SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
Télécharger pour lire hors ligne
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๔
กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา      ชื่อหน่ วย:ธรรมชาติเปลียนแปลงคน
                                                    ่            สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
ศาสนา และวัฒนธรรม          เปลียนไปของทวีปยุโรปและแอฟริกา
                                ่                                ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
ประกอบหน่ วยการเรียนรู้    ชื่อแผน: สิ่ งแวดล้อมดีสังคมดีมี      เวลาเรียน : ๗ ชั่วโมง
ที่ ๒                      ความสุ ข
สาระที่ ๕ ภูมศาสตร์
             ิ
มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ
                                             ั
สร้างสรรค์วฒนธรรม มีจิตสานึกและมีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อม เพื่อการ
            ั
พัฒนาที่ยงยืน
         ั่
๑. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
         การเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม การอนุรักษ์ธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อม ปั ญหาและผลกระทบเกี่ยวกับสิ่ งแว ดล้อมสิ่ งแวดล้อม ของทวีป ยุโรปและแอฟริ กาที่มี
ต่อประเทศไทย
๒. ตัวชี้วด/จุดประสงค์ การเรียนรู้
          ั
         ๒.๑ ตัวชี้วด
                    ั
         ส ๕.๒ ม.๒/๑ วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมอันเป็ นผลจากการ
เปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและทางสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริ กา
                ม.๒/๒ ระบุแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมในทวียโรป    ุ
และแอฟริ กา
                ม.๒/๓ สารวจ อภิปรายประเด็นปั ญหาเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปยุโรป
และแอฟริ กา
                ม.๒/๔ วิเคราะห์เหตุและผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการเปลี่ยนแปลงของ
สิ่ งแวดล้อมในทวีปยุโรปและแอฟริ กา
         ๒.๒ จุดประสงค์ การเรียนรู้
                ๑.วิเคราะห์การเกิดสิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมอันเป็ นผลจากการเปลี่ยนแปลงทาง
ธรรมชาติและทางสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริ กาได้
                ๒.วิเคราะห์เหตุและผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการเปลี่ยนแปลงของ
สิ่ งแวดล้อมในทวีปยุโรปและแอฟริ กาได้
๓. สาระการเรียนรู้
      ๓.๑ สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
                ๑.วิเคราะห์ การเกิดสิ่ งแวดล้อมใหม่ ทางสังคมอันเป็ นผลจากการเปลี่ยนแปลงทาง
ธรรมชาติและทางสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริ กา
                ๒.การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม และผลกระทบจาก
การเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมของทวีปยุโรปและแอฟริ กาที่มีต่อประเทศไทย
๔. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
         ๔.๑ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
         ๔.๒ ความสามารถในการคิด
 -               ทักษะการคิดวิเคราะห์
 -               ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ
                                         ิ
 -               ทักษะการคิดสังเคราะห์
         ๔.๓ ความสามารถในการใช้ชีวต        ิ
 -               กระบวนการปฏิบติ   ั
 -               กระบวนการกลุ่ม
๕.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
       ๑.มีวนย
             ิ ั
       ๒.ใฝ่ เรี ยนรู้
       ๓.มุ่งมันในการทางาน
                 ่
๖.รู ปแบบการจัดการเรียนการสอน
        การจัดการเรียนรู้ โดยใช้ ทกษะกระบวนการ ๙ ขั้น
                                  ั
๗. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๑-๒
          ขั้นตระหนักในปัญหาและความจาเป็ น
          ๑.ครู นาภาพพยนต์เรื่ อง วิกฤตการณ์ ๒๐๑๒ มาฉายให้นกเรี ยนดู พร้อมกับนาภาพข่าว
                                                              ั
สถานการณ์สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปยุโรปและแอฟริ กามาแสดงพร้อมพูดคุยถึงผลกระทบจาก
ปั ญหาที่เกิดขึ้นที่มีต่อผูคนในทวีปยุโรปและแอฟริ กา และผลกระทบที่มีต่อประชากรโลกใน
                           ้
ปั จจุบน เช่น ภาพข่าวภัยพิบติที่เกิดขึ้นในประเทศต่าง ๆ ทัวโลก
       ั                      ั                          ่
ชั่วโทงที่ ๓-๔
          ขั้นคิดวิ เคราะห์ วจารณ์
                             ิ
          ๒.ให้นกเรี ยนยกตัวอย่างสถานการณ์เกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปยุโรปและ
                    ั
แอฟริ กาหรื อประเทศอื่นในโลกว่าสถานการณ์หรื อเหตุการณ์ดงกล่าวเกิดขึ้นโดยมีสาเหตุจากอะไร
                                                                ั
หรื อเป็ นผลกระทบจากสาเหตุใด โดยสุ่ มตัวแทนนักเรี ยน ๒-๓ คนมานาเสนอความคิดเห็น
          ๓.แบ่งนักเรี ยนเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๘ คน ตามความสมัครใจ นาสภาพปัญหา
สิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีป ยุโรปและแอฟริ กา มาระดมสมองร่ วมกันอภิปรายเพื่อ เปรี ยบเทียบ
สภาพปั ญหาสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในประเทศไทย โดยสื บค้นข้อมูล เพื่อนาข้อมูล อภิปรายย่อยใน
กลุ่มของตนเอง
          ขั้นสร้ างทางเลือกให้ หลากหลาย
          ๔.หลังจากการระดมสมองของกลุ่มแล้ว กาหนดให้สมาชิกกลุ่มทุกกลุ่ม นาสถานการณ์
ปั ญหาสิ่ งแวดล้อม ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย และการ วิธีการแก้ปัญหา ที่ได้ดาเนินการไปแล้ว ว่ามี
ความเหมือนหรื อแตกต่างในด้านการดาเนินการและผลที่ได้จากการดาเนินการแก้ปัญหา
สิ่ งแวดล้อมของไทยกับ ทวีป ยุโรปและ แอฟริ กา มานาเสนอ พร้อมกับเสนอแนะ แนวทางวิธีการ
แก้ปัญหาตามแนวทางการ ระดมสมองของกลุ่มตนเองร่ วมด้วย เพื่อป้ องกันมิให้เกิดปั ญหาขึ้นอีก
หรื อถ้าไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ก็ให้สถานการณ์ที่เกิดขึ้นไม่รุนแรงมากนัก ประชาชนผูท่ีได้รับ
                                                                                       ้
ผลกระทบจากปั ญหาดังกล่าวได้รับความเสี ยหายน้อยที่สุด ที่สาคัญแนวทางการแก้ปัญหาที่สมาชิก
กลุ่มได้วางไว้ควรเป็ นแนวทางที่ปฏิบติได้และเป็ นที่ยอมรับของสังคม
                                        ั
          ขั้นประเมินและเลือกทางเลือก
          ๕.หลังจากกลุ่มได้นาเสนอ ครู และนักเรี ยนร่ วมกัน เขียนสรุ ปปัญหาและแนวทางการ
แก้ปัญหาจากที่กลุ่มนาเสนอบนกระดานทีละกลุ่ม จนครบทุกกลุ่ม ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปเชื่อ
โยงปั ญหาสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปยุโรปและแอฟริ กาที่มีความคล้ายคลึงกับปั ญหาสิ่ งแวดล้อมที่
เกิดขึ้นในประเทศไทยหรื อที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย เชื่อ มโยงจากปั ญหาของแต่ละกลุ่มได้
นาเสนอ
ชั้วโมงที่ ๕-๖
          ขั้นกาหนดและลาดับขั้นตอนการปฏิบัติ
          ๖.ครู เชื่อมโยงปั ญหาสิ่ งแวดล้อมที่ได้สรุ ปไว้ในคราวที่แล้วให้เข้ากับสถานการณ์ปัญหา
สิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในโรงเรี ยน ให้ตวแทนแต่ละกลุ่มนาเสนอปั ญหาพร้อมกับแนวทางวิธีการ
                                          ั
แก้ปัญหา ครู และนักเรี ยนร่ วมกันประเมินความจาเป็ นและความรุ นแรงของสถานการณ์ปัญหา
สิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในห้องเรี ยนของนักเรี ยนหรื อเกิดขึ้นในโรงเรี ยน ร่ วมกันเลือกปั ญหาที่เด่น
ที่สุด สาคัญที่สุด และจาเป็ นที่สุดที่จะต้องแก้ปัญหาเหล่านั้นเนื่องจากมีผลกระทบต่อตัวนักเรี ยน
โดยตรง แล้วให้สมาชิกทุกกลุ่มร่ วมกันเสนอแนวทางการแก้ปัญหานั้น โดยกาหนดขั้นตอนการ
ทางาน ผูรับผิดชอบ ระยะเวลาการทางาน และวิถีการประเมินผลไว้อย่างชัดเจน (การปฏิบติอาจใช้
           ้                                                                                ั
นอกเวลาเรี ยน)
          ปฏิบัติด้วยความชื่นชม
          ๗.สมาชิกลุ่มปฏิบติงานตามขั้นตอนและหน้าที่ตามที่ได้กาหนดไว้
                               ั
          ประเมินระหว่างปฏิบัติ
          ๘.ครู และนักเรี ยนผูรับผิดชอบ ประเมินผลระหว่างปฏิบติ มีการประชุมสมาชิกสอบถาม
                                   ้                              ั
ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบติงาน และมีการประเมินผลการปฏิบติงานตามขั้นตอนและตามแผนที่
                                 ั                                  ั
กาหนดไว้ โดยสมาชิกที่ได้รับมอบหมาย โดยสรุ ปผลการทางานแต่ละช่วง ผูประเมินและสมาชิก้
ร่ วมกันเสนอแนวทางการปรับปรุ งแก้ปัญหาในการปฏิบติ          ั
          ปรับปรุ งให้ ดีขึนอยู่เสมอ
                           ้
          ๙.ผูปฏิบติหน้าที่หรื อผูรับผิดชอบนาผลและข้อเสนอแนะจากผูประเมินมาปรับปรุ งการ
              ้ ั                      ้                                 ้
ปฏิบติงานให้มีประสิ ทธิ ภาพยิงขึ้น
       ั                             ่
ชั่วโมงที่ ๗
          ประเมินผลรวมเพือให้ เกิดความภูมิใจ
                             ่
          ๑๐.นักเรี ยนสรุ ปผลการดาเนินงาน นาเสนอผลงาน ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปผลของ
งานและผลที่ได้รับ เชื่อมโยงไปสู่ ปัญหาสิ่ งแวดล้อมที่ใหญ่และไกลตัวมากยิงขึ้น และแนวทางการ
                                                                               ่
แก้ปัญหาสิ่ งแวดล้อมซึ่ งสามารถดาเนินการได้ถาได้รับความร่ วมมือจากสมาชิกกลุ่ม จากประชากร
                                                    ้
ทุกคนและประชากรทัวโลก    ่
          ๑๑.นักเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยน
๘.การวัดและการประเมินผล
          การประเมินก่อนเรียน
   -                ทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ ๒ ธรรมชาติเปลี่ยนแปลง
คนเปลี่ยนไปของทวีปยุโรปและแอฟริ กา
          การประเมินระหว่ างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
                   ๑.ใบงานที่ ๔.๑ เรื่ องร่ วมคิดร่ วมทา
                   ๒.ใบงานที่ ๔.๒ เรื่ องการแก้ ปัญหาสิ่ งแวดล้ อมของทวีปยุโรป
                   ๓. แบบประเมินการอภิปรายกลุ่ม
๔.แบบประเมินการนาเสนองานหน้าชั้นเรี ยน
                     ๕.แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
           การประเมินผลหลังเรียน
 -                    ทาแบบทดสอบหลังเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู้ที่ ๒ ธรรมชาติเปลี่ยนแปลงคน
เปลี่ยนไปของทวีปยุโรปแอฟริ กา
สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้
           สื่ อการเรียนรู้
                     ๑.หนังสื อเรี ยนสังคมศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
                     ๒.ภาพพยนต์เรื่ อง วิกฤตการณ์ ๒๐๑๒
                     ๓.ภาพข่าวสถานการณ์สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปยุโรปและแอฟริ กาและทัวโลก
                                                                                        ่
                     ๔.ใบงานที่ ๔.๓ เรื่ อง
           แหล่ งเรียนรู้
           ๑.ห้องสมุด
           ๒.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
                     http://www.trueplookpanya.com
                     http://www.panyathai.or.th
                     http://www.aksorn.com/Lib/S/Soc_05
                     http://www.tiewroblok.com/
                     http://www.thai.net/lokkongrao/default.htm/
ใบงานที่ ๔.๑
กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา ชื่อหน่ วย:ธรรมชาติเปลียนแปลงคน                       ่                            สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
ศาสนา และวัฒนธรรม เปลียนไปของทวีปยุโรปและแอฟริกา
                                             ่                                                           ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
รายวิชาสั งคมศึกษา ๔                  ชื่อใบงาน: ร่ วมคิดร่ วมทา                                         เวลาเรียน : ๗ ชั่วโมง
รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑
              ชื่อ.................................................................ชั้ น..............เลขที่.....................
คาสั่ ง ให้นกเรี ยนดูรูปภาพแล้วร่ วมกันอภิปรายในประเด็นปั ญหาขยะอิเล็คทรอนิคที่เกิดขึ้นใน
            ั
ระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และในระดับโลกปัจจุบน พร้อมเสนอแนวทางการแก้ปัญหา      ั




