SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  40
Télécharger pour lire hors ligne
คู่มือนักศึกษา
ประจาปีการศึกษา 2566
หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (4 ปี)
(หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2566)
(Bachelor of Education Program in English)
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
จังหวัดนครราชสีมา
สารจากคณบดี คณะศึกษาศาสตร์
สวัสดีนักศึกษาใหม่ทุกท่าน
ข้าพเจ้ามีความยินดีอย่างยิ่งที่ได้ต้อนรับท่านสู่คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล นับเป็นการเริ่มต้นเส้นทางการศึกษาสู่อนาคต
ที่สดใส ขอแสดงความยินดีกับก้าวแรกที่ได้เดินตามความฝันและทาตาม
สิ่งที่มุ่งหวังไว้
ข้าพเจ้ามุ่งมั่นที่จะมอบการศึกษาที่มีคุณภาพ มีความเป็นเลิศทาง
วิชาการ และมอบโอกาสที่จะช่วยให้ท่านเติบโตในด้านอาชีพ คณาจารย์
ของคณะอุทิศตนเพื่อส่งเสริมท่านทางปัญญา การคิดเชิงวิพากษ์ ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม
ท่านได้เลือกสาขาวิชาที่ท้าทายและมีคุณค่า ข้าพเจ้ายินดีที่ท่านได้เป็นส่วนหนึ่งของสาขา
ภาษาอังกฤษ ท่านจะได้รับทักษะ ความรู้ และประสบการณ์ที่จาเป็นในการเป็นครูที่ประสบความสาเร็จ
ความสาเร็จของท่านคือสิ่งสาคัญที่สุดของคณะศึกษาศาสตร์ คณะวิชาพร้อมที่จะสนับสนุนท่านใน
ทุกก้าวย่าง
ขอต้อนรับสู่ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุลอีกครั้ง และขอให้ท่านประสบความสาเร็จ
ทุกประการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นัฐยา บุญกองแสน
ประวัติคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล
มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล เป็น
สถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่ได้รับการ
ยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งแรก
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สังกัดสานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึ่งก็คือ
ทบวงมหาวิทยาลัยเดิม มหาวิทยาลัยได้
ดาเนินการจัดการเรียนการสอนใน
ระดับอุดมศึกษามาตั้งแต่ปีการศึกษา 2527 โดยได้ดาเนินการตามแนวนโยบายของรัฐและตาม
เจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.
2545 ในเวลาต่อมา ทั้งนี้มหาวิทยาลัยได้รับอนุญาตเปิดดาเนินการหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ตั้งแต่ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2541 โดยได้รับการรับรองมาตรฐาน
การศึกษาจากทบวงมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2543 นอกจากนั้นมหาวิทยาลัยได้
ดาเนินการเปิดหลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ตั้งแต่ปีการศึกษา
2546 เป็นต้นมา ในเวลาต่อมาได้ทาการเปิดสอนระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการบริหาร
การศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการสอน หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขา
เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาและหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
นอกจากมหาวิทยาลัยจะดาเนินการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
ดังกล่าวแล้วมหาวิทยาลัยยังได้ยึดนโยบายตามเจตนารมณ์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2562–2565 ของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรีรวมทั้งได้ยึดถือกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 พ.ศ.
2551-2565 ของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหลักในการกาหนด
ทิศทางการดาเนินการบริหารจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาอีกด้วย ซึ่งกรอบของแผนทั้งสองนั้นมี
หลักการอันเป็นวิสัยทัศน์ตรงกันว่า มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ในฐานะที่เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ที่
จัดการเรียนการสอนด้านศึกษาศาสตร์ มีความพร้อมด้านทรัพยากรบุคคลที่เป็นอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ
อันเป็นปัจจัยการผลิต จึงได้พัฒนาความร่วมมือกับหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านการพัฒนาทรัพยากร
มนุษย์ คือ สานักงานเลขาธิการคุรุสภา ดาเนินการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนายกระดับให้
ผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษา มีความรู้ความเข้าใจ มีเจตคติและมีความเชี่ยวชาญใน
ศาสตร์ทางการบริหารการศึกษาที่ใหม่เพื่อนาไปพัฒนาปรับปรุงการศึกษาและสถานศึกษาต่อไป โดย
ในปีการศึกษา 2549 มหาวิทยาลัย ได้บันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการพัฒนาผู้บริหารประจาการ
ในโครงการพัฒนาวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษาของสานักงานเลขาธิการคุรุสภา
เพื่อเปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการบริหารการศึกษา ด้วยเหตุว่ามหาวิทยาลัย
ตระหนักถึงภารกิจที่มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตและพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาเพื่อพัฒนาประเทศชาติ
สมตามเจตนารมณ์ของหน่วยงานซึ่งสอดคล้องกับปรัชญาของการบริหารจัดการศึกษาของทุกภาคส่วน
ต่อไป
จากการพัฒนาการดาเนินงานด้านการศึกษาของคณะศึกษาศาสตร์ ในปีการศึกษา 2556
คณะศึกษาศาสตร์ ได้เปิดหลักสูตรใหม่ เพื่อรองรับการผลิตบัณฑิตครูตามความต้องการของสังคม โดย
เริ่มเปิดการจัดการศึกษาเพื่อผลิตครู 5 ปี ได้แก่ หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี
การศึกษาและคอมพิวเตอร์ หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย และหลักสูตรศึกษา
ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์ทั่วไป โดยได้รับการรับรองมาตรฐานหลักสูตรจาก
สานักงานเลขาธิการคุรุสภา และได้ทาการปรับหลักสูตรและปัจจุบันใช้หลักสูตรปรับปรุงปี 2562 เป็น
หลักสูตร ครู 4 ปี คณะศึกษาศาสตร์ ตระหนักถึงภารกิจที่มุ่งเน้นการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา
โดนทาการเปิดหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการสอน (หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2556)
และต่อมาเป็นหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครูปรับปรุง พ.ศ. 2561 ตามลาดับ นอกจากนี้
ยังมีหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต ที่สามารถรองรับการผลิตครูอีกหนึ่งหลักสูตร คือ หลักสูตร
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน ปัจจุบันเป็นหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562
ในปีการศึกษา 2557 มหาวิทยาลัยได้พัฒนาหลักสูตร เพื่อพัฒนาวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา
และผู้บริหารการศึกษาของสานักงานเลขาธิการคุรุสภาจากหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการบริหารการศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2555) เป็นหลักสูตร ศึกษาศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2557) และหลักสูตร
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555) เป็นหลักสูตร
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558) ทั้ง 2 หลักสูตร
เริ่มใช้ในปีการศึกษา 2558 และปัจจุบันหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต และหลักสูตร ปรัชญาดุษฎี
บัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา เป็นหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563 โดยมุ่งหวังให้ผู้สาเร็จ
การศึกษา มีมาตรฐานความรู้ และสมรรถนะตามเกณฑ์มาตรฐานของคุรุสภา ทั้งนี้เพราะว่าคนหรือ
ทรัพยากรบุคคลเป็นปัจจัยสาคัญในการกระบวนการผลิต หากหันมามองทรัพยากรบุคคลทาง
การศึกษาแล้วจะพบว่า ผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษา เป็นทรัพยากรบุคคลที่จะทาการ
ขับเคลื่อนโดยการบริหารการศึกษา หรือบริหารสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายที่พึงประสงค์
โดยเฉพาะจะต้องทาให้ผลลัพธ์ทางการศึกษาสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษา
แห่งชาติ รวมทั้งสอดรับกับความต้องการของวิชาชีพนี้ต่อไป
ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์และแผนงาน
ปรัชญา ถือว่าเป็นหลักการที่จะกาหนดทิศทางการบริหารจัดการศึกษาของคณะในอันที่จะ
แสวงหาความรู้หรือรักที่จะแสวงหาความรู้ คณะจึงได้กาหนดปรัชญาของคณะขึ้นโดยมีความสอดคล้อง
กับปรัชญาของมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ที่ว่า “จริยธรรมนาปัญญา” ดังนั้น คณะศึกษาศาสตร์ จึงได้
กาหนดปรัชญาทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ไว้ดังนี้
การศึกษา พัฒนาคุณธรรม นำปัญญา
EDUCATION DEVELOPS MORALITY IN ACCORDANCE WITH WISDOM
วิสัยทัศน์
คณะศึกษาศาสตร์ เป็นคณะวิชาชั้นนา ทางด้านการศึกษาที่มีคุณภาพ มาตรฐานวิชาชีพ
เสริมสร้าง จิตอาสา พัฒนางานวิจัย ภาษา และเทคโนโลยี เพื่อสู่ความเป็นสากล
พันธกิจ
คณะศึกษาศาสตร์ เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการผลิตบัณฑิต และพัฒนาบุคลากรทาง
การศึกษาที่มีคุณภาพ เพื่อตอบสนองความต้องการของสังคมและประเทศ ดาเนินการวิจัย เพื่อสร้าง
องค์ความรู้ใหม่และเพื่อการพัฒนาให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมและ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาทางการศึกษาของชาติ
จุดมุ่งหมาย
คณะศึกษาศาสตร์ได้กาหนดจุดมุ่งหมายในการดาเนินงานดังนี้
1. เป็นหน่วยงานที่สามารถทาหน้าที่ผลิตบัณฑิต วิจัย ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ทานุ
บารุงศิลปะวัฒนธรรม และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมได้อย่างเต็มรูปแบบตาม
ภาระหน้าที่ในฐานะเป็นองค์กรหนึ่งของมหาวิทยาลัย
2. เป็นหน่วยงานที่จะสนองตอบต่อความต้องการของชุมชนในการผลิตบัณฑิต มหาบัณฑิต
และดุษฎีบัณฑิตทางศึกษาศาสตร์ให้มีความรู้ความสามารถในการพัฒนาองค์ความรู้บนฐานการวิจัย
และประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนางานด้านการศึกษา
3. เพื่อพัฒนาโครงสร้างการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับทิศทางการประเมิน
คุณภาพการศึกษา ของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา องค์การมหาชน
4. เป็นคณะวิชาที่ผลิตบัณฑิต มหาบัณฑิต ดุษฎีบัณฑิต ที่เป็นแกนหลักทางด้านศึกษาศาสตร์
โดยการวิเคราะห์วิชาชีพ ชี้แนะ และชี้นาวิชาชีพ มีส่วนร่วมในการสร้างความก้าวหน้าทางวิชาชีพและ
ยกระดับวิชาชีพครูให้เป็นวิชาชีพชั้นสูง
วัตถุประสงค์
1. เพื่อผลิตบัณฑิตและพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของ
ประเทศและเพื่อพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา
2. เพื่อจัดการเรียนการสอนวิชาศึกษาทั่วไป ในระดับปริญญาตรี โดยดาเนินการสอนให้กับ
ทุกคณะวิชาของมหาวิทยาลัย
3. เพื่อมีส่วนร่วมในการพัฒนาวิชาชีพ ด้วยการสังเคราะห์ สร้างความก้าวหน้าทางวิชาชีพ
วิจัยด้านศึกษาศาสตร์ ให้เกิดคุณค่าและประโยชน์ในการพัฒนาระบบกระบวนการ และผลผลิต
ทางการศึกษา
4. เพื่อให้บริการทางวิชาการแก่ชุมชน ท้องถิ่น หน่วยงานของรัฐและเอกชน
5. เพื่อให้บริการการทดสอบและพัฒนาแบบวัดทางจิตวิทยา
6. เพื่อส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ภูมิ
ปัญญาท้องถิ่นและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ข้อมูลทั่วไป
1. ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (4ปี)
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in English
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ภาษาไทย ชื่อเต็ม : ศึกษาศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษ)
ชื่อย่อ : ศษ.บ. (ภาษาอังกฤษ)
ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม : Bachelor of Education (English)
ชื่อย่อ : B.Ed. (English)
3. วิชาเอก -
4. จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 136 หน่วยกิต
5. รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี ประเภทวิชาชีพ ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
สาขาครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ หลักสูตร 4 ปี พ.ศ. 2562
5.2 ประเภทของหลักสูตร หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ
5.3 ภาษาที่ใช้ จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
6. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
6.1 ครูผู้สอนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งของภาครัฐและภาคเอกชน
6.2 นักวิชาการด้านภาษาอังกฤษ
6.3 บุคลากรในสถานประกอบการที่ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร
6.4 ผู้ช่วยวิจัยทางการศึกษา
ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร
1. ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
1.1 ปรัชญาของหลักสูตร
