)
natchuda
fanchan7777
•
1.3K vues
มะพร้าวไทย
sakuntra
•
492 vues
การขยายพันธุ์พืช
Hataitip Suwanachote
•
9.6K vues
รายงานมะพร้าวไทย
sakuntra
•
734 vues
มะพร้าวไทย
sakuntra
•
451 vues
รายงานมะพร้าวไทย
sakuntra
•
1.9K vues
สตรอเบอร์รี่
Lilly Phattharasaya
•
2.1K vues
5
Jenjira Rodpun
•
135 vues
การทำกระบวยตักน้ำจากมะพร้าว
Pak Ubss
•
7.3K vues
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
sakuntra
•
17.5K vues
Rubber
giftsairudee
•
260 vues
สวนสวยหวาน
Benjawan Punkum
•
541 vues
การปลูกมะนาวในท่อซีเมนต์
dechathon
•
11.6K vues
การปลูกสมุนไพร (Herb)
Press Trade
•
1.2K vues
การดูแลรักษาอุปกรณ์ในการซ่อมแซมเสื้อผ้า
Wanlop Chimpalee
•
5.4K vues
ใบงานที่ 9 16
Noonnu Ka-noon
•
534 vues
Coffee
nondog075206909
•
376 vues
Coffee
kittisak sapphajak
•
268 vues
En vedette
Contabil med
Leandro Markus
506 vues
•
10 diapositives
A 3 Sergio Sinay
Alberto Marqbsas
331 vues
•
4 diapositives
4. Abril.pdf
Leigos
188 vues
•
4 diapositives
Quando a depressao_ataca
GLAUCIA CASTRO
627 vues
•
109 diapositives
Informações sobre palestras de Anderson Hernandes
Anderson Hernandes
368 vues
•
16 diapositives
Vizinhos Preparados para o Pior
Professor Belinaso
1.3K vues
•
6 diapositives
En vedette
(20)
Contabil med
Leandro Markus
•
506 vues
A 3 Sergio Sinay
Alberto Marqbsas
•
331 vues
4. Abril.pdf
Leigos
•
188 vues
Quando a depressao_ataca
GLAUCIA CASTRO
•
627 vues
Informações sobre palestras de Anderson Hernandes
Anderson Hernandes
•
368 vues
Vizinhos Preparados para o Pior
Professor Belinaso
•
1.3K vues
Problemas científicos, éticos e legais das quimeras, híbridos e cíbridos
Sandra Melo
•
2K vues
Mod instrução
Marcio Alves
•
425 vues
Ewita Final Version
Lindasallerup
•
279 vues
Fiestas del Pilar
conchita55
•
473 vues
Ewita
Lindasallerup
•
341 vues
Livro - Marca Pessoal
Anderson Hernandes
•
760 vues
EYDEM EĞİTİMLERİ (EYLÜL - EKİM 2011)
SERDAR DURGUN
•
209 vues
Sebastião freitas lima
Orlando Limeira
•
428 vues
ÁLbum De Fotos PinhãO
Maria Tavares
•
407 vues
203.8
Tle Ruangvivatthanaroj
•
228 vues
Apresentação do programa de volta às origens
diaconosdapituba
•
988 vues
Uma introdução aos aspectos culturais da sociedade contemporânea em The Walki...
Professor Belinaso
•
2.5K vues
Irregular verbs
Diana_Ortiz
•
245 vues
1001 鶯歌陶瓷之旅 鬼斧神工篇
Koony Lin
•
175 vues
Similaire à การปลูกต้นกุหลาบ
กุหลาบ 1
nangna
391 vues
•
9 diapositives
ใบความรู้ที่ 7
chunkidtid
2.3K vues
•
19 diapositives
เกม
Pornthip Nabnain
343 vues
•
12 diapositives
มะพร้าวไทย
sakuntra
439 vues
•
12 diapositives
มะพร้าวไทย
sakuntra
291 vues
•
12 diapositives
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
Hataitip Suwanachote
1.5K vues
•
31 diapositives
Similaire à การปลูกต้นกุหลาบ
(20)
กุหลาบ 1
nangna
•
391 vues
ใบความรู้ที่ 7
chunkidtid
•
2.3K vues
เกม
Pornthip Nabnain
•
343 vues
มะพร้าวไทย
sakuntra
•
439 vues
มะพร้าวไทย
sakuntra
•
291 vues
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
Hataitip Suwanachote
•
1.5K vues
LA445 02
Bunchong Somboonchai
•
646 vues
Coffee
อภิสร แท่นพิทักษ์
•
586 vues
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
Duangsuwun Lasadang
•
14.9K vues
เทคนิคการปลูกขนุน
V'View Piyarach
•
754 vues
งานSh
dekbao
•
387 vues
กระถางกาบมะพร้าว
Chalida Somjai
•
672 vues
กระถางกาบมะพร้าว
Chalida Somjai
•
4.9K vues
Patcharee
พัชรี สินงาม
•
204 vues
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
อาภัสรา ยิ่งคำแหง
•
6.2K vues
งานSh
xavi2536
•
8.3K vues
โครงการหญ้าแฝกเฉลิมพระเกียรติ
Praew Choosanga
•
2K vues
โครงการปลูกหญ้าแฝก
mint123n
•
4.9K vues
Banananaaaa
suriyaprom
•
1K vues
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
Nuttayaporn2138
•
3K vues
การปลูกต้นกุหลาบ
1.