สรุ ปการอภิปรายปัญหา......................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
แนวทางการแก้ปัญหา.........................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
ใบงานที่ ๔.๒
กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา                   ชื่อหน่ วย:ธรรมชาติเปลียนแปลงคน สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
                                                                              ่
ศาสนา และวัฒนธรรม                       เปลียนไปของทวีปยุโรปและแอฟริกา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
                                              ่
รายวิชาสั งคมศึกษา ๔                    ชื่อใบงาน: การแก้ปัญหาสิ่ งแวดล้อม เวลาเรียน : ๖ ชั่วโมง
รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑                         ของทวีปยุโรป
              ชื่อ.................................................................ชั้ น..............เลขที่.....................
คาสั่ ง ให้นกเรี ยนอ่านบทความต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม
            ั




               Written by คณะผูแทนไทยประจาประชาคมยุโรป
                               ้
               Monday, 26 February 2007

             ใน ช่วงนี้ สหภาพยุโรปดูมีความกระตือรื อล้นจริ งจังในประเด็นเรื่ องสิ่ งแวดล้อมและ
                             ่
พลังงานเป็ นอย่างมาก ที่ผานมา ทางเว็บไซต์ไทยยุโรป.เน็ตได้นาเสนอความคืบหน้าของท่าทีของ
คณะกรรมาธิการ ยุโรปในเรื่ องพลังงานและสิ่ งแวดล้อมมาอย่างสม่าเสมอ เพื่อให้ได้ภาพที่สมบูรณ์
ขึ้น ทางทีมงานจึงขอนาเสนอมุมมองในเรื่ องดังกล่าวจากภาคธุ รกิจและประชาชนในยุโรป และได้
ไปสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ของสหภาพยุโรปซึ่งรับผิดชอบในการรวบรวมความเห็น ของภาคสังคมใน
ยุโรปเพื่อซักถามในประเด็นดังกล่าวมานาเสนอ และได้ฟังอีกมุมมองหนึ่งที่น่าสนใจ
ทาไมชาวยุโรปจึงดูรักสิ่ งแวดล้ อม
             หากดูจากมุมมองของประเทศที่สามแล้ว อาจดูเหมือนว่าชาวยุโรปมีความตื่นตัวและใส่ ใจ
เรื่ องสิ่ งแวดล้อมมากที่สุด ภูมิภาคหนึ่งของโลก ทาให้สามารถบังคับใช้กฏระเบียบต่างๆด้าน
สิ่ งแวดล้อมได้ ทั้งนี้ เจ้าหน้าที่สหภาพยุโรปได้ให้ความเห็นว่า ชาวยุโรปส่ วนใหญ่ตองการเห็น
                                                                                       ้
ตัวเองเป็ นผูนาในเรื่ องดังกล่าว อยากเห็นยุโรปเป็ นตัวอย่างในการรักษาสิ่ งแวดล้อมแก่ประเทศอื่นๆ
                ้
(แม้ในความเป็ นจริ ง ยุโรปอาจไม่ได้เป็ นภูมิภาคที่เป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อมมากที่สุดในโลกก็ตาม)
ทั้งนี้เป็ นเพราะ นอกจากการชาวยุโรปจะตระหนักว่าปั ญหาสภาวะอากาศเปลี่ยนแปลงเป็ นหนี่งใน
ปัญหา ร้ายแรงที่จะส่ งผลกระทบอย่างรุ นแรงต่อมวลมนุษยชาติแล้ว เรื่ องดังกล่าวยังเป็ นเรื่ องของ
                                    ่
ปัญหาจริ ยธรรมด้วย ด้วยเหตุที่วายุโรปเป็ นผูเ้ ริ่ มการปฏิวติอุตสาหกรรม ซึ่งเป็ นปรากฏการณ์ที่
                                                           ั
นาไปสู่ ปัญหาที่โลกกาลังเผชิญอยูในวันนี้อนที่จริ งแล้ว ยุโรปได้ตระหนักถึงผลร้ายของการเผา
                                      ่      ั
ผลาญเชื้อเพลิงและการใช้ทรัพยากร อย่างมหาศาลเพื่อการปฏิวติอุตสาหกรรมมาตั้งแต่ร้อยกว่าปี ที่
                                                                  ั
แล้ว ในปี 1896 ได้มีรายงานคาดการณ์ถึงผลเสี ยต่อสิ่ งแวดล้อมของโลกออกมาเป็ นฉบับแรก ใน
วันนี้ ยุโรปจึงไม่ตองการเห็นประเทศอื่นๆต้องซ้ ารอยสิ่ งที่ตนทาในอดีตในการพัฒนา ประเทศ มิ
                    ้
เช่นนั้น หากจีนหรื ออินเดียต้องใช้ทรัพยากรสิ่ งแวดล้อมในแบบเดียวที่ยโรปเคยทาก่อน เพื่อพัฒนา
                                                                          ุ
ประเทศให้เป็ นประเทศพัฒนาแล้ว สิ่ งแวดล้อมของโลกคงเข้าขั้นวิกฤติแน่ เพื่อการนี้ สหภาพยุโรป
จึงพยายามพัฒนาเทคโนโลยีและแนวทางการปฏิบติในการรักษาสิ่ งแวด ล้อม เพื่อที่ประเทศต่างๆ
                                                      ั
จะได้กระโดดข้ามขั้นตอนที่ยโรปเคยทา ไปสู่ ระบบเศรษฐกิจที่ปล่อยก๊าซคาร์ บอนเพียงแต่นอยเลย
                                 ุ                                                           ้
นอกจากนี้ ยุโรปยังเห็นประโยชน์ในด้านการค้าที่จะได้จากการขายเทคโนโลยีดงกล่าวด้วย ั
เสี ยงของภาคประชาชนต่ อคณะกรรมาธิการยุโรป: หรือคณะกรรมาธิการฯอาจตั้งเปาหมายผิด !?   ้
คณะกรรมาธิ การยุโรปได้กล่าวไว้ในแผนงาน Energy Policy for Europe ว่า มาตรการสิ่ งแวดล้อม
                                                         ่
ต่างๆที่จะออกมาเพื่อรองรับแผนงานดังกล่าวนั้น จะตั้งอยูบนหลักการ 3 ประการ คือ เพื่อการพัฒนา
ที่ยงยืน (รวมทั้ ง การรักษาสิ่ งแวดล้อม) ความมันคงทางพลังงาน และความสามารถในการแข่งขัน
     ั่                                         ่
ทางเศรษฐกิจ แต่บางครั้ง หลักการทั้งสามนี้อาจขัดแย้งกันได้ โดยเฉพาะอย่างยิง เรื่ องการรักษา
                                                                              ่
สิ่ งแวดล้อมและเรื่ องการพัฒนาศักยภาพในเชิงเศรษฐกิจ ถ้าเป็ นเช่นนั้นแล้ว คณะกรรมธิการยุโรป
จะให้น้ าหนักเรื่ องไหนมากกว่าเจ้าหน้าที่คนดังกล่าวให้ความเห็นว่า ดูเหมือนว่าในปั จจุบน ั
คณะกรรมาธิ การยังคงสนใจเรื่ องการพัฒนาศักยภาพทางเศรษฐกิจมาเป็ นอันดับหนึ่ง ในการออก
นโยบายหรื อมาตรการต่างๆ คณะกรรมาธิ การยังคงให้ความสาคัญการเพิมขีดความสามารถในการ
                                                                            ่
แข่งขันของยุโรป เป็ นสาคัญ พร้อมทั้งตั้งคาถามว่า แท้จริ งแล้ว คณะกรรมาธิการยุโรปจัดลาดับ
ความสาคัญของนโยบายถูกต้องหรื อไม่ท้ งนี้เนื่องจาก ในฐานะฝ่ ายบริ หาร เป้ าหมายสู งสุ ดสาหรับ
                                          ั
                                                  ่
คณะกรรมาธิ การยุโรปควรจะเป็ นไปเพื่อความอยูดีมีสุขของ ประชาชนชาวยุโรป การพัฒนาทาง
เศรษฐกิจจึงเป็ นแค่หนึ่ งในสิ่ งที่จะนาความสุ ขมาให้ประชาชน ไม่ใช่เป้ าหมายสู งสุ ด และการรักษา
