SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  7
Télécharger pour lire hors ligne
แบบบันทึกหน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4

       หน่ วยการเรียนรู้ เรื่อง พุทธประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดก และชาวพุทธตัวอย่ าง
รหัสวิชา ส22103 รายวิชา สั งคมศึกษา 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2                 ภาคเรียนที่ 2                  เวลาเรียน 12 ชั่วโมง

มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วด
                           ั
        มาตรฐานการเรียนรู้ ส 1.1
                 ม.2/5 วิเคราะห์พุทธประวัติหรื อประวัติศาสดาของศาสนาที่ตนนับถือตามที่
กาหนด
                 ม.2/6 วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างการดาเนินชีวตและข้อคิดจาก
                                                                       ิ
ประวัติสาวก ชาดก เรื่ องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กาหนด
สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
        การศึกษาพุทธประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวิกา และบุคคลในชาดก เป็ นบุคคลสาคัญที่มี
บทบาทและหน้าที่ในการจรรโลงพระพุทธศาสนา ทั้งยังเป็ นบุคคลที่สามารถเป็ นแบบอย่างในการ
ประพฤติปฏิบติตนที่ดี สมควรที่จะนามาเป็ นแบบอย่างในการดาเนินชีวตประจาวัน
               ั                                                  ิ
สาระการเรียนรู้
        สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
        1.สรุ ปและวิเคราะห์พุทธประวัติ การผจญมาร การตรัสรู ้ การสั่งสอน
        2.พุทธสาวก พุทธสาวิกา พระสาลีนะ พระโมคคัลลานะ นางขุตชุตตรา พระเจ้าพิม
พิสาร ชาดก มิตตวินทุกชาดก ราโชวาทชาดก ศาสนิกชนตัวอย่าง พระมหาธรรมราชาลิไท
สมเด็จพระมหาสมณะเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
        1.ความสามารถในการแก้ปัญหา
        2.ความสามารถในการคิด
 -                ทักษะการคิดวิเคราะห์
 -                ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ
                                       ิ
 -                ทักษะการคิดสังเคราะห์
        3.ความสามารถในการใช้ชีวต     ิ
 -                กระบวนการปฏิบติ  ั
-                  กระบวนการกลุ่ม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
        1.มีวนย
              ิ ั
        2.มีความรับผิดชอบ
        3.ใฝ่ เรี ยนรู้
ชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด)
        1.แสดงละครบทบาทสมมุติ สร้างความเข้าใจการนาแบบอย่างการประพฤติปฏิบติตนของ   ั
พุทธสาวก พุทธสาวิกา และชาดกมาใช้ในการแก้ปัญหาการดาเนินชีวต         ิ
การวัดและการประเมินผล
        การประเมินก่อนเรียน
 -                  ทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 4 พุทธประวัติ
พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดกและชาวพุทธตัวอย่าง
        การประเมินระหว่ างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
                   1.ใบงานที่ 4.1 แผนภาพสรุ ปและวิเคราะห์พุทธประวัติ
                   2.ใบงานที่ 4.2 วิเคราะห์ประวัติและคุณธรรมของพุทธสาวก พุทธสาวิกา และ
บุคคลในชาดก
                   3.ใบงานที่ 4.3 ความเป็ นจริ งในสังคม
                   4.ใบงานที่ 4.4 เป็ นคนดีทาได้ดงนี้
                                                 ั
                   5.ใบงานที่ 4.5 ฉันทาได้
                   6.แบบประเมินการนาเสนองานหน้าชั้นเรี ยน
                   7.แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
        การประเมินผลหลังเรียน
 -                  ทาแบบทดสอบหลังเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 4 พุทธประวัติ
พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดกและชาวพุทธตัวอย่าง
การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด)
        1.แสดงละครบทบาทสมมุติ สร้างความเข้าใจการนาแบบอย่างการประพฤติปฏิบติตนของ     ั
พุทธสาวก พุทธสาวิกา และชาดกมาใช้ในการแก้ปัญหาการดาเนินชีวต           ิ
การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด)
     แบบประเมินแสดงละครบทบาทสมมุติ สร้ างความเข้ าใจการนาหลักธรรมมาใช้ แก้ ปัญหา

