SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  19
 
อุปกรณ์ไฟฟ้าที่สำคัญภายในบ้าน ,[object Object],[object Object]
หลอดไฟ หลอดไฟถือเป็นอุปกรณ์หลักในการให้แสงสว่าง หลอดไฟจะมีอยู่  3  ชนิดด้วยกัน 1.  หลอดอินแคนเดสเซนต์ หรือเรียกอีกอย่างว่าหลอดแบบมีไส้ หลอดชนิดนี้จะกินไฟมาก มีอายุการใช้งานที่สั้น โดยเฉลี่ยประมาณ  750  ชมต่อ  1  หลอด มีทำงานโดยการปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าสู่ขดลวด   ( ที่เป็นไส้หลอด )  เพื่อให้เกิดความร้อน แล้วเปล่งแสงสีเหลืองออกมา
2.  หลอดฟลูออเรสเซนต์ มีโดยมีอายุการใช้งานประมาณ  8,000  ชม .  ซึ่งสูงกว่าหลอดอินแคนเดสเซนต์ แต่มีราคาที่แพงกว่า มีอายุการใช้งานเฉลี่ยยาวกว่า และให้แสงสว่างมากกว่าหลอดแบบไส้อีกด้วย
3.  หลอดฮาโลเจน เหมาะกับการใช้ไฟส่องที่โต๊ะทำงาน ปฏิมากรรมหรือภาพเขียนประดับผนังเพื่อทำให้งานดูโดดเด่นขึ้น ซึ่งให้ความสว่างมากกว่าหลอดแบบอินแคนเดสเซนต์เมื่อแทบในกำลังวัตต์ที่เท่ากัน ทำให้ประหยัดค่าไฟฟ้ามากกว่าแต่ก็มีราคาสูงกว่า มีอายุการใช้งานที่สั้นกว่าหลอดฟลูออเรสเซนต์ แต่มีความสวยงามกว่าเพราะจะให้แสงที่มีสีขาวนวล
ฟิวส์ เป็นอุปกรณ์ที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งเพราะฟิวส์จะป้องกันไฟฟ้าเกินภายในบ้าน การเลือกขนาดฟิวส์ต้องเลือกให้เหมาะสมกับขนาดกระแสไฟฟ้าที่ใช้ หรือถ้าไม่ทราบว่าต้องใช้ฟิวส์ขนาดเท่าไรให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ ฟิวส์ที่มีในท้องตลาดมีอยู่  3  แบบคือ 1.  ฟิวส์เส้น มีลักษณะเป็นเส้นเปลือยเหมือนสายไฟ ทำมาจากตะกั่วผสมกับดีบุกใช้ต่อเชื่อมในวงจรไฟฟ้า เช่นในสะพานไฟ ฟิวส์เส้นจะทำงานเมื่อไฟฟ้าเกินขนาดทำให้ฟิวส์เกิดความร้อนแล้วขาด
2.  ฟิวส์หลอด มีลักษณะเป็นหลอดกระจกใส จะทำงานเมื่อเกิดการช็อตขึ้น จะทำให้เกิดประกายไฟ ภายในหลอดจะบรรจุสารเคมี เพื่อป้องกันการสปาร์ค ฟิวส์หลอดจะดีกว่าฟิวส์เส้น
3.  ปลั๊กฟิวส์ มีลักษณะคล้ายหลอดไส้แบบเกลียว ติดตั้งโดยหมุนเกลียวเข้าไปในสะพานไฟ มีลักษณะการทำงานเหมือนฟิวส์หลอด แต่จะไม่เกิดประกายไฟเวลาเกิดไฟชอตขึ้น
สะพานไฟหรือ คัทเอาท์   อุปกรณ์ชนิดนี้เหมือนกับเป็นสวิตช์ใหญ่ประจำบ้าน เพราะเป็นตัวควบคุมการเปิดและปิดอุปกรณ์ไฟฟ้าในบ้าน เราสามารถใช้สะพานไฟควบคุมวงจรไฟฟ้าในแต่ละส่วนของบ้านได้ ปัจจุบันสะพานไฟจะเป็นตัวตัดกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านวงจรไฟฟ้า ในกรณีที่เกิดการใช้งานเกินกำลัง เพราภายในจะมีฟิวส์เป็นส่วนประกอบอยู่ด้วย ทำให้อุปกรณ์ไฟฟ้าภายในพื้นที่ควบคุมของมันไม่ชำรุดเสียหายอีกด้วย
เต้ารับและเต้าเสียบ    อุปกรณ์ไฟฟ้าหลายชนิด จะมีเต้าเสียบอยู่กับตัวเพื่อเวลาที่เราจะใช้งานจะต้องนำไปเสียบเข้ากับเต้ารับ ที่อยู่ตามผนังภายในบ้านของเรา  อุปกรณ์ไฟฟ้าหลายชนิด มีทั้งเต้าเสียบและสวิตช์ไฟเพื่อควบคุมการใช้งาน เช่น พัดลม โคมไฟ โทรทัศน์  ทำให้เราสามารถเปิดปิดการใช้งานได้ง่าย แต่ที่สำคัญคือควรจะดึงเต้าเสียบออกเมื่อเลิกใช้งานแล้ว เพื่อไม่ให้กระแสไฟไหลเข้ามาและยัง เป็นการช่วยประหยัดค่าไฟฟ้าอีกด้วยข้อสำคัญอีกข้อก็คือ เราไม่ควรจะเสียบเต้าเสียบหลาย ๆ อันเข้ากับเต้ารับอันเดียวกัน เพราะจะทำให้เกิดความร้อนสูง ทำให้เกิดไฟฟ้าช็อต จากการใช้ไฟเกินได้ ดังนั้นในบ้านของเราจะต้องมีเต้ารับหลาย ๆ จุด ตามตำแหน่งที่เราจะต้องมีเครื่องใช้ไฟฟ้าไว้ใช้งาน  และควรติดให้อยู่สูงจากพื้นเพื่อกันน้ำท่วม และ ให้พ้นจากมือเด็กด้วย  ทั้งหมดนี้ก็เพื่อความปลอดภัยของทุกคนในบ้านท่านนั่นเอง
