SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  15
Télécharger pour lire hors ligne
1




                            รายงาน
                     เรื่อง Google Android




                             เสนอ

                     อาจารย ธนิต เกตุแกว




                           จัดทําโดย

            นาย ปยะณัฐ แยบคาย       รหัส 50523206013-5
            นาย ศุภรักษ สมศรี       รหัส 50523206025-9
                          วศ.บ.คพ. 3




 รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชา Operation System (04-720-302)
   คณะวิชา วิศวกรรมศาสตร สาขาวิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เขตพื้นที่ภาคพายัพ เชียงใหม
             ประจําภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2552
2



                                            คํานํา

        ในปจจุบันระบบปฏิบัติการไมไดมีจํากัดเพียงแคเครื่องคอมพิวเตอรเทานั้น แตยังรวมไปถึง
อุปกรณในหลายๆประเภทเชน โทรศัพทมือถือ ซึ่งกําลังไดรับความนิยมเพิ่มมากขึ้น โดยใน
โทรศัพทมือถือไดมีการพัฒนาความสามารถใหมๆเขาไปอยางมากมาย เชน กลองดิจิตอล ระบบ
Touchscreen นั่นเปนเหตุผลวาทําไม จึงไดมีการสรางระบบปฎิบัติการขึ้น นั่นก็เพราะเมื่อมี
อุปกรณและความสามารถที่เพิ่มมากขึ้น ก็จําเปนตองมีระบบเขามาบริหารจัดการเพื่อเพื่อ
ประสิทธิภาพในการใชงาน
        อยางไรก็ตาม ระบบปฎิบัติการในโทรศัพทไดมีการพัฒนาขึ้นมาจากหลายๆบริษัท เชน
Symbian ,Windows Phone แตที่กําลังไดรับความสนใจมากคือ Google Android เพราะเปน
OpenSource ที่แจกจายได สามารถนําไปพัฒนาแกไขได บริษัทชั้นนําตางๆก็ไดเริ่มผลิตและ
จําหนายโทรศัพท Android กันมาบางแลว นั่นก็เพราะไมตองเสียคาลิขสิทธิ์และยังสามารถนํามา
พัฒนาใหอยูในรูปแบบที่ตองการไดดวย
        ดังนั้น การศึกษาระบบ Android นั้นจึงเปนสิ่งสําคัญ เพื่อใหทราบถึงขอมูลตางๆที่เปน
ประโยชน ทั้งการนําไปพัฒนาหรือเพื่อรับทราบขาวสารใหทันตอเทคโนโลยีที่จะเกิดขึ้นตอไปใน
อนาคต
                                                                          ผูจัดทํา
                                                                  นาย ปยะณัฐ แยบคาย
                                                                  นาย ศุภรักษ สมศรี
3



                                    สารบัญ
                                             หนา

Google Android
คํานํา                                       1
สารบัญ                                       2

รูจักกับ Android                            4
ลักษณะพิเศษของ Android                       6
คุณสมบัติทั่วไปของ Android                   7
สถาปตยกรรมบน Android                        8
          - Application                      8
          - Application Framework            9
          - Libraries                        9
          - Android Runtime                  10
          - Linux Kernel                     10
Android เวอรชั่นตางๆ                       13

เอกสารอางอิง                                15
4



รูจักกับ Android




        Android คือแพลตฟอรมใหมสําหรับโทรศัพทมือถือและอุปกรณพกพา ซึ่งประกอบดวย
ระบบปฏิบัติการ ไลบรารี เฟรมเวิรค และซอฟตแวรอื่นๆ ที่จําเปนในการพัฒนา มันเทียบเทากับ
Windows Mobile, Palm OS, Symbian, OpenMoko และ Maemo ของโนเกีย โดยจับตลาดมือ
ถือรุนใหมๆ ความสามารถสูงๆ (ซึ่งเกิดจากการกระตุนตลาดของ iPhone) ถึงจะเปนแพลตฟอรม
ใหม แต Android ก็ใชองคประกอบที่เปนโอเพนซอรสหลายอยาง เชน Linux Kernel, SSL,
OpenGL, FreeType, SQLite, WebKit และเขียนไลบรารี+เฟรมเวิรคของตัวเองเพิ่มเติม ซึ่ง
ทั้งหมดจะเปนโอเพนซอรส (ใช Apache License) Google Android พัฒนาโดยบริษัทกูเกิล และ
Open Handset Alliance ทางกูเกิลไดเปดใหนักพัฒนาสมามารถแกใขโคตตางๆ ดวยภาษาจาวา
และควบคุมอุปกรณผานทางชุด Java libraries ที่กูเกิลพัฒนาขึ้น แอนดรอยดไดเปนที่รูจักตอ
สาธารณชนเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 โดยทางกูเกิลไดประกาศกอตั้ง Open Handset
Alliance กลุมบริษัทฮารดแวร, ซอฟตแวร และการสื่อสาร 48 แหง ที่รวมมือกันเพื่อพัฒนา
มาตราฐานเปด สําหรับอุปกรณมือถือ ลิขสิทธิ์ของโคดแอนดรอยดนี้จะใชในลักษณะของซอฟตแวร
เสรี
5




                      รูปแสดงโทรศัพทมือถือ HTC Hero ที่ใช Android

         จุดเดนของ Android นั้นอยูที่การออกแบบระบบปฏิบัติการมาใหมีความสามารถได
ใกลเคียงกับคอมพิวเตอรพกพาขนาดยอมที่ทํางานไดบนโทรศัพทมือถือ โดยยังคงเรื่องความ
คลองตัวในการใชงานที่คอนขางมาก นอกจากนี้ Google Android นั้นเปนแบบระบบเปด คือ เปด
โอกาสใหบริษัทและนักพัฒนาสามารถมีสวนรวมในการสรางระบบปฏิบัติการได ดวย และยังไม
จํากัดการใชงานเฉพาะบนโทรศัพทมือถือจากคายใดคายหนึ่ง นั่นทําใหเราจะไดเห็น Androidจาก
ผูผลิตโทรศัพทมือถือเกือบทุกราย ตางจาก Apple iPhone หรือ BlackBerry ที่ใชระบบปด ทําใหมี
โทรศัพทมือถือออกมาจากคายใดคายหนึ่งเพียงคายเดียว