ครูภาษาอังกฤษที่เป็นทั้งคนดีและคนเก่ง มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นผู้อุทิศตนต่อวิชาชีพ มีความ
เป็นเลิศในศาสตร์การสอนและภาษาอังกฤษ เป็นนวัตกรที่มีความรู้ ความสามารถนานวัตกรรมมาแก้ปัญหา
และพัฒนาผู้เรียน และเป็นผู้รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีดิจิทัลและปริบทของสังคมโลก
1.2 ความสาคัญ
สถาบันอุดมศึกษามีหน้าที่หลักในการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมเยาวชนรุ่นใหม่ ให้มีความรู้และ
สมรรถนะอย่างเพียงพอที่จะแข่งขันได้อย่างทัดเทียมกับเยาวชนของประเทศอื่น ในส่วนของครูภาษาอังกฤษ
สถาบันอุดมศึกษาจาเป็นต้องพัฒนาครูภาษาอังกฤษให้มีขีดความรู้ ความสามารถอย่างเพียงพอที่จะพัฒนา
ผู้เรียนต่อไป ดังนั้น การจัดทาหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษต้องสร้างบัณฑิตครูให้
มีความรอบรู้และสมรรถนะสูงทั้งในศาสตร์ด้านการสอนและศาสตร์ภาษาอังกฤษ มีความสามารถในการทา
วิจัยเพื่อแก้ปัญหาผู้เรียน รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนในระดับ
การศึกษาขึ้นพื้นฐาน มีคุณลักษณะของครูผู้อุทิศตน ยึดมั่นในจรรยจรรยาบรรณวิชาชีพ และถึงพร้อมด้วย
สมรรถนะด้านต่าง ๆในวิชาชีพครูที่เป็นไปข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562
และสอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์ และสาขาศึกษาศาสตร์ (หลักสูตร 4ปี)
พ.ศ. 2562
1.3 วัตถุประสงค์ของหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
1.3.1 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพครู มีความรับผิดชอบต่อ
วิชาชีพและสังคม เสียสละ กล้าหาญ อดทน และกตัญญูต่อแผ่นดิน
1.3.2 เพื่อผลิตบัณฑิตมีความรอบรู้ในหลักการ แนวคิด ทฤษฎี เนื้อหา กระบวนการในศาสตร์
วิชาชีพครู และศาสตร์ภาษาอังกฤษอย่างลึกซึ้งและเป็นระบบ มีสมรรถนะสูงในการจัดการเรียนรู้ การ
สื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
1.3.3 เพื่อผลิตบัณฑิตมีความสามารถในการบูรณาการข้ามศาสตร์ ข้ามวัฒนธรรม เพื่อนามา
ประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษให้กับผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1.3.4 เพื่อผลิตบัณฑิตมีความสามารถในการทาวิจัยทางการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ สร้าง
และนานวัตกรรมมาแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน และเป็นผู้รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีดิจิทัล
1.3.5 เพื่อผลิตบัณฑิตที่จัดการเรียนรู้และปฏิบัติงานหน้าที่ครูอย่างประสิทธิภาพ มีส่วนร่วมใน
การพัฒนาวิชาชีพ สามารถร่วมมือกับผู้ปกครองในชุมชนและร่วมงานกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์เพื่อพัฒนา
คุณภาพของผู้เรียน
1.4 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (Program Learning Outcomes : PLOs)
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร ดังนี้
PLO1 มีเจตคติทีดีต่อวิชาชีพ เสียสละ กตัญญูต่อแผ่นดิน มีคุณธรรมจริยธรรม ยึดมั่นในจรรยาบรรณ
วิชาชีพ มีความเป็นผู้นา กล้าหาญทางจริยธรรม ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีทั้งทางด้านวิชาการและ
วิชาชีพ
PLO2 มีความรอบรู้ในหลักการ แนวคิด ทฤษฎี เนื้อหา กระบวนการในศาสตร์การสอน และศาสตร์
ภาษาอังกฤษ อย่างลึกซึ้งและเป็นระบบ สื่อสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษอย่างคล่องแคล่ว ใฝ่เรียนรู้
แสวงหานวัตกรรมมาพัฒนาตนเองและผู้เรียน
PLO3 รู้เท่าทันสื่อและสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของ
สังคม มีส่วนร่วมในการพัฒนาความก้าวหน้าให้กับวิชาชีพครู สามารถแสวงหาความรู้โดยทางานวิจัย และ
สร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาตนเองและผู้เรียนตามความแตกต่างระหว่างบุคคล
PLO4 สามารถจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย เสริมสร้างแรงบันดาลใจ ช่วยเหลือผู้เรียนให้มี
ความสามารถเต็มตามศักยภาพ ใช้ศาสตร์การสอน รวมถึงเทคนิค กิจกรรมที่หลากหลายที่เหมาะสมกับกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและความแตกต่างของผู้เรียน สามารถบูรณาการความรู้ข้ามศาสตร์ ข้าม
วัฒนธรรม มาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
PLO5 สามารถออกแบบและจัดทาหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ วัดและ
ประเมินผลผู้เรียนด้วยคุณธรรมและจรรยาบรรณของครูในการวัดผล เป็นผู้มีความรู้ความเข้าใจในระบบ
การประกันคุณภาพ มีความสามารถดาเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
PLO6 สามารถปฏิบัติหน้าที่ครู แสวงหาแหล่งเรียนรู้ ใช้และพัฒนาสื่อนวัตกรรม เทคโนโลยีดิจิทัลได้
เหมาะสมกับผู้เรียน ให้คาปรึกษาแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน ให้ความร่วมมือและเป็นเครือข่ายกับทาง
โรงเรียนและผู้ปกครองในชุมชน ในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน
1.5 ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังรายชั้นปี (Year Learning Outcomes, YLOs)
ชั้นปีที่ 1 ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังรายชั้นปี
PLO 1
PLO 2
PLO 3
• มีจิตใจพอเพียง ต่อต้านการทุจริต รู้หน้าที่พลเมืองรับผิดชอบต่อสังคม และมีเจตคติที่ดีต่อความ
เป็นครู
• มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
• สามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจาวัน
• รอบรู้ในศาสตร์การสอนและการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
• รอบรู้ความแตกต่างระหว่างบุคคล สามารถจูงใจและแก้ปัญหาผู้เรียน
• สามารถจัดทาและการประเมินหลักสูตร
• เข้าใจระบบคา วลีภาษาอังกฤษ สามารถออกเสียงในภาษาอังกฤษได้ถูกต้องตามหลัก
สรีรสัทศาสตร์และถ่ายทอดเสียงเป็นสัญลักษณ์ทางสัทศาสตร์
• สามารถพัฒนาแอพพลิเคชั่นสาหรับอุปกรณ์พกพาโดยใช้ซอฟต์แวร์ที่เป็นประโยชน์ต่อการเรียน
ชั้นปีที่ 2 ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังรายชั้นปี
PLO 2
PLO 3
PLO 4
PLO 5
• สามารถใช้สื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างรู้เท่าทันเพื่อการพัฒนาผู้เรียน
• สื่อสารภาษาไทยเพื่อการงานอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
• เข้าใจรากฐานวัฒนธรรม สามารถอยู่ร่วมกันบนพื้นฐานความแตกต่างทางวัฒนธรรม
• สามารถวัดและประเมินผลการเรียนรู้และวิจัยเพื่อแก้ปัญหาผู้เรียน
• รอบรู้กระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา สามารถเขียนรายงานการประเมินตนเอง
• รอบรู้หลักวากยสัมพันธ์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการสอนวากยสัมพันธ์
• รอบรู้หลักการฟังและพูดและสามาถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการสอนฟังและพูด
ชั้นปีที่ 3 ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังรายชั้นปี
PLO 2
PLO 3
PLO 4
PLO 5
• มีภาวะผู้นา สามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์
• รอบรู้ในศาสตร์ภาษาอังกฤษและมีทักษะการนาเสนออย่างมีประสิทธิภาพ
• รอบรู้และมีทักษะในการสอบวัดความสามารถทางภาษาอังกฤษ
• สามารถทางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
• รอบรู้หลักการอ่าน เขียน การเรียนรู้คาศัพท์ และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการสอนอ่าน
เขียน และการเรียนรู้คาศัพท์
• รอบรู้งานในหน้าที่ครู สามารถจัดทาสื่อการสอน ควบคุมชั้นเรียน จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้
และจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับผู้เรียน
1.5 ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังรายชั้นปี (Year Learning Outcomes, YLOs) (ต่อ)
ชั้นปีที่
4
ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังรายชั้นปี
PLO1
PLO 2
PLO 3
PLO 4
PLO 5
PLO 6
• ยึดมั่นในจรรยาบรรณวิชาชีพ
• สามารถวางแผน ออกแบบและจัดการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลายเหมาะสมกับผู้เรียนและบริบทของ
โรงเรียน รวมถึงปฏิบัติหน้าที่อื่นของครู
• พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา บูรณาการความรู้และศาสตร์การสอนในการวางแผนและจัดการเรียนรู้
• สร้างนวัตกรรมและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
• ยอมรับในความแตกต่างของผู้เรียน ให้คาปรึกษาและแก้ปัญหาพัฒนาผู้เรียนและรายงานผลการ
พัฒนาผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
• สามารถจัดทาวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน
• รอบรู้ และเท่าทันการเปลี่ยนแปลงของปริบททางสังคม
• ร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน
• เข้าถึงปริบทชุมชน อยู่ร่วมบนพื้นฐานความแตกต่างทางวัฒนธรรม
• ส่งเสริมอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร
1. ระบบการจัดการศึกษา
1.1 ระบบการจัดการศึกษาในหลักสูตร
ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ
แต่ละภาคการศึกษา มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์
1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน
การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และใช้
ระยะเวลาเรียนไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ โดยจัดชั่วโมงเรียนของแต่ละรายวิชา เท่ากับการจัดการเรียน
การสอนในภาคการศึกษาปกติ
1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาคเป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
วงษ์ชวลิตกุล พ.ศ. 2548 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 ออกตามความในมาตรา 11 แห่ง
พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550
(ภาคผนวก ง) และแนวปฏิบัติในการเทียบวิชาเรียนและโอนหน่วยกิตเข้าสู่การศึกษาในระบบของ
มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล พ.ศ. 2563
2. การดาเนินการหลักสูตร
2.1 วัน-เวลาในการดาเนินการเรียนการสอน
ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมิถุนายน – เดือนกันยายน
ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนพฤศจิกายน – เดือนกุมภาพันธ์
ภาคการศึกษาฤดูร้อน เดือนมีนาคม - เดือนพฤษภาคม
2.2 จัดเวลาการเรียนการสอนในเวลา
ระยะเวลาการศึกษา 4 ปี
2.3 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
-กรณีนักศึกษาไทย
2.3.1 สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าเกรดเฉลี่ย ไม่ต่ากว่า 2.00
หรือเทียบเท่า จากสถาบันการศึกษาที่หน่วยงานราชการรับรอง กรณีที่ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ อาจจะ
อนุโลมให้เข้ารับการคัดเลือกได้ ทั้งนี้ต้องมีความสามารถหรือความถนัดด้านภาษาอังกฤษที่คณะ
กรรมการบริหารหลักสูตรพิจารณาเห็นว่าสามารถส่งเสริมและพัฒนาให้มีศักยภาพสูงขึ้น เหมาะสมกับ
ความเป็นครูได้
2.3.2 มีความประพฤติปฏิบัติดี
2.3.3 มีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ
2.3.4 มีค่านิยม เจตคติที่ดีและคุณลักษณะที่เหมาะสมกับวิชาชีพครู โดยสอบผ่านตามเกณฑ์
การคัดเลือกของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
2.3.5 ผ่านเกณฑ์การคัดเลือกด้านความรู้และสมรรถนะตามเกณฑ์การคัดเลือกของ
คณะกรรมการบริหารหลักสูตร
-กรณีนักศึกษาต่างชาติ
มีคุณสมบัติเหมือนนักศึกษาไทย โดยต้องเป็นผู้ที่สามารถสื่อสารภาษาไทยได้เป็นอย่างดี
ตามเกณฑ์การคัดเลือกของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (4ปี)
(หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2566)
ปีที่ 1
ภาคการศึกษาที่ 1
หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
วิชาศึกษาทั่วไป
(9 หน่วยกิต)
100107 คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น 3(2-2-5)
100206 การต่อต้านทุจริต 3(3-0-6)
100403 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6)
วิชาชีพครูบังคับ
(3 หน่วยกิต)
916620614 จิตวิญญาณความเป็นครู 3(2-2-5)
วิชาเอกบังคับ
(9 หน่วยกิต)
916626601 สัทศาสตร์ และระบบเสียงภาษาอังกฤษ 3(2-2-5)
916626602 วจีวิพากษ์และวากยสัมพันธ์ภาษาอังกฤษ 3(3-0-6)
916626604 การเรียนรู้ภาษาที่สองเบื้องต้น 3(3-0-6)
รวม 21 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาที่ 2
หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
วิชาศึกษาทั่วไป
(3 หน่วยกิต)
100402 ภาษาอังกฤษเพื่อการฟังและการพูด 3(3-0-6)
วิชาชีพครูบังคับ
(9 หน่วยกิต)
916620615 ศาสตร์การสอนและการจัดการเรียนรู้ 3(2-2-5)
916620616 จิตวิทยาเพื่อการเรียนรู้ 3(2-2-5)
916620620 การพัฒนาหลักสูตร 3(2-2-5)
วิชาเอกบังคับ
(9 หน่วยกิต)
916626605 การพัฒนาหลักสูตรการสอนภาษาอังกฤษ 3(2-2-5)
916626606 การวัดผลทางภาษาในการสอนภาษาอังกฤษ 3(2-2-5)
916626612 การออกแบบและการพัฒนาแอปพลิเคชั่นมือถือ
เพื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
3(2-2-5)
รวม 21 หน่วยกิต
ปีที่ 2
ภาคการศึกษาที่ 1
หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
วิชาศึกษาทั่วไป
(6 หน่วยกิต)
