SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  9
Télécharger pour lire hors ligne
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๙
กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา ศาสนา      ชื่อหน่ วย:การเมืองการปกครอง สาระที่ ๒ หน้ าทีพลเมือง
                                                                                 ่
และวัฒนธรรม                      ตามระบอบประชาธิปไตยของ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
                                               ไทย
ประกอบหน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๔    ชื่อแผน: เรียนรู้ การเมืองไทย เวลาเรียน : ๔ ชั่วโมง

สาระที่ ๒ หน้ าทีพลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวตในสั งคม
                 ่                               ิ
มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบน ยึดมัน ศรัทธา และธารง
                                                      ั      ่
รักษาไว้ซ่ ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข
                                                         ์
๑. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
                                                  ่
       รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ได้บญญัติไว้วาอานาจอธิ ปไตยเป็ นของปวงชนชาว
                                          ั
ไทย โดยมีพระมหากษัตริ ยผทรงเป็ นประมุข ทรงใช้อานาจอธิ ปไตยผ่านทางสถาบันทั้งสาม คือ
                         ์ ู้
อานาจนิติบญญัติ อานาจบริ หาร และอานาจตุลาการ อานาจอธิ ปไตยทั้งสามนี้จะช่วยให้ถ่วงดุล
           ั
และคานอานาจระหว่างกัน โดยไม่มีอานาจใดอานาจหนึ่งมีสถานะเหนือกว่ากัน เพื่อป้ องกันการ
ลิดรอนสิ ทธิและเสรี ภาพของประชาชน
๒. ตัวชี้วด/จุดประสงค์ การเรียนรู้
          ั
       ๒.๑ ตัวชี้วด
                  ั
       ส ๒.๒ ม.๒/๒ วิเคราะห์ขอมูล ข่าวสารทางการเมือง การปกครองที่มีผลกระทบต่อ
                                  ้
สังคมไทยสมัยปัจจุบน ั
       ๒.๒ จุดประสงค์ การเรียนรู้
               ๑. เข้าใจการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข
                                                                     ์
               ๒. เข้าใจความหมาย ความสาคัญและโครงสร้างของอานาจอธิปไตย
               ๓. วิเคราะห์บทบาทและอานาจหน้าที่ของรัฐสภา รัฐบาล และศาล
               ๔. ปฏิบติตามแนวทางในการธารงรักษาระบอบประชาธิ ปไตย และการเลือกตั้ง
                        ั
       ในระบอบประชาธิปไตย
               ๕. ตระหนักในการมีส่วนร่ วมในการประสานผลประโยชน์ตามระบอบ
       ประชาธิ ปไตยบนพื้นฐานคุณธรรม
๓. สาระการเรียนรู้
      ๓.๑ สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
๑.เหตุการณ์และการเปลี่ยนแปลงสาคัญของระบอบการปกครองของไทย
               ๒.หลักการเลือกข้อมูล ข่าวสารเพื่อนามาวิเคราะห์
๔.   สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
        ๔.๑ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
        ๔.๒ ความสามารถในการคิด
 -              ทักษะการคิดวิเคราะห์
 -              ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ
                                   ิ
 -              ทักษะการคิดสังเคราะห์
        ๔.๓ ความสามารถในการใช้ชีวต   ิ
 -              กระบวนการปฏิบติ ั
 -              กระบวนการกลุ่ม
๕.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
        ๑.มีวนย
              ิ ั
        ๒.ใฝ่ เรี ยนรู้
        ๓.มุ่งมันในการทางาน
                  ่
๖.รู ปแบบการจัดการเรียนการสอน
        การจัดการเรียนรู้ โดยใช้ ทกษะกระบวนการ กลุ่ม
                                  ั
๗.กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๑
ขั้นที่ ๑ ขั้นกระตุ้นสมอง
          ๑. ครู แสดงภาพอนุสาวรี ยประชาธิ ปไตย และร่ วมสนทนากับนักเรี ยนในเรื่ อง ความรู้
                                         ์
เกี่ยวกับการปกครองในระบอบประชาธิ ปไตยของไทย อานาจอธิ ปไตย และความเหมาะสมของ
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยของไทย
          ๒. ครู ต้ งคาถามเพื่อให้นกเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นด้วยการยกมือขึ้นตอบคาถาม
                    ั                  ั
ประมาณ ๓ – ๔ คน ประเด็นคาถามคือ
                      * นักเรี ยนคิดว่าการปกครองในระบอบประชาธิ ปไตยเป็ นการปกครองที่ดีหรื อไม่
อย่างไร
                      * นักเรี ยนมีความรู ้เกี่ยวกับการปกครองตามระบอบประชาธิ ปไตยมากน้อย
อย่างไร
* นักเรี ยนจะสามารถมีส่วนร่ วมในการปกครองตามระบอบประชาธิ ปไตยหรื อไม่
อย่างไร
                      * การมีส่วนร่ วมในการประสานผลประโยชน์ตามระบอบประชาธิ ปไตยบน
พื้นฐานคุณธรรม ทาได้หรื อไม่ อย่างไร
ขั้นที่ ๒ ขั้นท่องประสบการณ์
          ๓. แบ่งนักเรี ยนเป็ น ๔ กลุ่มละ ๘ – ๑๐ คน ร่ วมแสดงบทบาทสมมุติโดยใช้เวลากลุ่มละ
๕ – ๑๐ นาที เพื่อกระตุนความสนใจในเรื่ องการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย โดยให้ตวแทน
                           ้                                                              ั
กลุ่มมาจับสลากในหัวข้อต่อไปนี้
                      * การแถลงการณ์การจัดตั้งพรรคการเมือง
                      * การหาเสี ยงการเลือกตั้ง
                      * การเลือกตั้ง
                      * การประชุมสภาผูแทนราษฎร
                                        ้