รายการ                                    คาอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน
ประเมิน                ดีมาก(4)                       ดี(3)          พอใช้(2)          ปรับปรุ ง(1)
1.เนื้ อหาของ   เนื้อหาของเรื่ องมี        เนื้อหาของเรื่ องมี เนื้อหาของเรื่ อง   เนื้อหาของเรื่ อง
เรื่ อง         ความสอดคล้องกับ            ความสอดคล้องกับ ยังไม่มีความ            ไม่มีความ
สอดคล้อง        หลักธรรมที่เลือก           หลักธรรมที่เลือก สอดคล้องกับ            สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์    นามาใช้แก้ปัญหาได้         นามาใช้แก้ปัญหา หลักธรรมที่เลือก        หลักธรรมที่เลือก
                เป็ นอย่างดีและสื่ อให้    ได้เป็ นอย่างดี     นามาใช้แก้ปัญหา     นามาใช้
                เห็นถึงความสามารถ                              เนื่องจากความ       แก้ปัญหา
                ในการวิเคราะห์                                 สามารถในการ
                ปั ญหาได้เป็ นอย่างดี                          วิเคราะห์ปัญหา
                                                               ยังมีนอย  ้
2.บทบาทตัว บทบาทของตัวละคร                 บทบาทของตัว         บทบาทของตัว         บทบาทของตัว
ละคร       แสดงออกได้                      ละครแสดงออกได้ ละครแสดงออก              ละครแสดงออก
           เหมาะสม และ                     พอใช้มีความ         ได้ไม่ค่อย          ได้ไม่เหมาะสม
           สอดคล้องกับเนื้อ                สอดคล้องกับเนื้อ เหมาะสม และ ยัง        และ ไม่
           เรื่ อง ทาให้ผชม
                         ู้                เรื่ อง ยังไม่ชดเจน ไม่สอดคล้องกับ
                                                            ั                      สอดคล้องกับ
           สนใจและติดตาม                   เท่าที่ควร          เนื้อเรื่ อง        เนื้อเรื่ อง
           ตลอดเรื่ อง                                         เท่าที่ควร
3.ความ     เวลาที่ใช้ในการ                 เวลาที่ใช้ในการ     เวลาที่ใช้ในการ     เวลาที่ใช้ในการ
เหมาะสมของ แสดงมีความ                      แสดงยังมีขาดหรื อ แสดงมีขาดหรื อ        แสดงยังไม่
เวลา       เหมาะสมพอดีกบ    ั              เกินบ้างเล็กน้อยกับ เกินจากเวลาที่      เหมาะสมมีขาด
           เวลาที่กาหนดให้                 เวลาที่กาหนดให้ กาหนดให้                หรื อเกินมากกับ
                                                               พอสมควร             เวลาที่กาหนดให้
การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด)
    แบบประเมินแสดงละครบทบาทสมมุติ สร้ างความเข้ าใจการนาหลักธรรมมาใช้ แก้ ปัญหา

รายการ                              คาอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน
ประเมิน            ดีมาก(4)                    ดี(3)           พอใช้(2)        ปรับปรุ ง(1)
4.ความพร้อม สมาชิกกลุ่มมีความ        สมาชิกกลุ่มส่ วน สมาชิกกลุ่มบาง       สมาชิกกลุ่มไม่มี
เพรี ยง     พร้อมเพรี ยงร่ วมมือ     ใหญ่มีความพร้อม คนรับผิดชอบใน         มีความพร้อม
            ร่ วมใจกันปฏิบติั        เพรี ยงร่ วมมือร่ วม การปฏิบติ ั      เพรี ยงร่ วมมือ
            กิจกรรมอย่างดียงจนิ่     ใจกันปฏิบติ   ั      กิจกรรมแต่ส่วน   ร่ วมใจกันปฏิบติ ั
            ทาให้งานสาเร็ จลุล่วง    กิจกรรมอย่างดีจน ใหญ่ยงไม่ให้ั        กิจกรรมทาให้
            ไปด้วยดี                 ทาให้งานสาเร็ จ      ความร่ วมมือ     งานไม่สาเร็ จ
                                     ลุล่วงไปได้          เท่าที่ควร       ลุล่วง