กุหลาบเป็นไม้ดอกที่มีความ
สวยงามยากที่จะหาดอกไม้ชนิด อื่นมาเปรียบเทียบ ได้จนกระทั่งมีผู้ ให้ฉายาว่า "ราชินีแห่งดอกไม้" ดังนั้นกุหลาบจึงเป็นดอกไม้ที่ นิยม ปลูกและใช้กันอย่างแพร่หลายทั้งในและต่างประเทศ นอกจากนี้กุหลาบยัง มีคุณสมบัติที่ดีเด่นอีกหลายประการ สามารถใช้ประโยชน์ได้กว้างขวาง เช่น ใช้ เป็นไม้กระถาง ไม้ตัดดอก ตกแต่งสถานที่ ตลอดจนใช้เป็นวัตถุดิบสำาหรับ ทำาเป็น นำ้ามันหอมระเหยและดอกไม้แห้ง ในการปลูก เป็นการค้าก็ยงได้เปรียบดอกไม้อีก หลายชนิดเป็นต้นว่า ั สามารถควบคุมการออกดอกได้ง่ายซึ่งทำาให้กำาหนดการ ออกดอก ให้ตรงกับเทศกาลทำาให้สามารถจำาหน่ายได้ราคา ดี และเนื่องจากกุหลาบเป็นดอกไม้ ที่นยมของคนทั่วไป ดัง ิ นั้น จึงสามารถหาตลาดจำาหน่ายได้ง่ายกว่าดอกไม้อื่น ๆ นอกจากนี้กุหลาบที่ปลูกในประเทศไทยยังเจริญเติบโตได้ดี ในฤดูหนาวซึ่งต่างกับ ประเทศในแถบยุโรปที่ต้องการ กุหลาบมาก การจะปลูกกุหลาบในฤดูหนาวต้อง ปลูกใน เรือนกระจก ทำาให้เสียค่าใช้จ่ายสูงจึงส่งผลให้ดอกกุหลาบมี ราคาแพง ดังนั้น ประเทศที่ปลูกกุหลาบได้ดีในฤดูหนาวจึง สามารถตัดดอกส่งไปขายในตลาดต่าง ประเทศได้ราคาดี
2.
ถึงแม้กุหลาบจะปลูกได้ในดินเกือบทุกชนิด แต่ดินที่ต่างกันก็ ย่อมทำาให้ การเจริญเติบโตดีเลวต่างกันออกไป
ดังนั้นก่อน ปลูกควรเตรียมดินดังนี้ ในภาคกลางซึ่งมีสภาพดินค่อนข้างเหนียว และค่อนข้าง เป็นกรดจัด ระดับ นำ้าใต้ดินสูง เกษตรกรผู้ปลูกกุหลาบจะ นิยมปลูกแบบร่องสวน ซึ่งมีคนำ้าคั่นกลาง โดยเริมเตรียมดิน ู ่ ในฤดูแล้ง คือจะต้องฟันดินและตากดินให้แห้ง เพื่อกำาจัด วัชพืช ก่อน ในขณะที่ตากดินนี้อาจโรยปูนขาวลงไปด้วย ก็ได้ เมื่อดินแห้งดีแล้วจึงกลับ หน้าดิน และชักดินในแต่ละ แปลงให้มีขอบสูง ตรงกลางเป็นแอ่งเล็กน้อย ขนาด ของ แปลงกว้างและยาวตามพื้นที่เดิมที่เคยปลูกผักมาแล้ว การ วางระยะห่างของ ต้นที่จะปลูกอาจใช้ระยะ 50 x 50 เซนติเมตร จำานวนแถวในแต่ละแปลงไม่ควร เกิน 3 แถว เพื่อความสะดวกในการตัดดอกและตัดแต่งกิ่งตรงแถวกลาง สำาหรับในภาคอื่นที่มีสภาพดินค่อนข้างร่วนหรือดินร่วนปน ทราย อาจ ปลูกแบบเจาะหลุมปลูกหรือแยกแปลงปลูกก็ได้ โดยวัดขนาดแปลงปลูกกว้าง 1 .20 เมตร เว้นทางเดิน 1 เมตร ความยาวของแปลงปลูกตามขนาดของพื้นที่ และใช้ ระยะปลูก 60 x60 เซนติเมตร ซึ่งจะได้จำานวนต้นประมาณ 2,000 ต้นต่อไร่ (หรือ ทำาแปลงปลูกกว้าง 1 เมตร เว้นทาง เดิน 1 เมตร และใช้ระยะปลูก 50 x 50 เซนติเมตร สำาหรับ พันธุ์กุหลาบที่ขนาดของทรงพุ่มไม่แผ่กว้างมากนัก) ก่อน ปลูกควรหว่าน ปูนขาวและไถพรวนตากดินไว้ให้แห้ง กุหลาบสามารถปลูกได้ทั้งในดินที่เป็นกรดหรือด่าง แต่เจริญ ได้ดีในดิน ทีค่อนข้างเป็นกรดเล็กน้อย คือมี pH ประมาณ ่ 4.5-6.5 ถ้าดินเป็นกรดมากให้เติม ปูนขาว 60-100 กิโลกรัม ต่อ 100 ตารางวา แต่ถาดินเป็นด่างก็ใส่กำามะถันผง 20-50 ้ กิโลกรัมต่อ 100 ตารางวา เมื่อเตรียมแปลงปลูกเรียบร้อย แล้ว ให้ขุดหลุม ปลูกกว้างและลึก 30 x 30 เซนติเมตร (ถ้า เตรียมหลุมปลูกกว้างและลึกกว่านี้ จะ เป็นการดียงขึ้น) จาก ิ่
3.