ขั้นที่ ๓ ขั้นสร้ างฐานความรู้ (ปลูกฝังปัญญา)
ชั่วโมงที่ ๒ -๓
          ๔. ครู ปฐมนิเทศการใช้ชุดการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวสต์ เรื่ อง การเมืองการ
                                                                       ิ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของไทย และให้ตวแทนกลุ่มมารับชุดการสร้างความรู ้ตาม
                                                          ั
แนวคอนสตรัคติวสต์ เรื่ อง การเมืองการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของไทย ไปศึกษา
                       ิ
และทากิจกรรมตามที่กาหนดไว้
          ๕. ขณะที่นกเรี ยนกาลังศึกษาชุดการสร้างความรู ้ตามแนวคอนสตรัคติวส ต์ เรื่ อง การเมือง
                         ั                                                  ิ
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของไทย ครู ทาหน้าที่ช่วยให้นกเรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ดวย
                                                                     ั                  ้
ตนเองมากที่สุดเท่าที่จะมากได้ ต้องอดทนและปล่อยให้นกเรี ยนประกอบกิจกรรมด้วยตนเอง ไม่
                                                            ั
บอกคาตอบก่อน ควรช่วยเหลือแนะนานักเรี ยนที่เรี ยนช้าและเรี ยนเร็ วให้สามารถเรี ยนไปตาม
ความสามารถของตนเองด้วยตนเองให้มากที่สุด
ขั้นที่ ๔ สรุ ป- สู่ ใจ (สรุ ป)
ชั่วโมงที่ ๔
          ๖. ตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลงานกลุ่มตามกิจกรรมและภารกิจที่กาหนดไว้ในชุดการสร้าง
ความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวสต์ เรื่ อง การเมืองการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของไทย
                                  ิ
          ๗. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความเข้าใจเกี่ยวกับการปกครองตามระบอบประชาธิ ปไตย
ของไทย แนวทางในการธารงรักษาระบอบประชาธิ ปไตย และการมีส่วนร่ วมในการประสาน
ผลประโยชน์ตามระบอบประชาธิ ปไตยบนพื้นฐานคุณธรรม
๘. นักเรี ยนทาแบบทดสอบ เรื่ อง การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของไทย
 การวัดและประเมินผล
          ๑.แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล
          ๒.แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
          ๓.แบบประเมินการแสดงบทบาทสมมุติ
          ๔.แบบทดสอบเรื่ อง การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของไทย
          ๕.แบบประเมินการนาเสนอผลงานกลุ่ม
          ๖.แบบประเมินการคิดอย่างมีวจารณญาณ
                                         ิ
สื่ อ/แหล่งการเรียนรู้
สื่ อการเรียนรู้
          ๑.หนังสื อเรี ยนสาระการเรี ยนรู ้พ้ืนฐาน : หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดาเนินชีวตใน
                                                                                           ิ
สังคม โดย รศ.ดร.วรทิพย์ มีมากสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ(พว.)
          ๒.คู่มือ-เตรี ยมสอบ สังคมศึกษา ช่วงชั้นที่ ๓ สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมืองวัฒนธรรมและการ
ดาเนินชี วตในสังคม โดย...อ.ซิ ลวี่ ฮอลลิงก้าสานักพิมพ์ภูมิบณฑิต
            ิ                                                    ั
          ๓.หนังสื อเรี ยนสาระการเรี ยนรู ้พ้ืนฐาน : หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดาเนินชีวต ิ
ในสังคม โดย ดร.ชูวงศ์ ฉายะบุตรและคณะวัฒนาพานิช จากัด
          ๔.ภาพอนุสาวรี ยประชาธิปไตย
                            ์
          ๕.ชุดการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวสต์ สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม
                                                       ิ
และการดาเนินชีวตในสังคม เรื่ อง การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของไทย
                     ิ
แหล่ งเรียนรู้
          http://www.dopa.go.th
          http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?topic=110.0
          http://www.kr.ac.th/ebook2/suntorn/04.html
          http://www.thaisenate.com
          http://www.mwit.ac.th/~t2060105/conntent2_2549/text%20political6.pdf
          http://www.mwit.ac.th/~keng/lesson05/6.doc
          http://www.nucha.chs.ac.th/1.4.html
          http://www.nucha.chs.ac.th/1.6.html
          http://www.radompon.com/resourcecenter/?q=node/48
          http://www.srp.ac.th/~social/online/data/001.html
http://www.thailocaladmin.go.th/work/e_book/eb7/eb7_4/p1.pdf
http://www.thaigoodview.com/node/16621
รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนา                                                           สาระ หน้าที่พลเมือง
                                       แบบประเมินบทบาทสมมุติ
และวัฒนธรรม                                                                        วัฒนธรรมและการดาเนิ นชีวต
                                                                                                           ิ
รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑                       เรื่องการปกครองตามระบอบ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๔                  ประชาธิปไตยของไทย                         เวลาเรียน ๔ ชัวโมง
                                                                                                 ่