สิ่ งแวดล้อมก็เป็ นหนึ่งในหัวใจสาคัญที่จะนาไปสู่ ความความอยูดี มีสุขของประชาชน หากไม่มี
                                                               ่
สิ่ งแวดล้อมที่ดี ชาวยุโรปก็ไม่สามารถมีสุขภาพชีวตที่ดีได้ ถ้าเป็ นเช่นนัน การให้น้ าหนักมุ่งมัน
                                                    ิ                   ่                      ่
พัฒนาเศรษฐกิจมากกว่าใส่ ใจด้านสิ่ งแวดล้อม ก็เท่ากับว่าคณะกรรมาธิ การยุโรปอาจตั้งเป้ าหมาย
สู งสุ ดของตัวเองผิดไป บางที การใช้ตวเลข GDP เพื่อวัดความสาเร็ จของชาติอาจเป็ นวิธีที่ผด เพราะ
                                        ั                                                  ิ
GDP ไม่ได้บ่งบอกถึงความสุ ขของประชาชนในชาติแม้แต่นอย        ้
ภาคประชาชนและธุรกิจมีนาหนักในสหภาพยุโรปเพียงใด: เสี ยงทีหายไป !?
                               ้                                   ่
          สหภาพยุโรปให้ความสาคัญต่อภาคประชาชนและธุ รกิจเสมอมา สนธิ สัญญาจัดตั้ง
ประชาคมยุโรป 1957 ได้จดตั้งหน่วยงานที่ชื่อว่า The European Economic and Social Committee
                           ั
(EESC) เพื่อรับรองว่าความเห็นและผลประโยชน์ของภาคประชาชนและธุ รกิจจะได้รับการดูแล ใน
ขั้นตอนการออกระเบียบต่างๆของสหภาพยุโรป ด้วยการให้ประเทศสมาชิกคัดเลือกและเสนอชื่อ
กลุ่มผลประโยชน์เข้ามาเป็ นสมาชิก ของ EESC และจะอยูในวาระเป็ นระยะเวลา 4 ปี ทั้งนี้ กลุ่ม
                                                           ่
ผลประโยชน์ดงกล่าวจะประกอบจากกลุ่มนายจ้าง กลุ่มลูกจ้าง และกลุ่มผลประโยชน์อื่นๆ
                  ั
ปัจจุบน เมื่อคณะกรรมาธิ การยุโรปจะเสนอร่ างระเบียบใหม่ๆ จาเป็ นต้องส่ งเรื่ องให้ EESC ออก
         ั
ความเห็นเสี ยก่อน EESC ยังสามารถให้ความเห็นต่อคณะมนตรี ยโรปและสภายุโรปได้อีกด้วย ซึ่ ง
                                                                  ุ
ประเด็นที่ EESC จะให้ความเห็นนั้นครอบคลุมไปถึงประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกับประเทศที่ สามได้ ด้วย
ทั้งนี้ EESC ได้มีการจัดตั้งความร่ วมมืออย่างเป็ นทางการกับหน่วยงานด้านกลุ่มผลประโยชน์ ของ
ภาคธุ รกิจและประชาชนของหลายๆประเทศและภูมิภาคในโลก รวมไปถึง จีน ญี่ปุ่น และอินเดีย
เพื่อที่จะประชุมและระดมความเห็นและกลับไปนาเสนอต่อหน่วยงานรัฐที่เกี่ยว ข้องในประเทศตน
ต่อไป (หรื อคณะกรรมาธิการยุโรป ในกรณี ของ EESC) ทั้งนี้ EESC ยังกาลังพยายามผลักดันที่จะให้
ตนมีบทบาทในการประชุมสุ ดยอดยุโรป – เอเชีย หรื อ อาเซม ด้วย เพราะในปั จจุบน ในส่ วน
                                                                               ั
People to People ของ อาเซมนั้น กลับไม่มี EESC เข้าไปเกี่ยวข้อง โดยคาดว่า การประชุมอาเซมครั้ง
ที่ 7 ที่ประเทศจีนในปี 2008 EESC จะเข้าไปมีส่วนร่ วมในส่ วน People to Peopleอย่างไรก็ตาม แม้
คณะกรรมาธิการยุโรปจาเป็ นต้อง “ปรี กษา” แต่ไม่จาเป็ นต้อง “ฟัง” EESC เพราะความเห็นที่ EESC
ให้น้ นไม่มีผลทางกฏหมาย ดังนั้น ในบางครั้ง แม้ความห่วงกังวลของภาคประชาชน เช่นเรื่ องการ
       ั
รักษาสิ่ งแวดล้อมและการพัฒนาเศรษฐกิจที่ยงยืน อาจไปถึงฝ่ ายบริ หารของสหภาพยุโรป แต่ก็อาจ
                                              ่ั
ถูกกลืนหายไปในกระแสการทางานได้บทสรุ ป: เศรษฐกิจพอเพียงคือคาตอบ...แม้ ความเห็น
ดังกล่าวจะเป็ นเพียงแค่ความเห็นเพียงหนึ่งความเห็นของเจ้าหน้าที่ ของสหภาพยุโรปคนหนึ่งเท่านั้น
แต่ก็น่าแปลกใจและดีใจที่หลังจากที่ชาติตะวันตกมุ่งแต่พฒนาเศรษฐกิจโดยโหม ใช้ทรัพยากรของ
                                                         ั
โลกอย่างเต็มที่มาเป็ นเวลาเกือบ 200 ปี โดยมิได้คานึงถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และวัด
ความสาเร็ จต่างๆด้วย “จานวน” ว่าผลิตออกมาได้มากเท่าไหร่ บริ โภคได้มากเท่าไหร่ หรื อ มีเงิน
จับจ่ายใช้สอยเท่าไหร่ มากกว่าจะวัด “คุณภาพ” ของกิจกรรมเหล่านั้น ว่านามาซึ่ งความสุ ขอย่าง
ยังยืนของประชาชนหรื อไม่ในวันนี้ เริ่ มมีชาวยุโรปกลับมาทบทวนแนวทางการพัฒนาของตนเอง ที่
  ่
ดาเนินมาเป็ นร้อยปี และถือเป็ นแนวทางที่ใช้เป็ น “มาตรฐาน” ของทัวโลก ว่าถูกต้องหรื อไม่
                                                                    ่
ความเห็นของเจ้ าหน้ าที่ คนดังกล่ าวดังกล่ าวดูจะสะท้ อนรั บปรั ชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทีเ่ น้ น
การพัฒนาทีตั้งอยู่บนพืนฐานของทางสายกลางและความไม่ ประมาท โดยคานึงถึงความ
               ่          ้
พอประมาณและความมีเหตุผลในการกระทาทุกๆอย่ าง แม้ผพดอาจไม่ตระหนักในเรื่ องนี้ก็ตาม
                                                             ู้ ู
จึงเป็ นที่น่าดีใจที่ประเทศไทยตระหนักตื่น ไหวตัว ก่อนที่จะเดินตามทางการพัฒนาที่อาจเป็ นแค่
“ภาพลวงตา” แบบตะวันตก และหันมาให้ความสาคัญกับปรัชญาของโลกตะวันออก ที่เน้นการ
พัฒนาที่สมดุลและยังยืน มีความกลมเกลียวกับธรรมชาติ พร้อมมุ่งหาทางนาปรัชญาดังกล่าวไป
                        ่
ปรับใช้ในเชิงปฏิบติต่อไป
                      ั
ตอบคาถาม
๑.เพราะเหตุใดชาวยุโรปจึงมีความตื่นตัวและห่วงใยสิ่ งแวดล้อม ?
ตอบ....................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
๒.ความรู ้สึกการรับผิดชอบต่อปั ญหาสิ่ งแวดล้อมของชาวยุโรปมีผลสื บเนื่องมาจากเรื่ องใด
ตอบ....................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
๓.เป้ าหมายการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาสิ่ งแวดล้อมของยุโรปคืออะไร
ตอบ....................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
๔. ‘GDP” คืออะไร เกี่ยวข้องอย่างไรต่อสิ่ งแวดล้อม
ตอบ....................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
๕. “EESC” คืออะไร เกี่ยวข้องอย่างไรต่อสิ่ งแวดล้อม
ตอบ....................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
๖. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของไทยมีส่วนช่วยแก้ปัญหาสิ่ งแวดล้อมได้หรื อไม่ อย่างไร
ตอบ....................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................