                               เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ

                          ช่ วงคะแนน            ระดับคุณภาพ
                              13-16                ดีมาก
                               9-12                  ดี
                                5-8                พอใช้
                                1-4               ปรับปรุ ง
กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1-4
          1.นักเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 4 พุทธประวัติ
พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดกและชาวพุทธตัวอย่าง
          2.ให้นกเรี ยนดูภาพพุทธประวัติ 3 ภาพ คือ ภาพการประสู ติ ภาพการตรัสรู้ และภาพการ
                  ั
เสด็จปริ นิพพาน แล้วสนทนาซักถามสาระสาคัญของแต่ละภาพ เช่น เป็ นภาพอะไร ตรงกับวันใด
มีความสาคัญอย่างไร
          3. ใช้กิจกรรม “ค้นหาความจริ ง” โยแบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน แจก
กระดาษเปล่า 4 ใบ เป็ นใบกิจกรรมที่ 1-4 มีความจริ งที่นกเรี ยนต้องค้นหาอยู่ 4 ด้าน ดังนี้
                                                             ั
 -                    ด้านที่ 1 “ค้นหาความจริ งของการเสด็จออกผนวช”
 -                    ด้านที่ 2 “ค้นหาความจริ งของการตรัสรู้ ”
 -                    ด้านที่ 3 “ค้นหาความจริ งของการผจญมาร”
 -                    ด้านที่ 4 “ค้นหาความจริ งของการสังสอน”
                                                       ่
          4. ให้สมาชิกในกลุ่มช่วยกันเขียนสรุ ปความจริ งที่คนพบในแต่ละด้านว่าพระพุทธเจ้าทรง
                                                               ้
ปฏิบติอย่างไร และผลเป็ นอย่างไร
        ั
          5.สมาชิกในกลุ่มช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องของความจริ งที่คนหา เสร็ จแล้วนาไปติด
                                                                       ้
ไว้บนกระดาน กลุ่มใดเสร็ จก่อนและถูกต้องมากที่สุดเป็ นผูชนะ       ้
          6.ครู นาเสนอประเด็นอภิปรายดังนี้ “เจ้าชายสิ ทธัตถะทรงมีแบบอย่างที่ดีที่ทุกคนควรนามา
ปฏิบติตามในด้านใดบ้าง และเมื่อปฏิบติแล้วจะมีผลดีอย่างไร”
      ั                                   ั
          7.นักเรี ยนสรุ ปและวิเคราะห์พุทธประวัติลงในแผนภาพใบงานที่ ๘.๑ แผนภาพสรุ ปและ
วิเคราะห์พุทธประวัติ
          8..ครู และนักเรี ยนร่ วมกันประเมินแผนภาพความคิด
ชั่วโมงที่ 5-8
          9.ให้นกเรี ยนดูป้ายบัตรคาชื่อพุทธสาวกดังนี้ “พระอานนท์” “พระโมคคัลลา”
                    ั
“พระสาลีบุตร” แล้วสนทนาซักถามนักเรี ยน โดยครู ใช้คาถาม ดังนี้
 -                    บุคคลดังกล่าวเป็ นใคร
 -                    มีความสาคัญอย่างไรในพระพุทธศาสนา
 -                    คุณความดีหรื อลักษณะเด่นของบุคคลดังกล่าวมีอะไรบ้าง
          10.แบ่งนักเรี ยนเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ศึกษาประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา และบุคคล
ในชาดกจากหนังสื อเรี ยน
11.นักเรี ยนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์การปฏิบติตนที่เป็ นแบบอย่างของพุทธสาวก พุทธสาวิกา
                                                ั
และบุคคลในชาดก จากนั้นให้นกเรี ยนบันทึกลงในใบงานที่ ๘.๒ การวิเคราะห์ประวัติและ
                                   ั
คุณธรรม
          12.นักเรี ยนแต่ละกลุ่มนาเสนองานหน้าชั้นเรี ยน ครู และนักเรี ยนกลุ่ม อื่นร่ วมอภิปราย
เพิ่มเติมให้สมบูรณ์ยงขึ้น(โดยครู กาหนดให้ ๑ กลุ่ม นาเสนอเพียง ๑ เรื่ อง)
                      ิ่
          ๑๓.ให้นกเรี ยนฝึ กวิเคราะห์การปฏิบติตนของบุคคลในสังคมปั จจุบนจากข่าวหนังสื อพิมพ์
                    ั                        ั                            ั
2 ข่าว (ข่าวในทางบวก 1 ข่าว ข่าวในทางลบ 2 ข่าว) ลงในใบงานที่ 4.3 ความเป็ นจริ งในสังคม
          14.ครู และนักเรี ยนร่ วมกันตรวจสอบความถูกต้องของใบงาน