วงจรไฟฟ้าในบ้าน   วงจรไฟฟ้าภายในบ้าน ส่วนใหญ่จะเป็นการต่อแบบขนาน ซึ่งเป็นการต่อวงจรทำให้อุปกรณ์และเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดอยู่คนละวงจร ซึ่งถ้าเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดหนึ่งเกิดขัดข้องเนื่องจากสาเหตุใดก็ตาม เครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดอื่นก็ยังคงใช้งานได้ตามปกติเพราะไม่ได้อยู่ในวงจรเดียวกัน   ไฟฟ้าที่ใช้ในบ้านเรือนทั่วไปเป็นไฟฟ้ากระแสสลับมีความต่างศักย์  220   โวลต์ การส่งพลังงานไฟฟ้าเข้าบ้านจะใช้สายไฟ  2   เส้น คือ 1 .  สายกลาง หรือสาย  N  มีศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์ 2 .  สายไฟ หรือสาย  L  มีศักย์ไฟฟ้าเป็น  220   โวลต์
โดยปกติสาย  L  และสาย  N  ที่ต่อเข้าบ้านจะต่อเข้ากับแผงควบคุมไฟฟ้า ซึ่งเป็นทีควบคุมการจ่ายพลังงานไฟฟ้าทั้งหมดในบ้านอย่างมีระบบ บนแผงควบคุมไฟฟ้ามักจะประกอบด้วย ฟิวส์รวม สะพานไฟรวม และสะพานไฟย่อย โดยสะพานไฟย่อยมีไว้เพื่อแยกและควบคุมการส่งพลังงานไฟฟ้าไปยังวงจรไฟฟ้าย่อยตามส่วนต่างๆ ของบ้านเรือน เช่น วงจรชั้นล่าง วงจรชั้นบน วงจรในครัว เป็นต้น
ในวงจรไฟฟ้าในบ้าน กระแสไฟฟ้าจะผ่านมาตรไฟฟ้าทางสาย  L  เข้าสู่สะพานไฟ ผ่านฟิวส์และสวิตช์ แล้วไหลผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้า ดังนั้นกระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านสาย  N  ออกมา ดังรูป
1  รูปแบบของวงจรไฟฟ้าภายในบ้าน วงจรไฟฟ้าภายในบ้าน หมายถึง ทางเดินของกระแสไฟฟ้าที่จะไหลไปตามส่วนต่าง ๆ ของวงจรที่เป็นตัวนำ   การต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน หมายถึง การต่อความต้านทาน ซึ่งมีอยู่  3   แบบ คือ
1.1   การต่อความต้านทานแบบอันดับ หรือแบบอนุกรม   เป็นการต่อความต้านทานเรียงกันไปตามลำดับ โดยที่ปลายสายของความต้านทานหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า  ( หลอด )  ของตัวที่หนึ่งต่อกับต้นสายของ ความต้านทานหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า  ( หลอด )  ของตัวที่สอง และอีกปลายหนึ่งของความต้านทานหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าตัวที่สองต่อกับต้นสายของความต้านทาน หรือ อุปกรณ์ตัวที่สามเรียงต่อกันไปอย่างนี้จนครบวงจร
1.2   การต่อความต้านทานแบบขนาน  การต่อความต้านทานแบบขนาน เป็นการต่อสายของความต้านทานแต่ละตัวไว้ที่เดียวกัน และปลายสายอีกด้านหนึ่งต่อร่วมกันไว้ที่เดียวกัน
1.3   การต่อความต้านทานแบบผสม   เป็นการต่อความต้านทานที่มีทั้ง  2   แบบในวงจรเดียวกัน
บรรณานุกรม http :// dnfe5 . nfe . go . th / ilp / electric / Elec-4 . htm
กลุ่มที่ 1 ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]