100305 การรู้ทันสื่อและการสื่อสารในสังคมดิจิทัล 3(3-0-6)
100404 ภาษาอังกฤษเพื่อการอ่านและเขียน 3(3-0-6)
วิชาชีพครูบังคับ
(6 หน่วยกิต)
916620618 นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาผู้เรียน 3(2-2-5)
916620619 ภาษาและวัฒนธรรม 3(2-2-5)
วิชาเอกบังคับ
(6 หน่วยกิต)
916626603 โครงสร้างภาษาอังกฤษ 3(2-2-5)
916626611 แนววิธีการสอนไวยากรณ์ด้วยเทคโนโลยี 3(2-2-5)
วิชาเอกเลือก
(3 หน่วยกิต)
9166267XX 3(X - X - X)
รวม 21 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาที่ 2
หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
วิชาศึกษาทั่วไป
(3 หน่วยกิต)
100401 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการงานอาชีพ 3(3-0-6)
วิชาชีพครูบังคับ
(5หน่วยกิต)
916620617 การวัดประเมินผลและการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน 3(2-2-5)
916620621 การประกันคุณภาพการศึกษา 2(2-0-4)
วิชาเอกบังคับ
(6 หน่วยกิต)
916626607 แนววิธีการสอนการฟังด้วยเทคโนโลยี 3(2-2-5)
916626609 แนววิธีการสอนการพูดและการออกเสียงด้วย
เทคโนโลยี
3(2-2-5)
วิชาเอกเลือก
(3 หน่วยกิต)
9166267XX XXXXXX 3(X - X - X)
วิชาเลือกเสรี
(3 หน่วยกิต)
XXXXXX XXXXXX 3(X - X - X)
รวม 20 หน่วยกิต
ปีที่ 3
ภาคการศึกษาที่ 1
หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
วิชาศึกษาทั่วไป
(6 หน่วยกิต)
100307 การพัฒนาทักษะความเป็นผู้นา 3(3-0-6)
100407 ภาษาอังกฤษ เพื่อการเตรียมสอบความสามารถทางภาษา 3(3-0-6)
วิชาเอกบังคับ
(6 หน่วยกิต)
916626608 แนววิธีการสอนการอ่านและคาศัพท์ด้วยเทคโนโลยี 3(2-2-5)
916626610 แนววิธีการสอนการเขียนด้วยเทคโนโลยี 3(2-2-5)
วิชาเอกเลือก
(6 หน่วยกิต)
9166267XX XXXXXX 3(X - X - X)
9166267XX XXXXXX 3(X - X - X)
วิชาเลือกเสรี
(3 หน่วยกิต)
XXXXXX XXXXXX 3(X - X - X)
รวม 21 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาที่ 2
หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต
วิชาศึกษาทั่วไป
(3 หน่วยกิต)
100410 ภาษาอังกฤษเพื่อการนาเสนอและการพูดในที่สาธารณะ 3(3-0-6)
วิชาเอกบังคับ
(6 หน่วยกิต)
916626613 การวิจัยทางการสอนภาษาอังกฤษ 3(2-2-5)
916626614 สัมมนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 3(2-2-5)
วิชาเอกเลือก
(9 หน่วยกิต)
9166267XX XXXXXX 3(X - X - X)
9166267XX XXXXXX 3(X - X - X)
9166267XX XXXXXX 3(X - X - X)
วิชาชีพเฉพาะด้าน
(ฝึกปฏิบัติวิชาชีพ
ระหว่างเรียน)
(2 หน่วยกิต)
916620622 การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน 2(0-90-0)
รวม 20 หน่วยกิต
ปีที่ 4
ภาคการศึกษาที่ 1
หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อรายวิชา หน่วยกิต
วิชาเฉพาะด้าน
(ฝึกปฏิบัติวิชาชีพ)
(6 หน่วยกิต)
916620623 การปฏิบัติการสอน 1 6(0-270-0)
รวมตลอดภาคการศึกษา 6 หน่วยกิต
ภาคการศึกษาที่ 2
หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อรายวิชา หน่วยกิต
วิชาเฉพาะด้าน
(ฝึกปฏิบัติวิชาชีพ)
(6 หน่วยกิต)
916620624 การปฏิบัติการสอน 2 6(0-270-0)
รวมตลอดภาคการศึกษา 6 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาเอก 63 หน่วยกิต
(1) วิชาเอกบังคับ 42 หน่วยกิต
916626601 สัทศาสตร์ และระบบเสียงภาษาอังกฤษ
(English Phonetics and Phonology)
3(2-2-5)
916626602 วจีวิพากษ์และวากยสัมพันธ์ภาษาอังกฤษ
(English Morphology and Syntax)
3(3-0-6)
916626603 โครงสร้างภาษาอังกฤษ
(English Structure)
3(2-2-5)
916626604 การเรียนรู้ภาษาที่สองเบื้องต้น
(Introduction to Second Language Acquisition)
3(3-0-6)
916626605 การพัฒนาหลักสูตรการสอนภาษาอังกฤษ
(Curriculum Development in English Language Teaching)
3(2-2-5)
916626606 การวัดผลทางภาษาในการสอนภาษาอังกฤษ
(Language Assessment in English Language Teaching)
3(2-2-5)
916626607 การสอนการฟังด้วยเทคโนโลยี
(Approaches to the Teaching of Listening with Technology)
3(2-2-5)
916626608 แนววิธีการสอนการอ่านและคาศัพท์ด้วยเทคโนโลยี
(Approaches to the Teaching of Reading and Vocabulary with Technology)
3(2-2-5)
916626609 แนววิธีการสอนการพูดและการออกเสียงด้วยเทคโนโลยี
(Approaches to the Teaching of Speaking and Pronunciation with Technology)
3(2-2-5)
916626610 แนววิธีการสอนการเขียนด้วยเทคโนโลยี
(Approaches to the Teaching of Writing with Technology)
3(2-2-5)
916626611 แนววิธีการสอนไวยากรณ์ด้วยเทคโนโลยี
(Approaches to the Teaching of Grammar with Technology)
3(2-2-5)
916626612 การออกแบบและพัฒนาแอพพลิเคชั่นมือถือเพื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
(Mobile Application Design and Development for English Language Learning)
3(2-2-5)
916626613 การวิจัยทางการสอนภาษาอังกฤษ
(Research in English Language Teaching)
3(2-2-5)
916626614 สัมมนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
(Seminar in English Language Teaching and Learning)
3(2-2-5)
(2) วิชาเอกเลือก : การสอนภาษาอังกฤษ ให้เลือกเรียนรายวิชาต่อไปนี้ 21 หน่วยกิต
916626701 วัฒนธรรมกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
(Culture and English Language Teaching)
3(3-0-6)
916626702 การอ่านเชิงสารคดี
(Non-Fiction Reading)
3(2-2-5)
916626703 การอ่านเชิงวิเคราะห์และวิจารณ์
(Analytical and Critical Reading)
3(2-2-5)
916626704 การเขียนเรียงความ
(Essay Writing)
3(2-2-5)
916626705 การเขียนรายงาน
(Report Writing)
3(2-2-5)
916626706 ภาษาอังกฤษสาหรับธุรกิจ
(English for Business)
3(2-2-5)
916626707 ภาษาอังกฤษเพื่อการตลาด
(English for Marketing)
3(2-2-5)
916626708 ภาษาอังกฤษเพื่อการประชาสัมพันธ์
(English for Public Relations)
3(2-2-5)
916626709 ค่ายภาษาเพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ
(Language Camp for English Skill Development)
3(2-2-5)
916626710 การพัฒนาความคล่องในการฟังและพูดภาษาอังกฤษ
(Fluency Development for Listening and Speaking English)
3(2-2-5)
916626711 การเรียนภาษาอังกฤษโดยใช้โครงงาน
(Learning English through Project)
3(2-2-5)
916626712 วรรณคดีภาษาอังกฤษและการใช้วรรณคดีอังกฤษเพื่อการสอนภาษา
(English Literature and the Use of English Literature for Language
Teaching)
3(2-2-5)
ค. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต
ให้เลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรของมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุลโดยไม่ซ้ากับรายวิชาที่เคยเรียน
มาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กาหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์การสาเร็จการศึกษาใน
หลักสูตรนี้
คาอธิบายรายวิชา
ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
1) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
100101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อสุขภาพและชีวิต 3(3-0-6)
(Science and Technology for Health and Life)
บทบาทการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พลังงาน การสื่อสารและโทรคมนาคม
การส่งเสริมและดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิตโดยใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความปลอดภัยในการใช้ยาและ
สารเคมีในชีวิตประจาวันทั้งทางด้านกายภาพ ชีวภาพที่มีต่อคุณภาพชีวิต
100102 มนุษย์กับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 3(3-0-6)
(Human and Environment Preservation)
ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ปัจจัยที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ในปัจจุบัน แนวทางการใช้ทรัพยากรและการรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนบนพื้นฐานวิทยาศาสตร์ นวัตกรรม
และเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คุณธรรม
และจริยธรรมในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
100103 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในชีวิตประจาวัน 3(3-0-6)
(Science and Technology in Daily Life)
ความสาคัญของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พัฒนาการของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์ที่มีผลต่อมนุษย์ สังคม สภาพแวดล้อม การใช้สารเคมีในชีวิตประจาวันและ
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม อาหารเพื่อสุขภาพและสารเคมีปนเปื้อน ความปลอดภัย
และการใช้สารเคมี การใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า การอนุรักษ์พลังงานเพื่อลดภาวะโลกร้อน
100104 คณิตศาสตร์และสถิติในชีวิตประจาวัน 3(3-0-6)
(Mathematics and Statistics in Daily Life)
การดาเนินการของเซต การประยุกต์ใช้เซต ตรรกศาสตร์ การให้เหตุผลแบบอุปนัย
และนิรนัย สมการและอสมการ การประยุกต์สมการและอสมการ อัตราส่วนและร้อยละ การคานวณหาอัตรา
ดอกเบี้ย เรขาคณิตวิเคราะห์ ความหมายของสถิติ การวิเคราะห์ข้อมูล ความน่าจะเป็น
100105 หลักพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ 3(3-0-6)
(Fundamentals of Mathematics)
ระบบจานวนจริง การแก้สมการเพื่อหาคาตอบ สมการพหุนาม ค่าสัมบูรณ์ ความสัมพันธ์
ฟังก์ชัน การเขียนกราฟ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม ฟังก์ชันตรีโกณมิติ การแยกฟังก์ชันตรรกยะ
ให้เป็นเศษส่วนย่อย ลาดับและอนุกรม การแก้ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
100106 คณิตศาสตร์สาหรับการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ 3(3-0-6)
(Mathematics for Scientific Problems)
คณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาทางวิทยาศาสตร์ นาฬิกาชีวภาพ อัตราการเปลี่ยนแปลง
การเคลื่อนที่ ค่าวิกฤต การประยุกต์คณิตศาสตร์กับปัญหาวิทยาศาสตร์ในชีวิตประจาวัน ปัญหาทางเรขาคณิต
สถาปัตยกรรม และกลศาสตร์ ความยาว พื้นที่ พื้นที่ผิว ปริมาตร
100107 คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น 3(2-2-5)
(Introduction to Computer and Information Technology)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ ความสาคัญของระบบสารสนเทศ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะและการรู้เท่าทันสารสนเทศ การสืบค้น และการใช้งาน
โปรแกรมสาเร็จรูปเพื่อการศึกษาและสานักงานดิจิทัล
100108 การออกกาลังกายและนันทนาการเพื่อสุขภาพ 3(2-2-5)
(Exercise and Recreation for Health)
ความรู้เกี่ยวกับสรีรวิทยา ผลการออกกาลังกายต่อระบบต่าง ๆ ของร่างกาย การป้องกัน
การบาดเจ็บจากการออกกาลังกาย การทดสอบและการประเมินสมรรถภาพทางกายด้วยตนเอง การสร้าง
โปรแกรมการออกกาลังกายและนันทนาการ การออกกาลังกายในการเล่นกีฬาและออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ
การปฏิบัติที่เป็นพื้นฐานในการเล่นกีฬาและออกกาลังกายเพื่อสุขภาพและนันทนาการ
100109 โภชนาการและการสร้างเสริมสุขภาพ 3(3-0-6)
(Nutrition and Health Promotion)
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอาหารเพื่อสุขภาพ ความสาคัญของโภชนาการต่อสุขภาพ
การจาแนกประเภทสารอาหารและคุณค่าของโภชนาการ แนวโน้มโภชนาการเพื่อสุขภาพ พิษและสิ่งแปลกปลอม
ทางอาหารและการป้องกันอันตราย อาหารจากธรรมชาติเพื่อสุขภาพ อาหารและโภชนาการสาหรับผู้ออกกาลัง
กาย หลักการเลือกอาหารตามภาวะเศรษฐกิจและวัฒนธรรม วิธีการเก็บรักษาและการเตรียมอาหาร เพื่อรักษา
คุณค่าของอาหาร การคานวณปริมาณอาหารและพลังงานที่ร่างกายได้รับ การส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวม
100110 คอมพิวเตอร์กราฟฟิคและการออกแบบเบื้องต้น 3(2-2-5)
(Introduction to Computer Graphics and Designs)
แนวคิดและหลักการของคอมพิวเตอร์กราฟิก หลักการ วิธีการออกแบบกราฟิก ซอฟต์แวร์
ด้านกราฟิก ระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับงานคอมพิวเตอร์กราฟิก การใช้งานซอฟต์แวร์ด้านกราฟิก ใช้เครื่องมือ
และอุปกรณ์ต่าง ๆ รวมถึงคาสั่งที่สาคัญในการออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก ในโปรแกรมกราฟิกได้อย่าง
ชานาญ การนาภาพจากแหล่งภาพต่าง ๆ มาสร้างสรรค์งานกราฟิกให้มีจินตนาการตามความคิดริเริ่ม ทั้งยัง
ศึกษาหลักการออกแบบเทคนิคการใช้โปรแกรมการออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิกได้จากเว็บไซต์ต่าง ๆ เพื่อ
นามาประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์งาน
2) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์
100201 อารยธรรมไทยกับภูมิปัญญาท้องถิ่น 3(3-0-6)
(Thai Civilization and Local Wisdom)
ความเป็นมาของชนชาติไทย การตั้งถิ่นฐานสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัย
ประวัติศาสตร์ แหล่งโบราณคดีต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อสังคมวัฒนธรรมไทย อาณาจักรโบราณ อาณาจักรไทย