นั้นก็จะใส่ปยคอก เช่น ขี้เป็ด
ขี้ไก่ ขี้วัว ฯลฯ ประมาณหลุม ุ๋ ละ 1 บุ้งกี๋ ใส่ปยซุปเปอร์ฟอสเฟต หรือกระดูกป่นเป็นปุ๋ยรอง ุ๋ ก้นหลุม ๆ ละ 1 กำามือ คลุกเคล้าให้เข้ากันแล้วจึงนำากิ่งพันธุ์ กุหลาบซึงอาจจะเป็นกิ่งตอนหรือต้นติดตา ลงไปปลูก กลบ ่ ดินที่โคนต้นให้กระชับและรดนำ้าให้ชุ่ม กิ่งพันธุ์ที่นิยมนำามาปลูกเพื่อตัดดอกเป็นการค้าในปัจจุบัน ได้แก่ กิ่งตัดชำา และกิ่งตอนจะมีเกษตรกรบางรายที่ปลูกโดย ใช้ต้นติดตา แต่มีน้อยราย การขยายพันธุ์กุหลาบที่นิยมใช้มี 3 วิธี คือ 1. การตัดชำา วิธีการตัดชำาที่นิยมทำาอยู่ทั่วไปคือ เลือกกิ่งกุหลาบที่ไม่แก่ และไม่อ่อน จนเกินไปนำามาตัดเป็นท่อนประมาณ 12-15 เซนติเมตร หรือ 1 คืบ รอยตัดต้อง อยูใต้ข้อพอดีแล้วตัดใบ ่ ตรงโคนกิ่งออก จากนั้นเฉือนโคนทิ้ง แล้วจุ่มโคนกิ่งตัดชำานี้ ในฮอร์โมนเร่งราก เซ่น เซอราดิกส์ เบอร์ 2 (เพื่อช่วยเร่งให้ ออกรากเร็วขึ้น) แล้วผึ่ง ให้แห้งนำาไปปักชำาในแปลงพ่น หมอกกลางแจ้ง ถ้าไม่มีแปลงพ่นหมอกก็ใช้เครื่องพ่นนำ้ารด สนามหญ้าก็ได้แล้วให้นำ้าเป็นระยะ ๆ ตามความจำาเป็น โดยมี หลักว่าอย่า ให้ใบกุหลาบแห้ง กิ่งกุหลาบจะออกรากใน 12-15 วัน แล้วแต่พันธุ์ การชำากิ่งนี้ นิยมทำากันมากใน ปัจจุบันเพราะได้จำานวนต้นมากในระยะเวลาสั้นเสียค่าใช้จ่าย น้อยแต่กิ่งชำานี้เมื่อนำาไปปลูกต้นจะโทรมเร็วภายใน 3- 4 ปี ซึ่งกุหลาบพันธุ์สีเหลือง และสีขาวมักจะออกรากยาก ตัดกิ่งกุหลาบเป็นท่อน เฉือนโคนกิ่ง ประมาณ 12-15 ซม. ทิ้ง
4.
จุ่มโคนกิ่งตัดชำาใน
ฮอร์โมนเร่งราก 2. การตอน กิ่งทีใช้ตอนมักมาจากกิ่งที่มีสภาพแตกต่างกันทั้งกิ่งอ่อน ่ และกิ่งแก่ คละกันไปทำาให้การเจริญเติบโตของต้นกุหลาบ หลังลงแปลงปลูกในแปลงไม่สมำ่าเสมอ ซึงการตอนนี้จะใช้ ่ เวลาในการเกิดรากนานประมาณ 4-7 สัปดาห์ ทั้งนี้ แล้วแต่ พันธุ์ที่จะใช้ตอน 3. การติดตา วิธีการทำาต้นกุหลาบติดตานี้ค่อนข้างยุ่งยากและต้องใช้เวลา ในการทำา นานกว่า 2 วิธีแรกคือ ตั้งแต่เริ่มตัดชำาต้นตอป่า จนถึงพันธุ์ดีทีนำาไปติดนั้นออก ดอกแรกจะใช้เวลาประมาณ 5-6 เดือน โดยในขั้นแรกจะต้องตัดชำาต้นตอป่า (ของ กุหลาบป่า) ให้ออกรากและเลี้ยงต้นตอป่านั้นให้แตกยอด ใหม่ยาวเกิน 1 ฟุต ขึ้นไป ซึงจะใช้เวลาประมาณ 3 เดือน ( ่ หลังตัดชำาและออกราก) จากนั้นจึงนำา ตาพันธุ์ดีที่ต้องการ ไปติดตาที่บริเวณโคนของต้นตอป่า การติดตานี้จะต้องอาศัย ฝีมือและความชำานาญพอสมควรโดยจะใช้วิการติดตาแบบ ใดก็ได้ เช่น แบบตัวที เป็นต้น วิธีติดตา วิธีติดตากุหลาบที่ได้ผลดีคือการติดตาแบบที่เรียก ว่ารูปตัวที หรือ แบบโล่ มีวิธีทำาดังนี้คือ 1. เลือกบริเวณที่จะติดตา ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจะพยายาม ติดตาให้ตำ่าที่สุด เท่าที่จะทำาได้คือ ประมาณไม่เกิน 3 นิ้ว นับจากผิวดิน แล้วใช้กรรไกรหรือมีด ตัดหนามตรงบริเวณที่ จะติดตาออกโดยรอบกิ่ง 2. ใช้ปลายมีดกรีดที่เปลือกเป็นรูปตัวที แล้วเผยอเปลือก ตรงรอยกรีด ด้านบนให้เปิดออกเล็กน้อย 3. เฉือนตาเป็นรูปโล่ ให้ได้แผ่นตำายาวประมาณ 1 นิว และ ้ ให้แผ่นตานั้น มีเนื้อไม้ติดมาด้วยเพียงบางๆ ไม่ต้องแกะเนื้อ ไม้ติดมามาก ให้ลอกเนื้อไม้ออกอย่าง ระมัดระวังอย่าให้ แผ่นตาโค้งงอหรือบอบชำ้า
5.