ลาดับ                           รายการประเมิน                                               คุณภาพผลงาน
                                                                                   ๓                   ๒                    ๑
   ๑      เนื้อหาของเรื่ องสอดคล้องวัตถุประสงค์
  ๒       บทบาทตัวละครสอดคล้องเนื้อเรื่ อง
  ๓       การดาเนินเรื่ องเหมาะสมกับเวลา
  ๔       ความพร้อมเพรี ยง ความร่ วมมือร่ วมใจ
                                รวม

                                            ลงชื่อ.......................................................ผูประเมิน
                                                                                                              ้
                                            ......................./............................../...............................
เกณฑ์ การให้ คะแนน
ดี              =       ๓
พอใช้           =       ๒
ปรับปรุ ง       =       ๑
เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ
ช่ วงคะแนน        ระดับคุณภาพ
    ๙ - ๑๒                 ดี
       ๕-๘                พอใช้
       ๑-๔            ปรับปรุ ง
แบบทดสอบที่ ๙
กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา ศาสนา   ชื่อหน่ วย:การเมืองการปกครอง สาระที่ ๒ หน้ าทีพลเมือง
                                                                              ่
และวัฒนธรรม                   ตามระบอบประชาธิปไตยของ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
                                            ไทย
ประกอบหน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๔ ชื่อแผน: เรียนรู้ การเมืองไทย เวลาเรียน : ๔ ชั่วโมง
ผลการเรียนรู้
                    ๑.เข้าใจเกี่ยวกับการปกครองตามระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย ์
                      ทรงเป็ นพระประมุข
                    ๒.เข้าใจความหมาย ความสาคัญและโครงสร้างของอานาจอธิปไตย
                    ๓.ปฏิบติตามแนวทางในการธารงรักษาระบอบประชาธิ ปไตย และการเลือกตั้ง
                            ั
                      ในระบอบประชาธิปไตย
                    ๔.ตระหนักในการมีส่วนร่ วมในการประสานผลประโยชน์ตามระบอบ
                      ประชาธิ ปไตย บนพื้นฐานคุณธรรม
คาสั่ ง จงกาเครื่ องหมาย X หน้าข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
๑.วันที่ 24 มิถุนายน 2475 มีความสาคัญต่อระบอบการเมืองการปกครองไทยอย่างไร
          ก.มีการปฏิวติรัฐประหารขึ้นเป็ นครั้งแรกในประเทศไทย
                         ั
          ข.เปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็ นระบอบประชาธิปไตย
          ค.ประชาชนจานวนมากร่ วมชุมนุมเรี ยกร้องประชาธิ ปไตย
          ง.มีการเลือกตั้งขึ้นเป็ นครั้งแรกในประเทศไทย
๒.ข้อความในข้อใดต่อไปนี้ มีความสัมพันธ์กน      ั
          ก.ฝ่ ายบริ หาร ตีความตัวบทกฎหมาย รวมทั้งตัดสิ นพิจารณาคดี
          ข.อานาจอธิ ปไตย ในระบอบประชาธิ ปไตยอานาจอธิ ปไตยเป็ นของประมุขของรัฐนั้น ๆ
          ค.ฝ่ ายนิติบญญัติ ทาหน้าที่ในการพิจารณาเงินงบประมาณและตรวจสอบการทางานของ
                       ั
รัฐบาล
          ง.ฝ่ ายตุลาการ นากฎหมายมาบังคับใช้และออกฎหมายบางส่ วนที่มีความสาคัญน้อยกว่า
นิติบญญัติ
      ั
๓.ข้อใดเป็ นอานาจหน้าที่โดยตรงของรัฐสภา
          ก.ออกกฎหมาย
          ข.กาหนดนโยบายบริ หารประเทศ
          ค.ดูแลสิ ทธิเสรี ภาพความยุติธรรมให้ประชาชน
ง.สั่งการใช้งบประมาณด่วนเมื่อมีภยพิบติ  ั ั
๔.อานาจการจัดการบริ หารประเทศขึ้นอยูกบบุคคลกลุ่มใดเป็ นสาคัญ
                                              ่ ั
          ก.คณะรัฐสภา                                               ข.คณะรัฐมนตรี
          ค.กลุ่มทหาร                                               ง.ประชาชน
๕.ข้อใดเป็ นการปกครองส่ วนภูมิภาค
          ก.จังหวัด อาเภอ ตาบล หมู่บาน     ้                        ข.ทบวง กอง กรม แผนก
          ค.เทศบาล สุ ขาภิบาล                                       ง.เขตการปกครองพิเศษ
๖. กรุ งเทพมหานคร และเมืองพัทยา เป็ นการจัดการปกครองแบบใด
          ก.การปกครองส่ วนกลาง                                      ข.การปกครองส่ วนท้องถิ่น
          ค.เขตการปกครองลอยตัว                                      ง.เขตการปกครองพิเศษ
๗.ตาแหน่งสู งสุ ดของข้าราชการประจาในเขตเทศบาลคือข้อใด
          ก.นายกเทศมนตรี                                                ้่
                                                                    ข.ผูวาราชการจังหวัด
          ค.ปลัดเทศบาล                                              ง.ปลัดกระทรวง
๘.ตาแหน่ง นายกเมืองพัทยา ดารงตาแหน่งโดยวิธีใด
          ก.โดยการแต่งตั้งจากส่ วนกลาง
          ข.โดยการเลือกตั้งจากราษฎรเมืองพัทยา
          ค.โดยการเลือกตั้งจากประชาชนจังหวัดชลบุรี
          ง.โดยการคัดเลือกจากสมาชิกเมืองพัทยา
๙.ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์และศาลฎีกา เป็ นศาลประเภทใด
          ก.ศาลทหาร                             ข.ศาลปกครอง
          ค.ศาลยุติธรรม                         ง.ศาลรัฐธรรมนูญ
๑๐.กิจกรรมข้อใดถือว่าเป็ นกิจกรรมทางประชาธิ ปไตย ตามวิถีทางประชาธิ ปไตย
          ก.กิจกรรมวันแม่                                 ข.กิจกรรมการเลือกตั้งสภานักเรี ยน
          ค.การเขียนเรี ยงความเรื่ องประชาธิ ปไตย ง.จัดบอร์ ดเกี่ยวกับประชาธิ ปไตย
                                     ------------------------------------------------
เฉลยแบบทดสอบที่ ๙
กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา ศาสนา     ชื่อหน่ วย:การเมืองการปกครอง สาระที่ ๒ หน้ าทีพลเมือง
                                                                                ่
และวัฒนธรรม                     ตามระบอบประชาธิปไตยของ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
                                              ไทย
ประกอบหน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๔   ชื่อแผน: เรียนรู้ การเมืองไทย เวลาเรียน : ๔ ชั่วโมง


                         ๑.ข                   ๖.ง
                         ๒.ค                   ๗.ค
                         ๓.ก                   ๘. ข
                         ๔. ข                  ๙. ค
                         ๕. ก                  ๑๐.ข