Contenu connexe

Plus de nattarika305

กลุ่ม4 305
กลุ่ม4 305กลุ่ม4 305
กลุ่ม4 305
nattarika305
 
กลุ่ม4 305
กลุ่ม4 305กลุ่ม4 305
กลุ่ม4 305
nattarika305
 
กลุ่ม4 305
กลุ่ม4 305กลุ่ม4 305
กลุ่ม4 305
nattarika305
 
กลุ่ม4 305
กลุ่ม4 305กลุ่ม4 305
กลุ่ม4 305
nattarika305
 
กลุ่ม4 303
กลุ่ม4 303กลุ่ม4 303
กลุ่ม4 303
nattarika305
 
กลุ่ม5 303
กลุ่ม5 303กลุ่ม5 303
กลุ่ม5 303
nattarika305
 
กลุ่ม5 303
กลุ่ม5 303กลุ่ม5 303
กลุ่ม5 303
nattarika305
 
กลุ่ม5 303
กลุ่ม5 303กลุ่ม5 303
กลุ่ม5 303
nattarika305
 
กลุ่ม5 303
กลุ่ม5 303กลุ่ม5 303
กลุ่ม5 303
nattarika305
 
กลุ่ม5 303
กลุ่ม5 303กลุ่ม5 303
กลุ่ม5 303
nattarika305
 

Plus de nattarika305 (10)