ประเพณีไทย มารยาทไทยและศาสนพิธีที่คนในสังคมต้องปฏิบัติ เอกลักษณ์ด้านศิลปะวัฒนธรรมไทย
ประติมากรรมสมัยต่าง ๆ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการเปลี่ยนแปลงสังคมไทยในปัจจุบันสู่การพัฒนาประเทศ
แบบยั่งยืน
100202 มนุษย์กับหลักจริยธรรมเพื่อการดาเนินชีวิต 3(3-0-6)
(Human and Morality for Living)
แนวคิด ความเป็นมาเกี่ยวกับปรัชญา ประเภทของปรัชญาที่มีอิทธิพลต่อการดารงชีวิต
ทฤษฎีทางหลักจริยศาสตร์ จริยธรรม จริยธรรมตามแนวศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์
การพัฒนาทักษะชีวิต การครองตน ครองคน ครองงาน กระบวนการแสวงหาความรู้ การพัฒนาปัญญา
เพื่อการดารงอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขและสันติสุขโดยการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาดาเนิน
ชีวิตแบบยั่งยืนและมีความสุข
100203 อาเซียนศึกษา 3(3-0-6)
(ASEAN Studies)
วิวัฒนาการ การรวมตัวของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สู่การพัฒนาการมา
เป็นสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations) โครงสร้าง
ของอาเซียน กลไกขับเคลื่อน เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ศึกษาประเพณี วัฒนธรรม ภาษา รูปแบบการปกครอง
ของชาติสมาชิก ความร่วมมือการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางบกเชื่อมเป็นเครือข่ายเส้นทางสายไหมใหม่
(One Belt One Road) เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ตามองค์ประกอบของประเทศ
ผู้ร่วมเจรจา ผลดี ผลกระทบ การปรับตัวสู่วิถีแห่งอาเซียน
100204 ทักษะการรู้สารสนเทศและการศึกษาค้นคว้า 3(3-0-6)
(Information Literacy and Study Skills)
แนวคิดและหลักการเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสารสนเทศและการสื่อสาร กฎหมาย
และจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การใช้แหล่งสารสนเทศ ทักษะการสืบค้น
สารสนเทศ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า การรวบรวม การวิเคราะห์ การสังเคราะห์
และการประเมินสารสนเทศ การเรียบเรียงและการอ้างอิงตามรูปแบบมาตรฐาน การรู้เท่าทันสื่อ
การประยุกต์ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์นาเสนอสารสนเทศอย่างสร้างสรรค์
100205 ทักษะชีวิตและการศึกษาในมหาวิทยาลัย 3(3-0-6)
(Life Skill and University Learning)
หลักการและกระบวนการคิดของมนุษย์ ฝึกการคิดวิเคราะห์ตนเอง เพื่อเกิดการ
เปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น ดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระบบการเรียนในมหาวิทยาลัย
กิจกรรมนักศึกษาแนวสร้างสรรค์และสามารถบูรณาการศาสตร์ต่าง ๆ เพื่อพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาภายใน
มหาวิทยาลัย ชุมชนรอบมหาวิทยาลัย และสังคมได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
100206 การต่อต้านการทุจริต 3(3-0-6)
(Anti - Corruption)
การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอาย
และความไม่ทนต่อการทุจริต รู้หน้าที่ของพลเมืองและรับผิดชอบต่อสังคมในการต่อต้านการทุจริตและ
STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ เจตคติด้านการป้องกันการทุจริต การ
ป้องกันและวิธีต่อต้านการทุจริต แนวทางในการพัฒนาตนเองเพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต องค์กรที่เกี่ยวข้องกับ
การปราบปรามการทุจริต
100207 ความงดงามแห่งชีวิต 3(3-0-6)
(Beauty of Life)
ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคุณค่าและความงามท่ามกลางความหลากหลายทาง
วัฒนธรรม การรับรู้คุณค่า การสัมผัสความงามและการแสดงออกทางอารมณ์ของมนุษย์ การรับรู้
และการเรียนรู้เกี่ยวกับคุณค่าและความงามในด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการดารงชีวิตมนุษย์ ชีวิตกับความงามใน
ด้านศิลปะ ดนตรี วรรณกรรม ความงามในธรรมชาติรอบตัวมนุษย์ ความงดงามของชีวิตที่เกิดจากการให้
100208 หมากล้อมกับการพัฒนาแนวคิดทางธุรกิจ 3(3-0-6)
(GO and Business Concept Development)
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของหมากล้อม กฎ กติกา มารยาท
วัตถุประสงค์พื้นฐานของการเล่นหมากล้อม ทักษะทางปัญญา 11 ประการ บัญญัติ 10 ประการ เทคนิคในการ
เล่นของหมากล้อมแบบต่าง ๆ การแก้ปัญหาระหว่างเกม กระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์เพื่อสร้างความ
ได้เปรียบในการแข่งขัน การสร้างและพัฒนาทักษะการคิดเชิงกลยุทธ์แบบเป็นเหตุเป็นผล คุณค่าของหมาก
ล้อมและการนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
100209 การคิดเชิงออกแบบ 3(3-0-6)
(Design Thinking)
แนวคิดและหลักการของการคิดเชิงออกแบบ กระบวนการคิดเชิงออกแบบ การฝึกปฏิบัติ
การคิดเชิงออกแบบโดยบูรณาการหลายสาขาวิชาเพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาในการออกแบบการพัฒนาต้นแบบ
(Prototype) การทดสอบแนวคิด (Test) การบูรณาการการคิดเชิงออกแบบในการแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน
100210 โคราชศึกษา 3(3-0-6)
(Korat Studies)
ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ของเมืองโคราชหรือจังหวัดนครราชสีมา บุคคลสาคัญ
การเปลี่ยนแปลงทางภูมิศาสตร์ สังคม การเมืองการปกครองและระบบราชการ เศรษฐกิจและการพาณิชย์
ธุรกิจในอดีตถึงปัจจุบัน พลวัตและวิถีชีวิต การประกอบอาชีพ โบราณสถานและโบราณวัตถุ ภาษา วัฒนธรรม
ประเพณี ภูมิปัญญา การแสดงเทคโนโลยีและนวัตกรรมในภูมิสังคมท้องถิ่น บทบาท ความสาคัญของจังหวัด
นครราชสีมาที่มีต่อภาคตะวันออกเฉียงเหนือและต่อประเทศ
3) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์
100301 มนุษย์ สังคม และการปกครอง 3(3-0-6)
(Man Society and Government)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมวิทยาและมนุษย์วิทยา วิวัฒนาการทางสังคม การปรับตัว
ของมนุษย์อันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยี ปัญหาสังคมและแนว
ทางแก้ไขให้สอดคล้องกับสภาพสังคม การกาเนิดรัฐภายใต้ระบอบการเมืองการปกครองแบบต่าง ๆ
การพัฒนาสังคม การปกครองไทยตั้งแต่สมัยอาณาจักรสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน จากรูปแบบการปกครองตาม
ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชสู่การพัฒนาตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขภายใต้
เงื่อนไขในการปฏิรูปสู่การเปลี่ยนแปลงของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
100302 จิตวิทยาในชีวิตประจาวัน 3(3-0-6)
(Psychology in Daily Life)
ความหมาย และจุดมุ่งหมายของจิตวิทยา กลุ่มแนวคิดและทฤษฎีทางจิตวิทยา จิตวิทยา
กับการเข้าใจตนเอง ได้แก่ นิสัยและการพัฒนาตนเอง บุคลิกภาพ ตัวตน แรงจูงใจ อารมณ์ สุขภาพและการ
ผ่อนคลาย บทบาททางเพศและพฤติกรรมทางเพศ และการควบคุมตนเอง จิตวิทยากับการเข้าใจผู้อื่น ได้แก่
มนุษย์สัมพันธ์และมิตรภาพ ความรักและชีวิตคู่ และความสัมพันธ์ในครอบครัว และจิตวิทยากับสังคม ได้แก่
อิทธิพลทางสังคม และ การทางานกลุ่ม
100303 สังคมและวัฒนธรรมไทย 3(3-0-6)
(Thai Society and Culture)
แนวความคิดพื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมไทยภายใต้อิทธิพลของความ
หลากหลายตามความเชื่อทางศาสนา ค่านิยมของสังคมไทยที่มีการเปลี่ยนตามกระแสสังคมโลก ผลกระทบต่อ
ขนบธรรมเนียมประเพณี การทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ปัญหาสังคม กระแส
การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก สังคมไทย การพัฒนาสังคมและวัฒนธรรมไทยสู่ความยั่งยืน
100304 สิทธิมนุษยชนกับความเป็นพลเมือง 3(3-0-6)
(Human Rights and Citizenship)
แนวคิดสิทธิมนุษยชน บทบาทและการพัฒนาของสิทธิมนุษยชนระดับสากลและสังคมไทย
มโนทัศน์เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน นโยบายการพัฒนาของรัฐที่ส่งผลต่อสิทธิมนุษยชน แนวคิดทางด้านคุณธรรม
จริยธรรมและความรับผิดชอบทางสังคมของบุคลากรภาครัฐ การปฏิบัติตนตามหลักธรรมมาภิบาล ประเด็น
ปัญหาทางจริยธรรมในยุคโลกาภิวัตน์ ผลกระทบทางสังคม แนวทางการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับประเด็นดังกล่าว
100305 การรู้ทันสื่อและการสื่อสารในสังคมดิจิทัล 3(3-0-6)
(Media Literacy and Communication in Digital Society)
ความสาคัญของการรู้ทันสื่อในข้อมูลข่าวสาร ผลกระทบจากสื่อ ทักษะและ
องค์ประกอบการวิเคราะห์สื่อ หลักการรับและเข้าถึงข้อมูลข่าวสารจากสื่อทุกประเภท กระบวนการเลือก
เปิดรับสื่อ การตรวจสอบสื่อการวิเคราะห์ และประเมินคุณค่าเนื้อหาสื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หลักการ
หลีกเลี่ยงสื่อที่ก่อโทษ ต่อตน และผลของสื่อที่มีต่อ การเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ในรูปแบบต่าง ๆ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องการใช้สื่อ
100306 ชีวิตวิถีใหม่กับการเปลี่ยนแปลงของโลก 3(3-0-6)
(New Normal of Living and Global Changes)
หลักการและแนวทางในการดาเนินชีวิตวิถีใหม่ที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของโลก
การดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การเรียนและการทางานที่สอดคล้องกับ
การเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์โลก การดูแลสุขอนามัยตนเอง การจัดการการเงินอย่างเป็นระบบ
การดาเนินการทางธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ กฎหมายควรรู้ยุคใหม่ กิจกรรมเพื่อสังคม การพักผ่อนแบบ
สร้างสรรค์ การทางานอย่างสร้างสรรค์ การเรียนรู้และพัฒนาตนเองแบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต
100307 การพัฒนาทักษะความเป็นผู้นา 3(3-0-6)
(Leadership Skill Development)
ทักษะการวางแผน การทางานการเป็นทีม การเจรจาและประสานงานกับบุคคล
ภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม คุณลักษณะของผู้นา จริยธรรมของผู้นา ทักษะการเป็นผู้นาเชิงสร้างสรรค์ การ
ประเมินผลและตัดสินใจในงาน ความยืดหยุ่นและปรับตัวในสถานการณ์ต่าง ๆ การพัฒนาเสริมสร้าง
บุคลิกภาพเชิงองค์รวม ทางร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตวิญญาณ ทักษะการแสดงออกอย่างเหมาะสมกับสังคม
ความฉลาดทางอารมณ์ การจัดการความเครียด การสร้างความมั่นคงทางอารมณ์ การเข้าใจตนเอง การปรับตัว
เมื่อต้องเผชิญกับสถานการณ์ที่ไม่คุ้นเคยทั้งด้านบวกและด้านลบที่ส่งผลต่อจิตใจ อารมณ์และการแสดงออก
ภายนอก
100308 เศรษฐศาสตร์เพื่อการดาเนินชีวิตอย่างมีความสุข 3(3-0-6)
(Economics for Well Living)
แนวคิดและหลักการเบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์ บทบาททางเศรษฐศาสตร์ตลอดจน
ประเด็นร่วมสมัยทางเศรษฐศาสตร์ที่สาคัญกับการดาเนินชีวิตประจาวันที่ดีมีสุขของมนุษย์ในสังคม
เศรษฐศาสตร์ระดับครัวเรือน ชุมชน และสังคม การนาหลักการเบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์ต่าง ๆ ประยุกต์ใช้
ร่วมกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อใช้ในการตัดสินใจในการเป็นผู้บริโภคอย่างมีเหตุผลหรือผู้ประกอบการ
โดยคานึงถึงความรับผิดชอบ ที่มีต่อสังคมเพื่อให้ครัวเรือน ชุมชน และสังคมอยู่ร่วมกันได้อย่างมีสุข
100309 กฎหมายเบื้องต้นเพื่อการดาเนินชีวิตในสังคมสมัยใหม่ 3(3-0-6)
(Introduction to Law in Modern Society)
ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมกับกฎหมายที่มีผลต่อการดาเนินชีวิต แนวทางปฏิบัติตาม
กฎหมายอย่างถูกต้อง กฎหมายเกี่ยวกับการทานิติกรรมสัญญา การซื้อขาย กู้ยืมเงิน การค้าประกัน
และธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กฎหมายเกี่ยวกับครอบครัวและมรดก ความรับผิดทางกฎหมายอาญา
ในชีวิตประจาวัน กฎหมายจราจร กฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และสื่อสังคมออนไลน์ หน้าที่ของประชาชนที่
มีต่อรัฐ วิธีปฏิบัติเมื่อเกิดข้อพิพาททางแพ่ง อาญา และปกครอง รวมทั้งการติดต่อหน่วยงานราชการเพื่อขอรับ
สิทธิประโยชน์และสวัสดิการจากรัฐ
100310 ศิลปะและจิตวิทยาการสื่อสาร 3(3-0-6)
(Arts and Psychology of Communication)
ทฤษฎี แนวคิด และหลักการทางด้านศิลปะและจิตวิทยาเพื่อการงานสื่อสารมวลชน โดย
ประยุกต์ทฤษฎี แนวคิดและหลักการศิลปะการพูด ศิลปะการถ่ายภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว ศิลปะการ
ออกแบบเข้าร่วมกับแนวคิดทฤษฎีจิตวิทยาสังคมเบื้องต้น จิตวิทยาบุคลิกภาพและการปรับตัว จิตวิทยาการ
เรียนรู้ ฯลฯ มาใช้อย่างผสมผสานเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
STUDENT HANDBOOK 2566  v2.pdf
STUDENT HANDBOOK 2566  v2.pdf
STUDENT HANDBOOK 2566  v2.pdf
STUDENT HANDBOOK 2566  v2.pdf
STUDENT HANDBOOK 2566  v2.pdf
STUDENT HANDBOOK 2566  v2.pdf
STUDENT HANDBOOK 2566  v2.pdf
STUDENT HANDBOOK 2566  v2.pdf
STUDENT HANDBOOK 2566  v2.pdf
STUDENT HANDBOOK 2566  v2.pdf
STUDENT HANDBOOK 2566  v2.pdf
STUDENT HANDBOOK 2566  v2.pdf
STUDENT HANDBOOK 2566  v2.pdf