Contenu connexe

Tendances

วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีทkroobannakakok
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางguest6e231b
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองIct Krutao
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3New Nan
 

Tendances (19)

หน่วยที่๙
หน่วยที่๙หน่วยที่๙
หน่วยที่๙
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
หน่วยที่๗
หน่วยที่๗หน่วยที่๗
หน่วยที่๗
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
 
หน่วยที่๓
หน่วยที่๓หน่วยที่๓
หน่วยที่๓
 
หน่วยที่๒
หน่วยที่๒หน่วยที่๒
หน่วยที่๒
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑
 
หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 

En vedette (7)

วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
หน่วยที่๕
หน่วยที่๕หน่วยที่๕
หน่วยที่๕
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 

Similaire à แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔

แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-socPrachoom Rangkasikorn
 
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์Aun Chun Cha Ree
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8supap6259
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้าKruthai Kidsdee
 
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิตmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีPakornkrits
 
Assignment 4 Siriporn
Assignment 4 SiripornAssignment 4 Siriporn
Assignment 4 Siripornsiriporn9915
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551Weerachat Martluplao
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4dechathon
 

Similaire à แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔ (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ประถม 4-6 หน่วย 4+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u04-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 4+477+dltvsocp5+T2 p4 6-u04-soc
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
Astroplan16
Astroplan16Astroplan16
Astroplan16
 
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาอาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
 
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
 
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
2553 โครงการค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
 
Science dep curr2551
Science dep curr2551Science dep curr2551
Science dep curr2551
 
นิ่ง
นิ่งนิ่ง
นิ่ง
 
Assignment 4 Siriporn
Assignment 4 SiripornAssignment 4 Siriporn
Assignment 4 Siriporn
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
 