กลุ่ม4 305
กลุ่ม4 305กลุ่ม4 305
กลุ่ม4 305
 
กลุ่ม4 305
กลุ่ม4 305กลุ่ม4 305
กลุ่ม4 305
 
กลุ่ม4 305
กลุ่ม4 305กลุ่ม4 305
กลุ่ม4 305
 
กลุ่ม4 305
กลุ่ม4 305กลุ่ม4 305
กลุ่ม4 305
 
กลุ่ม4 303
กลุ่ม4 303กลุ่ม4 303
กลุ่ม4 303
 
กลุ่ม5 303
กลุ่ม5 303กลุ่ม5 303
กลุ่ม5 303
 
กลุ่ม5 303
กลุ่ม5 303กลุ่ม5 303
กลุ่ม5 303
 
กลุ่ม5 303
กลุ่ม5 303กลุ่ม5 303
กลุ่ม5 303
 
กลุ่ม5 303
กลุ่ม5 303กลุ่ม5 303
กลุ่ม5 303
 
กลุ่ม5 303
กลุ่ม5 303กลุ่ม5 303
กลุ่ม5 303
 

กลุ่ม1 305

  • 1.  
  • 2.
  • 3. หลอดไฟ หลอดไฟถือเป็นอุปกรณ์หลักในการให้แสงสว่าง หลอดไฟจะมีอยู่ 3 ชนิดด้วยกัน 1. หลอดอินแคนเดสเซนต์ หรือเรียกอีกอย่างว่าหลอดแบบมีไส้ หลอดชนิดนี้จะกินไฟมาก มีอายุการใช้งานที่สั้น โดยเฉลี่ยประมาณ 750 ชมต่อ 1 หลอด มีทำงานโดยการปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าสู่ขดลวด ( ที่เป็นไส้หลอด ) เพื่อให้เกิดความร้อน แล้วเปล่งแสงสีเหลืองออกมา
  • 4. 2. หลอดฟลูออเรสเซนต์ มีโดยมีอายุการใช้งานประมาณ 8,000 ชม . ซึ่งสูงกว่าหลอดอินแคนเดสเซนต์ แต่มีราคาที่แพงกว่า มีอายุการใช้งานเฉลี่ยยาวกว่า และให้แสงสว่างมากกว่าหลอดแบบไส้อีกด้วย
  • 5. 3. หลอดฮาโลเจน เหมาะกับการใช้ไฟส่องที่โต๊ะทำงาน ปฏิมากรรมหรือภาพเขียนประดับผนังเพื่อทำให้งานดูโดดเด่นขึ้น ซึ่งให้ความสว่างมากกว่าหลอดแบบอินแคนเดสเซนต์เมื่อแทบในกำลังวัตต์ที่เท่ากัน ทำให้ประหยัดค่าไฟฟ้ามากกว่าแต่ก็มีราคาสูงกว่า มีอายุการใช้งานที่สั้นกว่าหลอดฟลูออเรสเซนต์ แต่มีความสวยงามกว่าเพราะจะให้แสงที่มีสีขาวนวล
  • 6. ฟิวส์ เป็นอุปกรณ์ที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งเพราะฟิวส์จะป้องกันไฟฟ้าเกินภายในบ้าน การเลือกขนาดฟิวส์ต้องเลือกให้เหมาะสมกับขนาดกระแสไฟฟ้าที่ใช้ หรือถ้าไม่ทราบว่าต้องใช้ฟิวส์ขนาดเท่าไรให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ ฟิวส์ที่มีในท้องตลาดมีอยู่ 3 แบบคือ 1. ฟิวส์เส้น มีลักษณะเป็นเส้นเปลือยเหมือนสายไฟ ทำมาจากตะกั่วผสมกับดีบุกใช้ต่อเชื่อมในวงจรไฟฟ้า เช่นในสะพานไฟ ฟิวส์เส้นจะทำงานเมื่อไฟฟ้าเกินขนาดทำให้ฟิวส์เกิดความร้อนแล้วขาด
  • 7. 2. ฟิวส์หลอด มีลักษณะเป็นหลอดกระจกใส จะทำงานเมื่อเกิดการช็อตขึ้น จะทำให้เกิดประกายไฟ ภายในหลอดจะบรรจุสารเคมี เพื่อป้องกันการสปาร์ค ฟิวส์หลอดจะดีกว่าฟิวส์เส้น
  • 8. 3. ปลั๊กฟิวส์ มีลักษณะคล้ายหลอดไส้แบบเกลียว ติดตั้งโดยหมุนเกลียวเข้าไปในสะพานไฟ มีลักษณะการทำงานเหมือนฟิวส์หลอด แต่จะไม่เกิดประกายไฟเวลาเกิดไฟชอตขึ้น
  • 9. สะพานไฟหรือ คัทเอาท์   อุปกรณ์ชนิดนี้เหมือนกับเป็นสวิตช์ใหญ่ประจำบ้าน เพราะเป็นตัวควบคุมการเปิดและปิดอุปกรณ์ไฟฟ้าในบ้าน เราสามารถใช้สะพานไฟควบคุมวงจรไฟฟ้าในแต่ละส่วนของบ้านได้ ปัจจุบันสะพานไฟจะเป็นตัวตัดกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านวงจรไฟฟ้า ในกรณีที่เกิดการใช้งานเกินกำลัง เพราภายในจะมีฟิวส์เป็นส่วนประกอบอยู่ด้วย ทำให้อุปกรณ์ไฟฟ้าภายในพื้นที่ควบคุมของมันไม่ชำรุดเสียหายอีกด้วย