Contenu connexe

Similaire à STUDENT HANDBOOK 2566 v2.pdf

แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์Maewmeow Srichan
 
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยpentanino
 
20ระเบียบโรงเรียน
20ระเบียบโรงเรียน20ระเบียบโรงเรียน
20ระเบียบโรงเรียนkrupornpana55
 
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่Watcharasak Chantong
 
แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64 แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64 Watcharasak Chantong
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐานtassanee chaicharoen
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
หลักสูตรสถานศึกษา-66 แก้ไข.pdf
หลักสูตรสถานศึกษา-66  แก้ไข.pdfหลักสูตรสถานศึกษา-66  แก้ไข.pdf
หลักสูตรสถานศึกษา-66 แก้ไข.pdfJiruttiPommeChuaikho
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์คุณครูพี่อั๋น
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑TooNz Chatpilai
 
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554pentanino
 

Similaire à STUDENT HANDBOOK 2566 v2.pdf (20)

Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นในระดับปริญญาเอก ของ อ.กอบวิทย์
 
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
 
King Thailand
King Thailand King Thailand
King Thailand
 
20
2020
20
 
20ระเบียบโรงเรียน
20ระเบียบโรงเรียน20ระเบียบโรงเรียน
20ระเบียบโรงเรียน
 
20
2020
20
 
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
O10 แผนปฎิบัติการ64(การเงิน)ใหม่
 
แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64 แผนปฎิบัติการ64
แผนปฎิบัติการ64
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
หลักสูตรสถานศึกษา-66 แก้ไข.pdf
หลักสูตรสถานศึกษา-66  แก้ไข.pdfหลักสูตรสถานศึกษา-66  แก้ไข.pdf
หลักสูตรสถานศึกษา-66 แก้ไข.pdf
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน๒๕๕๑
 
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554
แผนกลยุทธ์วิทยาลัยสงฆ์เลย 2550-2554
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 