4. นำาแผ่นตาไปเสียบลงทีรอยกรีดของต้นตออย่าง
่ ระมัดระวังอย่าให้แผ่นตาชำ้า โดยใช้มือซ้ายจับแผ่นตา (ตรง ก้านใบ) ค่อย ๆ กดลงไปขณะเดียวกันมือขวา ก็ค่อยเปิด เปลือกช่วย แล้วพันด้วยพลาสติก เพื่อให้ตาเจริญเติบโตเร็วขึ้น ควรปล่อยให้กิ่งใหม่เจริญ เติบโตจนกระทั่ง กิ่งใหม่ยาวพอสมควรแล้วจึงตัดต้นตอที่อยู่ เหนือกิ่งใหม่ออกทั้งหมด สำาหรับ พลาสติก ทีติดตาอยู่นั้น ่ อาจจะปล่อยให้ผุหรือหลุดไปเองก็ได้ถ้าเห็นว่าแผ่น พลาสติกนั้นรัด ต้นเดิมแน่นเกินไปหรือไปขัดขวางการเจริญ เติบโตของกิ่งใหม่ก็ให้แกะออก ส่าหรับกิ่งที่แตกออกมาใหม่นี้ ควรมีไม้ผูกพยุงกิ่งไว้เสมอ เพราะอาจจะ เกิดการฉีกขาดตรงรอยต่อได้ง่ายเนื่องจากรอย ประสานยังไม่แข็งแรงนัก ในกรณีที่การติดตานั้นไม่ได้ผล คือ แผ่นตาที่นำาไปติดตานั้น เปลียนเป็น สีนำ้าตาลหรือสีดำาให้รีบแกะแผ่นพลาสติกและ ่ แผ่นตานั้นออกแล้วติดตาใหม่ในด้าน ตรงข้ามกับของเดิม หากไม่ได้ผลอีกต้องเลี้ยงดูต้นตอนั้นจนกว่ารอยแผลจะ เชื่อม ก้นดีแล้วจึงนำามาติดตาใหม่ได้ สำาหรับการติดตาในกุหลาบแบบทรงต้นสูง (Standard) นั้นก็ ทำาเช่นเดียวกัน เพียงแต่ตำาแหน่งที่ติดตาอยู่ในระดับสูงกว่า เท่านั้นเอง การติดตาจะติดที่ต้นตอหรือกิ่ง ขนาดใหญ่ทแตก ี่ ออกมาก็ได้ กุหลาบเป็นพืชที่ต้องการความชื้นสูง ปริมาณนำ้าที่รดลงไป ในดินปลูกควร กะให้นำ้าซึมได้ลึกประมาณ 16-18 นิ้วและ อาจเว้นระยะการรดนำ้าได้คือ ไม่จำาเป็น ต้องรดนำ้าทุกวัน ( ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพดินปลูก) มีข้อควรจำาอย่างยิงในการ ่ รดนำ้า กุหลาบคือ อย่ารดนำ้าให้โดนใบเนื่องจากโรคบางโรค ที่อยู่ตามใบหรือกิ่งจะแพร่ระบาด กระจายไปได้โดยง่าย การ ให้นำ้าก็ไม่ควรให้นำ้ากระแทกดินปลูกแรงๆ เพราะเม็ดดิน จะ กระเด็นขึ้นไปจับใบกุหลาบ ทำาให้เชื้อโรคบางชนิดที่อาศัย อยู่ในดินระบาดกลับ ขึ้นไปที่ต้นโดยง่ายและถ้าจำาเป็นจะ ต้องรดนำ้าให้เปียกใบควรจะรดนำ้าในตอนเช้า
6.