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๔ กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา ชื่อหน่ วย:ธรรมชาติเปลียนแปลงคน ่ สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม เปลียนไปของทวีปยุโรปและแอฟริกา ่ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ประกอบหน่ วยการเรียนรู้ ชื่อแผน: สิ่ งแวดล้อมดีสังคมดีมี เวลาเรียน : ๗ ชั่วโมง ที่ ๒ ความสุ ข สาระที่ ๕ ภูมศาสตร์ ิ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กบสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ ั สร้างสรรค์วฒนธรรม มีจิตสานึกและมีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อม เพื่อการ ั พัฒนาที่ยงยืน ั่ ๑. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด การเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม การอนุรักษ์ธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้อม ปั ญหาและผลกระทบเกี่ยวกับสิ่ งแว ดล้อมสิ่ งแวดล้อม ของทวีป ยุโรปและแอฟริ กาที่มี ต่อประเทศไทย ๒. ตัวชี้วด/จุดประสงค์ การเรียนรู้ ั ๒.๑ ตัวชี้วด ั ส ๕.๒ ม.๒/๑ วิเคราะห์การก่อเกิดสิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมอันเป็ นผลจากการ เปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติและทางสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริ กา ม.๒/๒ ระบุแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมในทวียโรป ุ และแอฟริ กา ม.๒/๓ สารวจ อภิปรายประเด็นปั ญหาเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปยุโรป และแอฟริ กา ม.๒/๔ วิเคราะห์เหตุและผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการเปลี่ยนแปลงของ สิ่ งแวดล้อมในทวีปยุโรปและแอฟริ กา ๒.๒ จุดประสงค์ การเรียนรู้ ๑.วิเคราะห์การเกิดสิ่ งแวดล้อมใหม่ทางสังคมอันเป็ นผลจากการเปลี่ยนแปลงทาง ธรรมชาติและทางสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริ กาได้ ๒.วิเคราะห์เหตุและผลกระทบที่ประเทศไทยได้รับจากการเปลี่ยนแปลงของ สิ่ งแวดล้อมในทวีปยุโรปและแอฟริ กาได้
  • 2. ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ สาระการเรียนรู้ แกนกลาง ๑.วิเคราะห์ การเกิดสิ่ งแวดล้อมใหม่ ทางสังคมอันเป็ นผลจากการเปลี่ยนแปลงทาง ธรรมชาติและทางสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริ กา ๒.การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม และผลกระทบจาก การเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมของทวีปยุโรปและแอฟริ กาที่มีต่อประเทศไทย ๔. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ๔.๑ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๔.๒ ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ - ทักษะการคิดสังเคราะห์ ๔.๓ ความสามารถในการใช้ชีวต ิ - กระบวนการปฏิบติ ั - กระบวนการกลุ่ม ๕.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑.มีวนย ิ ั ๒.ใฝ่ เรี ยนรู้ ๓.มุ่งมันในการทางาน ่ ๖.รู ปแบบการจัดการเรียนการสอน การจัดการเรียนรู้ โดยใช้ ทกษะกระบวนการ ๙ ขั้น ั ๗. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑-๒ ขั้นตระหนักในปัญหาและความจาเป็ น ๑.ครู นาภาพพยนต์เรื่ อง วิกฤตการณ์ ๒๐๑๒ มาฉายให้นกเรี ยนดู พร้อมกับนาภาพข่าว ั สถานการณ์สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปยุโรปและแอฟริ กามาแสดงพร้อมพูดคุยถึงผลกระทบจาก ปั ญหาที่เกิดขึ้นที่มีต่อผูคนในทวีปยุโรปและแอฟริ กา และผลกระทบที่มีต่อประชากรโลกใน ้ ปั จจุบน เช่น ภาพข่าวภัยพิบติที่เกิดขึ้นในประเทศต่าง ๆ ทัวโลก ั ั ่
  • 3. ชั่วโทงที่ ๓-๔ ขั้นคิดวิ เคราะห์ วจารณ์ ิ ๒.ให้นกเรี ยนยกตัวอย่างสถานการณ์เกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปยุโรปและ ั แอฟริ กาหรื อประเทศอื่นในโลกว่าสถานการณ์หรื อเหตุการณ์ดงกล่าวเกิดขึ้นโดยมีสาเหตุจากอะไร ั หรื อเป็ นผลกระทบจากสาเหตุใด โดยสุ่ มตัวแทนนักเรี ยน ๒-๓ คนมานาเสนอความคิดเห็น ๓.แบ่งนักเรี ยนเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๘ คน ตามความสมัครใจ นาสภาพปัญหา สิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีป ยุโรปและแอฟริ กา มาระดมสมองร่ วมกันอภิปรายเพื่อ เปรี ยบเทียบ สภาพปั ญหาสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในประเทศไทย โดยสื บค้นข้อมูล เพื่อนาข้อมูล อภิปรายย่อยใน กลุ่มของตนเอง ขั้นสร้ างทางเลือกให้ หลากหลาย ๔.หลังจากการระดมสมองของกลุ่มแล้ว กาหนดให้สมาชิกกลุ่มทุกกลุ่ม นาสถานการณ์ ปั ญหาสิ่ งแวดล้อม ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย และการ วิธีการแก้ปัญหา ที่ได้ดาเนินการไปแล้ว ว่ามี ความเหมือนหรื อแตกต่างในด้านการดาเนินการและผลที่ได้จากการดาเนินการแก้ปัญหา สิ่ งแวดล้อมของไทยกับ ทวีป ยุโรปและ แอฟริ กา มานาเสนอ พร้อมกับเสนอแนะ แนวทางวิธีการ แก้ปัญหาตามแนวทางการ ระดมสมองของกลุ่มตนเองร่ วมด้วย เพื่อป้ องกันมิให้เกิดปั ญหาขึ้นอีก หรื อถ้าไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ก็ให้สถานการณ์ที่เกิดขึ้นไม่รุนแรงมากนัก ประชาชนผูท่ีได้รับ ้ ผลกระทบจากปั ญหาดังกล่าวได้รับความเสี ยหายน้อยที่สุด ที่สาคัญแนวทางการแก้ปัญหาที่สมาชิก กลุ่มได้วางไว้ควรเป็ นแนวทางที่ปฏิบติได้และเป็ นที่ยอมรับของสังคม ั ขั้นประเมินและเลือกทางเลือก ๕.