STUDENT HANDBOOK 2566 v2.pdf

  • 1.
  • 2. คู่มือนักศึกษา ประจาปีการศึกษา 2566 หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (4 ปี) (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2566) (Bachelor of Education Program in English) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล จังหวัดนครราชสีมา
  • 3. สารจากคณบดี คณะศึกษาศาสตร์ สวัสดีนักศึกษาใหม่ทุกท่าน ข้าพเจ้ามีความยินดีอย่างยิ่งที่ได้ต้อนรับท่านสู่คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล นับเป็นการเริ่มต้นเส้นทางการศึกษาสู่อนาคต ที่สดใส ขอแสดงความยินดีกับก้าวแรกที่ได้เดินตามความฝันและทาตาม สิ่งที่มุ่งหวังไว้ ข้าพเจ้ามุ่งมั่นที่จะมอบการศึกษาที่มีคุณภาพ มีความเป็นเลิศทาง วิชาการ และมอบโอกาสที่จะช่วยให้ท่านเติบโตในด้านอาชีพ คณาจารย์ ของคณะอุทิศตนเพื่อส่งเสริมท่านทางปัญญา การคิดเชิงวิพากษ์ ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม ท่านได้เลือกสาขาวิชาที่ท้าทายและมีคุณค่า ข้าพเจ้ายินดีที่ท่านได้เป็นส่วนหนึ่งของสาขา ภาษาอังกฤษ ท่านจะได้รับทักษะ ความรู้ และประสบการณ์ที่จาเป็นในการเป็นครูที่ประสบความสาเร็จ ความสาเร็จของท่านคือสิ่งสาคัญที่สุดของคณะศึกษาศาสตร์ คณะวิชาพร้อมที่จะสนับสนุนท่านใน ทุกก้าวย่าง ขอต้อนรับสู่ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุลอีกครั้ง และขอให้ท่านประสบความสาเร็จ ทุกประการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นัฐยา บุญกองแสน
  • 4. ประวัติคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล เป็น สถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่ได้รับการ ยกฐานะเป็นมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งแรก ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สังกัดสานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ซึ่งก็คือ ทบวงมหาวิทยาลัยเดิม มหาวิทยาลัยได้ ดาเนินการจัดการเรียนการสอนใน ระดับอุดมศึกษามาตั้งแต่ปีการศึกษา 2527 โดยได้ดาเนินการตามแนวนโยบายของรัฐและตาม เจตนารมณ์แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ในเวลาต่อมา ทั้งนี้มหาวิทยาลัยได้รับอนุญาตเปิดดาเนินการหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ตั้งแต่ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2541 โดยได้รับการรับรองมาตรฐาน การศึกษาจากทบวงมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2543 นอกจากนั้นมหาวิทยาลัยได้ ดาเนินการเปิดหลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา ตั้งแต่ปีการศึกษา 2546 เป็นต้นมา ในเวลาต่อมาได้ทาการเปิดสอนระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการบริหาร การศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการสอน หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขา เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาและหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน นอกจากมหาวิทยาลัยจะดาเนินการตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ดังกล่าวแล้วมหาวิทยาลัยยังได้ยึดนโยบายตามเจตนารมณ์ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2562–2565 ของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรีรวมทั้งได้ยึดถือกรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2551-2565 ของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เป็นหลักในการกาหนด ทิศทางการดาเนินการบริหารจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาอีกด้วย ซึ่งกรอบของแผนทั้งสองนั้นมี หลักการอันเป็นวิสัยทัศน์ตรงกันว่า มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ในฐานะที่เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ที่ จัดการเรียนการสอนด้านศึกษาศาสตร์ มีความพร้อมด้านทรัพยากรบุคคลที่เป็นอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ อันเป็นปัจจัยการผลิต จึงได้พัฒนาความร่วมมือกับหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ คือ สานักงานเลขาธิการคุรุสภา ดาเนินการจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนายกระดับให้ ผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษา มีความรู้ความเข้าใจ มีเจตคติและมีความเชี่ยวชาญใน ศาสตร์ทางการบริหารการศึกษาที่ใหม่เพื่อนาไปพัฒนาปรับปรุงการศึกษาและสถานศึกษาต่อไป โดย
  • 5. ในปีการศึกษา 2549 มหาวิทยาลัย ได้บันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการพัฒนาผู้บริหารประจาการ ในโครงการพัฒนาวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษาของสานักงานเลขาธิการคุรุสภา เพื่อเปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการบริหารการศึกษา ด้วยเหตุว่ามหาวิทยาลัย ตระหนักถึงภารกิจที่มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตและพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาเพื่อพัฒนาประเทศชาติ สมตามเจตนารมณ์ของหน่วยงานซึ่งสอดคล้องกับปรัชญาของการบริหารจัดการศึกษาของทุกภาคส่วน ต่อไป จากการพัฒนาการดาเนินงานด้านการศึกษาของคณะศึกษาศาสตร์ ในปีการศึกษา 2556 คณะศึกษาศาสตร์ ได้เปิดหลักสูตรใหม่ เพื่อรองรับการผลิตบัณฑิตครูตามความต้องการของสังคม โดย เริ่มเปิดการจัดการศึกษาเพื่อผลิตครู 5 ปี ได้แก่ หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี การศึกษาและคอมพิวเตอร์ หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย และหลักสูตรศึกษา ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์ทั่วไป โดยได้รับการรับรองมาตรฐานหลักสูตรจาก สานักงานเลขาธิการคุรุสภา และได้ทาการปรับหลักสูตรและปัจจุบันใช้หลักสูตรปรับปรุงปี 2562 เป็น หลักสูตร ครู 4 ปี คณะศึกษาศาสตร์ ตระหนักถึงภารกิจที่มุ่งเน้นการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษา โดนทาการเปิดหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการสอน (หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2556) และต่อมาเป็นหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครูปรับปรุง พ.ศ. 2561 ตามลาดับ นอกจากนี้ ยังมีหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต ที่สามารถรองรับการผลิตครูอีกหนึ่งหลักสูตร คือ หลักสูตร ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน ปัจจุบันเป็นหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562 ในปีการศึกษา 2557 มหาวิทยาลัยได้พัฒนาหลักสูตร เพื่อพัฒนาวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา และผู้บริหารการศึกษาของสานักงานเลขาธิการคุรุสภาจากหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2555) เป็นหลักสูตร ศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2557) และหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555) เป็นหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558) ทั้ง 2 หลักสูตร เริ่มใช้ในปีการศึกษา 2558 และปัจจุบันหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต และหลักสูตร ปรัชญาดุษฎี บัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา เป็นหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563 โดยมุ่งหวังให้ผู้สาเร็จ การศึกษา มีมาตรฐานความรู้ และสมรรถนะตามเกณฑ์มาตรฐานของคุรุสภา ทั้งนี้เพราะว่าคนหรือ ทรัพยากรบุคคลเป็นปัจจัยสาคัญในการกระบวนการผลิต หากหันมามองทรัพยากรบุคคลทาง การศึกษาแล้วจะพบว่า ผู้บริหารการศึกษาและผู้บริหารสถานศึกษา เป็นทรัพยากรบุคคลที่จะทาการ ขับเคลื่อนโดยการบริหารการศึกษา หรือบริหารสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายที่พึงประสงค์ โดยเฉพาะจะต้องทาให้ผลลัพธ์ทางการศึกษาสอดคล้องกับเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ รวมทั้งสอดรับกับความต้องการของวิชาชีพนี้ต่อไป
  • 6. ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์และแผนงาน ปรัชญา ถือว่าเป็นหลักการที่จะกาหนดทิศทางการบริหารจัดการศึกษาของคณะในอันที่จะ แสวงหาความรู้หรือรักที่จะแสวงหาความรู้ คณะจึงได้กาหนดปรัชญาของคณะขึ้นโดยมีความสอดคล้อง กับปรัชญาของมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล ที่ว่า “จริยธรรมนาปัญญา” ดังนั้น คณะศึกษาศาสตร์ จึงได้ กาหนดปรัชญาทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ไว้ดังนี้ การศึกษา พัฒนาคุณธรรม นำปัญญา EDUCATION DEVELOPS MORALITY IN ACCORDANCE WITH WISDOM วิสัยทัศน์ คณะศึกษาศาสตร์ เป็นคณะวิชาชั้นนา ทางด้านการศึกษาที่มีคุณภาพ มาตรฐานวิชาชีพ เสริมสร้าง จิตอาสา พัฒนางานวิจัย ภาษา และเทคโนโลยี เพื่อสู่ความเป็นสากล พันธกิจ คณะศึกษาศาสตร์ เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการผลิตบัณฑิต และพัฒนาบุคลากรทาง การศึกษาที่มีคุณภาพ เพื่อตอบสนองความต้องการของสังคมและประเทศ ดาเนินการวิจัย เพื่อสร้าง องค์ความรู้ใหม่และเพื่อการพัฒนาให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมและ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาทางการศึกษาของชาติ จุดมุ่งหมาย คณะศึกษาศาสตร์ได้กาหนดจุดมุ่งหมายในการดาเนินงานดังนี้ 1. เป็นหน่วยงานที่สามารถทาหน้าที่ผลิตบัณฑิต วิจัย ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ทานุ บารุงศิลปะวัฒนธรรม และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมได้อย่างเต็มรูปแบบตาม ภาระหน้าที่ในฐานะเป็นองค์กรหนึ่งของมหาวิทยาลัย 2. เป็นหน่วยงานที่จะสนองตอบต่อความต้องการของชุมชนในการผลิตบัณฑิต มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิตทางศึกษาศาสตร์ให้มีความรู้ความสามารถในการพัฒนาองค์ความรู้บนฐานการวิจัย และประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนางานด้านการศึกษา 3. เพื่อพัฒนาโครงสร้างการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับทิศทางการประเมิน คุณภาพการศึกษา ของสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา องค์การมหาชน
  • 7. 4. เป็นคณะวิชาที่ผลิตบัณฑิต มหาบัณฑิต ดุษฎีบัณฑิต ที่เป็นแกนหลักทางด้านศึกษาศาสตร์ โดยการวิเคราะห์วิชาชีพ ชี้แนะ และชี้นาวิชาชีพ มีส่วนร่วมในการสร้างความก้าวหน้าทางวิชาชีพและ ยกระดับวิชาชีพครูให้เป็นวิชาชีพชั้นสูง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อผลิตบัณฑิตและพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของ ประเทศและเพื่อพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา 2. เพื่อจัดการเรียนการสอนวิชาศึกษาทั่วไป ในระดับปริญญาตรี โดยดาเนินการสอนให้กับ ทุกคณะวิชาของมหาวิทยาลัย 3. เพื่อมีส่วนร่วมในการพัฒนาวิชาชีพ ด้วยการสังเคราะห์ สร้างความก้าวหน้าทางวิชาชีพ วิจัยด้านศึกษาศาสตร์ ให้เกิดคุณค่าและประโยชน์ในการพัฒนาระบบกระบวนการ และผลผลิต ทางการศึกษา 4. เพื่อให้บริการทางวิชาการแก่ชุมชน ท้องถิ่น หน่วยงานของรัฐและเอกชน 5. เพื่อให้บริการการทดสอบและพัฒนาแบบวัดทางจิตวิทยา 6. เพื่อส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ภูมิ ปัญญาท้องถิ่นและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  • 8. ข้อมูลทั่วไป 1. ชื่อหลักสูตร ภาษาไทย : หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (4ปี) ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in English 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ภาษาไทย ชื่อเต็ม : ศึกษาศาสตรบัณฑิต (ภาษาอังกฤษ) ชื่อย่อ : ศษ.บ. (ภาษาอังกฤษ) ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม : Bachelor of Education (English) ชื่อย่อ : B.Ed. (English) 3. วิชาเอก - 4. จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 136 หน่วยกิต 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ หลักสูตรปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี ประเภทวิชาชีพ ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ หลักสูตร 4 ปี พ.ศ. 2562 5.2 ประเภทของหลักสูตร หลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพ 5.3 ภาษาที่ใช้ จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 6. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา 6.1 ครูผู้สอนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งของภาครัฐและภาคเอกชน 6.2 นักวิชาการด้านภาษาอังกฤษ 6.3 บุคลากรในสถานประกอบการที่ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร 6.4 ผู้ช่วยวิจัยทางการศึกษา
  • 9. ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร 1. ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 1.1 ปรัชญาของหลักสูตร ครูภาษาอังกฤษที่เป็นทั้งคนดีและคนเก่ง มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นผู้อุทิศตนต่อวิชาชีพ มีความ เป็นเลิศในศาสตร์การสอนและภาษาอังกฤษ เป็นนวัตกรที่มีความรู้ ความสามารถนานวัตกรรมมาแก้ปัญหา และพัฒนาผู้เรียน และเป็นผู้รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีดิจิทัลและปริบทของสังคมโลก 1.2 ความสาคัญ สถาบันอุดมศึกษามีหน้าที่หลักในการจัดการศึกษาเพื่อเตรียมเยาวชนรุ่นใหม่ ให้มีความรู้และ สมรรถนะอย่างเพียงพอที่จะแข่งขันได้อย่างทัดเทียมกับเยาวชนของประเทศอื่น ในส่วนของครูภาษาอังกฤษ สถาบันอุดมศึกษาจาเป็นต้องพัฒนาครูภาษาอังกฤษให้มีขีดความรู้ ความสามารถอย่างเพียงพอที่จะพัฒนา ผู้เรียนต่อไป ดังนั้น การจัดทาหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษต้องสร้างบัณฑิตครูให้ มีความรอบรู้และสมรรถนะสูงทั้งในศาสตร์ด้านการสอนและศาสตร์ภาษาอังกฤษ มีความสามารถในการทา วิจัยเพื่อแก้ปัญหาผู้เรียน รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนในระดับ การศึกษาขึ้นพื้นฐาน มีคุณลักษณะของครูผู้อุทิศตน ยึดมั่นในจรรยจรรยาบรรณวิชาชีพ และถึงพร้อมด้วย สมรรถนะด้านต่าง ๆในวิชาชีพครูที่เป็นไปข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562 และสอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์ และสาขาศึกษาศาสตร์ (หลักสูตร 4ปี) พ.ศ. 2562 1.3 วัตถุประสงค์ของหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ 1.3.1 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพครู มีความรับผิดชอบต่อ วิชาชีพและสังคม เสียสละ กล้าหาญ อดทน และกตัญญูต่อแผ่นดิน 1.3.2 เพื่อผลิตบัณฑิตมีความรอบรู้ในหลักการ แนวคิด ทฤษฎี เนื้อหา กระบวนการในศาสตร์ วิชาชีพครู และศาสตร์ภาษาอังกฤษอย่างลึกซึ้งและเป็นระบบ มีสมรรถนะสูงในการจัดการเรียนรู้ การ สื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 1.3.3 เพื่อผลิตบัณฑิตมีความสามารถในการบูรณาการข้ามศาสตร์ ข้ามวัฒนธรรม เพื่อนามา ประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษให้กับผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.3.4 เพื่อผลิตบัณฑิตมีความสามารถในการทาวิจัยทางการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ สร้าง และนานวัตกรรมมาแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน และเป็นผู้รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีดิจิทัล 1.3.5 เพื่อผลิตบัณฑิตที่จัดการเรียนรู้และปฏิบัติงานหน้าที่ครูอย่างประสิทธิภาพ มีส่วนร่วมใน การพัฒนาวิชาชีพ สามารถร่วมมือกับผู้ปกครองในชุมชนและร่วมงานกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์เพื่อพัฒนา คุณภาพของผู้เรียน
  • 10. 1.4 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (Program Learning Outcomes : PLOs) ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร ดังนี้ PLO1 มีเจตคติทีดีต่อวิชาชีพ เสียสละ กตัญญูต่อแผ่นดิน มีคุณธรรมจริยธรรม ยึดมั่นในจรรยาบรรณ วิชาชีพ มีความเป็นผู้นา กล้าหาญทางจริยธรรม ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีทั้งทางด้านวิชาการและ วิชาชีพ PLO2 มีความรอบรู้ในหลักการ แนวคิด ทฤษฎี เนื้อหา กระบวนการในศาสตร์การสอน และศาสตร์ ภาษาอังกฤษ อย่างลึกซึ้งและเป็นระบบ สื่อสารภาษาไทยและภาษาอังกฤษอย่างคล่องแคล่ว ใฝ่เรียนรู้ แสวงหานวัตกรรมมาพัฒนาตนเองและผู้เรียน PLO3 รู้เท่าทันสื่อและสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของ สังคม มีส่วนร่วมในการพัฒนาความก้าวหน้าให้กับวิชาชีพครู สามารถแสวงหาความรู้โดยทางานวิจัย และ สร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาตนเองและผู้เรียนตามความแตกต่างระหว่างบุคคล PLO4 สามารถจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย เสริมสร้างแรงบันดาลใจ ช่วยเหลือผู้เรียนให้มี ความสามารถเต็มตามศักยภาพ ใช้ศาสตร์การสอน รวมถึงเทคนิค กิจกรรมที่หลากหลายที่เหมาะสมกับกลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและความแตกต่างของผู้เรียน สามารถบูรณาการความรู้ข้ามศาสตร์ ข้าม วัฒนธรรม มาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ PLO5 สามารถออกแบบและจัดทาหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ วัดและ ประเมินผลผู้เรียนด้วยคุณธรรมและจรรยาบรรณของครูในการวัดผล เป็นผู้มีความรู้ความเข้าใจในระบบ การประกันคุณภาพ มีความสามารถดาเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา PLO6 สามารถปฏิบัติหน้าที่ครู แสวงหาแหล่งเรียนรู้ ใช้และพัฒนาสื่อนวัตกรรม เทคโนโลยีดิจิทัลได้ เหมาะสมกับผู้เรียน ให้คาปรึกษาแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน ให้ความร่วมมือและเป็นเครือข่ายกับทาง โรงเรียนและผู้ปกครองในชุมชน ในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน
  • 11. 1.5 ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังรายชั้นปี (Year Learning Outcomes, YLOs) ชั้นปีที่ 1 ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังรายชั้นปี PLO 1 PLO 2 PLO 3 • มีจิตใจพอเพียง ต่อต้านการทุจริต รู้หน้าที่พลเมืองรับผิดชอบต่อสังคม และมีเจตคติที่ดีต่อความ เป็นครู • มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้อย่างมี ประสิทธิภาพ • สามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจาวัน • รอบรู้ในศาสตร์การสอนและการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 • รอบรู้ความแตกต่างระหว่างบุคคล สามารถจูงใจและแก้ปัญหาผู้เรียน • สามารถจัดทาและการประเมินหลักสูตร • เข้าใจระบบคา วลีภาษาอังกฤษ สามารถออกเสียงในภาษาอังกฤษได้ถูกต้องตามหลัก สรีรสัทศาสตร์และถ่ายทอดเสียงเป็นสัญลักษณ์ทางสัทศาสตร์ • สามารถพัฒนาแอพพลิเคชั่นสาหรับอุปกรณ์พกพาโดยใช้ซอฟต์แวร์ที่เป็นประโยชน์ต่อการเรียน ชั้นปีที่ 2 ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังรายชั้นปี PLO 2 PLO 3 PLO 4 PLO 5 • สามารถใช้สื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างรู้เท่าทันเพื่อการพัฒนาผู้เรียน • สื่อสารภาษาไทยเพื่อการงานอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ • เข้าใจรากฐานวัฒนธรรม สามารถอยู่ร่วมกันบนพื้นฐานความแตกต่างทางวัฒนธรรม • สามารถวัดและประเมินผลการเรียนรู้และวิจัยเพื่อแก้ปัญหาผู้เรียน • รอบรู้กระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา สามารถเขียนรายงานการประเมินตนเอง • รอบรู้หลักวากยสัมพันธ์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการสอนวากยสัมพันธ์ • รอบรู้หลักการฟังและพูดและสามาถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการสอนฟังและพูด ชั้นปีที่ 3 ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังรายชั้นปี PLO 2 PLO 3 PLO 4 PLO 5 • มีภาวะผู้นา สามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ • รอบรู้ในศาสตร์ภาษาอังกฤษและมีทักษะการนาเสนออย่างมีประสิทธิภาพ • รอบรู้และมีทักษะในการสอบวัดความสามารถทางภาษาอังกฤษ • สามารถทางานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ • รอบรู้หลักการอ่าน เขียน การเรียนรู้คาศัพท์ และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการสอนอ่าน เขียน และการเรียนรู้คาศัพท์ • รอบรู้งานในหน้าที่ครู สามารถจัดทาสื่อการสอน ควบคุมชั้นเรียน จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ และจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับผู้เรียน
  • 12. 1.5 ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังรายชั้นปี (Year Learning Outcomes, YLOs) (ต่อ) ชั้นปีที่ 4 ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังรายชั้นปี PLO1 PLO 2 PLO 3 PLO 4 PLO 5 PLO 6 • ยึดมั่นในจรรยาบรรณวิชาชีพ • สามารถวางแผน ออกแบบและจัดการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลายเหมาะสมกับผู้เรียนและบริบทของ โรงเรียน รวมถึงปฏิบัติหน้าที่อื่นของครู • พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา บูรณาการความรู้และศาสตร์การสอนในการวางแผนและจัดการเรียนรู้ • สร้างนวัตกรรมและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน • ยอมรับในความแตกต่างของผู้เรียน ให้คาปรึกษาและแก้ปัญหาพัฒนาผู้เรียนและรายงานผลการ พัฒนาผู้เรียนอย่างเป็นระบบ • สามารถจัดทาวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน • รอบรู้ และเท่าทันการเปลี่ยนแปลงของปริบททางสังคม • ร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน • เข้าถึงปริบทชุมชน อยู่ร่วมบนพื้นฐานความแตกต่างทางวัฒนธรรม • ส่งเสริมอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
  • 13. ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร 1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบการจัดการศึกษาในหลักสูตร ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ แต่ละภาคการศึกษา มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ 1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และใช้ ระยะเวลาเรียนไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์ โดยจัดชั่วโมงเรียนของแต่ละรายวิชา เท่ากับการจัดการเรียน การสอนในภาคการศึกษาปกติ 1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาคเป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย วงษ์ชวลิตกุล พ.ศ. 2548 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 ออกตามความในมาตรา 11 แห่ง พระราชบัญญัติสถาบันอุดมศึกษาเอกชน พ.ศ. 2546 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 (ภาคผนวก ง) และแนวปฏิบัติในการเทียบวิชาเรียนและโอนหน่วยกิตเข้าสู่การศึกษาในระบบของ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล พ.ศ. 2563 2. การดาเนินการหลักสูตร 2.1 วัน-เวลาในการดาเนินการเรียนการสอน ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมิถุนายน – เดือนกันยายน ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนพฤศจิกายน – เดือนกุมภาพันธ์ ภาคการศึกษาฤดูร้อน เดือนมีนาคม - เดือนพฤษภาคม 2.2 จัดเวลาการเรียนการสอนในเวลา ระยะเวลาการศึกษา 4 ปี 2.3 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา -กรณีนักศึกษาไทย 2.3.1 สาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าเกรดเฉลี่ย ไม่ต่ากว่า 2.00 หรือเทียบเท่า จากสถาบันการศึกษาที่หน่วยงานราชการรับรอง กรณีที่ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ อาจจะ อนุโลมให้เข้ารับการคัดเลือกได้ ทั้งนี้ต้องมีความสามารถหรือความถนัดด้านภาษาอังกฤษที่คณะ กรรมการบริหารหลักสูตรพิจารณาเห็นว่าสามารถส่งเสริมและพัฒนาให้มีศักยภาพสูงขึ้น เหมาะสมกับ ความเป็นครูได้
  • 14. 2.3.2 มีความประพฤติปฏิบัติดี 2.3.3 มีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ 2.3.4 มีค่านิยม เจตคติที่ดีและคุณลักษณะที่เหมาะสมกับวิชาชีพครู โดยสอบผ่านตามเกณฑ์ การคัดเลือกของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร 2.3.5 ผ่านเกณฑ์การคัดเลือกด้านความรู้และสมรรถนะตามเกณฑ์การคัดเลือกของ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร -กรณีนักศึกษาต่างชาติ มีคุณสมบัติเหมือนนักศึกษาไทย โดยต้องเป็นผู้ที่สามารถสื่อสารภาษาไทยได้เป็นอย่างดี ตามเกณฑ์การคัดเลือกของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
  • 15. หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (4ปี) (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2566) ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต วิชาศึกษาทั่วไป (9 หน่วยกิต) 100107 คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น 3(2-2-5) 100206 การต่อต้านทุจริต 3(3-0-6) 100403 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6) วิชาชีพครูบังคับ (3 หน่วยกิต) 916620614 จิตวิญญาณความเป็นครู 3(2-2-5) วิชาเอกบังคับ (9 หน่วยกิต) 916626601 สัทศาสตร์ และระบบเสียงภาษาอังกฤษ 3(2-2-5) 916626602 วจีวิพากษ์และวากยสัมพันธ์ภาษาอังกฤษ 3(3-0-6) 916626604 การเรียนรู้ภาษาที่สองเบื้องต้น 3(3-0-6) รวม 21 หน่วยกิต ภาคการศึกษาที่ 2 หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต วิชาศึกษาทั่วไป (3 หน่วยกิต) 100402 ภาษาอังกฤษเพื่อการฟังและการพูด 3(3-0-6) วิชาชีพครูบังคับ (9 หน่วยกิต) 916620615 ศาสตร์การสอนและการจัดการเรียนรู้ 3(2-2-5) 916620616 จิตวิทยาเพื่อการเรียนรู้ 3(2-2-5) 916620620 การพัฒนาหลักสูตร 3(2-2-5) วิชาเอกบังคับ (9 หน่วยกิต) 916626605 การพัฒนาหลักสูตรการสอนภาษาอังกฤษ 3(2-2-5) 916626606 การวัดผลทางภาษาในการสอนภาษาอังกฤษ 3(2-2-5) 916626612 การออกแบบและการพัฒนาแอปพลิเคชั่นมือถือ เพื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ 3(2-2-5) รวม 21 หน่วยกิต
  • 16. ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต วิชาศึกษาทั่วไป (6 หน่วยกิต) 100305 การรู้ทันสื่อและการสื่อสารในสังคมดิจิทัล 3(3-0-6) 100404 ภาษาอังกฤษเพื่อการอ่านและเขียน 3(3-0-6) วิชาชีพครูบังคับ (6 หน่วยกิต) 916620618 นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาผู้เรียน 3(2-2-5) 916620619 ภาษาและวัฒนธรรม 3(2-2-5) วิชาเอกบังคับ (6 หน่วยกิต) 916626603 โครงสร้างภาษาอังกฤษ 3(2-2-5) 916626611 แนววิธีการสอนไวยากรณ์ด้วยเทคโนโลยี 3(2-2-5) วิชาเอกเลือก (3 หน่วยกิต) 9166267XX 3(X - X - X) รวม 21 หน่วยกิต ภาคการศึกษาที่ 2 หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต วิชาศึกษาทั่วไป (3 หน่วยกิต) 100401 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการงานอาชีพ 3(3-0-6) วิชาชีพครูบังคับ (5หน่วยกิต) 916620617 การวัดประเมินผลและการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน 3(2-2-5) 916620621 การประกันคุณภาพการศึกษา 2(2-0-4) วิชาเอกบังคับ (6 หน่วยกิต) 916626607 แนววิธีการสอนการฟังด้วยเทคโนโลยี 3(2-2-5) 916626609 แนววิธีการสอนการพูดและการออกเสียงด้วย เทคโนโลยี 3(2-2-5) วิชาเอกเลือก (3 หน่วยกิต) 9166267XX XXXXXX 3(X - X - X) วิชาเลือกเสรี (3 หน่วยกิต) XXXXXX XXXXXX 3(X - X - X) รวม 20 หน่วยกิต
  • 17. ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1 หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต วิชาศึกษาทั่วไป (6 หน่วยกิต) 100307 การพัฒนาทักษะความเป็นผู้นา 3(3-0-6) 100407 ภาษาอังกฤษ เพื่อการเตรียมสอบความสามารถทางภาษา 3(3-0-6) วิชาเอกบังคับ (6 หน่วยกิต) 916626608 แนววิธีการสอนการอ่านและคาศัพท์ด้วยเทคโนโลยี 3(2-2-5) 916626610 แนววิธีการสอนการเขียนด้วยเทคโนโลยี 3(2-2-5) วิชาเอกเลือก (6 หน่วยกิต) 9166267XX XXXXXX 3(X - X - X) 9166267XX XXXXXX 3(X - X - X) วิชาเลือกเสรี (3 หน่วยกิต) XXXXXX XXXXXX 3(X - X - X) รวม 21 หน่วยกิต ภาคการศึกษาที่ 2 หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต วิชาศึกษาทั่วไป (3 หน่วยกิต) 100410 ภาษาอังกฤษเพื่อการนาเสนอและการพูดในที่สาธารณะ 3(3-0-6) วิชาเอกบังคับ (6 หน่วยกิต) 916626613 การวิจัยทางการสอนภาษาอังกฤษ 3(2-2-5) 916626614 สัมมนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 3(2-2-5) วิชาเอกเลือก (9 หน่วยกิต) 9166267XX XXXXXX 3(X - X - X) 9166267XX XXXXXX 3(X - X - X) 9166267XX XXXXXX 3(X - X - X) วิชาชีพเฉพาะด้าน (ฝึกปฏิบัติวิชาชีพ ระหว่างเรียน) (2 หน่วยกิต) 916620622 การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน 2(0-90-0) รวม 20 หน่วยกิต
  • 18. ปีที่ 4 ภาคการศึกษาที่ 1 หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อรายวิชา หน่วยกิต วิชาเฉพาะด้าน (ฝึกปฏิบัติวิชาชีพ) (6 หน่วยกิต) 916620623 การปฏิบัติการสอน 1 6(0-270-0) รวมตลอดภาคการศึกษา 6 หน่วยกิต ภาคการศึกษาที่ 2 หมวดวิชา รหัสวิชา ชื่อรายวิชา หน่วยกิต วิชาเฉพาะด้าน (ฝึกปฏิบัติวิชาชีพ) (6 หน่วยกิต) 916620624 การปฏิบัติการสอน 2 6(0-270-0) รวมตลอดภาคการศึกษา 6 หน่วยกิต
  • 19. กลุ่มวิชาเอก 63 หน่วยกิต (1) วิชาเอกบังคับ 42 หน่วยกิต 916626601 สัทศาสตร์ และระบบเสียงภาษาอังกฤษ (English Phonetics and Phonology) 3(2-2-5) 916626602 วจีวิพากษ์และวากยสัมพันธ์ภาษาอังกฤษ (English Morphology and Syntax) 3(3-0-6) 916626603 โครงสร้างภาษาอังกฤษ (English Structure) 3(2-2-5) 916626604 การเรียนรู้ภาษาที่สองเบื้องต้น (Introduction to Second Language Acquisition) 3(3-0-6) 916626605 การพัฒนาหลักสูตรการสอนภาษาอังกฤษ (Curriculum Development in English Language Teaching) 3(2-2-5) 916626606 การวัดผลทางภาษาในการสอนภาษาอังกฤษ (Language Assessment in English Language Teaching) 3(2-2-5) 916626607 การสอนการฟังด้วยเทคโนโลยี (Approaches to the Teaching of Listening with Technology) 3(2-2-5) 916626608 แนววิธีการสอนการอ่านและคาศัพท์ด้วยเทคโนโลยี (Approaches to the Teaching of Reading and Vocabulary with Technology) 3(2-2-5) 916626609 แนววิธีการสอนการพูดและการออกเสียงด้วยเทคโนโลยี (Approaches to the Teaching of Speaking and Pronunciation with Technology) 3(2-2-5) 916626610 แนววิธีการสอนการเขียนด้วยเทคโนโลยี (Approaches to the Teaching of Writing with Technology) 3(2-2-5) 916626611 แนววิธีการสอนไวยากรณ์ด้วยเทคโนโลยี (Approaches to the Teaching of Grammar with Technology) 3(2-2-5) 916626612 การออกแบบและพัฒนาแอพพลิเคชั่นมือถือเพื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ (Mobile Application Design and Development for English Language Learning) 3(2-2-5) 916626613 การวิจัยทางการสอนภาษาอังกฤษ (Research in English Language Teaching) 3(2-2-5) 916626614 สัมมนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ (Seminar in English Language Teaching and Learning) 3(2-2-5)
  • 20. (2) วิชาเอกเลือก : การสอนภาษาอังกฤษ ให้เลือกเรียนรายวิชาต่อไปนี้ 21 หน่วยกิต 916626701 วัฒนธรรมกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ (Culture and English Language Teaching) 3(3-0-6) 916626702 การอ่านเชิงสารคดี (Non-Fiction Reading) 3(2-2-5) 916626703 การอ่านเชิงวิเคราะห์และวิจารณ์ (Analytical and Critical Reading) 3(2-2-5) 916626704 การเขียนเรียงความ (Essay Writing) 3(2-2-5) 916626705 การเขียนรายงาน (Report Writing) 3(2-2-5) 916626706 ภาษาอังกฤษสาหรับธุรกิจ (English for Business) 3(2-2-5) 916626707 ภาษาอังกฤษเพื่อการตลาด (English for Marketing) 3(2-2-5) 916626708 ภาษาอังกฤษเพื่อการประชาสัมพันธ์ (English for Public Relations) 3(2-2-5) 916626709 ค่ายภาษาเพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ (Language Camp for English Skill Development) 3(2-2-5) 916626710 การพัฒนาความคล่องในการฟังและพูดภาษาอังกฤษ (Fluency Development for Listening and Speaking English) 3(2-2-5) 916626711 การเรียนภาษาอังกฤษโดยใช้โครงงาน (Learning English through Project) 3(2-2-5) 916626712 วรรณคดีภาษาอังกฤษและการใช้วรรณคดีอังกฤษเพื่อการสอนภาษา (English Literature and the Use of English Literature for Language Teaching) 3(2-2-5) ค. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต ให้เลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรของมหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุลโดยไม่ซ้ากับรายวิชาที่เคยเรียน มาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กาหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์การสาเร็จการศึกษาใน หลักสูตรนี้
  • 21. คาอธิบายรายวิชา ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 100101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อสุขภาพและชีวิต 3(3-0-6) (Science and Technology for Health and Life) บทบาทการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พลังงาน การสื่อสารและโทรคมนาคม การส่งเสริมและดูแลสุขภาพกาย สุขภาพจิตโดยใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความปลอดภัยในการใช้ยาและ สารเคมีในชีวิตประจาวันทั้งทางด้านกายภาพ ชีวภาพที่มีต่อคุณภาพชีวิต 100102 มนุษย์กับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) (Human and Environment Preservation) ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ปัจจัยที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม ปัญหาสิ่งแวดล้อม ในปัจจุบัน แนวทางการใช้ทรัพยากรและการรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนบนพื้นฐานวิทยาศาสตร์ นวัตกรรม และเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คุณธรรม และจริยธรรมในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ 100103 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในชีวิตประจาวัน 3(3-0-6) (Science and Technology in Daily Life) ความสาคัญของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พัฒนาการของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์ที่มีผลต่อมนุษย์ สังคม สภาพแวดล้อม การใช้สารเคมีในชีวิตประจาวันและ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม อาหารเพื่อสุขภาพและสารเคมีปนเปื้อน ความปลอดภัย และการใช้สารเคมี การใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า การอนุรักษ์พลังงานเพื่อลดภาวะโลกร้อน 100104 คณิตศาสตร์และสถิติในชีวิตประจาวัน 3(3-0-6) (Mathematics and Statistics in Daily Life) การดาเนินการของเซต การประยุกต์ใช้เซต ตรรกศาสตร์ การให้เหตุผลแบบอุปนัย และนิรนัย สมการและอสมการ การประยุกต์สมการและอสมการ อัตราส่วนและร้อยละ การคานวณหาอัตรา ดอกเบี้ย เรขาคณิตวิเคราะห์ ความหมายของสถิติ การวิเคราะห์ข้อมูล ความน่าจะเป็น 100105 หลักพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ 3(3-0-6) (Fundamentals of Mathematics) ระบบจานวนจริง การแก้สมการเพื่อหาคาตอบ สมการพหุนาม ค่าสัมบูรณ์ ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน การเขียนกราฟ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม ฟังก์ชันตรีโกณมิติ การแยกฟังก์ชันตรรกยะ ให้เป็นเศษส่วนย่อย ลาดับและอนุกรม การแก้ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