ชั่วโมงที่ 9-12
          15.ให้นกเรี ยนนับเลข 1-4 ต่อกันจนครบทุกคน กาหนดให้นกเรี ยนที่ 1 ทุกคน ศึกษา
                   ั                                                      ั
คาถามข้อที่ 1 นักเรี ยนที่นบ 2 ทุกคน ศึกษาคาถามข้อที่ 2 นักเรี ยนที่นบ 3 ทุกคน ศึกษาคาถามข้อ
                                  ั                                           ั
ที่ 3 นักเรี ยนที่นบ 4 ทุกคน ศึกษาคาถามข้อที่ 4 คาถามทั้ง 4 ข้อ มีดงนี้
                       ั                                                ั
 -                       จากคากล่าวที่วา “คนเรี ยนเก่งไม่น่ากลัวแต่จงกลัวคนที่ขยันเรี ยน”
                                          ่
 -                       นักเรี ยนจะนาข้อคิดที่ได้จากการศึกษาประวัติพระสาลีบุตร
พระโมคคัลลานเถระ พระเจ้าพิมพิสาร และ นางขุตชุตตรา มาเป็ นแนวทางในการปฏิบติ                ั
ชีวตประจาวันได้อย่างไรบ้าง และถ้าปฏิบติจะเกิดผลอย่างไร
    ิ                                           ั
 -                       นักเรี ยนสามารถนาข้อคิดที่ได้จากการศึกษาชาดกทั้งสองเรื่ องมาใช้ใน
ชีวตประจาวันได้อย่างไร จงยกตัวอย่าง
      ิ
 -                       นักเรี ยนคิดว่าจะนาข้อคิดที่ได้จากการศึกษาประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา และ
บุคคลในชาดกมาแก้ปัญหาในชีวตประจาวันได้อย่างไร จงยกตัวอย่าง
                                        ิ
          16.ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มวางแผนแสดงละครบทบาทสมมุติ สร้างความเข้าใจการนา
                     ั
แบบอย่างการประพฤติปฏิบติตนของพุทธสาวก พุทธสาวิกา และชาดกมาใช้ในการแก้ปัญหาการ
                                    ั
ดาเนินชีวต ิ
          17.สมาชิกกลุ่มแสดงละครบทบาทสมมุติ สร้างความเข้าใจการนาแบบอย่างการประพฤติ
ปฏิบติตนของพุทธสาวก พุทธสาวิกา และชาดกมาใช้ในการแก้ปัญหาการดาเนินชีวต
        ั                                                                               ิ
          18.หลังจากแต่ละกลุ่มแสดงเสร็ จ ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายสรุ ปถึงประเด็นที่สมาชิก
ลุ่มคัดเลือกนามานาเสนอ พร้อมทั้งร่ วมกันสรุ ปแนวทางปฏิบ ัติในการแก้ปัญหาร่ วมกับกลุ่มผูแสดง  ้
          19.นักเรี ยนแต่ละคนเลือกคุณธรรมของ พุทธสาวก พุทธสาวิกา และบุคคลในชาดกที่
นักเรี ยนประทับใจมากาหนดเป็ นแนวปฏิบติตนเพื่อให้มีความสุ ขในชีวตประจาวันลงในใบงานที่
                                                  ั                         ิ
4.5 ฉันทาได้
           20.ครู คดเลือกผลงานดีเด่นของนักเรี ยนติดป้ ายนิ เทศ พร้อมกับให้คาชมเชยและให้กาลังใจ
                    ั
นักเรี ยนที่ไม่ได้รับเลือกผลงาน
สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้
           สื่ อการเรียนรู้
           1.หนังสื อเรี ยนสังคมศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2
           2.ใบงานที่ 4.1 แผนภาพสรุ ปและวิเคราะห์พุทธประวัติ
           3.ใบงานที่ 4.2 วิเคราะห์ประวัติและคุณธรรมของพุ ทธสาวก พุทธสาวิกา และ
บุคคลในชาดก
           4.ใบงานที่ 4.3 ความเป็ นจริ งในสังคม
           5.ใบงานที่ 4.4 เป็ นคนดีทาได้ดงนี้
                                          ั
           6.ใบงานที่ 4.5 ฉันทาได้
           7.ภาพการประสู ติ ภาพการตรัสรู้ และภาพการเสด็จปริ นิพพาน
           8.ป้ ายบัตรคา“พระอานนท์” “พระโมคคัลลา” “พระสาลีบุตร”
           แหล่ งเรียนรู้
           1.ห้องสมุด
           2.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
           http://www.aksom.com/Lib/S/Soc_03
           http://www.dip.go.th
           http://www.thaibdc.or.th
           http://www.money.mweb.co.th/

Contenu connexe

Tendances

วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีทkroobannakakok
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3tassanee chaicharoen
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3New Nan
 