ในระยะแรกของการปลูกจะเป็นระยะที่ต้นกุหลาบเจริญ เติบโตสร้างใบ และกิ่ง ควรใส่ปยเคมีที่มีสูตรตัวแรกคือ
ุ๋ ไนโตรเจนสูง โดยใส่ทุก 15 หรือ 30 วัน อัตราการใส่ 1 กำา มือต่อต้น ก่อนใส่ปุ๋ยควรมีการพรวนดินตื้นๆ อย่าให้กระทบ รากมากนัก แล้วโรยปุ๋ยให้รอบ ๆ ต้นห่างจากโคนต้น 4-6 นิ้ว แล้วแต่ขนาดของ ทรงพุ่ม จากนั้นก็รดนำ้าตามให้ซุ่ม (แต่ อย่ารดนำ้าจนโชก) เมื่อกุหลาบเริ่มให้ดอก ควรใช้ปยเคมีที่มี ุ๋ ฟอสฟอรัสและโปแตสเซี่ยมสูงควบคู่กันไปเพื่อเร่งการ ออกดอก และทำาให้ก้านดอกแข็งแรง นอกจากนี้อาจจะให้ ปุ๋ยทางใบเพิ่มเติมก็จะเป็นการดี ข้อควรระวังในการใส่ปุ๋ย หลังจากปลูกแล้วคือควรโรยปุ๋ยให้กระจายรอบ ๆ ต้น อย่าง สมำ่าเสมออย่าใส่เป็นกระจุก ๆ ที่จุดใดจุดหนึ่งเพราะอาจ ทำาให้เกิดความเสียหาย ต่อต้นกุหลาบได้ เนื่องจากมีความ เข้มข้นของปุ๋ยตรงจุดทีใส่มากเกินไป ่ อาจจะใช้แรงงานคนเก็บถอนหรือใช้สารเคมีกำาจัดวัชพืชซึ่งมี ทั้งชนิดคุม กำาเนิดและชนิดที่ถูกทำาลายต้นตาย (อัตราการ ใช้จะระบุอยู่ที่ฉลากของขวด) ข้อควรระวังในการใช้สารเคมี เพื่อกำาจัดวัชพืชนี้คือ พยายามหลีกเลียงที่จะฉีดพ่นสาร ให้ ่ ถูกต้นหรือใบกุหลาบและไม่ใช้ถงฉีดพ่นปะปนกับถังที่ใช้พ่น ั สารเคมีป้องกันกำาจัด โรคและแมลง เนื่องจากกุหลาบเป็นพืชที่ต้องการแสงแดดจัดอย่างน้อยวัน ละ 6 ชั่วโมง ดังนั้นสถานที่ปลูกกุหลาบจึงต้องเป็นที่โล่งแจ้ง และจะต้องมีความชื้นสูงด้วย การ คลุมแปลงปลูกจึงเป็นสิ่ง จำาเป็นส่าหรับการปลูกกุหลาบโดยใช้วัสดุที่หาได้งายใน ่ ท้องถิ่นนั้นๆ เซ่น หญ้าแห้ง ฟาง เปลือกถั่วลิสง ซังข้าวโพด
7.
ชานอ้อย ขุยมะพ้าว แกลบ
และขี้เลื่อย เป็นต้น ควรจำาไว้ว่า วัสดุที่จะนำามาคลุมแปลงปลูกนี้ควรเป็น วัสดุที่เก่า คือ เริม ่ สลายตัวแล้วมิฉะนั้นจะทำาให้เกิดการขาดไนโตรเจนกับต้น กุหลาบ ดังนั้นถ้าไซ้วัสดุที่คลุมแปลงค่อนข้างใหม่ควรเติม ปุ๋ยไนโตรเจนลงไปด้วย การคลุมแปลงนี้นอกจากจะช่วย รักษาความชื้นและอุณหภูมิรวมทั้งเพิ่มความโปร่ง ของดิน และเพิ่มอินทรียวัตถุให้กับดินในแปลงปลูกแล้วยังช่วยป็อง กันวัชพืชให้ขืน ช้าอีกด้วย การตัดแต่งกิ่งเป็นสิ่งจำาเป็นสำาหรับการปลูกกุหลาบ ถ้าผู้ ปลูกกุหลาบไม่มี การตัดแต่งกิ่งเลยก็จะทำาให้ต้นกุหลาบ เจริญเติบโตอย่างอิสระ แตกกิ่งก้านมาก เกินไป ทำาให้ดอกมี ขนาดเล็ก ไม่เป็นที่ต้องการของตลาด ดังนั้น เกษตรกรจึง ควรมีการตัดแต่งกิ่งเพื่อให้ต้นได้รูปทรง พุ่มต้นและโคนต้น โปร่งได้รับแสงแดด มากขึ้น ดอกที่ได้จะมี ขนาดใหญ่และมี คุณภาพดี นอกจากนี้การตัดแต่งกิ่งยังช่วย กำาจัดโรคและ แมลงทีแอบแฝงอยูในพุ่มต้นได้ดีอีกด้วย รวมทั้งสามารถ ่ ่ แต่งดิน ในแปลงปลูกได้สะดวก ทำาให้กุหลาบทีได้มีการตัด ่ แต่งกิ่งแล้วเจริญเติบโตดีขึ้น การตัดแต่งกิ่งกุหลาบสามารถ ทำาได้ 2 แบบคือ 1. การตัดแต่งกิ่งแบบให้เฑลือกิ่งไว้กับต้นยาว คือ ตัด แต่งกิ่งออกเพียงเล็กน้อย โดยให้เหลือกิ่งที่มใบสมบูรณ์ไว้ ี มากเพื่อให้มีอาหารเลี้ยงต้นมาก การตัดแต่งกิ่งมีหลักในการ พิจารณาเลือกกิ่งที่จะต้องตัดออกคือกิ่งที่แห้งตาย กิ่งที่ เป็น โรคหรือถูกแมลงทำาลาย กิ่งไขว้ที่เจริญเข้าหาทรงพุ่ม กิ่งที่ ล้มเอนไม่เป็นระเบียบ ควรจะต้องให้ตาที่อยู่บนสุดของกิ่งหัน ออกนอกพุ่มต้น เพื่อให้กิ่งที่แตกใหม่หัน ออกนอกทรงพุ่ม ด้วยและตัดกิ่งให้เฉียง 45 องศา สำาหรับการตัดแต่งกิ่งแบบ ให้ เหลือกิ่งไว้กับต้นยาวนีใช้ได้กับกุหลาบที่ปลูกจากกิ่งตัด ้ ชำาและกิ่งตอน
8.
การตัดแต่งกิ่งแบบให้
เหลือกิ่งไว้กับต้นยาว 2. การตัดแต่งกิ่งแบบให้เลือกกิ่งไว้กับต้นสั้น คือ ตัด แต่งกิ่งจนเหลือกิ่งบนต้นสูงจากพื้นดินประมาณ 30-45 เซนติเมตร แล้วเหลือกิ่งไว้ 3-4 กิ่งเท่านั้นการตัดแต่งกิ่ง แบบนี้จะตัดแต่งได้เฉพาะต้นกุหลาบที่ปลูกจากต้นติด ตาเพียงอย่างเดียวเท่านั้น ถ้าต้นติดตานั้นมีอายุน้อยกว่า 2 ปี ให้ตัดแต่งกิ่งแบบแรก แต่ต้องตัดเพิ่มเติมอีก คือ กิ่งแก่ ที่ไม่ต้องการและกิ่งชักเกอร์ (กิ่งของต้นตอซึ่งเป็นกุหลาบ พันธุ์ป่า) สำาหรับระยะเวลาที่เหมาะสมต่อการตัดแต่งกิ่ง คือ ต้นฤดูฝน เมื่อตัดแต่ง กิ่งให้น้อยลงตามความต้องการแล้วควรใช้ปูน แดงผสมกับยากันรา หรือใช้สีนำ้ามัน ทาบนรอยแผลที่ตัด เพื่อป้องกันการเน่าลุกลามของเชื้อราจากรอบแผลที่ตัด นอกจาก นีควรเก็บกิ่งและใบที่ตัดออก ทำาความสะอาด ้ แปลงให้เรียบร้อยด้วยแล้วจึง แต่งดินในแปลงปลูก คือ ไถ พรวนหน้าดิน ใส่ปุ๋ยคอก ปุยเคมี รวมทั้งใช้วัสดุ คลุมแปลง ๋ ปลูกพร้อมทั้งรดนำ้าให้ชุ่มด้วย จะทำาให้กุหลาบแตกตาได้เร็ว และได้ต้น ทีสมบูรณ์ ่ การตัดแต่งกิ่งแบบให้ เหลือกิ่งไว้กับต้นสั้น
9.
การตัดดอกกุหลาบเพื่อจำาหน่ายนั้น ควรให้มีกิ่งเหลืออยู่ อย่างน้อย 2
กิ่ง เสมอ (กิ่งที่มีใบย่อยครบ 5 ใบ) ไม่ควรตัด ชิดโคนกิ่ง และเมื่อตัดดอกออกจาก ต้นแล้วให้รีบแช่ก้าน ดอกในนำ้าทันทีเพื่อป้องกันการสูญเสียนำ้าจากกิ่ง โดยทั่วไป เกษตรกรนิยมตัดดอกในตอนบ่ายและเย็น หรืออาจตัดใน ตอนเช้าก็ได้ (เพื่อจะได้ส่งตลาดทันเวลา) แต่เนื่องจากดอก กุหลาบมีอายุการใช้งานสั้นและกลีบดอก ก็ชำ้าได้ง่าย ฉะนั้น การตัดดอกกุหลาบในช่วงทียังไม่เหมาะสมจะทำาให้เกิด ่ ปัญหาได้ เช่น ถ้าตัดดอกตูมเกินไป ดอกก็จะไม่บานและ คอดอกจะโค้งงอง่าย แต่ถ้าตัดดอกที่บานเกินไป ดอก กุหลาบจะบานเร็ว และมีอายุการปักแจกันสั้น 1. โรคใบจุด เกิดจากเชื้อรา มีลักษณะอาการเป็นจุดดำา กลมบนใบ ส่วนใหญ่จะเป็นกับใบแก่จะทำาให้ใบเหลืองและ
10.