            รูปแสดง Android Emulator ในหนา home screen. ซึ่งอยูในชุด SDK
6



ลักษณะพิเศษของ Android
1. Open
Android SDK เปดโอกาสใหนักพัฒนาสามารถเขาถึง Core Function ในการใชงานโทรศัพทได
อยางเต็มรูปแบบเชน การโทรออก, สง SMS, หรือใชงานกลอง Android นั้น Run บน Virtual
Machine ที่มีชื่อวา Dalvik สวน runtime จริง ๆ ก็คือ Linux Kernel ที่สําคัญ Android เปน Open
Source ซึ่งอาจจะทําใหเกิดความเปลี่ยนแปลงใน Technology ของโทรศัพทมือถือขึ้นได
2. All applications are created equal
จากเหตุผลขางตนทําให Core Application ของโทรศัพท หรือพวก 3rd Party App จะสามารถใช
งานไดไมตางกัน เนื่องจาก SDK ที่ 'Open' ใหเขียนโปรแกรมเรียกการทํางาน Core Function ได
ในมุมมอง User ก็จะได ผลประโยชนมากขึ้น ยกตัวอยางเชน User สามารถใช 3rd Party
Application ในการ call แต Application นั้นมี Interface สวยงาม สามารถเลือก wallpaper ได
ตามใจชอบได ซึ่งตางจาก Core Application ที่อาจจะซ้ําซากจําเจ นาเบื่อ เปนตน
3. Breaking down application boundaries
Android ไดทลายกําแพงในการพัฒนา Software ซึ่งกอใหเกิดนวัตกรรมใหม ๆ ในการพัฒนา
Software เชน Developer สามารถเขียน Program ดึงรายชื่อ Contract ใน Web, MSN มารวม
กับใน Contract List ของโทรศัพทได หรือจะใชโทรศัพทในการดูตําแหนงที่เพื่อน ๆ อยูได
4. Fast & easy application development
Android ไดเตรียม lib & tool ในการพัฒนา Application ไวอยางมากมายยกตัวอยางเชน
การ Connect กับอีกเครื่องนึงแบบ peer-to-peer ซึ่งสิ่งตาง ๆ เหลานี้ทําใหการพัฒนา
Application บน Android สามารถทําไดงายและรวดเร็ว
7



คุณสมบัตทั่วไปของ Android
          ิ
ประเภท : Free and open source software
แพลตฟอรมที่สนับสนุน :
- ARM (Advanced RISC Machine) เปน หนวยประมวลผล 32 bit แบบ RISC ถูกนําไปใชบน
อุปกรณพกพาเชน โทรศัพทมือถือ PDA SmartPhone ผลิตโดย ARM Limited
- MIPS (Microprocessor without Interlocked Pipeline Stages) เปน หนวยประมวลผล 32 bit
แบบ RISC ผลิตโดย MIPS Computer Systems (ปจจุบันคือ MIPS Technologies)
- Power Architecture เปน หนวยประมวลผล 32 bit แบบ RISC ผลิตรวมโดย IBM, Freescale,
AMCC, Tundra และ P.A. Semi ซึ่งเปนผูผลิต PowerPC
- x86 เปน หนวยประมวลผล 32 bit แบบ CISC เปนสถาปตยกรรมที่ไดรับความนิยมมากที่สุดใน
ตลาดคอมพิวเตอรเดสกท็อป,โนตบุคและเซิรฟเวอรขนาดเล็ก ซึ่งก็คือ CPU จาก Intel, AMD, VIA
และอื่นๆ
เว็บบราวเซอร :ใช WebKit application framework. ซึ่งเปน OpenSource
การแสดงผล : ใชงานระบบ VGA, 2D graphics library สวน 3D graphic Library ใช OpenGL ES
1.0
การจัดเก็บขอมูล : SQLite สําหรับเก็บขอมูล
การสนับสนุน Java : Software จะเขียนดวยภาษา Java และถูกคอมไพลดวย Dalvik virtual machine
ระบบ Media : รองรับไฟล เพลง, วิดิโอ, หรือ ภาพนิ่ง เชน H.263, H.264 (ใน 3GP หรือ MP4
container), MPEG-4 SP, AMR, AMR-WB (ใน 3GP container), AAC, HE-AAC (ใน MP4 หรือ
3GP container), MP3, MIDI, OGG Vorbis, WAV, JPEG, PNG, GIF, BMP
การเชื่อมตอ : รองรับระบบ GSM/EDGE, CDMA, EV-DO, UMTS, Bluetooth, และ Wi-Fi.
ขอความ : รองรับ SMS และ MMS และระบบอื่นๆที่เกี่ยวของกับการสงขอความ
Hardware อื่นๆที่สนับสนุน : กลองวิดีโอ,กลองภาพนิ่ง, Touchscreens,GPS,
accelerometers,magnetometers,accelerated 2D bitblits (with hardware
orientation,scaling,pixel format conversion) และ accelerated 3D graphics.
คุณสมบัติอื่นๆ : มีระบบ Device Emulator สําหรับนักพัฒนา ,Plugin สําหรับ Elipse IDE
8



สถาปตยกรรมของ Android
จากรูป Android จะประกอบดวย องคประกอบหลักอยู 5 สวน ดังนี้




                              รูปแสดงสถาปตยกรรม Android


1. ซอฟแวรทั่วไป (Applications)



      อุปกรณพกพาที่ติดตั้ง Android จะมาพรอมโปรแกรมหลักที่ไวใชงานทั่วไป เชน โปรแกรม
รับสงอีเมล, SMS, ปฏิทิน, แผนที,่ Browser (ใช WebKit เปน Engine) เครื่องมือจัดการสมุด
โทรศัพท และโปรแกรมหลักอื่นๆ
9



2. เฟรมเวิรค (Application Framework)




      นักพัฒนาสามารถพัฒนาโปรแกรมบน Android โดยใชภาษา Java ผานทาง API
(Application Programming Interface) โดยสามารถเขาถึงระบบและขอมูลตางๆ ที่อยูบน
Android ดังนี้
        - Views ประกอบดวย UI ชนิดตางๆ ที่ใชในการพัฒนาโปรแกรม เชน lists, grids, text
boxes, buttons รวมไปถึง Event และเว็บบราวเซอร
        - Content Provider โปรแกรมที่พฒนาบน Android จะสามารถสงขอมูลถึงกันผานทาง
                                      ั
Content Provider เชน เราสามารถพัฒนาโปรแกรมเพื่อไปดึงขอมูลรายชื่อที่อยูใน Contacts ได
        - Resource Manager เปนตัวจัดการเรื่องรูปภาพ, Localized strings และขอมูลอื่นๆ ที่
นอกเหนือจาก Code ของโปรแกรม
        - Activity Manager นักพัฒนาสามารถสราง Custom Alert และสงไปแสดงผลที่ Status
Bar โดยผาน Activity Manager
        ทั้งหมดนั้นทําใหนักพัฒนาโปรแกรมมีสิทธิอยางเต็มที่ในการเขาถึง Application
Framework และทําใหสามารถใชประโยชนจากการประมวลผลและความสามารถอื่นๆ เพื่อสราง
Android Application ที่มีความหลากหลายมากขึ้นได
3. ชุดพัฒนา (Libraries)