Tendances (19)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
 
หน่วยที่๔
หน่วยที่๔หน่วยที่๔
หน่วยที่๔
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
หน่วยที่๓
หน่วยที่๓หน่วยที่๓
หน่วยที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
 
หน่วยที่๒
หน่วยที่๒หน่วยที่๒
หน่วยที่๒
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑
 
แผนพระพุทธศาสนา
แผนพระพุทธศาสนาแผนพระพุทธศาสนา
แผนพระพุทธศาสนา
 
หน่วยที่๕
หน่วยที่๕หน่วยที่๕
หน่วยที่๕
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3กำหนดการสอนพุทธ ม.3
กำหนดการสอนพุทธ ม.3
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 

En vedette

ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนานันทนา วงศ์สมิตกุล
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนานันทนา วงศ์สมิตกุล
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2teerachon
 

En vedette (9)

ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนาการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระพระพุทธศาสนา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
 
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วย 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
 

Similaire à หน่วยที่๘

สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1supap6259
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรPat1803
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7supap6259
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3phachanee boonyuen
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นAon Narinchoti
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6supap6259
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4supap6259
 
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงvru.ac.th
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่tassanee chaicharoen
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋Kaekea Bio
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 

Similaire à หน่วยที่๘ (20)

สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
05 ตอนที่ 2 หน่วย 4
05 ตอนที่ 2 หน่วย 405 ตอนที่ 2 หน่วย 4
05 ตอนที่ 2 หน่วย 4
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
 
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูงปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
ปัญหาการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการระดับสูง
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
การวิเคราะห์ผู้เรียน เก๋
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 