Contenu connexe

Tendances

ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยSAKANAN ANANTASOOK
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3suchinmam
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาThongsawan Seeha
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถChoengchai Rattanachai
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)peter dontoom
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาPadvee Academy
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์Princess Chulabhon's College Chonburi
 

Tendances (20)

ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเล่มที่ 6  สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
เล่มที่ 6 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
 
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
pretest - postest
pretest - postestpretest - postest
pretest - postest
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 

Similaire à แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙

บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยjirapom
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้sirirak Ruangsak
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมBoonlert Aroonpiboon
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓krusuparat01
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นAon Narinchoti
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมkorakate
 

Similaire à แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙ (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
หน่วยที่๔
หน่วยที่๔หน่วยที่๔
หน่วยที่๔
 
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 304 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
ครูสังคม
ครูสังคมครูสังคม
ครูสังคม
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
 
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้นหลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
หลักสูตรกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ปรับปรุง ม.ต้น
 
หน่วยที่๓
หน่วยที่๓หน่วยที่๓
หน่วยที่๓
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 

Plus de นันทนา วงศ์สมิตกุล

วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯนันทนา วงศ์สมิตกุล
 

Plus de นันทนา วงศ์สมิตกุล (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
 
หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐
 
หน่วยที่๙
หน่วยที่๙หน่วยที่๙
หน่วยที่๙
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
หน่วยที่๗
หน่วยที่๗หน่วยที่๗
หน่วยที่๗
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
หน่วยที่๕
หน่วยที่๕หน่วยที่๕
หน่วยที่๕
 
หน่วยที่๒
หน่วยที่๒หน่วยที่๒
หน่วยที่๒
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
 
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯการวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระหน้าที่ฯ
 

แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ ๙ กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา ศาสนา ชื่อหน่ วย:การเมืองการปกครอง สาระที่ ๒ หน้ าทีพลเมือง ่ และวัฒนธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยของ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ไทย ประกอบหน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๔ ชื่อแผน: เรียนรู้ การเมืองไทย เวลาเรียน : ๔ ชั่วโมง สาระที่ ๒ หน้ าทีพลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวตในสั งคม ่ ิ มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบน ยึดมัน ศรัทธา และธารง ั ่ รักษาไว้ซ่ ึงการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข ์ ๑. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด ่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ได้บญญัติไว้วาอานาจอธิ ปไตยเป็ นของปวงชนชาว ั ไทย โดยมีพระมหากษัตริ ยผทรงเป็ นประมุข ทรงใช้อานาจอธิ ปไตยผ่านทางสถาบันทั้งสาม คือ ์ ู้ อานาจนิติบญญัติ อานาจบริ หาร และอานาจตุลาการ อานาจอธิ ปไตยทั้งสามนี้จะช่วยให้ถ่วงดุล ั และคานอานาจระหว่างกัน โดยไม่มีอานาจใดอานาจหนึ่งมีสถานะเหนือกว่ากัน เพื่อป้ องกันการ ลิดรอนสิ ทธิและเสรี ภาพของประชาชน ๒. ตัวชี้วด/จุดประสงค์ การเรียนรู้ ั ๒.๑ ตัวชี้วด ั ส ๒.๒ ม.๒/๒ วิเคราะห์ขอมูล ข่าวสารทางการเมือง การปกครองที่มีผลกระทบต่อ ้ สังคมไทยสมัยปัจจุบน ั ๒.๒ จุดประสงค์ การเรียนรู้ ๑. เข้าใจการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข ์ ๒. เข้าใจความหมาย ความสาคัญและโครงสร้างของอานาจอธิปไตย ๓. วิเคราะห์บทบาทและอานาจหน้าที่ของรัฐสภา รัฐบาล และศาล ๔. ปฏิบติตามแนวทางในการธารงรักษาระบอบประชาธิ ปไตย และการเลือกตั้ง ั ในระบอบประชาธิปไตย ๕. ตระหนักในการมีส่วนร่ วมในการประสานผลประโยชน์ตามระบอบ ประชาธิ ปไตยบนพื้นฐานคุณธรรม ๓. สาระการเรียนรู้ ๓.๑ สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
  • 2. ๑.เหตุการณ์และการเปลี่ยนแปลงสาคัญของระบอบการปกครองของไทย ๒.หลักการเลือกข้อมูล ข่าวสารเพื่อนามาวิเคราะห์ ๔. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ๔.๑ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๔.๒ ความสามารถในการคิด - ทักษะการคิดวิเคราะห์ - ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ - ทักษะการคิดสังเคราะห์ ๔.๓ ความสามารถในการใช้ชีวต ิ - กระบวนการปฏิบติ ั - กระบวนการกลุ่ม ๕.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑.มีวนย ิ ั ๒.ใฝ่ เรี ยนรู้ ๓.มุ่งมันในการทางาน ่ ๖.รู ปแบบการจัดการเรียนการสอน การจัดการเรียนรู้ โดยใช้ ทกษะกระบวนการ กลุ่ม ั ๗.กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นที่ ๑ ขั้นกระตุ้นสมอง ๑. ครู แสดงภาพอนุสาวรี ยประชาธิ ปไตย และร่ วมสนทนากับนักเรี ยนในเรื่ อง ความรู้ ์ เกี่ยวกับการปกครองในระบอบประชาธิ ปไตยของไทย อานาจอธิ ปไตย และความเหมาะสมของ การปกครองในระบอบประชาธิปไตยของไทย ๒. ครู ต้ งคาถามเพื่อให้นกเรี ยนร่ วมกันแสดงความคิดเห็นด้วยการยกมือขึ้นตอบคาถาม ั ั ประมาณ ๓ – ๔ คน ประเด็นคาถามคือ * นักเรี ยนคิดว่าการปกครองในระบอบประชาธิ ปไตยเป็ นการปกครองที่ดีหรื อไม่ อย่างไร * นักเรี ยนมีความรู ้เกี่ยวกับการปกครองตามระบอบประชาธิ ปไตยมากน้อย อย่างไร