     Android Libraries ประกอบดวยชุดพัฒนาของ C/C++ อื่นๆ ที่สามารถใชงานผานทาง API
ของเฟรมเวิรคที่ Android ไดจัดไวให (API เปนภาษา Java)
       - System C Library ไลบรารีมาตรฐานของ C (C system library) ปรับปรุงพิเศษสําหรับ
อุปกรณที่รันบน Linux
10



        - Media Library โดย Android สรับสนุนการใชงานไฟลฟอรแมตตางๆ เชน MPEG4,
H.264, MP3, AAC, AMR, JPG และ JPG
        - Surface Manager เปนตัวจัดการระบบแสดงผล และควบคุมบนจอภาพ
        Libraries อื่นๆ เชน 3D Acceleration Library ที่ใชในการควบคุมอุปกรณที่มี
        Accelerometer เปนตน
4. รันไทม (Android Runtime)




       ถึงแมวาโปรแกรมบน Android จะพัฒนาโดยใชภาษา Java แต Google กลับไมเลือกที่ใช
Java Virtual Machine ของ Sun Microsystem ในการรันโปรแกรม แตกลับพัฒนา Dalvik Virtual Machine ที่
มีพื้นฐานจาก Apache Harmony ขึ้นมาใชเอง โดย Google อางวา Dalvik ไดรับการปรับปรุงในเรื่อง
Memory เพื่อใหเหมาะกับการใชงานบนโทรศัพทมือถือ และอนุญาติให VM หลายๆ ตัวรันพรอม
กันไดเพื่อใหโปรแกรมทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น
       โปรแกรมที่ถูกพัฒนา เมื่อ Compile เปนไบโคด (.class) แลว จําเปนตองผานการแปลงให
เปนไฟล (.dex) ดวยตัวแปลง "dx" เพื่อให สามารถรันบน Dalvik Virtual Machie ได



5. ลินุกสเคอรแนล (Linux Kernel)




       Android พัฒนาบน Linux Kernel 2.6 ซึ่งเปนสวนที่สําคัญของระบบ Android และเปน
แกนหลักของการทํางานทั้งหมด โดยภายในเคอรเนล จะประกอบไปดวยโมดูล (Module) ตางๆ
และบางครั้งเราอาจจะเรียกโมดูลเหลานี้วา ไดรเวอร (Driver) ซึ่งมีหนาที่เปนตัวกลางในการ
ติดตอกันระหวางแอพพลิเคชันหรือ ระบบปฏิบัติการกับอุปกรณฮารดแวรทั้งหมด ทั้งภายในและ
นอก อีกทั้งยังจัดการ ประสานงานกับระบบตางๆ เชนระบบความปลอดภัย (Security), ระบบการ
11



จัดการ Memory, ระบบการจัดการ process , ระบบเนตเวิรค (network stack) อยางมี
ประสิทธิภาพ ใน Linux Kernel ที่ใชใน Android จะประกอบไปดวย
        - Display Driver
        - Camera Driver
        - Flash Memory Driver
        - Binder (IPC) Driver
        - Keypad Driver
        - WiFi Driver
        - Audio Driver
        - Power management
จะสังเกตไดวาภายใน Kernel นั้นจะมี Driver ที่ใชในการควบคุมการทํางานของอุปกรณตางๆ โดย
ที่สามารถทํางานไดกับอุปกรณหลายรุน หลายผูผลิต
12




สําหรับ Linux Kernel ที่ใชเปนชนิด Monolithic Kernel




          Monolithic Kernel เปนสถาปตยกรรมที่ระบบปฏิบัติการจะทํางานภายใน Kernel Space
(พื้นที่สงวนที่ใชรันคําสั่งของ Kernel มีไวเพื่อให Kernel สามารถทํางานไดอยางตอเนื่อง) และ
ทํางานบน Supervisor mode
          Monolithic Kernel แตกตางจากสถาปตยกรรมอื่นๆ คือ Monolithic Kernel จะกําหนด
Virtual Interface ระดับสูงซึ่งสูงกวาอุปกรณคอมพิวเตอรกับ system calls (โปรแกรมยอยทํา
หนาที่ในการติดตอระหวางระบบปฏิบัติการกับการโปรแกรมของผูใชหรือกระบวนการที่เกิดขึ้น)
เพื่อใหใช Service ทั้งหมดของระบบปฏิบัติการ เชน Process Management(ระบบจัดการโพ
รเซส), Concurrency(ประมวลผลหลายๆงานไปไดพรอมกัน), Memory Management(ระบบ
จัดการหนวยความจํา) ดวยตัวเองและหนึ่งหรือหลายๆ ก็คือ Module
          สถาปตยกรรม Monolithic Kernel ถูกใชใน Linux, Unix(BSD,Solaris,Slaxware),
DOS,Windows 9x-ME, MacOS 8.6
13




                             Android เวอรชั่นตางๆ




                 On 30 April 2009, the official 1.5 (Cupcake) update for Android was
                 released. There are several new features and UI updates included
                 in the 1.5 update:

                       Ability to record and watch videos with the camcorder mode
                       Uploading videos to YouTube and pictures to Picasa
1.5 (Cupcake)           directly from the phone
                       A new soft keyboard with an "Autocomplete" feature
                       Ability to automatically connect to a Bluetooth headset
                        within a certain distance
                       New widgets and folders that can populate the desktop
                       Animations between screens
                       Expanded ability of Copy and paste to include web pages

                 On 15 September 2009, the 1.6 (Donut) SDK was released.
                 Included in the update are:

                       An improved Android Market experience.
                       An integrated camera, camcorder, and gallery interface.
1.6 (Doughnut)         Gallery now enables users to select multiple photos for
                        deletion.
                       Updated Voice Search, with faster response and deeper
                        integration with native applications, including the ability to
                        dial contacts.
                       Updated search experience to allow searching bookmarks,
14



                      history, contacts, and the web from the home screen.
                     Updated Technology support for CDMA/EVDO, 802.1x VPN,
                      Gestures, and a Text-to-speech engine
                     Speed improvements for searching, the camera

               On 26 October 2009 the 2.0 (Eclair) SDK was released. Among the
               changes are:

                     Optimized hardware speed
                     "Car Home" app
                     Support for more screen sizes and resolutions
                     Revamped UI
                     New browser UI
2.0 (Eclair)         New contact lists
                     Better white/black ratio for backgrounds
                     Improved Google Maps 3.1.2
                     Microsoft Exchange support
                     Built in flash support for Camera
                     Digital Zoom
                     Improved virtual keyboard
                     Bluetooth 2.1
15



เอกสารอางอิง

ยินดีตอนรับสู ThaiAndroidClub.com
http://www.thaiandroidclub.com/

Thailand Android Community : สังคมชาว Android
http://www.siamandroid.com/forum/

DroidSans :: Thailand Android Developer Community
http://www.droidsans.com/

รูจักกับ Google Android
http://www.siamandroid.com/forum/index.php?topic=19.0

Android (operating system)
http://en.wikipedia.org/wiki/Android_%28operating_system%29

รูจักกับ Android
http://siamdepot.com/index.php?option=com_content&view=article&id=22:what-is-
android&catid=10:android-toturial&Itemid=90

Contenu connexe

Tendances

การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5Puet Mp
 
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6teerachon
 
โครงการปันรัก
โครงการปันรักโครงการปันรัก
โครงการปันรักkessara61977
 
โครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการโครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการThanapon Seadthaisong
 
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3Nattipong Siangyen
 
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้าสังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้าNoTe Tumrong
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ ม.4-5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ ม.4-5สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ ม.4-5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ ม.4-5kessara61977
 
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้นแบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้นChamp Woy
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานpam123145
 
การสร้าง App ด้วยมือถือ
การสร้าง App ด้วยมือถือการสร้าง App ด้วยมือถือ
การสร้าง App ด้วยมือถือJaemjan Sriarunrasmee
 
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะโครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะPoramate Minsiri
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
การเขียนจดหมายธุรกิจ
การเขียนจดหมายธุรกิจการเขียนจดหมายธุรกิจ
การเขียนจดหมายธุรกิจPat Ninlawan
 
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลสรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลHappy Sara
 

Tendances (20)

การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
 
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
การใช้โทรศัพท์ของนักเรียนสตรีวัดมหาพฤฒารามชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
 
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
 
โครงการปันรัก
โครงการปันรักโครงการปันรัก
โครงการปันรัก
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการโครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการ
 
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3
ตัวอย่างรูปเล่มวิชาโครงงาน ม.3
 
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้  ชุดการสอนที่ 8
ศูนย์สำรอง เกมปริศนาอักษรไขว้ ชุดการสอนที่ 8
 
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้าสังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้า
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ ม.4-5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ ม.4-5สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ ม.4-5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ ม.4-5
 
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้นแบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
การสร้าง App ด้วยมือถือ
การสร้าง App ด้วยมือถือการสร้าง App ด้วยมือถือ
การสร้าง App ด้วยมือถือ
 
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะโครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
การเขียนจดหมายธุรกิจ
การเขียนจดหมายธุรกิจการเขียนจดหมายธุรกิจ
การเขียนจดหมายธุรกิจ
 
M6 126 60_9
M6 126 60_9M6 126 60_9
M6 126 60_9
 
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูลสรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
สรุปอินเตอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
 

Similaire à รายงาน Google Android - Know2pro.com

เอกสารประกอบการอบรม Adroidpdf
เอกสารประกอบการอบรม Adroidpdfเอกสารประกอบการอบรม Adroidpdf
เอกสารประกอบการอบรม AdroidpdfWeerachat Martluplao
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ jamiezaa123
 
Onettemplate
OnettemplateOnettemplate
Onettemplatechycindy
 
Android and ระบบประฏิบัติการ
Android and ระบบประฏิบัติการAndroid and ระบบประฏิบัติการ
Android and ระบบประฏิบัติการjamiezaa123
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
Software
SoftwareSoftware
Softwaresa
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์BooBoo ChillChill
 
การแต่งรูปโดยใช้โปรแกรมAdobe Photoshop CS5บทที่2
การแต่งรูปโดยใช้โปรแกรมAdobe Photoshop CS5บทที่2การแต่งรูปโดยใช้โปรแกรมAdobe Photoshop CS5บทที่2
การแต่งรูปโดยใช้โปรแกรมAdobe Photoshop CS5บทที่2alker Mutt
 
ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)Sirinat Sawengthong
 
เปรียบเทียบระบบปฏิบัติการ
เปรียบเทียบระบบปฏิบัติการเปรียบเทียบระบบปฏิบัติการ
เปรียบเทียบระบบปฏิบัติการTKAomerz
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4ratiporn555
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4niramon_gam
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์prakaipet
 

Similaire à รายงาน Google Android - Know2pro.com (20)

เอกสารประกอบการอบรม Adroidpdf
เอกสารประกอบการอบรม Adroidpdfเอกสารประกอบการอบรม Adroidpdf
เอกสารประกอบการอบรม Adroidpdf
 
Android report
Android reportAndroid report
Android report
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ
 
Jamie
JamieJamie
Jamie
 
13510163
1351016313510163
13510163
 
Onettemplate
OnettemplateOnettemplate
Onettemplate
 
Ch04 slide
Ch04 slideCh04 slide
Ch04 slide
 
Android and ระบบประฏิบัติการ
Android and ระบบประฏิบัติการAndroid and ระบบประฏิบัติการ
Android and ระบบประฏิบัติการ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
5
55
5
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การแต่งรูปโดยใช้โปรแกรมAdobe Photoshop CS5บทที่2
การแต่งรูปโดยใช้โปรแกรมAdobe Photoshop CS5บทที่2การแต่งรูปโดยใช้โปรแกรมAdobe Photoshop CS5บทที่2
การแต่งรูปโดยใช้โปรแกรมAdobe Photoshop CS5บทที่2
 
ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)ซอพต์แวร์(Software)
ซอพต์แวร์(Software)
 
Chapter6 software
Chapter6 softwareChapter6 software
Chapter6 software
 
2
22
2
 
เปรียบเทียบระบบปฏิบัติการ
เปรียบเทียบระบบปฏิบัติการเปรียบเทียบระบบปฏิบัติการ
เปรียบเทียบระบบปฏิบัติการ
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 