หน่วยที่๘

  • 1. แบบบันทึกหน่ วยการเรียนรู้ ที่ 4 หน่ วยการเรียนรู้ เรื่อง พุทธประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดก และชาวพุทธตัวอย่ าง รหัสวิชา ส22103 รายวิชา สั งคมศึกษา 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 12 ชั่วโมง มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วด ั มาตรฐานการเรียนรู้ ส 1.1 ม.2/5 วิเคราะห์พุทธประวัติหรื อประวัติศาสดาของศาสนาที่ตนนับถือตามที่ กาหนด ม.2/6 วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างการดาเนินชีวตและข้อคิดจาก ิ ประวัติสาวก ชาดก เรื่ องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กาหนด สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด การศึกษาพุทธประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวิกา และบุคคลในชาดก เป็ นบุคคลสาคัญที่มี บทบาทและหน้าที่ในการจรรโลงพระพุทธศาสนา ทั้งยังเป็ นบุคคลที่สามารถเป็ นแบบอย่างในการ ประพฤติปฏิบติตนที่ดี สมควรที่จะนามาเป็ นแบบอย่างในการดาเนินชีวตประจาวัน ั ิ สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ แกนกลาง 1.สรุ ปและวิเคราะห์พุทธประวัติ การผจญมาร การตรัสรู ้ การสั่งสอน 2.พุทธสาวก พุทธสาวิกา พระสาลีนะ พระโมคคัลลานะ นางขุตชุตตรา พระเจ้าพิม พิสาร ชาดก มิตตวินทุกชาดก ราโชวาทชาดก ศาสนิกชนตัวอย่าง พระมหาธรรมราชาลิไท สมเด็จพระมหาสมณะเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 1.ความสามารถในการแก้ปัญหา 2.ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ - ทักษะการคิดสังเคราะห์ 3.ความสามารถในการใช้ชีวต ิ - กระบวนการปฏิบติ ั
  • 2. - กระบวนการกลุ่ม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.มีวนย ิ ั 2.มีความรับผิดชอบ 3.ใฝ่ เรี ยนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด) 1.แสดงละครบทบาทสมมุติ สร้างความเข้าใจการนาแบบอย่างการประพฤติปฏิบติตนของ ั พุทธสาวก พุทธสาวิกา และชาดกมาใช้ในการแก้ปัญหาการดาเนินชีวต ิ การวัดและการประเมินผล การประเมินก่อนเรียน - ทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 4 พุทธประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดกและชาวพุทธตัวอย่าง การประเมินระหว่ างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1.ใบงานที่ 4.1 แผนภาพสรุ ปและวิเคราะห์พุทธประวัติ 2.ใบงานที่ 4.2 วิเคราะห์ประวัติและคุณธรรมของพุทธสาวก พุทธสาวิกา และ บุคคลในชาดก 3.ใบงานที่ 4.3 ความเป็ นจริ งในสังคม 4.ใบงานที่ 4.4 เป็ นคนดีทาได้ดงนี้ ั 5.ใบงานที่ 4.5 ฉันทาได้ 6.แบบประเมินการนาเสนองานหน้าชั้นเรี ยน 7.แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม การประเมินผลหลังเรียน - ทาแบบทดสอบหลังเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 4 พุทธประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดกและชาวพุทธตัวอย่าง การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด) 1.แสดงละครบทบาทสมมุติ สร้างความเข้าใจการนาแบบอย่างการประพฤติปฏิบติตนของ ั พุทธสาวก พุทธสาวิกา และชาดกมาใช้ในการแก้ปัญหาการดาเนินชีวต ิ
  • 3. การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด) แบบประเมินแสดงละครบทบาทสมมุติ สร้ างความเข้ าใจการนาหลักธรรมมาใช้ แก้ ปัญหา รายการ คาอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน ประเมิน ดีมาก(4) ดี(3) พอใช้(2) ปรับปรุ ง(1) 1.เนื้ อหาของ เนื้อหาของเรื่ องมี เนื้อหาของเรื่ องมี เนื้อหาของเรื่ อง เนื้อหาของเรื่ อง เรื่ อง ความสอดคล้องกับ ความสอดคล้องกับ ยังไม่มีความ ไม่มีความ สอดคล้อง หลักธรรมที่เลือก หลักธรรมที่เลือก สอดคล้องกับ สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ นามาใช้แก้ปัญหาได้ นามาใช้แก้ปัญหา หลักธรรมที่เลือก หลักธรรมที่เลือก เป็ นอย่างดีและสื่ อให้ ได้เป็ นอย่างดี นามาใช้แก้ปัญหา นามาใช้ เห็นถึงความสามารถ เนื่องจากความ แก้ปัญหา ในการวิเคราะห์ สามารถในการ ปั ญหาได้เป็ นอย่างดี วิเคราะห์ปัญหา ยังมีนอย ้ 2.