ร่วงในเวลาต่อมา บางครั้งถ้าเป็นมากอาจ ลุกลามมาที่กิ่ง ด้วย
ระบาดมากในฤดูฝน ควรป้องกันโดยฉีดพ่นด้วยสารเคมี เช่น ดูปราวิท ไดเทนเอ็ม-45 แคปแทน เบนเสท และเบนโน มิล 2. โรคราแป้ง เกิดจากเชื้อรา โรคนี้จะเป็นกับยอดอ่อนและ ดอกอ่อนมีลักษณะเป็นปุยขาวคล้ายแป้งทำาให้ส่วนของพืชที่ เป็นโรคนี้เกิดอาการหงิกงอไม่เจริญเติบโตต่อไป ระบาดมาก ในฤดูหนาว ควรป้องกันโดยฉีดพ่นด้วยสารเคมี เช่น เบนเสท ดาโคนิล และคาราแทน 3. โรคหนามดำา เกิดจากเชื้อราโดยเชื้อรานี้จะเข้าทำาลาย แผลที่เกิดจากรอยตัดหรือเด็ดหนามของกิ่งอ่อนแล้วลุกลาม ไปเรื่อยๆ ตามกิ่งก้าน ทำาให้กิ่งก้าน เหี่ยวแห้งตายไปใน ที่สุดควรป้องกันโดยทาแผลจากรอยตัดด้วยปูนแดง 4. โรคใบจุดสีนำ้าตาลหรือโรคตากบ เกิดจากเชื้อรา มี ลักษณะอาการเป็นจุดกลมสีนำ้าตาลขนาด 1/4 นิ้ว แล้วจะ เปลียนเป็นวงกลมสีเทามีขอบสีมวง-แดง ระบาดมากในฤดู ่ ่ ฝน ควรป้องกันโดยใช้สารเคมีเบนเสท ไดเทนหรือแบนแซด ดี 5. โรคไวรัส เกิดจากเชื้อไวรัส ลักษณะอาการจะปรากฎให้ เห็นที่ใบ โดยใบจะด่างเหลือง เมื่อพบว่าต้นกุหลาบเป็นโรค นี้ให้ถอนและเผาทำาลายเสีย 1. หนอนเจาะดอก เป็นหนอนผีเสื้อกลางคืนขนาดเล็กซึ่ง จะวางไข่อยูที่กลีบดอกด้านนอก เมื่อไข่ฟักออกเป็นตัวจะกัด ่ กินดอกและอาศัยอยู่ในดอก ระบาดมากช่วงที่กุหลาบให้ ดอกดกหรือในช่วงฤดูหนาว ควรป้องกันโดยใช้สารเคมี ประเภทดูดซึม เช่น ดิลดริน ฟอสดริน 2. หนอนกินใบ เป็นหนอนของผีเสื้อกลางคืน มักวางไข่อยู่ ใต้ใบ เมื่อไข่ฟักเป็นตัวหนอนก็จะทำาลายใบที่อาศัย บาง ชนิดทำาลายเฉพาะผิวเนื้อใต้ใบทำาให้ใบมีลักษณะโปร่งใส มองเห็นได้ชัดเจน สารเคมีที่ใซ้ได้ผลดี เช่น เอนดริน 3. หนอนเจาะต้น เป็นหนอนของผึ้งบางชนิดและหนอน ของแมลงวันบางชนิด อาจจะเป็นหนอนของพวกต่อแตน ด้วย หนอนชนิดนี้จะเจาะกินไส้กลาง และบริเวณท่อนำ้าของ
11.
กิ่งหรือต้น ทำาให้กิ่งและต้นแห้งตาย ควรป้องกันกำาจัดโดย การ
ตรวจดูบริเวณรอยต่อระหว่างกิ่งแห้งและกิ่งดี หากพบ ตัวหนอนก็ทำาลายเสียหรือ ป้องกันโดยการตัดแต่งกิ่งตาม กำาหนด 4. แมลงปีกแข็ง บางทีเรียกด้วงปีกแข็ง มีทั้งชนิดตัวสีดำา และสีนำ้าตาลขนาดประมาณ 1.5-2 เซนติเมตร ออกหากินใน เวลากลางคืนระหว่าง 1-3 ทุ่ม โดยการกัดกินใบกุหลาบ ส่วนในเวลากลางวันจะซ่อนตัวอยู่ตามกอหญ้า ป้องกัน โดย ใช้สารเคมี เช่น คลอเดน หรือ เซพวิน 5. ผึ้งกัดใบ จะกัดกินใบกุหลาบในช่วงเวลากลางวัน สังเกต ได้ที่รอยแผลมักจะเป็นรอยเหมือนถูกเฉือนด้วยมีดคมๆ เป็น รูปโค้งป้องกันได้เช่นเดียวกับแมลงปีกแข็ง 6. เพลี้ยไฟ เป็นแมลงปากดูด มีสนำ้าตาลดำา ตัวอ่อนสีขาว ี นวลจะดูดกินนำ้าเลี้ยงจากใบและดอก ทำาให้ดอกที่ถูกทำาลาย ไม่บาน ระบาดมากในฤดูร้อน ป้องกันโดยการฉีดพ่นด้วยสาร เคมี เช่น โตกุไทออน คลอเดนหรือนิโคตินซัลเฟต 7. เพลี้ยแป้ง เป็นแมลงปากดูดมักเกาะกินตามใบอ่อนหรือ ง่ามใบ ทำาให้ใบหงิกงอ ควรป้องกันกำาจัดโดยใช้สารเคมี กำาจัดแต่ต้องผสมสารเคลือบใบลงไป ด้วยเพราะบนตัวเพลี้ย แป้งจะมีขนปุยสีขาวปกคลุม ซึ่งมีลักษณะเป็นมันจับนำ้า