Plus de Know Mastikate

MK380-SQL ระบบสารสนเทศทางการตลาด - ภาษา SQL
MK380-SQL ระบบสารสนเทศทางการตลาด - ภาษา SQLMK380-SQL ระบบสารสนเทศทางการตลาด - ภาษา SQL
MK380-SQL ระบบสารสนเทศทางการตลาด - ภาษา SQLKnow Mastikate
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 6/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 6/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 6/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 6/7Know Mastikate
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/7Know Mastikate
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 4/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 4/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 4/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 4/7Know Mastikate
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 3/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 3/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 3/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 3/7Know Mastikate
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 2/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 2/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 2/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 2/7Know Mastikate
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 1/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 1/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 1/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 1/7Know Mastikate
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 7/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 7/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 7/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 7/7Know Mastikate
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 13 File IO
การใช้ Turbo C ชุดที่ 13 File IOการใช้ Turbo C ชุดที่ 13 File IO
การใช้ Turbo C ชุดที่ 13 File IOKnow Mastikate
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 12 structure
การใช้ Turbo C ชุดที่ 12 structureการใช้ Turbo C ชุดที่ 12 structure
การใช้ Turbo C ชุดที่ 12 structureKnow Mastikate
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 11 function
การใช้ Turbo C ชุดที่ 11 functionการใช้ Turbo C ชุดที่ 11 function
การใช้ Turbo C ชุดที่ 11 functionKnow Mastikate
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 10 Pointer
การใช้ Turbo C ชุดที่ 10 Pointerการใช้ Turbo C ชุดที่ 10 Pointer
การใช้ Turbo C ชุดที่ 10 PointerKnow Mastikate
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 8 Array
การใช้ Turbo C ชุดที่ 8 Arrayการใช้ Turbo C ชุดที่ 8 Array
การใช้ Turbo C ชุดที่ 8 ArrayKnow Mastikate
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 7 Loop
การใช้ Turbo C ชุดที่ 7 Loopการใช้ Turbo C ชุดที่ 7 Loop
การใช้ Turbo C ชุดที่ 7 LoopKnow Mastikate
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 6 condition
การใช้ Turbo C ชุดที่ 6 conditionการใช้ Turbo C ชุดที่ 6 condition
การใช้ Turbo C ชุดที่ 6 conditionKnow Mastikate
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 5 IO
การใช้ Turbo C ชุดที่ 5 IOการใช้ Turbo C ชุดที่ 5 IO
การใช้ Turbo C ชุดที่ 5 IOKnow Mastikate
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 3 arithematic
การใช้ Turbo C ชุดที่ 3 arithematicการใช้ Turbo C ชุดที่ 3 arithematic
การใช้ Turbo C ชุดที่ 3 arithematicKnow Mastikate
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 2 variable
การใช้ Turbo C ชุดที่ 2 variableการใช้ Turbo C ชุดที่ 2 variable
การใช้ Turbo C ชุดที่ 2 variableKnow Mastikate
 
Cpwk14 screen and sound
Cpwk14 screen and soundCpwk14 screen and sound
Cpwk14 screen and soundKnow Mastikate
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 1 Turbo C
การใช้ Turbo C ชุดที่ 1 Turbo Cการใช้ Turbo C ชุดที่ 1 Turbo C
การใช้ Turbo C ชุดที่ 1 Turbo CKnow Mastikate
 

Plus de Know Mastikate (20)

MK380-SQL ระบบสารสนเทศทางการตลาด - ภาษา SQL
MK380-SQL ระบบสารสนเทศทางการตลาด - ภาษา SQLMK380-SQL ระบบสารสนเทศทางการตลาด - ภาษา SQL
MK380-SQL ระบบสารสนเทศทางการตลาด - ภาษา SQL
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 6/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 6/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 6/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 6/7
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 5/7
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 4/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 4/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 4/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 4/7
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 3/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 3/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 3/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 3/7
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 2/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 2/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 2/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 2/7
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 1/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 1/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 1/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 1/7
 
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 7/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 7/74121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 7/7
4121103 การเขียนโปรแกรมและอัลกอริทึ่ม SLIDE 7/7
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 13 File IO
การใช้ Turbo C ชุดที่ 13 File IOการใช้ Turbo C ชุดที่ 13 File IO
การใช้ Turbo C ชุดที่ 13 File IO
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 12 structure
การใช้ Turbo C ชุดที่ 12 structureการใช้ Turbo C ชุดที่ 12 structure
การใช้ Turbo C ชุดที่ 12 structure
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 11 function
การใช้ Turbo C ชุดที่ 11 functionการใช้ Turbo C ชุดที่ 11 function
การใช้ Turbo C ชุดที่ 11 function
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 10 Pointer
การใช้ Turbo C ชุดที่ 10 Pointerการใช้ Turbo C ชุดที่ 10 Pointer
การใช้ Turbo C ชุดที่ 10 Pointer
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 8 Array
การใช้ Turbo C ชุดที่ 8 Arrayการใช้ Turbo C ชุดที่ 8 Array
การใช้ Turbo C ชุดที่ 8 Array
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 7 Loop
การใช้ Turbo C ชุดที่ 7 Loopการใช้ Turbo C ชุดที่ 7 Loop
การใช้ Turbo C ชุดที่ 7 Loop
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 6 condition
การใช้ Turbo C ชุดที่ 6 conditionการใช้ Turbo C ชุดที่ 6 condition
การใช้ Turbo C ชุดที่ 6 condition
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 5 IO
การใช้ Turbo C ชุดที่ 5 IOการใช้ Turbo C ชุดที่ 5 IO
การใช้ Turbo C ชุดที่ 5 IO
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 3 arithematic
การใช้ Turbo C ชุดที่ 3 arithematicการใช้ Turbo C ชุดที่ 3 arithematic
การใช้ Turbo C ชุดที่ 3 arithematic
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 2 variable
การใช้ Turbo C ชุดที่ 2 variableการใช้ Turbo C ชุดที่ 2 variable
การใช้ Turbo C ชุดที่ 2 variable
 
Cpwk14 screen and sound
Cpwk14 screen and soundCpwk14 screen and sound
Cpwk14 screen and sound
 
การใช้ Turbo C ชุดที่ 1 Turbo C
การใช้ Turbo C ชุดที่ 1 Turbo Cการใช้ Turbo C ชุดที่ 1 Turbo C
การใช้ Turbo C ชุดที่ 1 Turbo C
 

รายงาน Google Android - Know2pro.com

  • 1. 1 รายงาน เรื่อง Google Android เสนอ อาจารย ธนิต เกตุแกว จัดทําโดย นาย ปยะณัฐ แยบคาย รหัส 50523206013-5 นาย ศุภรักษ สมศรี รหัส 50523206025-9 วศ.บ.คพ. 3 รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชา Operation System (04-720-302) คณะวิชา วิศวกรรมศาสตร สาขาวิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลานนา เขตพื้นที่ภาคพายัพ เชียงใหม ประจําภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2552
  • 2. 2 คํานํา ในปจจุบันระบบปฏิบัติการไมไดมีจํากัดเพียงแคเครื่องคอมพิวเตอรเทานั้น แตยังรวมไปถึง อุปกรณในหลายๆประเภทเชน โทรศัพทมือถือ ซึ่งกําลังไดรับความนิยมเพิ่มมากขึ้น โดยใน โทรศัพทมือถือไดมีการพัฒนาความสามารถใหมๆเขาไปอยางมากมาย เชน กลองดิจิตอล ระบบ Touchscreen นั่นเปนเหตุผลวาทําไม จึงไดมีการสรางระบบปฎิบัติการขึ้น นั่นก็เพราะเมื่อมี อุปกรณและความสามารถที่เพิ่มมากขึ้น ก็จําเปนตองมีระบบเขามาบริหารจัดการเพื่อเพื่อ ประสิทธิภาพในการใชงาน อยางไรก็ตาม ระบบปฎิบัติการในโทรศัพทไดมีการพัฒนาขึ้นมาจากหลายๆบริษัท เชน Symbian ,Windows Phone แตที่กําลังไดรับความสนใจมากคือ Google Android เพราะเปน OpenSource ที่แจกจายได สามารถนําไปพัฒนาแกไขได บริษัทชั้นนําตางๆก็ไดเริ่มผลิตและ จําหนายโทรศัพท Android กันมาบางแลว นั่นก็เพราะไมตองเสียคาลิขสิทธิ์และยังสามารถนํามา พัฒนาใหอยูในรูปแบบที่ตองการไดดวย ดังนั้น การศึกษาระบบ Android นั้นจึงเปนสิ่งสําคัญ เพื่อใหทราบถึงขอมูลตางๆที่เปน ประโยชน ทั้งการนําไปพัฒนาหรือเพื่อรับทราบขาวสารใหทันตอเทคโนโลยีที่จะเกิดขึ้นตอไปใน อนาคต ผูจัดทํา นาย ปยะณัฐ แยบคาย นาย ศุภรักษ สมศรี
  • 3. 3 สารบัญ หนา Google Android คํานํา 1 สารบัญ 2 รูจักกับ Android 4 ลักษณะพิเศษของ Android 6 คุณสมบัติทั่วไปของ Android 7 สถาปตยกรรมบน Android 8 - Application 8 - Application Framework 9 - Libraries 9 - Android Runtime 10 - Linux Kernel 10 Android เวอรชั่นตางๆ 13 เอกสารอางอิง 15
  • 4. 4 รูจักกับ Android Android คือแพลตฟอรมใหมสําหรับโทรศัพทมือถือและอุปกรณพกพา ซึ่งประกอบดวย ระบบปฏิบัติการ ไลบรารี เฟรมเวิรค และซอฟตแวรอื่นๆ ที่จําเปนในการพัฒนา มันเทียบเทากับ Windows Mobile, Palm OS, Symbian, OpenMoko และ Maemo ของโนเกีย โดยจับตลาดมือ ถือรุนใหมๆ ความสามารถสูงๆ (ซึ่งเกิดจากการกระตุนตลาดของ iPhone) ถึงจะเปนแพลตฟอรม ใหม แต Android ก็ใชองคประกอบที่เปนโอเพนซอรสหลายอยาง เชน Linux Kernel, SSL, OpenGL, FreeType, SQLite, WebKit และเขียนไลบรารี+เฟรมเวิรคของตัวเองเพิ่มเติม ซึ่ง ทั้งหมดจะเปนโอเพนซอรส (ใช Apache License) Google Android พัฒนาโดยบริษัทกูเกิล และ Open Handset Alliance ทางกูเกิลไดเปดใหนักพัฒนาสมามารถแกใขโคตตางๆ ดวยภาษาจาวา และควบคุมอุปกรณผานทางชุด Java libraries ที่กูเกิลพัฒนาขึ้น แอนดรอยดไดเปนที่รูจักตอ สาธารณชนเมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 โดยทางกูเกิลไดประกาศกอตั้ง Open Handset Alliance กลุมบริษัทฮารดแวร, ซอฟตแวร และการสื่อสาร 48 แหง ที่รวมมือกันเพื่อพัฒนา มาตราฐานเปด สําหรับอุปกรณมือถือ ลิขสิทธิ์ของโคดแอนดรอยดนี้จะใชในลักษณะของซอฟตแวร เสรี
  • 5. 5 รูปแสดงโทรศัพทมือถือ HTC Hero ที่ใช Android จุดเดนของ Android นั้นอยูที่การออกแบบระบบปฏิบัติการมาใหมีความสามารถได ใกลเคียงกับคอมพิวเตอรพกพาขนาดยอมที่ทํางานไดบนโทรศัพทมือถือ โดยยังคงเรื่องความ คลองตัวในการใชงานที่คอนขางมาก นอกจากนี้ Google Android นั้นเปนแบบระบบเปด คือ เปด โอกาสใหบริษัทและนักพัฒนาสามารถมีสวนรวมในการสรางระบบปฏิบัติการได ดวย และยังไม จํากัดการใชงานเฉพาะบนโทรศัพทมือถือจากคายใดคายหนึ่ง นั่นทําใหเราจะไดเห็น Androidจาก ผูผลิตโทรศัพทมือถือเกือบทุกราย ตางจาก Apple iPhone หรือ BlackBerry ที่ใชระบบปด ทําใหมี โทรศัพทมือถือออกมาจากคายใดคายหนึ่งเพียงคายเดียว รูปแสดง Android Emulator ในหนา home screen. ซึ่งอยูในชุด SDK
  • 6. 6 ลักษณะพิเศษของ Android 1. Open Android SDK เปดโอกาสใหนักพัฒนาสามารถเขาถึง Core Function ในการใชงานโทรศัพทได อยางเต็มรูปแบบเชน การโทรออก, สง SMS, หรือใชงานกลอง Android นั้น Run บน Virtual Machine ที่มีชื่อวา Dalvik สวน runtime จริง ๆ ก็คือ Linux Kernel ที่สําคัญ Android เปน Open Source ซึ่งอาจจะทําใหเกิดความเปลี่ยนแปลงใน Technology ของโทรศัพทมือถือขึ้นได 2. All applications are created equal จากเหตุผลขางตนทําให Core Application ของโทรศัพท หรือพวก 3rd Party App จะสามารถใช งานไดไมตางกัน เนื่องจาก SDK ที่ 'Open' ใหเขียนโปรแกรมเรียกการทํางาน Core Function ได ในมุมมอง User ก็จะได ผลประโยชนมากขึ้น ยกตัวอยางเชน User สามารถใช 3rd Party Application ในการ call แต Application นั้นมี Interface สวยงาม สามารถเลือก wallpaper ได ตามใจชอบได ซึ่งตางจาก Core Application ที่อาจจะซ้ําซากจําเจ นาเบื่อ เปนตน 3. Breaking down application boundaries Android ไดทลายกําแพงในการพัฒนา Software ซึ่งกอใหเกิดนวัตกรรมใหม ๆ ในการพัฒนา Software เชน Developer สามารถเขียน Program ดึงรายชื่อ Contract ใน Web, MSN มารวม กับใน Contract List ของโทรศัพทได หรือจะใชโทรศัพทในการดูตําแหนงที่เพื่อน ๆ อยูได 4. Fast & easy application development Android ไดเตรียม lib & tool ในการพัฒนา Application ไวอยางมากมายยกตัวอยางเชน การ Connect กับอีกเครื่องนึงแบบ peer-to-peer ซึ่งสิ่งตาง ๆ เหลานี้ทําใหการพัฒนา Application บน Android สามารถทําไดงายและรวดเร็ว