  • 3. * นักเรี ยนจะสามารถมีส่วนร่ วมในการปกครองตามระบอบประชาธิ ปไตยหรื อไม่ อย่างไร * การมีส่วนร่ วมในการประสานผลประโยชน์ตามระบอบประชาธิ ปไตยบน พื้นฐานคุณธรรม ทาได้หรื อไม่ อย่างไร ขั้นที่ ๒ ขั้นท่องประสบการณ์ ๓. แบ่งนักเรี ยนเป็ น ๔ กลุ่มละ ๘ – ๑๐ คน ร่ วมแสดงบทบาทสมมุติโดยใช้เวลากลุ่มละ ๕ – ๑๐ นาที เพื่อกระตุนความสนใจในเรื่ องการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย โดยให้ตวแทน ้ ั กลุ่มมาจับสลากในหัวข้อต่อไปนี้ * การแถลงการณ์การจัดตั้งพรรคการเมือง * การหาเสี ยงการเลือกตั้ง * การเลือกตั้ง * การประชุมสภาผูแทนราษฎร ้ ขั้นที่ ๓ ขั้นสร้ างฐานความรู้ (ปลูกฝังปัญญา) ชั่วโมงที่ ๒ -๓ ๔. ครู ปฐมนิเทศการใช้ชุดการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวสต์ เรื่ อง การเมืองการ ิ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของไทย และให้ตวแทนกลุ่มมารับชุดการสร้างความรู ้ตาม ั แนวคอนสตรัคติวสต์ เรื่ อง การเมืองการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของไทย ไปศึกษา ิ และทากิจกรรมตามที่กาหนดไว้ ๕. ขณะที่นกเรี ยนกาลังศึกษาชุดการสร้างความรู ้ตามแนวคอนสตรัคติวส ต์ เรื่ อง การเมือง ั ิ การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของไทย ครู ทาหน้าที่ช่วยให้นกเรี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ดวย ั ้ ตนเองมากที่สุดเท่าที่จะมากได้ ต้องอดทนและปล่อยให้นกเรี ยนประกอบกิจกรรมด้วยตนเอง ไม่ ั บอกคาตอบก่อน ควรช่วยเหลือแนะนานักเรี ยนที่เรี ยนช้าและเรี ยนเร็ วให้สามารถเรี ยนไปตาม ความสามารถของตนเองด้วยตนเองให้มากที่สุด ขั้นที่ ๔ สรุ ป- สู่ ใจ (สรุ ป) ชั่วโมงที่ ๔ ๖. ตัวแทนกลุ่มนาเสนอผลงานกลุ่มตามกิจกรรมและภารกิจที่กาหนดไว้ในชุดการสร้าง ความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวสต์ เรื่ อง การเมืองการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของไทย ิ ๗. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปความเข้าใจเกี่ยวกับการปกครองตามระบอบประชาธิ ปไตย ของไทย แนวทางในการธารงรักษาระบอบประชาธิ ปไตย และการมีส่วนร่ วมในการประสาน ผลประโยชน์ตามระบอบประชาธิ ปไตยบนพื้นฐานคุณธรรม
  • 4. ๘. นักเรี ยนทาแบบทดสอบ เรื่ อง การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของไทย การวัดและประเมินผล ๑.แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล ๒.แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๓.แบบประเมินการแสดงบทบาทสมมุติ ๔.แบบทดสอบเรื่ อง การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของไทย ๕.แบบประเมินการนาเสนอผลงานกลุ่ม ๖.แบบประเมินการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ สื่ อ/แหล่งการเรียนรู้ สื่ อการเรียนรู้ ๑.