หลังจากกลุ่มได้นาเสนอ ครู และนักเรี ยนร่ วมกัน เขียนสรุ ปปัญหาและแนวทางการ แก้ปัญหาจากที่กลุ่มนาเสนอบนกระดานทีละกลุ่ม จนครบทุกกลุ่ม ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปเชื่อ โยงปั ญหาสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปยุโรปและแอฟริ กาที่มีความคล้ายคลึงกับปั ญหาสิ่ งแวดล้อมที่ เกิดขึ้นในประเทศไทยหรื อที่มีผลกระทบต่อประเทศไทย เชื่อ มโยงจากปั ญหาของแต่ละกลุ่มได้ นาเสนอ ชั้วโมงที่ ๕-๖ ขั้นกาหนดและลาดับขั้นตอนการปฏิบัติ ๖.ครู เชื่อมโยงปั ญหาสิ่ งแวดล้อมที่ได้สรุ ปไว้ในคราวที่แล้วให้เข้ากับสถานการณ์ปัญหา สิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในโรงเรี ยน ให้ตวแทนแต่ละกลุ่มนาเสนอปั ญหาพร้อมกับแนวทางวิธีการ ั แก้ปัญหา ครู และนักเรี ยนร่ วมกันประเมินความจาเป็ นและความรุ นแรงของสถานการณ์ปัญหา
  • 4. สิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในห้องเรี ยนของนักเรี ยนหรื อเกิดขึ้นในโรงเรี ยน ร่ วมกันเลือกปั ญหาที่เด่น ที่สุด สาคัญที่สุด และจาเป็ นที่สุดที่จะต้องแก้ปัญหาเหล่านั้นเนื่องจากมีผลกระทบต่อตัวนักเรี ยน โดยตรง แล้วให้สมาชิกทุกกลุ่มร่ วมกันเสนอแนวทางการแก้ปัญหานั้น โดยกาหนดขั้นตอนการ ทางาน ผูรับผิดชอบ ระยะเวลาการทางาน และวิถีการประเมินผลไว้อย่างชัดเจน (การปฏิบติอาจใช้ ้ ั นอกเวลาเรี ยน) ปฏิบัติด้วยความชื่นชม ๗.สมาชิกลุ่มปฏิบติงานตามขั้นตอนและหน้าที่ตามที่ได้กาหนดไว้ ั ประเมินระหว่างปฏิบัติ ๘.ครู และนักเรี ยนผูรับผิดชอบ ประเมินผลระหว่างปฏิบติ มีการประชุมสมาชิกสอบถาม ้ ั ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบติงาน และมีการประเมินผลการปฏิบติงานตามขั้นตอนและตามแผนที่ ั ั กาหนดไว้ โดยสมาชิกที่ได้รับมอบหมาย โดยสรุ ปผลการทางานแต่ละช่วง ผูประเมินและสมาชิก้ ร่ วมกันเสนอแนวทางการปรับปรุ งแก้ปัญหาในการปฏิบติ ั ปรับปรุ งให้ ดีขึนอยู่เสมอ ้ ๙.ผูปฏิบติหน้าที่หรื อผูรับผิดชอบนาผลและข้อเสนอแนะจากผูประเมินมาปรับปรุ งการ ้ ั ้ ้ ปฏิบติงานให้มีประสิ ทธิ ภาพยิงขึ้น ั ่ ชั่วโมงที่ ๗ ประเมินผลรวมเพือให้ เกิดความภูมิใจ ่ ๑๐.นักเรี ยนสรุ ปผลการดาเนินงาน นาเสนอผลงาน ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปผลของ งานและผลที่ได้รับ เชื่อมโยงไปสู่ ปัญหาสิ่ งแวดล้อมที่ใหญ่และไกลตัวมากยิงขึ้น และแนวทางการ ่ แก้ปัญหาสิ่ งแวดล้อมซึ่ งสามารถดาเนินการได้ถาได้รับความร่ วมมือจากสมาชิกกลุ่ม จากประชากร ้ ทุกคนและประชากรทัวโลก ่ ๑๑.นักเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยน ๘.การวัดและการประเมินผล การประเมินก่อนเรียน - ทาแบบทดสอบก่อนเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู ้ที่ ๒ ธรรมชาติเปลี่ยนแปลง คนเปลี่ยนไปของทวีปยุโรปและแอฟริ กา การประเมินระหว่ างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ๑.ใบงานที่ ๔.๑ เรื่ องร่ วมคิดร่ วมทา ๒.ใบงานที่ ๔.๒ เรื่ องการแก้ ปัญหาสิ่ งแวดล้ อมของทวีปยุโรป ๓. แบบประเมินการอภิปรายกลุ่ม
  • 5. ๔.แบบประเมินการนาเสนองานหน้าชั้นเรี ยน ๕.แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม การประเมินผลหลังเรียน - ทาแบบทดสอบหลังเรี ยนประจาหน่วยการเรี ยนรู้ที่ ๒ ธรรมชาติเปลี่ยนแปลงคน เปลี่ยนไปของทวีปยุโรปแอฟริ กา สื่ อ/แหล่ งการเรียนรู้ สื่ อการเรียนรู้ ๑.หนังสื อเรี ยนสังคมศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ๒.ภาพพยนต์เรื่ อง วิกฤตการณ์ ๒๐๑๒ ๓.ภาพข่าวสถานการณ์สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปยุโรปและแอฟริ กาและทัวโลก ่ ๔.ใบงานที่ ๔.๓ เรื่ อง แหล่ งเรียนรู้ ๑.ห้องสมุด ๒.แหล่งข้อมูลสารสนเทศ http://www.trueplookpanya.com http://www.panyathai.or.th http://www.aksorn.com/Lib/S/Soc_05 http://www.tiewroblok.com/ http://www.thai.net/lokkongrao/default.htm/
  • 6. ใบงานที่ ๔.๑ กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา ชื่อหน่ วย:ธรรมชาติเปลียนแปลงคน ่ สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์ ศาสนา และวัฒนธรรม เปลียนไปของทวีปยุโรปและแอฟริกา ่ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ รายวิชาสั งคมศึกษา ๔ ชื่อใบงาน: ร่ วมคิดร่ วมทา เวลาเรียน : ๗ ชั่วโมง รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑ ชื่อ.................................................................ชั้ น..............เลขที่..................... คาสั่ ง ให้นกเรี ยนดูรูปภาพแล้วร่ วมกันอภิปรายในประเด็นปั ญหาขยะอิเล็คทรอนิคที่เกิดขึ้นใน ั ระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และในระดับโลกปัจจุบน พร้อมเสนอแนวทางการแก้ปัญหา ั สรุ ปการอภิปรายปัญหา...................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ แนวทางการแก้ปัญหา......................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................