  • 7. 7 คุณสมบัตทั่วไปของ Android ิ ประเภท : Free and open source software แพลตฟอรมที่สนับสนุน : - ARM (Advanced RISC Machine) เปน หนวยประมวลผล 32 bit แบบ RISC ถูกนําไปใชบน อุปกรณพกพาเชน โทรศัพทมือถือ PDA SmartPhone ผลิตโดย ARM Limited - MIPS (Microprocessor without Interlocked Pipeline Stages) เปน หนวยประมวลผล 32 bit แบบ RISC ผลิตโดย MIPS Computer Systems (ปจจุบันคือ MIPS Technologies) - Power Architecture เปน หนวยประมวลผล 32 bit แบบ RISC ผลิตรวมโดย IBM, Freescale, AMCC, Tundra และ P.A. Semi ซึ่งเปนผูผลิต PowerPC - x86 เปน หนวยประมวลผล 32 bit แบบ CISC เปนสถาปตยกรรมที่ไดรับความนิยมมากที่สุดใน ตลาดคอมพิวเตอรเดสกท็อป,โนตบุคและเซิรฟเวอรขนาดเล็ก ซึ่งก็คือ CPU จาก Intel, AMD, VIA และอื่นๆ เว็บบราวเซอร :ใช WebKit application framework. ซึ่งเปน OpenSource การแสดงผล : ใชงานระบบ VGA, 2D graphics library สวน 3D graphic Library ใช OpenGL ES 1.0 การจัดเก็บขอมูล : SQLite สําหรับเก็บขอมูล การสนับสนุน Java : Software จะเขียนดวยภาษา Java และถูกคอมไพลดวย Dalvik virtual machine ระบบ Media : รองรับไฟล เพลง, วิดิโอ, หรือ ภาพนิ่ง เชน H.263, H.264 (ใน 3GP หรือ MP4 container), MPEG-4 SP, AMR, AMR-WB (ใน 3GP container), AAC, HE-AAC (ใน MP4 หรือ 3GP container), MP3, MIDI, OGG Vorbis, WAV, JPEG, PNG, GIF, BMP การเชื่อมตอ : รองรับระบบ GSM/EDGE, CDMA, EV-DO, UMTS, Bluetooth, และ Wi-Fi. ขอความ : รองรับ SMS และ MMS และระบบอื่นๆที่เกี่ยวของกับการสงขอความ Hardware อื่นๆที่สนับสนุน : กลองวิดีโอ,กลองภาพนิ่ง, Touchscreens,GPS, accelerometers,magnetometers,accelerated 2D bitblits (with hardware orientation,scaling,pixel format conversion) และ accelerated 3D graphics. คุณสมบัติอื่นๆ : มีระบบ Device Emulator สําหรับนักพัฒนา ,Plugin สําหรับ Elipse IDE
  • 8. 8 สถาปตยกรรมของ Android จากรูป Android จะประกอบดวย องคประกอบหลักอยู 5 สวน ดังนี้ รูปแสดงสถาปตยกรรม Android 1. ซอฟแวรทั่วไป (Applications) อุปกรณพกพาที่ติดตั้ง Android จะมาพรอมโปรแกรมหลักที่ไวใชงานทั่วไป เชน โปรแกรม รับสงอีเมล, SMS, ปฏิทิน, แผนที,่ Browser (ใช WebKit เปน Engine) เครื่องมือจัดการสมุด โทรศัพท และโปรแกรมหลักอื่นๆ
  • 9. 9 2. เฟรมเวิรค (Application Framework) นักพัฒนาสามารถพัฒนาโปรแกรมบน Android โดยใชภาษา Java ผานทาง API (Application Programming Interface) โดยสามารถเขาถึงระบบและขอมูลตางๆ ที่อยูบน Android ดังนี้ - Views ประกอบดวย UI ชนิดตางๆ ที่ใชในการพัฒนาโปรแกรม เชน lists, grids, text boxes, buttons รวมไปถึง Event และเว็บบราวเซอร - Content Provider โปรแกรมที่พฒนาบน Android จะสามารถสงขอมูลถึงกันผานทาง ั Content Provider เชน เราสามารถพัฒนาโปรแกรมเพื่อไปดึงขอมูลรายชื่อที่อยูใน Contacts ได - Resource Manager เปนตัวจัดการเรื่องรูปภาพ, Localized strings และขอมูลอื่นๆ ที่ นอกเหนือจาก Code ของโปรแกรม - Activity Manager นักพัฒนาสามารถสราง Custom Alert และสงไปแสดงผลที่ Status Bar โดยผาน Activity Manager ทั้งหมดนั้นทําใหนักพัฒนาโปรแกรมมีสิทธิอยางเต็มที่ในการเขาถึง Application Framework และทําใหสามารถใชประโยชนจากการประมวลผลและความสามารถอื่นๆ เพื่อสราง Android Application ที่มีความหลากหลายมากขึ้นได 3. ชุดพัฒนา (Libraries) Android Libraries ประกอบดวยชุดพัฒนาของ C/C++ อื่นๆ ที่สามารถใชงานผานทาง API ของเฟรมเวิรคที่ Android ไดจัดไวให (API เปนภาษา Java) - System C Library ไลบรารีมาตรฐานของ C (C system library) ปรับปรุงพิเศษสําหรับ อุปกรณที่รันบน Linux