บทบาทตัว บทบาทของตัวละคร บทบาทของตัว บทบาทของตัว บทบาทของตัว ละคร แสดงออกได้ ละครแสดงออกได้ ละครแสดงออก ละครแสดงออก เหมาะสม และ พอใช้มีความ ได้ไม่ค่อย ได้ไม่เหมาะสม สอดคล้องกับเนื้อ สอดคล้องกับเนื้อ เหมาะสม และ ยัง และ ไม่ เรื่ อง ทาให้ผชม ู้ เรื่ อง ยังไม่ชดเจน ไม่สอดคล้องกับ ั สอดคล้องกับ สนใจและติดตาม เท่าที่ควร เนื้อเรื่ อง เนื้อเรื่ อง ตลอดเรื่ อง เท่าที่ควร 3.ความ เวลาที่ใช้ในการ เวลาที่ใช้ในการ เวลาที่ใช้ในการ เวลาที่ใช้ในการ เหมาะสมของ แสดงมีความ แสดงยังมีขาดหรื อ แสดงมีขาดหรื อ แสดงยังไม่ เวลา เหมาะสมพอดีกบ ั เกินบ้างเล็กน้อยกับ เกินจากเวลาที่ เหมาะสมมีขาด เวลาที่กาหนดให้ เวลาที่กาหนดให้ กาหนดให้ หรื อเกินมากกับ พอสมควร เวลาที่กาหนดให้
  • 4. การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน(รวบยอด) แบบประเมินแสดงละครบทบาทสมมุติ สร้ างความเข้ าใจการนาหลักธรรมมาใช้ แก้ ปัญหา รายการ คาอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน ประเมิน ดีมาก(4) ดี(3) พอใช้(2) ปรับปรุ ง(1) 4.ความพร้อม สมาชิกกลุ่มมีความ สมาชิกกลุ่มส่ วน สมาชิกกลุ่มบาง สมาชิกกลุ่มไม่มี เพรี ยง พร้อมเพรี ยงร่ วมมือ ใหญ่มีความพร้อม คนรับผิดชอบใน มีความพร้อม ร่ วมใจกันปฏิบติั เพรี ยงร่ วมมือร่ วม การปฏิบติ ั เพรี ยงร่ วมมือ กิจกรรมอย่างดียงจนิ่ ใจกันปฏิบติ ั กิจกรรมแต่ส่วน ร่ วมใจกันปฏิบติ ั ทาให้งานสาเร็ จลุล่วง กิจกรรมอย่างดีจน ใหญ่ยงไม่ให้ั กิจกรรมทาให้ ไปด้วยดี ทาให้งานสาเร็ จ ความร่ วมมือ งานไม่สาเร็ จ ลุล่วงไปได้ เท่าที่ควร ลุล่วง เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ 13-16 ดีมาก 9-12 ดี 5-8 พอใช้ 1-4 ปรับปรุ ง
  • 5. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1-4 1.นักเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 4 พุทธประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดกและชาวพุทธตัวอย่าง 2.ให้นกเรี ยนดูภาพพุทธประวัติ 3 ภาพ คือ ภาพการประสู ติ ภาพการตรัสรู้ และภาพการ ั เสด็จปริ นิพพาน แล้วสนทนาซักถามสาระสาคัญของแต่ละภาพ เช่น เป็ นภาพอะไร ตรงกับวันใด มีความสาคัญอย่างไร 3. ใช้กิจกรรม “ค้นหาความจริ ง” โยแบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน แจก กระดาษเปล่า 4 ใบ เป็ นใบกิจกรรมที่ 1-4 มีความจริ งที่นกเรี ยนต้องค้นหาอยู่ 4 ด้าน ดังนี้ ั - ด้านที่ 1 “ค้นหาความจริ งของการเสด็จออกผนวช” - ด้านที่ 2 “ค้นหาความจริ งของการตรัสรู้ ” - ด้านที่ 3 “ค้นหาความจริ งของการผจญมาร” - ด้านที่ 4 “ค้นหาความจริ งของการสังสอน” ่ 4. ให้สมาชิกในกลุ่มช่วยกันเขียนสรุ ปความจริ งที่คนพบในแต่ละด้านว่าพระพุทธเจ้าทรง ้ ปฏิบติอย่างไร และผลเป็ นอย่างไร ั 5.สมาชิกในกลุ่มช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องของความจริ งที่คนหา เสร็ จแล้วนาไปติด ้ ไว้บนกระดาน กลุ่มใดเสร็ จก่อนและถูกต้องมากที่สุดเป็ นผูชนะ ้ 6.ครู นาเสนอประเด็นอภิปรายดังนี้ “เจ้าชายสิ ทธัตถะทรงมีแบบอย่างที่ดีที่ทุกคนควรนามา ปฏิบติตามในด้านใดบ้าง และเมื่อปฏิบติแล้วจะมีผลดีอย่างไร” ั ั 7.นักเรี ยนสรุ ปและวิเคราะห์พุทธประวัติลงในแผนภาพใบงานที่ ๘.๑ แผนภาพสรุ ปและ วิเคราะห์พุทธประวัติ 8..ครู และนักเรี ยนร่ วมกันประเมินแผนภาพความคิด ชั่วโมงที่ 5-8 9.ให้นกเรี ยนดูป้ายบัตรคาชื่อพุทธสาวกดังนี้ “พระอานนท์” “พระโมคคัลลา” ั “พระสาลีบุตร” แล้วสนทนาซักถามนักเรี ยน โดยครู ใช้คาถาม ดังนี้ - บุคคลดังกล่าวเป็ นใคร - มีความสาคัญอย่างไรในพระพุทธศาสนา - คุณความดีหรื อลักษณะเด่นของบุคคลดังกล่าวมีอะไรบ้าง 10.แบ่งนักเรี ยนเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน ศึกษาประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา และบุคคล ในชาดกจากหนังสื อเรี ยน