หนังสื อเรี ยนสาระการเรี ยนรู ้พ้ืนฐาน : หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดาเนินชีวตใน ิ สังคม โดย รศ.ดร.วรทิพย์ มีมากสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ(พว.) ๒.คู่มือ-เตรี ยมสอบ สังคมศึกษา ช่วงชั้นที่ ๓ สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมืองวัฒนธรรมและการ ดาเนินชี วตในสังคม โดย...อ.ซิ ลวี่ ฮอลลิงก้าสานักพิมพ์ภูมิบณฑิต ิ ั ๓.หนังสื อเรี ยนสาระการเรี ยนรู ้พ้ืนฐาน : หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดาเนินชีวต ิ ในสังคม โดย ดร.ชูวงศ์ ฉายะบุตรและคณะวัฒนาพานิช จากัด ๔.ภาพอนุสาวรี ยประชาธิปไตย ์ ๕.ชุดการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวสต์ สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม ิ และการดาเนินชีวตในสังคม เรื่ อง การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยของไทย ิ แหล่ งเรียนรู้ http://www.dopa.go.th http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?topic=110.0 http://www.kr.ac.th/ebook2/suntorn/04.html http://www.thaisenate.com http://www.mwit.ac.th/~t2060105/conntent2_2549/text%20political6.pdf http://www.mwit.ac.th/~keng/lesson05/6.doc http://www.nucha.chs.ac.th/1.4.html http://www.nucha.chs.ac.th/1.6.html http://www.radompon.com/resourcecenter/?q=node/48 http://www.srp.ac.th/~social/online/data/001.html
  • 6. รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนา สาระ หน้าที่พลเมือง แบบประเมินบทบาทสมมุติ และวัฒนธรรม วัฒนธรรมและการดาเนิ นชีวต ิ รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑ เรื่องการปกครองตามระบอบ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ หน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๔ ประชาธิปไตยของไทย เวลาเรียน ๔ ชัวโมง ่ ลาดับ รายการประเมิน คุณภาพผลงาน ๓ ๒ ๑ ๑ เนื้อหาของเรื่ องสอดคล้องวัตถุประสงค์ ๒ บทบาทตัวละครสอดคล้องเนื้อเรื่ อง ๓ การดาเนินเรื่ องเหมาะสมกับเวลา ๔ ความพร้อมเพรี ยง ความร่ วมมือร่ วมใจ รวม ลงชื่อ.......................................................ผูประเมิน ้ ......................./............................../............................... เกณฑ์ การให้ คะแนน ดี = ๓ พอใช้ = ๒ ปรับปรุ ง = ๑ เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ ๙ - ๑๒ ดี ๕-๘ พอใช้ ๑-๔ ปรับปรุ ง
  • 7. แบบทดสอบที่ ๙ กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา ศาสนา ชื่อหน่ วย:การเมืองการปกครอง สาระที่ ๒ หน้ าทีพลเมือง ่ และวัฒนธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยของ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ไทย ประกอบหน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๔ ชื่อแผน: เรียนรู้ การเมืองไทย เวลาเรียน : ๔ ชั่วโมง ผลการเรียนรู้ ๑.