  • 10. 10 - Media Library โดย Android สรับสนุนการใชงานไฟลฟอรแมตตางๆ เชน MPEG4, H.264, MP3, AAC, AMR, JPG และ JPG - Surface Manager เปนตัวจัดการระบบแสดงผล และควบคุมบนจอภาพ Libraries อื่นๆ เชน 3D Acceleration Library ที่ใชในการควบคุมอุปกรณที่มี Accelerometer เปนตน 4. รันไทม (Android Runtime) ถึงแมวาโปรแกรมบน Android จะพัฒนาโดยใชภาษา Java แต Google กลับไมเลือกที่ใช Java Virtual Machine ของ Sun Microsystem ในการรันโปรแกรม แตกลับพัฒนา Dalvik Virtual Machine ที่ มีพื้นฐานจาก Apache Harmony ขึ้นมาใชเอง โดย Google อางวา Dalvik ไดรับการปรับปรุงในเรื่อง Memory เพื่อใหเหมาะกับการใชงานบนโทรศัพทมือถือ และอนุญาติให VM หลายๆ ตัวรันพรอม กันไดเพื่อใหโปรแกรมทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น โปรแกรมที่ถูกพัฒนา เมื่อ Compile เปนไบโคด (.class) แลว จําเปนตองผานการแปลงให เปนไฟล (.dex) ดวยตัวแปลง "dx" เพื่อให สามารถรันบน Dalvik Virtual Machie ได 5. ลินุกสเคอรแนล (Linux Kernel) Android พัฒนาบน Linux Kernel 2.6 ซึ่งเปนสวนที่สําคัญของระบบ Android และเปน แกนหลักของการทํางานทั้งหมด โดยภายในเคอรเนล จะประกอบไปดวยโมดูล (Module) ตางๆ และบางครั้งเราอาจจะเรียกโมดูลเหลานี้วา ไดรเวอร (Driver) ซึ่งมีหนาที่เปนตัวกลางในการ ติดตอกันระหวางแอพพลิเคชันหรือ ระบบปฏิบัติการกับอุปกรณฮารดแวรทั้งหมด ทั้งภายในและ นอก อีกทั้งยังจัดการ ประสานงานกับระบบตางๆ เชนระบบความปลอดภัย (Security), ระบบการ
  • 11. 11 จัดการ Memory, ระบบการจัดการ process , ระบบเนตเวิรค (network stack) อยางมี ประสิทธิภาพ ใน Linux Kernel ที่ใชใน Android จะประกอบไปดวย - Display Driver - Camera Driver - Flash Memory Driver - Binder (IPC) Driver - Keypad Driver - WiFi Driver - Audio Driver - Power management จะสังเกตไดวาภายใน Kernel นั้นจะมี Driver ที่ใชในการควบคุมการทํางานของอุปกรณตางๆ โดย ที่สามารถทํางานไดกับอุปกรณหลายรุน หลายผูผลิต
  • 12. 12 สําหรับ Linux Kernel ที่ใชเปนชนิด Monolithic Kernel Monolithic Kernel เปนสถาปตยกรรมที่ระบบปฏิบัติการจะทํางานภายใน Kernel Space (พื้นที่สงวนที่ใชรันคําสั่งของ Kernel มีไวเพื่อให Kernel สามารถทํางานไดอยางตอเนื่อง) และ ทํางานบน Supervisor mode Monolithic Kernel แตกตางจากสถาปตยกรรมอื่นๆ คือ Monolithic Kernel จะกําหนด Virtual Interface ระดับสูงซึ่งสูงกวาอุปกรณคอมพิวเตอรกับ system calls (โปรแกรมยอยทํา หนาที่ในการติดตอระหวางระบบปฏิบัติการกับการโปรแกรมของผูใชหรือกระบวนการที่เกิดขึ้น) เพื่อใหใช Service ทั้งหมดของระบบปฏิบัติการ เชน Process Management(ระบบจัดการโพ รเซส), Concurrency(ประมวลผลหลายๆงานไปไดพรอมกัน), Memory Management(ระบบ จัดการหนวยความจํา) ดวยตัวเองและหนึ่งหรือหลายๆ ก็คือ Module สถาปตยกรรม Monolithic Kernel ถูกใชใน Linux, Unix(BSD,Solaris,Slaxware), DOS,Windows 9x-ME, MacOS 8.6
  • 13. 13 Android เวอรชั่นตางๆ On 30 April 2009, the official 1.5 (Cupcake) update for Android was released. There are several new features and UI updates included in the 1.5 update:  Ability to record and watch videos with the camcorder mode  Uploading videos to YouTube and pictures to Picasa 1.5 (Cupcake) directly from the phone  A new soft keyboard with an "Autocomplete" feature  Ability to automatically connect to a Bluetooth headset within a certain distance  New widgets and folders that can populate the desktop  Animations between screens  Expanded ability of Copy and paste to include web pages On 15 September 2009, the 1.6 (Donut) SDK was released. Included in the update are:  An improved Android Market experience.  An integrated camera, camcorder, and gallery interface. 1.6 (Doughnut)  Gallery now enables users to select multiple photos for deletion.  Updated Voice Search, with faster response and deeper integration with native applications, including the ability to dial contacts.  Updated search experience to allow searching bookmarks,
  • 14. 14 history, contacts, and the web from the home screen.  Updated Technology support for CDMA/EVDO, 802.1x VPN, Gestures, and a Text-to-speech engine  Speed improvements for searching, the camera On 26 October 2009 the 2.0 (Eclair) SDK was released. Among the changes are:  Optimized hardware speed  "Car Home" app  Support for more screen sizes and resolutions  Revamped UI  New browser UI 2.0 (Eclair)  New contact lists  Better white/black ratio for backgrounds  Improved Google Maps 3.1.2  Microsoft Exchange support  Built in flash support for Camera  Digital Zoom  Improved virtual keyboard  Bluetooth 2.1
  • 15. 15 เอกสารอางอิง ยินดีตอนรับสู ThaiAndroidClub.com http://www.thaiandroidclub.com/ Thailand Android Community : สังคมชาว Android http://www.siamandroid.com/forum/ DroidSans :: Thailand Android Developer Community http://www.droidsans.com/ รูจักกับ Google Android http://www.siamandroid.com/forum/index.php?topic=19.0 Android (operating system) http://en.wikipedia.org/wiki/Android_%28operating_system%29 รูจักกับ Android http://siamdepot.com/index.php?option=com_content&view=article&id=22:what-is- android&catid=10:android-toturial&Itemid=90