  • 10. เต้ารับและเต้าเสียบ   อุปกรณ์ไฟฟ้าหลายชนิด จะมีเต้าเสียบอยู่กับตัวเพื่อเวลาที่เราจะใช้งานจะต้องนำไปเสียบเข้ากับเต้ารับ ที่อยู่ตามผนังภายในบ้านของเรา  อุปกรณ์ไฟฟ้าหลายชนิด มีทั้งเต้าเสียบและสวิตช์ไฟเพื่อควบคุมการใช้งาน เช่น พัดลม โคมไฟ โทรทัศน์  ทำให้เราสามารถเปิดปิดการใช้งานได้ง่าย แต่ที่สำคัญคือควรจะดึงเต้าเสียบออกเมื่อเลิกใช้งานแล้ว เพื่อไม่ให้กระแสไฟไหลเข้ามาและยัง เป็นการช่วยประหยัดค่าไฟฟ้าอีกด้วยข้อสำคัญอีกข้อก็คือ เราไม่ควรจะเสียบเต้าเสียบหลาย ๆ อันเข้ากับเต้ารับอันเดียวกัน เพราะจะทำให้เกิดความร้อนสูง ทำให้เกิดไฟฟ้าช็อต จากการใช้ไฟเกินได้ ดังนั้นในบ้านของเราจะต้องมีเต้ารับหลาย ๆ จุด ตามตำแหน่งที่เราจะต้องมีเครื่องใช้ไฟฟ้าไว้ใช้งาน  และควรติดให้อยู่สูงจากพื้นเพื่อกันน้ำท่วม และ ให้พ้นจากมือเด็กด้วย  ทั้งหมดนี้ก็เพื่อความปลอดภัยของทุกคนในบ้านท่านนั่นเอง
  • 11. วงจรไฟฟ้าในบ้าน วงจรไฟฟ้าภายในบ้าน ส่วนใหญ่จะเป็นการต่อแบบขนาน ซึ่งเป็นการต่อวงจรทำให้อุปกรณ์และเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดอยู่คนละวงจร ซึ่งถ้าเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดหนึ่งเกิดขัดข้องเนื่องจากสาเหตุใดก็ตาม เครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดอื่นก็ยังคงใช้งานได้ตามปกติเพราะไม่ได้อยู่ในวงจรเดียวกัน ไฟฟ้าที่ใช้ในบ้านเรือนทั่วไปเป็นไฟฟ้ากระแสสลับมีความต่างศักย์ 220 โวลต์ การส่งพลังงานไฟฟ้าเข้าบ้านจะใช้สายไฟ 2 เส้น คือ 1 . สายกลาง หรือสาย N มีศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์ 2 . สายไฟ หรือสาย L มีศักย์ไฟฟ้าเป็น 220 โวลต์
  • 12. โดยปกติสาย L และสาย N ที่ต่อเข้าบ้านจะต่อเข้ากับแผงควบคุมไฟฟ้า ซึ่งเป็นทีควบคุมการจ่ายพลังงานไฟฟ้าทั้งหมดในบ้านอย่างมีระบบ บนแผงควบคุมไฟฟ้ามักจะประกอบด้วย ฟิวส์รวม สะพานไฟรวม และสะพานไฟย่อย โดยสะพานไฟย่อยมีไว้เพื่อแยกและควบคุมการส่งพลังงานไฟฟ้าไปยังวงจรไฟฟ้าย่อยตามส่วนต่างๆ ของบ้านเรือน เช่น วงจรชั้นล่าง วงจรชั้นบน วงจรในครัว เป็นต้น
  • 13. ในวงจรไฟฟ้าในบ้าน กระแสไฟฟ้าจะผ่านมาตรไฟฟ้าทางสาย L เข้าสู่สะพานไฟ ผ่านฟิวส์และสวิตช์ แล้วไหลผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้า ดังนั้นกระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านสาย N ออกมา ดังรูป
  • 14. 1 รูปแบบของวงจรไฟฟ้าภายในบ้าน วงจรไฟฟ้าภายในบ้าน หมายถึง ทางเดินของกระแสไฟฟ้าที่จะไหลไปตามส่วนต่าง ๆ ของวงจรที่เป็นตัวนำ การต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน หมายถึง การต่อความต้านทาน ซึ่งมีอยู่ 3 แบบ คือ
  • 15. 1.1 การต่อความต้านทานแบบอันดับ หรือแบบอนุกรม เป็นการต่อความต้านทานเรียงกันไปตามลำดับ โดยที่ปลายสายของความต้านทานหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า ( หลอด ) ของตัวที่หนึ่งต่อกับต้นสายของ ความต้านทานหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า ( หลอด ) ของตัวที่สอง และอีกปลายหนึ่งของความต้านทานหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าตัวที่สองต่อกับต้นสายของความต้านทาน หรือ อุปกรณ์ตัวที่สามเรียงต่อกันไปอย่างนี้จนครบวงจร
  • 16. 1.2 การต่อความต้านทานแบบขนาน การต่อความต้านทานแบบขนาน เป็นการต่อสายของความต้านทานแต่ละตัวไว้ที่เดียวกัน และปลายสายอีกด้านหนึ่งต่อร่วมกันไว้ที่เดียวกัน
  • 17. 1.3 การต่อความต้านทานแบบผสม เป็นการต่อความต้านทานที่มีทั้ง 2 แบบในวงจรเดียวกัน
  • 18. บรรณานุกรม http :// dnfe5 . nfe . go . th / ilp / electric / Elec-4 . htm
  • 19.