เข้าใจเกี่ยวกับการปกครองตามระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย ์ ทรงเป็ นพระประมุข ๒.เข้าใจความหมาย ความสาคัญและโครงสร้างของอานาจอธิปไตย ๓.ปฏิบติตามแนวทางในการธารงรักษาระบอบประชาธิ ปไตย และการเลือกตั้ง ั ในระบอบประชาธิปไตย ๔.ตระหนักในการมีส่วนร่ วมในการประสานผลประโยชน์ตามระบอบ ประชาธิ ปไตย บนพื้นฐานคุณธรรม คาสั่ ง จงกาเครื่ องหมาย X หน้าข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว ๑.วันที่ 24 มิถุนายน 2475 มีความสาคัญต่อระบอบการเมืองการปกครองไทยอย่างไร ก.มีการปฏิวติรัฐประหารขึ้นเป็ นครั้งแรกในประเทศไทย ั ข.เปลี่ยนแปลงการปกครองมาเป็ นระบอบประชาธิปไตย ค.ประชาชนจานวนมากร่ วมชุมนุมเรี ยกร้องประชาธิ ปไตย ง.มีการเลือกตั้งขึ้นเป็ นครั้งแรกในประเทศไทย ๒.ข้อความในข้อใดต่อไปนี้ มีความสัมพันธ์กน ั ก.ฝ่ ายบริ หาร ตีความตัวบทกฎหมาย รวมทั้งตัดสิ นพิจารณาคดี ข.อานาจอธิ ปไตย ในระบอบประชาธิ ปไตยอานาจอธิ ปไตยเป็ นของประมุขของรัฐนั้น ๆ ค.ฝ่ ายนิติบญญัติ ทาหน้าที่ในการพิจารณาเงินงบประมาณและตรวจสอบการทางานของ ั รัฐบาล ง.ฝ่ ายตุลาการ นากฎหมายมาบังคับใช้และออกฎหมายบางส่ วนที่มีความสาคัญน้อยกว่า นิติบญญัติ ั ๓.ข้อใดเป็ นอานาจหน้าที่โดยตรงของรัฐสภา ก.ออกกฎหมาย ข.กาหนดนโยบายบริ หารประเทศ ค.ดูแลสิ ทธิเสรี ภาพความยุติธรรมให้ประชาชน
  • 8. ง.สั่งการใช้งบประมาณด่วนเมื่อมีภยพิบติ ั ั ๔.อานาจการจัดการบริ หารประเทศขึ้นอยูกบบุคคลกลุ่มใดเป็ นสาคัญ ่ ั ก.คณะรัฐสภา ข.คณะรัฐมนตรี ค.กลุ่มทหาร ง.ประชาชน ๕.ข้อใดเป็ นการปกครองส่ วนภูมิภาค ก.จังหวัด อาเภอ ตาบล หมู่บาน ้ ข.ทบวง กอง กรม แผนก ค.เทศบาล สุ ขาภิบาล ง.เขตการปกครองพิเศษ ๖. กรุ งเทพมหานคร และเมืองพัทยา เป็ นการจัดการปกครองแบบใด ก.การปกครองส่ วนกลาง ข.การปกครองส่ วนท้องถิ่น ค.เขตการปกครองลอยตัว ง.เขตการปกครองพิเศษ ๗.ตาแหน่งสู งสุ ดของข้าราชการประจาในเขตเทศบาลคือข้อใด ก.นายกเทศมนตรี ้่ ข.ผูวาราชการจังหวัด ค.ปลัดเทศบาล ง.ปลัดกระทรวง ๘.ตาแหน่ง นายกเมืองพัทยา ดารงตาแหน่งโดยวิธีใด ก.โดยการแต่งตั้งจากส่ วนกลาง ข.โดยการเลือกตั้งจากราษฎรเมืองพัทยา ค.โดยการเลือกตั้งจากประชาชนจังหวัดชลบุรี ง.โดยการคัดเลือกจากสมาชิกเมืองพัทยา ๙.ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์และศาลฎีกา เป็ นศาลประเภทใด ก.ศาลทหาร ข.ศาลปกครอง ค.ศาลยุติธรรม ง.ศาลรัฐธรรมนูญ ๑๐.กิจกรรมข้อใดถือว่าเป็ นกิจกรรมทางประชาธิ ปไตย ตามวิถีทางประชาธิ ปไตย ก.กิจกรรมวันแม่ ข.กิจกรรมการเลือกตั้งสภานักเรี ยน ค.การเขียนเรี ยงความเรื่ องประชาธิ ปไตย ง.จัดบอร์ ดเกี่ยวกับประชาธิ ปไตย ------------------------------------------------
  • 9. เฉลยแบบทดสอบที่ ๙ กลุ่มสาระ สั งคมศึกษา ศาสนา ชื่อหน่ วย:การเมืองการปกครอง สาระที่ ๒ หน้ าทีพลเมือง ่ และวัฒนธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยของ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒ ไทย ประกอบหน่ วยการเรียนรู้ ที่ ๔ ชื่อแผน: เรียนรู้ การเมืองไทย เวลาเรียน : ๔ ชั่วโมง ๑.ข ๖.ง ๒.ค ๗.ค ๓.ก ๘. ข ๔. ข ๙. ค ๕. ก ๑๐.ข