  • 7. ใบงานที่ ๔.๒ กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา ชื่อหน่ วย:ธรรมชาติเปลียนแปลงคน สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์ ่ ศาสนา และวัฒนธรรม เปลียนไปของทวีปยุโรปและแอฟริกา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ่ รายวิชาสั งคมศึกษา ๔ ชื่อใบงาน: การแก้ปัญหาสิ่ งแวดล้อม เวลาเรียน : ๖ ชั่วโมง รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑ ของทวีปยุโรป ชื่อ.................................................................ชั้ น..............เลขที่..................... คาสั่ ง ให้นกเรี ยนอ่านบทความต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม ั Written by คณะผูแทนไทยประจาประชาคมยุโรป ้ Monday, 26 February 2007 ใน ช่วงนี้ สหภาพยุโรปดูมีความกระตือรื อล้นจริ งจังในประเด็นเรื่ องสิ่ งแวดล้อมและ ่ พลังงานเป็ นอย่างมาก ที่ผานมา ทางเว็บไซต์ไทยยุโรป.เน็ตได้นาเสนอความคืบหน้าของท่าทีของ คณะกรรมาธิการ ยุโรปในเรื่ องพลังงานและสิ่ งแวดล้อมมาอย่างสม่าเสมอ เพื่อให้ได้ภาพที่สมบูรณ์ ขึ้น ทางทีมงานจึงขอนาเสนอมุมมองในเรื่ องดังกล่าวจากภาคธุ รกิจและประชาชนในยุโรป และได้ ไปสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ของสหภาพยุโรปซึ่งรับผิดชอบในการรวบรวมความเห็น ของภาคสังคมใน ยุโรปเพื่อซักถามในประเด็นดังกล่าวมานาเสนอ และได้ฟังอีกมุมมองหนึ่งที่น่าสนใจ ทาไมชาวยุโรปจึงดูรักสิ่ งแวดล้ อม หากดูจากมุมมองของประเทศที่สามแล้ว อาจดูเหมือนว่าชาวยุโรปมีความตื่นตัวและใส่ ใจ เรื่ องสิ่ งแวดล้อมมากที่สุด ภูมิภาคหนึ่งของโลก ทาให้สามารถบังคับใช้กฏระเบียบต่างๆด้าน สิ่ งแวดล้อมได้ ทั้งนี้ เจ้าหน้าที่สหภาพยุโรปได้ให้ความเห็นว่า ชาวยุโรปส่ วนใหญ่ตองการเห็น ้ ตัวเองเป็ นผูนาในเรื่ องดังกล่าว อยากเห็นยุโรปเป็ นตัวอย่างในการรักษาสิ่ งแวดล้อมแก่ประเทศอื่นๆ ้ (แม้ในความเป็ นจริ ง ยุโรปอาจไม่ได้เป็ นภูมิภาคที่เป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อมมากที่สุดในโลกก็ตาม) ทั้งนี้เป็ นเพราะ นอกจากการชาวยุโรปจะตระหนักว่าปั ญหาสภาวะอากาศเปลี่ยนแปลงเป็ นหนี่งใน ปัญหา ร้ายแรงที่จะส่ งผลกระทบอย่างรุ นแรงต่อมวลมนุษยชาติแล้ว เรื่ องดังกล่าวยังเป็ นเรื่ องของ ่ ปัญหาจริ ยธรรมด้วย ด้วยเหตุที่วายุโรปเป็ นผูเ้ ริ่ มการปฏิวติอุตสาหกรรม ซึ่งเป็ นปรากฏการณ์ที่ ั นาไปสู่ ปัญหาที่โลกกาลังเผชิญอยูในวันนี้อนที่จริ งแล้ว ยุโรปได้ตระหนักถึงผลร้ายของการเผา ่ ั ผลาญเชื้อเพลิงและการใช้ทรัพยากร อย่างมหาศาลเพื่อการปฏิวติอุตสาหกรรมมาตั้งแต่ร้อยกว่าปี ที่ ั
  • 8. แล้ว ในปี 1896 ได้มีรายงานคาดการณ์ถึงผลเสี ยต่อสิ่ งแวดล้อมของโลกออกมาเป็ นฉบับแรก ใน วันนี้ ยุโรปจึงไม่ตองการเห็นประเทศอื่นๆต้องซ้ ารอยสิ่ งที่ตนทาในอดีตในการพัฒนา ประเทศ มิ ้ เช่นนั้น หากจีนหรื ออินเดียต้องใช้ทรัพยากรสิ่ งแวดล้อมในแบบเดียวที่ยโรปเคยทาก่อน เพื่อพัฒนา ุ ประเทศให้เป็ นประเทศพัฒนาแล้ว สิ่ งแวดล้อมของโลกคงเข้าขั้นวิกฤติแน่ เพื่อการนี้ สหภาพยุโรป จึงพยายามพัฒนาเทคโนโลยีและแนวทางการปฏิบติในการรักษาสิ่ งแวด ล้อม เพื่อที่ประเทศต่างๆ ั จะได้กระโดดข้ามขั้นตอนที่ยโรปเคยทา ไปสู่ ระบบเศรษฐกิจที่ปล่อยก๊าซคาร์ บอนเพียงแต่นอยเลย ุ ้ นอกจากนี้ ยุโรปยังเห็นประโยชน์ในด้านการค้าที่จะได้จากการขายเทคโนโลยีดงกล่าวด้วย ั เสี ยงของภาคประชาชนต่ อคณะกรรมาธิการยุโรป: หรือคณะกรรมาธิการฯอาจตั้งเปาหมายผิด !? ้ คณะกรรมาธิ การยุโรปได้กล่าวไว้ในแผนงาน Energy Policy for Europe ว่า มาตรการสิ่ งแวดล้อม ่ ต่างๆที่จะออกมาเพื่อรองรับแผนงานดังกล่าวนั้น จะตั้งอยูบนหลักการ 3 ประการ คือ เพื่อการพัฒนา ที่ยงยืน (รวมทั้ ง การรักษาสิ่ งแวดล้อม) ความมันคงทางพลังงาน และความสามารถในการแข่งขัน ั่ ่ ทางเศรษฐกิจ แต่บางครั้ง หลักการทั้งสามนี้อาจขัดแย้งกันได้ โดยเฉพาะอย่างยิง เรื่ องการรักษา ่ สิ่ งแวดล้อมและเรื่ องการพัฒนาศักยภาพในเชิงเศรษฐกิจ ถ้าเป็ นเช่นนั้นแล้ว คณะกรรมธิการยุโรป จะให้น้ าหนักเรื่ องไหนมากกว่าเจ้าหน้าที่คนดังกล่าวให้ความเห็นว่า ดูเหมือนว่าในปั จจุบน ั คณะกรรมาธิ การยังคงสนใจเรื่ องการพัฒนาศักยภาพทางเศรษฐกิจมาเป็ นอันดับหนึ่ง ในการออก นโยบายหรื อมาตรการต่างๆ คณะกรรมาธิ การยังคงให้ความสาคัญการเพิมขีดความสามารถในการ ่ แข่งขันของยุโรป เป็ นสาคัญ พร้อมทั้งตั้งคาถามว่า แท้จริ งแล้ว คณะกรรมาธิการยุโรปจัดลาดับ ความสาคัญของนโยบายถูกต้องหรื อไม่ท้ งนี้เนื่องจาก ในฐานะฝ่ ายบริ หาร เป้ าหมายสู งสุ ดสาหรับ ั ่ คณะกรรมาธิ การยุโรปควรจะเป็ นไปเพื่อความอยูดีมีสุขของ ประชาชนชาวยุโรป การพัฒนาทาง เศรษฐกิจจึงเป็ นแค่หนึ่ งในสิ่ งที่จะนาความสุ ขมาให้ประชาชน ไม่ใช่เป้ าหมายสู งสุ ด และการรักษา สิ่ งแวดล้อมก็เป็ นหนึ่งในหัวใจสาคัญที่จะนาไปสู่ ความความอยูดี มีสุขของประชาชน หากไม่มี ่ สิ่ งแวดล้อมที่ดี ชาวยุโรปก็ไม่สามารถมีสุขภาพชีวตที่ดีได้ ถ้าเป็ นเช่นนัน การให้น้ าหนักมุ่งมัน ิ ่ ่ พัฒนาเศรษฐกิจมากกว่าใส่ ใจด้านสิ่ งแวดล้อม ก็เท่ากับว่าคณะกรรมาธิ การยุโรปอาจตั้งเป้ าหมาย สู งสุ ดของตัวเองผิดไป บางที การใช้ตวเลข GDP เพื่อวัดความสาเร็ จของชาติอาจเป็ นวิธีที่ผด เพราะ ั ิ GDP ไม่ได้บ่งบอกถึงความสุ ขของประชาชนในชาติแม้แต่นอย ้ ภาคประชาชนและธุรกิจมีนาหนักในสหภาพยุโรปเพียงใด: เสี ยงทีหายไป !? ้ ่ สหภาพยุโรปให้ความสาคัญต่อภาคประชาชนและธุ รกิจเสมอมา สนธิ สัญญาจัดตั้ง ประชาคมยุโรป 1957 ได้จดตั้งหน่วยงานที่ชื่อว่า The European Economic and Social Committee ั (EESC) เพื่อรับรองว่าความเห็นและผลประโยชน์ของภาคประชาชนและธุ รกิจจะได้รับการดูแล ใน ขั้นตอนการออกระเบียบต่างๆของสหภาพยุโรป ด้วยการให้ประเทศสมาชิกคัดเลือกและเสนอชื่อ
  • 9. กลุ่มผลประโยชน์เข้ามาเป็ นสมาชิก ของ EESC และจะอยูในวาระเป็ นระยะเวลา 4 ปี ทั้งนี้ กลุ่ม ่ ผลประโยชน์ดงกล่าวจะประกอบจากกลุ่มนายจ้าง กลุ่มลูกจ้าง และกลุ่มผลประโยชน์อื่นๆ ั ปัจจุบน เมื่อคณะกรรมาธิ การยุโรปจะเสนอร่ างระเบียบใหม่ๆ จาเป็ นต้องส่ งเรื่ องให้ EESC ออก ั ความเห็นเสี ยก่อน EESC ยังสามารถให้ความเห็นต่อคณะมนตรี ยโรปและสภายุโรปได้อีกด้วย ซึ่ ง ุ ประเด็นที่ EESC จะให้ความเห็นนั้นครอบคลุมไปถึงประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกับประเทศที่ สามได้ ด้วย ทั้งนี้ EESC ได้มีการจัดตั้งความร่ วมมืออย่างเป็ นทางการกับหน่วยงานด้านกลุ่มผลประโยชน์ ของ ภาคธุ รกิจและประชาชนของหลายๆประเทศและภูมิภาคในโลก รวมไปถึง จีน ญี่ปุ่น และอินเดีย เพื่อที่จะประชุมและระดมความเห็นและกลับไปนาเสนอต่อหน่วยงานรัฐที่เกี่ยว ข้องในประเทศตน ต่อไป (หรื อคณะกรรมาธิการยุโรป ในกรณี ของ EESC) ทั้งนี้ EESC ยังกาลังพยายามผลักดันที่จะให้ ตนมีบทบาทในการประชุมสุ ดยอดยุโรป – เอเชีย หรื อ อาเซม ด้วย เพราะในปั จจุบน ในส่ วน ั People to People ของ อาเซมนั้น กลับไม่มี EESC เข้าไปเกี่ยวข้อง โดยคาดว่า การประชุมอาเซมครั้ง ที่ 7 ที่ประเทศจีนในปี 2008 EESC จะเข้าไปมีส่วนร่ วมในส่ วน People to Peopleอย่างไรก็ตาม แม้ คณะกรรมาธิการยุโรปจาเป็ นต้อง “ปรี กษา” แต่ไม่จาเป็ นต้อง “ฟัง” EESC เพราะความเห็นที่ EESC ให้น้ นไม่มีผลทางกฏหมาย ดังนั้น ในบางครั้ง แม้ความห่วงกังวลของภาคประชาชน เช่นเรื่ องการ ั รักษาสิ่ งแวดล้อมและการพัฒนาเศรษฐกิจที่ยงยืน อาจไปถึงฝ่ ายบริ หารของสหภาพยุโรป แต่ก็อาจ ่ั ถูกกลืนหายไปในกระแสการทางานได้บทสรุ ป: เศรษฐกิจพอเพียงคือคาตอบ...แม้ ความเห็น ดังกล่าวจะเป็ นเพียงแค่ความเห็นเพียงหนึ่งความเห็นของเจ้าหน้าที่ ของสหภาพยุโรปคนหนึ่งเท่านั้น แต่ก็น่าแปลกใจและดีใจที่หลังจากที่ชาติตะวันตกมุ่งแต่พฒนาเศรษฐกิจโดยโหม ใช้ทรัพยากรของ ั โลกอย่างเต็มที่มาเป็ นเวลาเกือบ 200 ปี โดยมิได้คานึงถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และวัด ความสาเร็ จต่างๆด้วย “จานวน” ว่าผลิตออกมาได้มากเท่าไหร่ บริ โภคได้มากเท่าไหร่ หรื อ มีเงิน จับจ่ายใช้สอยเท่าไหร่ มากกว่าจะวัด “คุณภาพ” ของกิจกรรมเหล่านั้น ว่านามาซึ่ งความสุ ขอย่าง ยังยืนของประชาชนหรื อไม่ในวันนี้ เริ่ มมีชาวยุโรปกลับมาทบทวนแนวทางการพัฒนาของตนเอง ที่ ่ ดาเนินมาเป็ นร้อยปี และถือเป็ นแนวทางที่ใช้เป็ น “มาตรฐาน” ของทัวโลก ว่าถูกต้องหรื อไม่ ่ ความเห็นของเจ้ าหน้ าที่ คนดังกล่ าวดังกล่ าวดูจะสะท้ อนรั บปรั ชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทีเ่ น้ น การพัฒนาทีตั้งอยู่บนพืนฐานของทางสายกลางและความไม่ ประมาท โดยคานึงถึงความ ่ ้ พอประมาณและความมีเหตุผลในการกระทาทุกๆอย่ าง แม้ผพดอาจไม่ตระหนักในเรื่ องนี้ก็ตาม ู้ ู จึงเป็ นที่น่าดีใจที่ประเทศไทยตระหนักตื่น ไหวตัว ก่อนที่จะเดินตามทางการพัฒนาที่อาจเป็ นแค่ “ภาพลวงตา” แบบตะวันตก และหันมาให้ความสาคัญกับปรัชญาของโลกตะวันออก ที่เน้นการ พัฒนาที่สมดุลและยังยืน มีความกลมเกลียวกับธรรมชาติ พร้อมมุ่งหาทางนาปรัชญาดังกล่าวไป ่ ปรับใช้ในเชิงปฏิบติต่อไป ั
  • 10. ตอบคาถาม ๑.เพราะเหตุใดชาวยุโรปจึงมีความตื่นตัวและห่วงใยสิ่ งแวดล้อม ? ตอบ.................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ๒.ความรู ้สึกการรับผิดชอบต่อปั ญหาสิ่ งแวดล้อมของชาวยุโรปมีผลสื บเนื่องมาจากเรื่ องใด ตอบ.................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ๓.เป้ าหมายการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาสิ่ งแวดล้อมของยุโรปคืออะไร ตอบ.................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ๔. ‘GDP” คืออะไร เกี่ยวข้องอย่างไรต่อสิ่ งแวดล้อม ตอบ.................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ๕. “EESC” คืออะไร เกี่ยวข้องอย่างไรต่อสิ่ งแวดล้อม ตอบ.................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ๖. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของไทยมีส่วนช่วยแก้ปัญหาสิ่ งแวดล้อมได้หรื อไม่ อย่างไร ตอบ.................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................