  • 6. 11.นักเรี ยนแต่ละกลุ่มวิเคราะห์การปฏิบติตนที่เป็ นแบบอย่างของพุทธสาวก พุทธสาวิกา ั และบุคคลในชาดก จากนั้นให้นกเรี ยนบันทึกลงในใบงานที่ ๘.๒ การวิเคราะห์ประวัติและ ั คุณธรรม 12.นักเรี ยนแต่ละกลุ่มนาเสนองานหน้าชั้นเรี ยน ครู และนักเรี ยนกลุ่ม อื่นร่ วมอภิปราย เพิ่มเติมให้สมบูรณ์ยงขึ้น(โดยครู กาหนดให้ ๑ กลุ่ม นาเสนอเพียง ๑ เรื่ อง) ิ่ ๑๓.ให้นกเรี ยนฝึ กวิเคราะห์การปฏิบติตนของบุคคลในสังคมปั จจุบนจากข่าวหนังสื อพิมพ์ ั ั ั 2 ข่าว (ข่าวในทางบวก 1 ข่าว ข่าวในทางลบ 2 ข่าว) ลงในใบงานที่ 4.3 ความเป็ นจริ งในสังคม 14.ครู และนักเรี ยนร่ วมกันตรวจสอบความถูกต้องของใบงาน ชั่วโมงที่ 9-12 15.ให้นกเรี ยนนับเลข 1-4 ต่อกันจนครบทุกคน กาหนดให้นกเรี ยนที่ 1 ทุกคน ศึกษา ั ั คาถามข้อที่ 1 นักเรี ยนที่นบ 2 ทุกคน ศึกษาคาถามข้อที่ 2 นักเรี ยนที่นบ 3 ทุกคน ศึกษาคาถามข้อ ั ั ที่ 3 นักเรี ยนที่นบ 4 ทุกคน ศึกษาคาถามข้อที่ 4 คาถามทั้ง 4 ข้อ มีดงนี้ ั ั - จากคากล่าวที่วา “คนเรี ยนเก่งไม่น่ากลัวแต่จงกลัวคนที่ขยันเรี ยน” ่ - นักเรี ยนจะนาข้อคิดที่ได้จากการศึกษาประวัติพระสาลีบุตร พระโมคคัลลานเถระ พระเจ้าพิมพิสาร และ นางขุตชุตตรา มาเป็ นแนวทางในการปฏิบติ ั ชีวตประจาวันได้อย่างไรบ้าง และถ้าปฏิบติจะเกิดผลอย่างไร ิ ั - นักเรี ยนสามารถนาข้อคิดที่ได้จากการศึกษาชาดกทั้งสองเรื่ องมาใช้ใน ชีวตประจาวันได้อย่างไร จงยกตัวอย่าง ิ - นักเรี ยนคิดว่าจะนาข้อคิดที่ได้จากการศึกษาประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา และ บุคคลในชาดกมาแก้ปัญหาในชีวตประจาวันได้อย่างไร จงยกตัวอย่าง ิ 16.ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มวางแผนแสดงละครบทบาทสมมุติ สร้างความเข้าใจการนา ั แบบอย่างการประพฤติปฏิบติตนของพุทธสาวก พุทธสาวิกา และชาดกมาใช้ในการแก้ปัญหาการ ั ดาเนินชีวต ิ 17.สมาชิกกลุ่มแสดงละครบทบาทสมมุติ สร้างความเข้าใจการนาแบบอย่างการประพฤติ ปฏิบติตนของพุทธสาวก พุทธสาวิกา และชาดกมาใช้ในการแก้ปัญหาการดาเนินชีวต ั ิ 18.หลังจากแต่ละกลุ่มแสดงเสร็ จ ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายสรุ ปถึงประเด็นที่สมาชิก ลุ่มคัดเลือกนามานาเสนอ พร้อมทั้งร่ วมกันสรุ ปแนวทางปฏิบ ัติในการแก้ปัญหาร่ วมกับกลุ่มผูแสดง ้ 19.นักเรี ยนแต่ละคนเลือกคุณธรรมของ พุทธสาวก พุทธสาวิกา และบุคคลในชาดกที่ นักเรี ยนประทับใจมากาหนดเป็ นแนวปฏิบติตนเพื่อให้มีความสุ ขในชีวตประจาวันลงในใบงานที่ ั ิ
  • 7. 4.5 ฉันทาได้ 20.ครู คดเลือกผลงานดีเด่นของนักเรี ยนติดป้ ายนิ เทศ พร้อมกับให้คาชมเชยและให้กาลังใจ ั นักเรี ยนที่ไม่ได้รับเลือกผลงาน สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้ สื่ อการเรียนรู้ 1.หนังสื อเรี ยนสังคมศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 2.ใบงานที่ 4.1 แผนภาพสรุ ปและวิเคราะห์พุทธประวัติ 3.ใบงานที่ 4.2 วิเคราะห์ประวัติและคุณธรรมของพุ ทธสาวก พุทธสาวิกา และ บุคคลในชาดก 4.ใบงานที่ 4.3 ความเป็ นจริ งในสังคม 5.ใบงานที่ 4.4 เป็ นคนดีทาได้ดงนี้ ั 6.ใบงานที่ 4.5 ฉันทาได้ 7.ภาพการประสู ติ ภาพการตรัสรู้ และภาพการเสด็จปริ นิพพาน 8.ป้ ายบัตรคา“พระอานนท์” “พระโมคคัลลา” “พระสาลีบุตร” แหล่ งเรียนรู้ 1.ห้องสมุด 2.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ http://www.aksom.com/Lib/S/Soc_03 http://www.dip.go.th http://www.thaibdc.or.th http://www.money.mweb.co.th/