ได้ ยาก 8. เพลี้ยหอย เป็นแมลงปากดูด มักเกาะทำาลายโดยดูดนำ้า เลี้ยงจากลำาต้น จะสังเกตเป็นเป็นจุดสีนำ้าตาลอยูบนกิ่งของ ่ กุหลาบ เพลียหอยนี้มีลักษณะพิเศษ คือ ตัวของมันจะมี ้ เปลือกหุ้มหนาทำาให้แมลงซึมเข้าถึงตัวได้ยาก ฉะนั้นวิธี กำาจัดที่ได้ผลดีก็คือ ใช้นำ้ามันทาหรือฉีดพ่นเคลือบตัวมันไว้ ทำาให้เพลี้ยไม่มีทางหายใจ และตายในที่สุด แต่เมื่อเพลี้ย ตายแล้วจะไม่หลุดจากลำาต้นจะยังติดอยู่ที่เดิม 9. เพลี้ยอ่อน เป็นแมลงปากดูด ทำาลายพืชตรงบริเวณส่วน ที่เป็นยอดอ่อนและใบอ่อน ทำาให้ใบเหลืองและร่วงหล่น ควร ป้องกันกำาจัดโดยใช้สารเคมี เช่น ฟอสดริน เอนดริน และพา ราไธออน เป็นต้น 10. แมงมุมแดง เป็นแมงชนิดหนึ่งที่ไม่ใช่ แมลง ตัวมี ขนาดเล็กมากเห็นเพียงจุดสีแดงอยู่ตามใต้ใบ โดยจะเกาะ และดูดนำ้าเลี้ยงจากใบทีถูกทำาลายนั้น ปรากฎเป็นจุดสี ่
12.
เหลืองซึ่งมองเห็นได้บนหลังใบ สำาหรับสารเคมีทใช้กำาจัด
ี่ ได้ผลคือ เคลเทน กุหลาบเป็นไม้ตัดดอกชนิดหนึ่งที่น่าสนใจจะทำาการปลูก เนื่องจากใช้ประโยชน์ ได้หลายอย่างไม่วาจะปลูกเพื่อตัด ่ ดอกบูชาพระหรือปักแจกันประดับโต๊ะให้สวยงาม แม้กระทั่ง ปลูกตัดดอกขายก็ยังมีรายได้ดีไม่แพ้พืชชนิดอื่นๆ และตลาด กุหลาบก็กว้างขวางเป็นที่นิยมของคนทัวไป ขายได้ง่าย ่ นอกจากนั้นแล้วผู้ปลูกกุหลาบยังสามารถหารายได้จากการ ขยายพันธุ์กิ่งตอน กิ่งติดตา และต้นล้างรากอีกด้วย จะเห็น ได้ว่ากุหลาบเป็นพืชที่นาปลูกเป็นได้อย่างยิ่ง เนื่องจาก ่ สามารถทำารายได้ได้หลายทางหรือจะกล่าวว่าเกือบทุกส่วน ของกุหลาบเป็นเงินเป็นทองทั้งสิ้นและสิ่งสำาคัญที่สุด อัน เป็นคุณลักษณะเด่นของกุหลาบคือเป็นพืชที่มีตลาดกว้าง
13.
ขวางและถ้าผู้ปลูกได้มีการปรับปรุง คุณภาพให้ดีมีดอกใหญ่ ก้านยาวก็จะเป็นที่ต้องการของตลาดทังภายในและต่าง
้ ประเทศเป็นแน่แท้ 1. กรมส่งเสริมการเกษตร. 2533. ข้อมูลการผลิตไม้ตัด ดอกที่สำาคัญ. งานไม้ดอกไม้ประดับ กลุ่มพืชสวน กองส่ง เสริมพืชพันธุ์. 2. กรมส่งเสริมการเกษตร. 2533. คู่มือการผลิตไม้ตัด ดอก. งานไม้ดอกไม้ประดับ กลุ่มพืชสวน กองส่งเสริม พืชพันธุ์.
14.
3. กรมส่งเสริมการเกษตร. 2530.
คู่มือการผลิตไม้ตัด ดอกเพื่อการส่งออก. งานไม้ดอกไม้ประดับ กลุ่มพืชสวน กองส่งเสริมพืชพันธุ์. 4. กรมส่งเสริมการเกษตร. 2531. รายงานการสัมมนา เรื่อง การผลิตกุหลาบ เพื่อการส่งออก. งานไม้ดอกไม้ ประดับ กลุ่มพืชสวน กองส่งเสริมพืชพันธุ์. 5. คณะกรรมการบริหารกลุมผู้ปลูกกุหลาบเชียงใหม่. 2534. ่ คู่มือสมาชิกกลุ่มผู้ปลูกกุหลาบเชียงใหม่. 6. ณัฐยา สามพระยา. ม.ม.ป. คุยกันเรื่องกุหลาบ. สาขา ไม้ดอกไม้ประดับ กองพืชสวน กรมวิชาการเกษตร. 7. สมเพียร เกษมทรัพย์. 2528. การปลูกไม้ตัดดอก. ฟันนี่ พับบลิชชิง กรุงเทพฯ. 8. สมเพียร เกษมทรัพย์. 2532. เทคโนโลยีการผลิตและ ธุรกิจไม้ตัดดอก. กรุงเทพฯ. 9. สายชล เกตุอุษา. 2531. เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว ของดอกไม้.ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์.