  • 22. 100106 คณิตศาสตร์สาหรับการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ 3(3-0-6) (Mathematics for Scientific Problems) คณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาทางวิทยาศาสตร์ นาฬิกาชีวภาพ อัตราการเปลี่ยนแปลง การเคลื่อนที่ ค่าวิกฤต การประยุกต์คณิตศาสตร์กับปัญหาวิทยาศาสตร์ในชีวิตประจาวัน ปัญหาทางเรขาคณิต สถาปัตยกรรม และกลศาสตร์ ความยาว พื้นที่ พื้นที่ผิว ปริมาตร 100107 คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น 3(2-2-5) (Introduction to Computer and Information Technology) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ ความสาคัญของระบบสารสนเทศ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ ทักษะและการรู้เท่าทันสารสนเทศ การสืบค้น และการใช้งาน โปรแกรมสาเร็จรูปเพื่อการศึกษาและสานักงานดิจิทัล 100108 การออกกาลังกายและนันทนาการเพื่อสุขภาพ 3(2-2-5) (Exercise and Recreation for Health) ความรู้เกี่ยวกับสรีรวิทยา ผลการออกกาลังกายต่อระบบต่าง ๆ ของร่างกาย การป้องกัน การบาดเจ็บจากการออกกาลังกาย การทดสอบและการประเมินสมรรถภาพทางกายด้วยตนเอง การสร้าง โปรแกรมการออกกาลังกายและนันทนาการ การออกกาลังกายในการเล่นกีฬาและออกกาลังกายเพื่อสุขภาพ การปฏิบัติที่เป็นพื้นฐานในการเล่นกีฬาและออกกาลังกายเพื่อสุขภาพและนันทนาการ 100109 โภชนาการและการสร้างเสริมสุขภาพ 3(3-0-6) (Nutrition and Health Promotion) ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอาหารเพื่อสุขภาพ ความสาคัญของโภชนาการต่อสุขภาพ การจาแนกประเภทสารอาหารและคุณค่าของโภชนาการ แนวโน้มโภชนาการเพื่อสุขภาพ พิษและสิ่งแปลกปลอม ทางอาหารและการป้องกันอันตราย อาหารจากธรรมชาติเพื่อสุขภาพ อาหารและโภชนาการสาหรับผู้ออกกาลัง กาย หลักการเลือกอาหารตามภาวะเศรษฐกิจและวัฒนธรรม วิธีการเก็บรักษาและการเตรียมอาหาร เพื่อรักษา คุณค่าของอาหาร การคานวณปริมาณอาหารและพลังงานที่ร่างกายได้รับ การส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวม 100110 คอมพิวเตอร์กราฟฟิคและการออกแบบเบื้องต้น 3(2-2-5) (Introduction to Computer Graphics and Designs) แนวคิดและหลักการของคอมพิวเตอร์กราฟิก หลักการ วิธีการออกแบบกราฟิก ซอฟต์แวร์ ด้านกราฟิก ระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับงานคอมพิวเตอร์กราฟิก การใช้งานซอฟต์แวร์ด้านกราฟิก ใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่าง ๆ รวมถึงคาสั่งที่สาคัญในการออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก ในโปรแกรมกราฟิกได้อย่าง ชานาญ การนาภาพจากแหล่งภาพต่าง ๆ มาสร้างสรรค์งานกราฟิกให้มีจินตนาการตามความคิดริเริ่ม ทั้งยัง ศึกษาหลักการออกแบบเทคนิคการใช้โปรแกรมการออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิกได้จากเว็บไซต์ต่าง ๆ เพื่อ นามาประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์งาน
  • 23. 2) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 100201 อารยธรรมไทยกับภูมิปัญญาท้องถิ่น 3(3-0-6) (Thai Civilization and Local Wisdom) ความเป็นมาของชนชาติไทย การตั้งถิ่นฐานสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัย ประวัติศาสตร์ แหล่งโบราณคดีต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อสังคมวัฒนธรรมไทย อาณาจักรโบราณ อาณาจักรไทย ประเพณีไทย มารยาทไทยและศาสนพิธีที่คนในสังคมต้องปฏิบัติ เอกลักษณ์ด้านศิลปะวัฒนธรรมไทย ประติมากรรมสมัยต่าง ๆ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการเปลี่ยนแปลงสังคมไทยในปัจจุบันสู่การพัฒนาประเทศ แบบยั่งยืน 100202 มนุษย์กับหลักจริยธรรมเพื่อการดาเนินชีวิต 3(3-0-6) (Human and Morality for Living) แนวคิด ความเป็นมาเกี่ยวกับปรัชญา ประเภทของปรัชญาที่มีอิทธิพลต่อการดารงชีวิต ทฤษฎีทางหลักจริยศาสตร์ จริยธรรม จริยธรรมตามแนวศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์ การพัฒนาทักษะชีวิต การครองตน ครองคน ครองงาน กระบวนการแสวงหาความรู้ การพัฒนาปัญญา เพื่อการดารงอยู่ในสังคมอย่างมีความสุขและสันติสุขโดยการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาดาเนิน ชีวิตแบบยั่งยืนและมีความสุข 100203 อาเซียนศึกษา 3(3-0-6) (ASEAN Studies) วิวัฒนาการ การรวมตัวของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สู่การพัฒนาการมา เป็นสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations) โครงสร้าง ของอาเซียน กลไกขับเคลื่อน เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ศึกษาประเพณี วัฒนธรรม ภาษา รูปแบบการปกครอง ของชาติสมาชิก ความร่วมมือการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางบกเชื่อมเป็นเครือข่ายเส้นทางสายไหมใหม่ (One Belt One Road) เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ตามองค์ประกอบของประเทศ ผู้ร่วมเจรจา ผลดี ผลกระทบ การปรับตัวสู่วิถีแห่งอาเซียน 100204 ทักษะการรู้สารสนเทศและการศึกษาค้นคว้า 3(3-0-6) (Information Literacy and Study Skills) แนวคิดและหลักการเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสารสนเทศและการสื่อสาร กฎหมาย และจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การใช้แหล่งสารสนเทศ ทักษะการสืบค้น สารสนเทศ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นคว้า การรวบรวม การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมินสารสนเทศ การเรียบเรียงและการอ้างอิงตามรูปแบบมาตรฐาน การรู้เท่าทันสื่อ การประยุกต์ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์นาเสนอสารสนเทศอย่างสร้างสรรค์
  • 24. 100205 ทักษะชีวิตและการศึกษาในมหาวิทยาลัย 3(3-0-6) (Life Skill and University Learning) หลักการและกระบวนการคิดของมนุษย์ ฝึกการคิดวิเคราะห์ตนเอง เพื่อเกิดการ เปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น ดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระบบการเรียนในมหาวิทยาลัย กิจกรรมนักศึกษาแนวสร้างสรรค์และสามารถบูรณาการศาสตร์ต่าง ๆ เพื่อพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาภายใน มหาวิทยาลัย ชุมชนรอบมหาวิทยาลัย และสังคมได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 100206 การต่อต้านการทุจริต 3(3-0-6) (Anti - Corruption) การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอาย และความไม่ทนต่อการทุจริต รู้หน้าที่ของพลเมืองและรับผิดชอบต่อสังคมในการต่อต้านการทุจริตและ STRONG : จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต ความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ เจตคติด้านการป้องกันการทุจริต การ ป้องกันและวิธีต่อต้านการทุจริต แนวทางในการพัฒนาตนเองเพื่อหลีกเลี่ยงการทุจริต องค์กรที่เกี่ยวข้องกับ การปราบปรามการทุจริต 100207 ความงดงามแห่งชีวิต 3(3-0-6) (Beauty of Life) ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคุณค่าและความงามท่ามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม การรับรู้คุณค่า การสัมผัสความงามและการแสดงออกทางอารมณ์ของมนุษย์ การรับรู้ และการเรียนรู้เกี่ยวกับคุณค่าและความงามในด้านต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการดารงชีวิตมนุษย์ ชีวิตกับความงามใน ด้านศิลปะ ดนตรี วรรณกรรม ความงามในธรรมชาติรอบตัวมนุษย์ ความงดงามของชีวิตที่เกิดจากการให้ 100208 หมากล้อมกับการพัฒนาแนวคิดทางธุรกิจ 3(3-0-6) (GO and Business Concept Development) ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของหมากล้อม กฎ กติกา มารยาท วัตถุประสงค์พื้นฐานของการเล่นหมากล้อม ทักษะทางปัญญา 11 ประการ บัญญัติ 10 ประการ เทคนิคในการ เล่นของหมากล้อมแบบต่าง ๆ การแก้ปัญหาระหว่างเกม กระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์เพื่อสร้างความ ได้เปรียบในการแข่งขัน การสร้างและพัฒนาทักษะการคิดเชิงกลยุทธ์แบบเป็นเหตุเป็นผล คุณค่าของหมาก ล้อมและการนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
  • 25. 100209 การคิดเชิงออกแบบ 3(3-0-6) (Design Thinking) แนวคิดและหลักการของการคิดเชิงออกแบบ กระบวนการคิดเชิงออกแบบ การฝึกปฏิบัติ การคิดเชิงออกแบบโดยบูรณาการหลายสาขาวิชาเพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาในการออกแบบการพัฒนาต้นแบบ (Prototype) การทดสอบแนวคิด (Test) การบูรณาการการคิดเชิงออกแบบในการแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน 100210 โคราชศึกษา 3(3-0-6) (Korat Studies) ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ของเมืองโคราชหรือจังหวัดนครราชสีมา บุคคลสาคัญ การเปลี่ยนแปลงทางภูมิศาสตร์ สังคม การเมืองการปกครองและระบบราชการ เศรษฐกิจและการพาณิชย์ ธุรกิจในอดีตถึงปัจจุบัน พลวัตและวิถีชีวิต การประกอบอาชีพ โบราณสถานและโบราณวัตถุ ภาษา วัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญา การแสดงเทคโนโลยีและนวัตกรรมในภูมิสังคมท้องถิ่น บทบาท ความสาคัญของจังหวัด นครราชสีมาที่มีต่อภาคตะวันออกเฉียงเหนือและต่อประเทศ 3) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 100301 มนุษย์ สังคม และการปกครอง 3(3-0-6) (Man Society and Government) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมวิทยาและมนุษย์วิทยา วิวัฒนาการทางสังคม การปรับตัว ของมนุษย์อันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยี ปัญหาสังคมและแนว ทางแก้ไขให้สอดคล้องกับสภาพสังคม การกาเนิดรัฐภายใต้ระบอบการเมืองการปกครองแบบต่าง ๆ การพัฒนาสังคม การปกครองไทยตั้งแต่สมัยอาณาจักรสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน จากรูปแบบการปกครองตาม ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชสู่การพัฒนาตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขภายใต้ เงื่อนไขในการปฏิรูปสู่การเปลี่ยนแปลงของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 100302 จิตวิทยาในชีวิตประจาวัน 3(3-0-6) (Psychology in Daily Life) ความหมาย และจุดมุ่งหมายของจิตวิทยา กลุ่มแนวคิดและทฤษฎีทางจิตวิทยา จิตวิทยา กับการเข้าใจตนเอง ได้แก่ นิสัยและการพัฒนาตนเอง บุคลิกภาพ ตัวตน แรงจูงใจ อารมณ์ สุขภาพและการ ผ่อนคลาย บทบาททางเพศและพฤติกรรมทางเพศ และการควบคุมตนเอง จิตวิทยากับการเข้าใจผู้อื่น ได้แก่ มนุษย์สัมพันธ์และมิตรภาพ ความรักและชีวิตคู่ และความสัมพันธ์ในครอบครัว และจิตวิทยากับสังคม ได้แก่ อิทธิพลทางสังคม และ การทางานกลุ่ม
  • 26. 100303 สังคมและวัฒนธรรมไทย 3(3-0-6) (Thai Society and Culture) แนวความคิดพื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมไทยภายใต้อิทธิพลของความ หลากหลายตามความเชื่อทางศาสนา ค่านิยมของสังคมไทยที่มีการเปลี่ยนตามกระแสสังคมโลก ผลกระทบต่อ ขนบธรรมเนียมประเพณี การทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ปัญหาสังคม กระแส การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก สังคมไทย การพัฒนาสังคมและวัฒนธรรมไทยสู่ความยั่งยืน 100304 สิทธิมนุษยชนกับความเป็นพลเมือง 3(3-0-6) (Human Rights and Citizenship) แนวคิดสิทธิมนุษยชน บทบาทและการพัฒนาของสิทธิมนุษยชนระดับสากลและสังคมไทย มโนทัศน์เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน นโยบายการพัฒนาของรัฐที่ส่งผลต่อสิทธิมนุษยชน แนวคิดทางด้านคุณธรรม จริยธรรมและความรับผิดชอบทางสังคมของบุคลากรภาครัฐ การปฏิบัติตนตามหลักธรรมมาภิบาล ประเด็น ปัญหาทางจริยธรรมในยุคโลกาภิวัตน์ ผลกระทบทางสังคม แนวทางการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับประเด็นดังกล่าว 100305 การรู้ทันสื่อและการสื่อสารในสังคมดิจิทัล 3(3-0-6) (Media Literacy and Communication in Digital Society) ความสาคัญของการรู้ทันสื่อในข้อมูลข่าวสาร ผลกระทบจากสื่อ ทักษะและ องค์ประกอบการวิเคราะห์สื่อ หลักการรับและเข้าถึงข้อมูลข่าวสารจากสื่อทุกประเภท กระบวนการเลือก เปิดรับสื่อ การตรวจสอบสื่อการวิเคราะห์ และประเมินคุณค่าเนื้อหาสื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด หลักการ หลีกเลี่ยงสื่อที่ก่อโทษ ต่อตน และผลของสื่อที่มีต่อ การเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ในรูปแบบต่าง ๆ กฎหมายที่เกี่ยวข้องการใช้สื่อ 100306 ชีวิตวิถีใหม่กับการเปลี่ยนแปลงของโลก 3(3-0-6) (New Normal of Living and Global Changes) หลักการและแนวทางในการดาเนินชีวิตวิถีใหม่ที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของโลก การดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การเรียนและการทางานที่สอดคล้องกับ การเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์โลก การดูแลสุขอนามัยตนเอง การจัดการการเงินอย่างเป็นระบบ การดาเนินการทางธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ กฎหมายควรรู้ยุคใหม่ กิจกรรมเพื่อสังคม การพักผ่อนแบบ สร้างสรรค์ การทางานอย่างสร้างสรรค์ การเรียนรู้และพัฒนาตนเองแบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต
  • 27. 100307 การพัฒนาทักษะความเป็นผู้นา 3(3-0-6) (Leadership Skill Development) ทักษะการวางแผน การทางานการเป็นทีม การเจรจาและประสานงานกับบุคคล ภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม คุณลักษณะของผู้นา จริยธรรมของผู้นา ทักษะการเป็นผู้นาเชิงสร้างสรรค์ การ ประเมินผลและตัดสินใจในงาน ความยืดหยุ่นและปรับตัวในสถานการณ์ต่าง ๆ การพัฒนาเสริมสร้าง บุคลิกภาพเชิงองค์รวม ทางร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตวิญญาณ ทักษะการแสดงออกอย่างเหมาะสมกับสังคม ความฉลาดทางอารมณ์ การจัดการความเครียด การสร้างความมั่นคงทางอารมณ์ การเข้าใจตนเอง การปรับตัว เมื่อต้องเผชิญกับสถานการณ์ที่ไม่คุ้นเคยทั้งด้านบวกและด้านลบที่ส่งผลต่อจิตใจ อารมณ์และการแสดงออก ภายนอก 100308 เศรษฐศาสตร์เพื่อการดาเนินชีวิตอย่างมีความสุข 3(3-0-6) (Economics for Well Living) แนวคิดและหลักการเบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์ บทบาททางเศรษฐศาสตร์ตลอดจน ประเด็นร่วมสมัยทางเศรษฐศาสตร์ที่สาคัญกับการดาเนินชีวิตประจาวันที่ดีมีสุขของมนุษย์ในสังคม เศรษฐศาสตร์ระดับครัวเรือน ชุมชน และสังคม การนาหลักการเบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์ต่าง ๆ ประยุกต์ใช้ ร่วมกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อใช้ในการตัดสินใจในการเป็นผู้บริโภคอย่างมีเหตุผลหรือผู้ประกอบการ โดยคานึงถึงความรับผิดชอบ ที่มีต่อสังคมเพื่อให้ครัวเรือน ชุมชน และสังคมอยู่ร่วมกันได้อย่างมีสุข 100309 กฎหมายเบื้องต้นเพื่อการดาเนินชีวิตในสังคมสมัยใหม่ 3(3-0-6) (Introduction to Law in Modern Society) ความสัมพันธ์ระหว่างสังคมกับกฎหมายที่มีผลต่อการดาเนินชีวิต แนวทางปฏิบัติตาม กฎหมายอย่างถูกต้อง กฎหมายเกี่ยวกับการทานิติกรรมสัญญา การซื้อขาย กู้ยืมเงิน การค้าประกัน และธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ กฎหมายเกี่ยวกับครอบครัวและมรดก ความรับผิดทางกฎหมายอาญา ในชีวิตประจาวัน กฎหมายจราจร กฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และสื่อสังคมออนไลน์ หน้าที่ของประชาชนที่ มีต่อรัฐ วิธีปฏิบัติเมื่อเกิดข้อพิพาททางแพ่ง อาญา และปกครอง รวมทั้งการติดต่อหน่วยงานราชการเพื่อขอรับ สิทธิประโยชน์และสวัสดิการจากรัฐ 100310 ศิลปะและจิตวิทยาการสื่อสาร 3(3-0-6) (Arts and Psychology of Communication) ทฤษฎี แนวคิด และหลักการทางด้านศิลปะและจิตวิทยาเพื่อการงานสื่อสารมวลชน โดย ประยุกต์ทฤษฎี แนวคิดและหลักการศิลปะการพูด ศิลปะการถ่ายภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว ศิลปะการ ออกแบบเข้าร่วมกับแนวคิดทฤษฎีจิตวิทยาสังคมเบื้องต้น จิตวิทยาบุคลิกภาพและการปรับตัว จิตวิทยาการ เรียนรู้ ฯลฯ มาใช้อย่างผสมผสานเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน