SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  58
Télécharger pour lire hors ligne
1
การดูแลจัดการต่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19 Situation Management)
สำหรับหัวหน้ำงำน ผู้จัดกำรของบริษัท แอล พี พี พรอพเพอร์ตี้ มำเนจเมนท์ จำกัด (LPP)
นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์
28 เมษำยน 2564
www.SlideShare.net/Nawanan
Images from HwangMangjoo (rawpixel)
2
นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์
2003 แพทยศำสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง)
2011 Ph.D. (Health Informatics), University of Minnesota
รองคณบดีฝ่ำยปฏิบัติกำร และอำจำรย์ภำควิชำระบำดวิทยำคลินิกและชีวสถิติ
คณะแพทยศำสตร์โรงพยำบำลรำมำธิบดี มหำวิทยำลัยมหิดล
Interests: Health IT for Quality of Care, Social Media,
IT Management, Security & Privacy
www.SlideShare.net/Nawanan
3
เนื้อหำของกำรบรรยำยนี้ เป็นควำมเห็นทำงวิชำกำรส่วนตัวของ
ผู้บรรยำย ไม่ใช่ควำมเห็นหรือจุดยืนขององค์กรใด
ไม่เกี่ยวข้องกับตำแหน่ง บทบำท หรือสถำนะใดของผู้บรรยำย
และไม่ถือเป็นกำรให้ควำมเห็นทำงกฎหมำยที่มีผลผูกพัน
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด
Step A:
A1: มาตรการป้องกันที่ควรมีอยู่แล้ว
• กำรทำควำมสะอำดจุดสัมผัสในพื้นที่ส่วนกลำงที่มีผู้ใช้บ่อยๆ เช่น ปุ่มกดลิฟต์,
ลูกบิด/ที่จับประตู, รำว, รถเข็นส่วนกลำง, ตู้กดน้ำ, อุปกรณ์ fitness ฯลฯ
• กำรดูแลพื้นที่ส่วนกลำง เช่น fitness, ห้องส่วนกลำง, ห้องประชุม, สนำมเด็ก
เล่น, สวน ฯลฯ ตำมมำตรกำรควบคุมโรค
• กำรขอควำมร่วมมือผู้พักอำศัย/บุคคลภำยนอก/เจ้ำหน้ำที่ สวมหน้ำกำก
อนำมัยตลอดเวลำ และเว้นระยะห่ำง ในพื้นที่ส่วนกลำง
26
Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด
Step A:
A2: มาตรการเตรียมรับมือ
• ประชำสัมพันธ์ให้ผู้พักอำศัยแจ้งหำกทรำบว่ำเป็นผู้ติดเชื้อ (ส่วนกรณีที่ต้องกักตัว แต่ไม่ใช่ผู้ติดเชื้อ
พิจำรณำตำมควำมเหมำะสมว่ำจะให้แจ้งหรือไม่ ขึ้นอยู่กับมีมำตรกำรดูแลอย่ำงไรหรือไม่)
• เตรียมแผนสำหรับกรณีมีผู้ติดเชื้อเอำไว้
• เตรียมช่องทำงสื่อสำรที่เข้ำถึงผู้พักอำศัยได้เร็วเอำไว้ (ควรมีหลำยช่องทำง)
• เตรียมเบอร์ติดต่อของผู้เกี่ยวข้องเอำไว้ เช่น กรมควบคุมโรค โรงพยำบำลในพื้นที่ บริษัททำควำม
สะอำด บริษัท supplier ของอุปกรณ์ส่วนกลำง ฯลฯ
27
Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด
Step A:
A2: มาตรการเตรียมรับมือ (ต่อ)
• เตรียมเบอร์ติดต่อของคณะกรรมกำรและ จนท. ทุกฝ่ำย ทุกคนของนิติบุคคล/อพำร์ตเม้นต์ เอำไว้
• เตรียมสื่อประชำสัมพันธ์กรณีต้องสื่อสำรเรื่องกำรมีผู้ติดเชื้อ หรือมำตรกำรต่ำงๆ เอำไว้ก่อน
• เตรียมกำลังสำรอง กรณีต้องกักตัวเจ้ำหน้ำที่ของนิติบุคคล/อพำร์ตเม้นต์
• หำกมีหมอหรือผู้เชี่ยวชำญด้ำนที่เกี่ยวข้องในอำคำรชุด/อพำร์ตเม้นต์ ที่อำจเป็นที่ปรึกษำได้
พิจำรณำสอบถำมควำมสะดวกใจในกำรช่วยให้คำปรึกษำ
• ทำควำมเข้ำใจเรื่องวิธีกำรระบำดของโรค นิยำมควำมเสี่ยง กำรประเมินควำมเสี่ยงของผู้สัมผัส
(วงกลม 3 วง) แนวทำงกำรดำเนินกำรสำหรับผู้สัมผัสแต่ละวง ฯลฯ
28
Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด
Step B: การดาเนินการเบื้องต้นเมื่อได้รับแจ้งว่ามีผู้ติดเชื้อ
B1: ตั้งสติ อย่าตื่นตระหนก เราเตรียมรับมือไว้แล้ว/เรารู้ก่อนแล้วว่าเดี๋ยวก็คงถึงคราวที่ต้อง
ดาเนินการ
B2: ตั้งหลัก รวบรวมข้อมูล (information gathering)
• ตรวจสอบข้อเท็จจริงจำกเจ้ำตัว ว่ำเป็นผู้ติดเชื้อที่ทรำบผลแล้วว่ำเป็นบวก หรือแค่เป็นผู้สงสัยว่ำติด
เชื้อ รอผล หรือผลเป็นลบ แต่ต้องกักตัว ฯลฯ
• หำกมีมำกกว่ำ 1 คน ทำทะเบียนข้อมูลเป็นรำยบุคคล (ควรดูแลควำมลับของข้อมูลให้ดี)
• กรณีเป็นผู้ติดเชื้อ (ผลบวก) อธิบำยเจ้ำตัวว่ำมีควำมจำเป็นต้องขอข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อกำรดูแลควำม
ปลอดภัยของผู้พักอำศัยโดยรวม และเพื่อกำรดูแลผู้ติดเชื้อเอง
• ขอทรำบวันที่มีอำกำร อำกำรที่เป็น (ถ้ำมี) วันที่ไปตรวจ วันที่ทรำบผล เพื่อเริ่ม establish timeline
29
Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด
Step B: การดาเนินการเบื้องต้นเมื่อได้รับแจ้งว่ามีผู้ติดเชื้อ
B2: ตั้งหลัก รวบรวมข้อมูล (information gathering) (ต่อ)
• ขอทรำบว่ำทำงโรงพยำบำลแนะนำอะไรบ้ำง และจะมีกำรดำเนินกำรต่อไปอย่ำงไร
• ตรวจสอบกล้องวงจรปิดเพื่อเสริม timeline หำกทำได้
• สำหรับประวัติกำรสัมผัสและ timeline ส่วนอื่นๆ นอกอำคำรชุด/อพำร์ตเม้นต์ จริงๆ ไม่เกี่ยวกับ
กำรทำหน้ำที่ภำยในอำคำรชุด/อพำร์ตเม้นต์โดยตรง อำจพิจำรณำพูดคุยกับเจ้ำตัวเพื่อสอบถำม
ควำมสะดวกใจในกำรบอก timeline นอกคอนโดแก่ผู้พักอำศัย (กำรเปิดเผย timeline นอกอำคำร
ชุด/อพำร์ตเม้นต์ เป็นเรื่องของหน่วยงำนทำงกำร เช่น กรมควบคุมโรค กทม./จังหวัด และเจ้ำตัว +
เจ้ำของพื้นที่ตำม timeline เอง ไม่ใช่เรื่องที่ทำงอำคำรชุด/อพำร์ตเม้นต์จะเปิดเผยโดยพลกำรได้เอง)
30
Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด
B3: ประเมินผลกระทบ (Impact Assessment)
•พิจำรณำว่ำ ตำมข้อมูล timeline ภำยในคอนโด/อพำร์ตเม้นต์ พื้นที่ใด
คือจุดเสี่ยงบ้ำง โดยคำนึงถึงปัจจัยด้ำนขนำดของพื้นที่ โอกำสกำรติดต่อ
ผ่ำนจุดสัมผัส กำรถ่ำยเทอำกำศ จำนวน/ควำมหนำแน่นผู้ใช้บริกำร
พฤติกรรมกำรสวมหน้ำกำก ระยะเวลำที่ผู้ติดเชื้ออยู่ในพื้นที่ และ
ระยะเวลำตั้งแต่ผู้ติดเชื้อใช้บริกำรครั้งสุดท้ำยจนถึงปัจจุบัน
31
Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด
Step C: การดาเนินการเพื่อแก้ไขสถานการณ์
C1: กาหนดวัตถุประสงค์ในการดาเนินการ และลาดับความสาคัญ
• ดูแลควำมปลอดภัยโดยรวมของผู้พักอำศัยและเจ้ำหน้ำที่ ไม่ให้มีกำรแพร่ระบำดของเชื้อ
• ดูแลควำมปลอดภัยและสวัสดิภำพทั้งกำยและใจของผู้ติดเชื้อ/ผู้กักตัว (กรณียังไม่สำมำรถไปรับกำร
รักษำที่ รพ. ได้ หรือกรณีที่ไม่ใช่ผู้ติดเชื้อแต่ต้องกักตัวเองในที่พัก)
• ได้รับควำมร่วมมือจำกผู้ติดเชื้อ/ผู้กักตัวในกำรปฏิบัติตัว
• กำรสื่อสำรในภำวะวิกฤต (crisis communication) เป็นไปด้วยควำมเรียบร้อย ได้รับกำรยอมรับ
จำกผู้พักอำศัย เจ้ำหน้ำที่ และผู้เกี่ยวข้อง
• กำรสนับสนุนของคณะกรรมกำร
• ขวัญและกำลังใจของเจ้ำหน้ำที่
32
Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด
Step C: การดาเนินการเพื่อแก้ไขสถานการณ์
C2: เอาวัตถุประสงค์ในข้อ C1 ตามลาดับความสาคัญ มาตั้งเป็นโจทย์ในการ
ดาเนินการ ต่อไปนี้เป็นตัวอย่ำงกำรดำเนินกำร (อำจแตกต่ำงตำมบริบท)
C2.1 แจ้งกรมควบคุมโรค/ทำงกำร ตำมกลไก
C2.2 ทำควำมสะอำดพื้นที่เสี่ยงที่ทรำบตำมข้อมูลใน timeline ภำยในอำคำร
ชุด/อพำร์ตเม้นต์ เพิ่มเติมเป็นพิเศษ เน้นจุดสัมผัสอย่ำงเต็มที่
C2.3 กรณีพื้นที่ส่วนกลำงที่เสี่ยงสูง หรือยังคงมีโอกำสเป็นแหล่งแพร่กระจำย
ของเชื้อ และสำมำรถปิดให้บริกำรได้ พิจำรณำปิดให้บริกำรตำมระยะเวลำที่
เหมำะสม
33
Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด
Step C: การดาเนินการเพื่อแก้ไขสถานการณ์
C2: เอาวัตถุประสงค์ในข้อ C1 ตามลาดับความสาคัญ มาตั้งเป็นโจทย์ในการดาเนินการ ต่อไปนี้เป็น
ตัวอย่ำงกำรดำเนินกำร (อำจแตกต่ำงตำมบริบท) (ต่อ)
C2.4 หำกเป็นพื้นที่ปิด อำกำศไม่ถ่ำยเท พิจำรณำกำรฉีดพ่นน้ำยำทำควำมสะอำดตำมควำมเหมำะสม
• ข้อสังเกต: สมำคมโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทย ในฐำนะผู้เชี่ยวชำญด้ำนโรคติดเชื้อ ไม่ได้แนะนำกำรฉีดพ่น
น้ำยำในพื้นที่ต่ำงๆ เพรำะเสี่ยงเรื่องละอองฝอยจำกน้ำยำอำจทำให้เชื้อตำมผิวสัมผัสปลิวขึ้นมำในอำกำศ
ง่ำยขึ้น และไม่มีหลักฐำนว่ำมีประโยชน์ในกำรป้องกันกำรแพร่ระบำดโดยตรง
• ดังนั้น ในควำมเห็นผม กำรดำเนินกำรอำจเป็นเรื่องกำรพยำยำม take action และบริหำรควำมคำดหวัง
ของผู้พักอำศัยเป็นหลัก อำจพิจำรณำทำถ้ำเป็นพื้นที่ปิด อำกำศไม่ถ่ำยเท สำมำรถปิดพื้นที่ชั่วครำวได้ แต่
หำกเป็นพื้นที่เปิด อำกำศถ่ำยเทดี หรือมีผู้อื่นใช้บริกำรตลอด ไม่มีประโยชน์ ไม่ควรทำ
34
35
Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด
Step C: การดาเนินการเพื่อแก้ไขสถานการณ์
C2: เอาวัตถุประสงค์ในข้อ C1 ตามลาดับความสาคัญ มาตั้งเป็นโจทย์ในการดาเนินการ ต่อไปนี้เป็นตัวอย่ำงกำร
ดำเนินกำร (อำจแตกต่ำงตำมบริบท) (ต่อ)
C2.5 แนะนำกำรปฏิบัติตัวของผู้ติดเชื้อ หำกยังจำเป็นต้องพักอำศัยในห้องพักระหว่ำงรอเข้ำรับกำรรักษำใน รพ.
• เริ่มต้นโดยกำรสอบถำมอำกำรทำงกำยและสภำพจิตใจ เพื่อแสดงถึงควำมเห็นอกเห็นใจ ควำมเข้ำใจ (start with
empathy)
• สอบถำมให้แน่ใจว่ำไม่มีอำกำรรุนแรงที่ควรต้องได้รับกำรรักษำทำงกำรแพทย์โดยเร็ว เช่น หำยใจหอบเหนื่อย
หำยใจเร็ว หำยใจลำบำก หำยใจไม่ออก เพลียมำกผิดปกติ ฯลฯ
• ขอให้แจ้งผู้สัมผัสไปรับกำรตรวจ และหำกเป็นผู้สัมผัสใกล้ชิดเสี่ยงสูง ให้กักตัว 14 วัน นับจำกวันสัมผัสครั้งสุดท้ำย
• แยกตัวจำกผู้อื่น ไม่ควรมีคนอื่นพักในห้องพัก
36
Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด
Step C: การดาเนินการเพื่อแก้ไขสถานการณ์
C2: เอาวัตถุประสงค์ในข้อ C1 ตามลาดับความสาคัญ มาตั้งเป็นโจทย์ในการดาเนินการ ต่อไปนี้เป็นตัวอย่ำงกำรดำเนินกำร (อำจแตกต่ำง
ตำมบริบท)
C2.5 แนะนำกำรปฏิบัติตัวของผู้ติดเชื้อ หำกยังจำเป็นต้องพักอำศัยในห้องพักระหว่ำงรอเข้ำรับกำรรักษำใน รพ. (ต่อ)
• ห้ำมออกจำกห้อง (ยกเว้นกรณี รพ. รับไปรักษำ หรือกรณีฉุกเฉิน เช่น ไฟไหม้ โดยในกรณีเช่นนั้น ขอให้สวมหน้ำกำกและเว้นระยะห่ำง
เลี่ยงกำรสัมผัสจุดต่ำงๆ อย่ำงเต็มที่)
• หำกทำอำหำร ซักผ้ำ เองได้ ขอให้ทำ
• ตกลงเรื่องมำตรกำรรับส่งอำหำร delivery ให้แจ้งเจ้ำหน้ำที่รับขึ้นมำไว้หน้ำประตูห้อง เว้นระยะห่ำง แล้วเจ้ำตัวสวมหน้ำกำกแล้วนำเข้ำไป
เอง เปิดประตูเพียงช่วงสั้นๆ
• กรณีขยะที่จำเป็นต้องทิ้งเลย เก็บรอไว้ในห้องนำนๆ ไม่ได้ เช่น เศษอำหำร ให้ใส่ถุงแยก 2 ชั้น ประสำนเจ้ำหน้ำที่รับที่หน้ำประตูโดย
หลีกเลี่ยงกำรอยู่ใกล้ชิดกัน สวมหน้ำกำกทุกครั้งก่อนเปิดประตู รับไปกำจัดโดยดูแลแบบขยะติดเชื้อ
• หลีกเลี่ยงกำรส่งซักรีดนอกห้อง เท่ำที่ทำได้ (กรณีจำเป็น ให้ใส่ถุงแยก ระมัดระวังขณะซัก ใช้น้ำยำทำควำมสะอำดที่เหมำะสม)
• แลกเบอร์ติดต่อ และแจ้งแนวทำงกำรติดต่อหำกมีอำกำรแย่ลงที่ต้องรีบรับกำรรักษำ หรือกรณีต้องกำรให้ช่วยเหลือ/ประสำนงำนอะไร
รวมทั้งกรณีที่ได้รับกำรประสำนงำนจำก รพ. หรือ รพ. แจ้งแผนกำรรับไปรักษำ
37
Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด
Step C: การดาเนินการเพื่อแก้ไขสถานการณ์
C2: เอาวัตถุประสงค์ในข้อ C1 ตามลาดับความสาคัญ มาตั้งเป็นโจทย์ในการดาเนินการ ต่อไปนี้เป็นตัวอย่ำงกำรดำเนินกำร (อำจแตกต่ำงตำมบริบท)
C2.6 เรียกประชุมเจ้ำหน้ำที่ สื่อสำรสถำนกำรณ์ ควำมเสี่ยง กำรดำเนินกำร แนวนโยบำยและแนวทำงกำรตอบคำถำม สิ่งที่ขอควำมร่วมมือ ให้โอกำสสอบถำมและ
แสดงควำมรู้สึกเต็มที่ ดูแลขวัญกำลังใจของเจ้ำหน้ำที่
C2.7 สื่อสำรกับผู้พักอำศัย/ผู้ใช้บริกำร
• กรณี timeline สำมำรถระบุผู้สัมผัสใกล้ชิดเสี่ยงสูงโดยตรงได้ แจ้งให้ทรำบเป็นรำยบุคคล แนะนำให้ไปตรวจหำเชื้อและกักตัว หรือปฏิบัติตำมคำแนะนำของ รพ.
• สื่อสำรให้ผู้พักอำศัย/ผู้ใช้บริกำรทรำบผ่ำนหลำยช่องทำงหำกทำได้ ว่ำ มีผู้ติดเชื้อ แจ้ง timeline หรือพื้นที่เสี่ยงสูงภำยในอำคำรชุด/อพำร์ตเม้นต์ เท่ำที่ทำได้
แจ้งแนวทำงกำรดำเนินกำรของเจ้ำหน้ำที่ แจ้งสิ่งที่ขอควำมร่วมมือจำกผู้พักอำศัย/ผู้ใช้บริกำร (กรณีนี้ กำรแจ้งพื้นที่เสี่ยงในอำคำร เป็นกรณีที่มี duty to warn
คือ หน้ำที่ในกำรเตือนภัย แก่ผู้พักอำศัย/ผู้ใช้บริกำร)
• ไม่ควรบอกชื่อ เลขห้อง ของผู้ติดเชื้อ/ผู้กักตัว เพรำะไม่ได้มีประโยชน์เพิ่มเติม (ทำงเจ้ำหน้ำที่ควรดูแลควำมเสี่ยงของพื้นที่ต่ำงๆ ตำมที่กล่ำวมำแล้วอยู่แล้ว และ
ไม่มี duty to warn เลย เพรำะเชื้อไม่ได้กระโดดแพร่ผ่ำนอำกำศจำกห้องของผู้ติดเชื้อไปยังห้องอื่นเพื่อติดต่อไปยังผู้พักอำศัยคนอื่นโดยตรง) ทั้งกำรเปิดเผยยังมี
ควำมเสี่ยงกับสวัสดิภำพของเจ้ำตัว และสุ่มเสี่ยงที่จะเกิด incident ที่ทำให้เจ้ำตัวไม่ปลอดภัย หรือทำให้เกิดผลร้ำยต่อกำรดูแลตัวเอง หรือเกิดกำรแพร่ระบำด
เพิ่มขึ้น
• กำรบอกชั้น ปีก และอำคำร ของผู้ติดเชื้อ พิจำรณำชั่งน้ำหนักตำมควำมจำเป็น ควำมเสี่ยง และควำมเหมำะสม
38
Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด
Step C: การดาเนินการเพื่อแก้ไขสถานการณ์
C2: เอาวัตถุประสงค์ในข้อ C1 ตามลาดับความสาคัญ มาตั้งเป็นโจทย์ในการดาเนินการ ต่อไปนี้เป็นตัวอย่ำงกำรดำเนินกำร (อำจแตกต่ำง
ตำมบริบท)
C2.7 สื่อสำรกับผู้พักอำศัย/ผู้ใช้บริกำร (ต่อ)
• กรณีผู้กักตัวที่ไม่ใช่ผู้ติดเชื้อ ไม่มีควำมจำเป็นต้องแจ้งข้อมูลใดๆ เพรำะยังไม่ใช่ผู้ติดเชื้อ กำรแจ้งไม่มีประโยชน์เพิ่มบนข้อมูลที่มี และไม่มี
duty to warn
• กรณีผู้ติดเชื้อ/ผู้กักตัวไม่ร่วมมือ พิจำรณำแจ้งพนักงำนเจ้ำหน้ำที่และกำรดำเนินกำรที่เหมำะสม โดยคำนึงถึงควำมเสี่ยงต่อผู้อื่น และสวัสดิ
ภำพของผู้ติดเชื้อ/ผู้กักตัว ประกอบกัน
• กรณีผู้พักอำศัย/ผู้ใช้บริกำร มีท่ำทีคุกคำม ไม่ร่วมมือ bully หรือ harass ผู้ติดเชื้อ/ผู้กักตัว ดูแลควำมปลอดภัยและสวัสดิภำพของทุกฝ่ำย
และป้องกันกำรแพร่ระบำดของเชื้อ เป็นลำดับแรก และพยำยำมส่งเสริมกำรเข้ำอกเข้ำใจและเห็นใจกัน และชี้แจงกำรทำหน้ำที่/มำตรกำร
ดูแลควำมเสี่ยงต่ำงๆ ของเจ้ำหน้ำที่ รวมทั้งเหตุผลที่อำจไม่สำมำรถ/ไม่ควรทำตำมที่ผู้พักอำศัย/ผู้ใช้บริกำรร้องขอ (ถ้ำมี) หำกจำเป็นอำจ
ต้องแจ้งพนักงำนเจ้ำหน้ำที่ให้มำดูแลควำมปลอดภัยและควำมเรียบร้อย
• สื่อสำรโดยยึดหลักกำรสื่อสำรในภำวะวิกฤติที่ดี: สื่อสำรเร็ว สื่อสำรถูกต้อง ส่งเสริม trust ระหว่ำงกัน ไม่โกหกหรือปิดบัง ส่งเสริมควำม
ร่วมมือและกำรดำเนินกำรที่เหมำะสม
39
Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด
Step C: การดาเนินการเพื่อแก้ไขสถานการณ์
C2: เอาวัตถุประสงค์ในข้อ C1 ตามลาดับความสาคัญ มาตั้งเป็นโจทย์ในการดาเนินการ ต่อไปนี้เป็นตัวอย่ำงกำร
ดำเนินกำร (อำจแตกต่ำงตำมบริบท)
C2.8 การดาเนินการหลังผ่านระยะแรก
• พูดคุยกับผู้ติดเชื้อ/ผู้กักตัว เป็นระยะ เช่น วันละ 1-2 ครั้ง เพื่อติดตำมอำกำร ประเมินสภำพจิตใจ ควำมร่วมมือ สิ่งที่
ต้องกำรให้สนับสนุน อัปเดตกำรติดต่อประสำนงำนกับ รพ./แผนกำรมำรับตัว
• พิจำรณำสื่อสำรกับผู้พักอำศัย/ผู้ใช้บริกำรเป็นระยะ โดยเฉพำะกรณีที่มีข้อมูลควำมเสี่ยงของผู้พักอำศัย/ผู้ใช้บริกำรเพิ่มขึ้น
หรือควำมเสี่ยงเปลี่ยนแปลงไป หรือมีกำรดำเนินกำรที่ควรสื่อสำรให้ทรำบ
• monitor สถำนกำรณ์ ควำมรู้สึก ควำมคำดหวัง และควำมเสี่ยงต่ำงๆ เป็นระยะๆ
• monitor ขวัญและกำลังใจเจ้ำหน้ำที่เป็นระยะๆ
• ทบทวนกำรดำเนินกำร ถอดบทเรียน ปรับปรุงเพื่อกำรพัฒนำสำหรับเหตุกำรณ์ครั้งต่อไป
ขอให้พวกเรำทุกคนมีสติ และผ่ำนพ้นวิกฤตินี้ไปด้วยกัน โดยควำมปลอดภัยของทุกฝ่ำย และควำมเข้ำอกเข้ำใจกันครับ
40
กำรสื่อสำรในภำวะวิกฤต (Crisis Communication)
41
ในฐานะประชาชน ท่านคาดหวังอะไรจากรัฐบาล
ในสถานการณ์ New Virus Outbreak?
•รับรู้สถำนกำรณ์ที่แท้จริง (Full Grasp of the Situation)
•สื่อสำรให้ประชำชนเข้ำใจและยอมรับ (Communication)
•พูดควำมจริง (Speaking the Truth)
•มีควำมสำมำรถในกำรรับมือ (Competence)
•“เอำอยู่” (Situation Under Control)
42
ในฐานะประชาชน ท่านคาดหวังอะไรจากรัฐบาล
ในสถานการณ์ New Virus Outbreak?
Image from Pixabay
43
CDC’s Resources on
Crisis & Emergency Risk Communication
https://emergency.cdc.gov/cerc/ppt/CERC_Introduction.pdf
https://www.cdc.gov/eis/field-epi-manual/chapters/Communicating-Investigation.html
44https://emergency.cdc.gov/cerc/ppt/CERC_Introduction.pdf
45
Trust & Credibility
4 ปัจจัยที่คนจะ perceive ผู้สื่อสำรว่ำ น่าไว้ใจ (trusted) และน่าเชื่อถือ (credible)
•Empathy & caring
•Honesty & openness
•Dedication & Commitment
•Competence & Expertise
https://www.cdc.gov/eis/field-epi-manual/chapters/Communicating-Investigation.html
46
Effective Messaging During Outbreak Responses
•Start with empathy
•Identify & explain the threat
•Explain what is currently known and unknown
•Explain what actions are being taken and why
•Share dilemmas
•Foreshadow possibilities of future changes
•Emphasize a commitment to the situation
https://www.cdc.gov/eis/field-epi-manual/chapters/Communicating-Investigation.html
47
5 Pitfalls to Avoid
•Mixed messages from multiple experts
•Information released late
•Paternalistic attitudes
•Not countering rumors and myths in real-time
•Public power struggles & confusion
https://emergency.cdc.gov/cerc/ppt/CERC_Introduction.pdf
48
Do’s & Don’ts of Being a Spokesperson
https://www.cdc.gov/eis/field-epi-manual/chapters/Communicating-Investigation.html
49
Do’s & Don’ts of Being a Spokesperson
https://www.cdc.gov/eis/field-epi-manual/chapters/Communicating-Investigation.html
50
Do’s & Don’ts of Being a Spokesperson
https://www.cdc.gov/eis/field-epi-manual/chapters/Communicating-Investigation.html
51
Do’s & Don’ts of Being a Spokesperson
https://www.cdc.gov/eis/field-epi-manual/chapters/Communicating-Investigation.html
52
Do’s & Don’ts of Being a Spokesperson
https://www.cdc.gov/eis/field-epi-manual/chapters/Communicating-Investigation.html
53
Do’s & Don’ts of Being a Spokesperson
https://www.cdc.gov/eis/field-epi-manual/chapters/Communicating-Investigation.html
54
Do’s & Don’ts of Being a Spokesperson
https://www.cdc.gov/eis/field-epi-manual/chapters/Communicating-Investigation.html
55
Spokesperson’s Lessons Learned
56
Spokesperson’s Lessons Learned
https://news.thaipbs.or.th/quote/225
57
Spokesperson’s Lessons Learned
https://www.trendsmap.com/twitter/tweet/1250644493713371136
58
Social Media Crisis Communication
More Strategies: Silence, Combinations

Contenu connexe

Plus de Nawanan Theera-Ampornpunt

Plus de Nawanan Theera-Ampornpunt (20)

Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
 
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
 
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
 
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
 
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
 
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
 
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
 
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
 
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
 
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewTelemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
 
Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)
 
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
 
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
 
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
 
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
 
Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)
 
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
 
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
 

COVID-19 Situation Management for Condominium Managers (April 28, 2021)

  • 1. 1 การดูแลจัดการต่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19 Situation Management) สำหรับหัวหน้ำงำน ผู้จัดกำรของบริษัท แอล พี พี พรอพเพอร์ตี้ มำเนจเมนท์ จำกัด (LPP) นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์ 28 เมษำยน 2564 www.SlideShare.net/Nawanan Images from HwangMangjoo (rawpixel)
  • 2. 2 นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์ 2003 แพทยศำสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) 2011 Ph.D. (Health Informatics), University of Minnesota รองคณบดีฝ่ำยปฏิบัติกำร และอำจำรย์ภำควิชำระบำดวิทยำคลินิกและชีวสถิติ คณะแพทยศำสตร์โรงพยำบำลรำมำธิบดี มหำวิทยำลัยมหิดล Interests: Health IT for Quality of Care, Social Media, IT Management, Security & Privacy www.SlideShare.net/Nawanan
  • 4. 4
  • 5. 5
  • 6. 6
  • 7. 7
  • 8. 8
  • 9. 9
  • 10. 10
  • 11. 11
  • 12. 12
  • 13. 13
  • 14. 14
  • 15. 15
  • 16. 16
  • 17. 17
  • 18. 18
  • 19. 19
  • 20. 20
  • 21. 21
  • 22. 22
  • 23. 23
  • 24. 24
  • 25. 25 Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด Step A: A1: มาตรการป้องกันที่ควรมีอยู่แล้ว • กำรทำควำมสะอำดจุดสัมผัสในพื้นที่ส่วนกลำงที่มีผู้ใช้บ่อยๆ เช่น ปุ่มกดลิฟต์, ลูกบิด/ที่จับประตู, รำว, รถเข็นส่วนกลำง, ตู้กดน้ำ, อุปกรณ์ fitness ฯลฯ • กำรดูแลพื้นที่ส่วนกลำง เช่น fitness, ห้องส่วนกลำง, ห้องประชุม, สนำมเด็ก เล่น, สวน ฯลฯ ตำมมำตรกำรควบคุมโรค • กำรขอควำมร่วมมือผู้พักอำศัย/บุคคลภำยนอก/เจ้ำหน้ำที่ สวมหน้ำกำก อนำมัยตลอดเวลำ และเว้นระยะห่ำง ในพื้นที่ส่วนกลำง
  • 26. 26 Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด Step A: A2: มาตรการเตรียมรับมือ • ประชำสัมพันธ์ให้ผู้พักอำศัยแจ้งหำกทรำบว่ำเป็นผู้ติดเชื้อ (ส่วนกรณีที่ต้องกักตัว แต่ไม่ใช่ผู้ติดเชื้อ พิจำรณำตำมควำมเหมำะสมว่ำจะให้แจ้งหรือไม่ ขึ้นอยู่กับมีมำตรกำรดูแลอย่ำงไรหรือไม่) • เตรียมแผนสำหรับกรณีมีผู้ติดเชื้อเอำไว้ • เตรียมช่องทำงสื่อสำรที่เข้ำถึงผู้พักอำศัยได้เร็วเอำไว้ (ควรมีหลำยช่องทำง) • เตรียมเบอร์ติดต่อของผู้เกี่ยวข้องเอำไว้ เช่น กรมควบคุมโรค โรงพยำบำลในพื้นที่ บริษัททำควำม สะอำด บริษัท supplier ของอุปกรณ์ส่วนกลำง ฯลฯ
  • 27. 27 Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด Step A: A2: มาตรการเตรียมรับมือ (ต่อ) • เตรียมเบอร์ติดต่อของคณะกรรมกำรและ จนท. ทุกฝ่ำย ทุกคนของนิติบุคคล/อพำร์ตเม้นต์ เอำไว้ • เตรียมสื่อประชำสัมพันธ์กรณีต้องสื่อสำรเรื่องกำรมีผู้ติดเชื้อ หรือมำตรกำรต่ำงๆ เอำไว้ก่อน • เตรียมกำลังสำรอง กรณีต้องกักตัวเจ้ำหน้ำที่ของนิติบุคคล/อพำร์ตเม้นต์ • หำกมีหมอหรือผู้เชี่ยวชำญด้ำนที่เกี่ยวข้องในอำคำรชุด/อพำร์ตเม้นต์ ที่อำจเป็นที่ปรึกษำได้ พิจำรณำสอบถำมควำมสะดวกใจในกำรช่วยให้คำปรึกษำ • ทำควำมเข้ำใจเรื่องวิธีกำรระบำดของโรค นิยำมควำมเสี่ยง กำรประเมินควำมเสี่ยงของผู้สัมผัส (วงกลม 3 วง) แนวทำงกำรดำเนินกำรสำหรับผู้สัมผัสแต่ละวง ฯลฯ
  • 28. 28 Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด Step B: การดาเนินการเบื้องต้นเมื่อได้รับแจ้งว่ามีผู้ติดเชื้อ B1: ตั้งสติ อย่าตื่นตระหนก เราเตรียมรับมือไว้แล้ว/เรารู้ก่อนแล้วว่าเดี๋ยวก็คงถึงคราวที่ต้อง ดาเนินการ B2: ตั้งหลัก รวบรวมข้อมูล (information gathering) • ตรวจสอบข้อเท็จจริงจำกเจ้ำตัว ว่ำเป็นผู้ติดเชื้อที่ทรำบผลแล้วว่ำเป็นบวก หรือแค่เป็นผู้สงสัยว่ำติด เชื้อ รอผล หรือผลเป็นลบ แต่ต้องกักตัว ฯลฯ • หำกมีมำกกว่ำ 1 คน ทำทะเบียนข้อมูลเป็นรำยบุคคล (ควรดูแลควำมลับของข้อมูลให้ดี) • กรณีเป็นผู้ติดเชื้อ (ผลบวก) อธิบำยเจ้ำตัวว่ำมีควำมจำเป็นต้องขอข้อมูลเพิ่มเติม เพื่อกำรดูแลควำม ปลอดภัยของผู้พักอำศัยโดยรวม และเพื่อกำรดูแลผู้ติดเชื้อเอง • ขอทรำบวันที่มีอำกำร อำกำรที่เป็น (ถ้ำมี) วันที่ไปตรวจ วันที่ทรำบผล เพื่อเริ่ม establish timeline
  • 29. 29 Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด Step B: การดาเนินการเบื้องต้นเมื่อได้รับแจ้งว่ามีผู้ติดเชื้อ B2: ตั้งหลัก รวบรวมข้อมูล (information gathering) (ต่อ) • ขอทรำบว่ำทำงโรงพยำบำลแนะนำอะไรบ้ำง และจะมีกำรดำเนินกำรต่อไปอย่ำงไร • ตรวจสอบกล้องวงจรปิดเพื่อเสริม timeline หำกทำได้ • สำหรับประวัติกำรสัมผัสและ timeline ส่วนอื่นๆ นอกอำคำรชุด/อพำร์ตเม้นต์ จริงๆ ไม่เกี่ยวกับ กำรทำหน้ำที่ภำยในอำคำรชุด/อพำร์ตเม้นต์โดยตรง อำจพิจำรณำพูดคุยกับเจ้ำตัวเพื่อสอบถำม ควำมสะดวกใจในกำรบอก timeline นอกคอนโดแก่ผู้พักอำศัย (กำรเปิดเผย timeline นอกอำคำร ชุด/อพำร์ตเม้นต์ เป็นเรื่องของหน่วยงำนทำงกำร เช่น กรมควบคุมโรค กทม./จังหวัด และเจ้ำตัว + เจ้ำของพื้นที่ตำม timeline เอง ไม่ใช่เรื่องที่ทำงอำคำรชุด/อพำร์ตเม้นต์จะเปิดเผยโดยพลกำรได้เอง)
  • 30. 30 Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด B3: ประเมินผลกระทบ (Impact Assessment) •พิจำรณำว่ำ ตำมข้อมูล timeline ภำยในคอนโด/อพำร์ตเม้นต์ พื้นที่ใด คือจุดเสี่ยงบ้ำง โดยคำนึงถึงปัจจัยด้ำนขนำดของพื้นที่ โอกำสกำรติดต่อ ผ่ำนจุดสัมผัส กำรถ่ำยเทอำกำศ จำนวน/ควำมหนำแน่นผู้ใช้บริกำร พฤติกรรมกำรสวมหน้ำกำก ระยะเวลำที่ผู้ติดเชื้ออยู่ในพื้นที่ และ ระยะเวลำตั้งแต่ผู้ติดเชื้อใช้บริกำรครั้งสุดท้ำยจนถึงปัจจุบัน
  • 31. 31 Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด Step C: การดาเนินการเพื่อแก้ไขสถานการณ์ C1: กาหนดวัตถุประสงค์ในการดาเนินการ และลาดับความสาคัญ • ดูแลควำมปลอดภัยโดยรวมของผู้พักอำศัยและเจ้ำหน้ำที่ ไม่ให้มีกำรแพร่ระบำดของเชื้อ • ดูแลควำมปลอดภัยและสวัสดิภำพทั้งกำยและใจของผู้ติดเชื้อ/ผู้กักตัว (กรณียังไม่สำมำรถไปรับกำร รักษำที่ รพ. ได้ หรือกรณีที่ไม่ใช่ผู้ติดเชื้อแต่ต้องกักตัวเองในที่พัก) • ได้รับควำมร่วมมือจำกผู้ติดเชื้อ/ผู้กักตัวในกำรปฏิบัติตัว • กำรสื่อสำรในภำวะวิกฤต (crisis communication) เป็นไปด้วยควำมเรียบร้อย ได้รับกำรยอมรับ จำกผู้พักอำศัย เจ้ำหน้ำที่ และผู้เกี่ยวข้อง • กำรสนับสนุนของคณะกรรมกำร • ขวัญและกำลังใจของเจ้ำหน้ำที่
  • 32. 32 Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด Step C: การดาเนินการเพื่อแก้ไขสถานการณ์ C2: เอาวัตถุประสงค์ในข้อ C1 ตามลาดับความสาคัญ มาตั้งเป็นโจทย์ในการ ดาเนินการ ต่อไปนี้เป็นตัวอย่ำงกำรดำเนินกำร (อำจแตกต่ำงตำมบริบท) C2.1 แจ้งกรมควบคุมโรค/ทำงกำร ตำมกลไก C2.2 ทำควำมสะอำดพื้นที่เสี่ยงที่ทรำบตำมข้อมูลใน timeline ภำยในอำคำร ชุด/อพำร์ตเม้นต์ เพิ่มเติมเป็นพิเศษ เน้นจุดสัมผัสอย่ำงเต็มที่ C2.3 กรณีพื้นที่ส่วนกลำงที่เสี่ยงสูง หรือยังคงมีโอกำสเป็นแหล่งแพร่กระจำย ของเชื้อ และสำมำรถปิดให้บริกำรได้ พิจำรณำปิดให้บริกำรตำมระยะเวลำที่ เหมำะสม
  • 33. 33 Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด Step C: การดาเนินการเพื่อแก้ไขสถานการณ์ C2: เอาวัตถุประสงค์ในข้อ C1 ตามลาดับความสาคัญ มาตั้งเป็นโจทย์ในการดาเนินการ ต่อไปนี้เป็น ตัวอย่ำงกำรดำเนินกำร (อำจแตกต่ำงตำมบริบท) (ต่อ) C2.4 หำกเป็นพื้นที่ปิด อำกำศไม่ถ่ำยเท พิจำรณำกำรฉีดพ่นน้ำยำทำควำมสะอำดตำมควำมเหมำะสม • ข้อสังเกต: สมำคมโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทย ในฐำนะผู้เชี่ยวชำญด้ำนโรคติดเชื้อ ไม่ได้แนะนำกำรฉีดพ่น น้ำยำในพื้นที่ต่ำงๆ เพรำะเสี่ยงเรื่องละอองฝอยจำกน้ำยำอำจทำให้เชื้อตำมผิวสัมผัสปลิวขึ้นมำในอำกำศ ง่ำยขึ้น และไม่มีหลักฐำนว่ำมีประโยชน์ในกำรป้องกันกำรแพร่ระบำดโดยตรง • ดังนั้น ในควำมเห็นผม กำรดำเนินกำรอำจเป็นเรื่องกำรพยำยำม take action และบริหำรควำมคำดหวัง ของผู้พักอำศัยเป็นหลัก อำจพิจำรณำทำถ้ำเป็นพื้นที่ปิด อำกำศไม่ถ่ำยเท สำมำรถปิดพื้นที่ชั่วครำวได้ แต่ หำกเป็นพื้นที่เปิด อำกำศถ่ำยเทดี หรือมีผู้อื่นใช้บริกำรตลอด ไม่มีประโยชน์ ไม่ควรทำ
  • 34. 34
  • 35. 35 Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด Step C: การดาเนินการเพื่อแก้ไขสถานการณ์ C2: เอาวัตถุประสงค์ในข้อ C1 ตามลาดับความสาคัญ มาตั้งเป็นโจทย์ในการดาเนินการ ต่อไปนี้เป็นตัวอย่ำงกำร ดำเนินกำร (อำจแตกต่ำงตำมบริบท) (ต่อ) C2.5 แนะนำกำรปฏิบัติตัวของผู้ติดเชื้อ หำกยังจำเป็นต้องพักอำศัยในห้องพักระหว่ำงรอเข้ำรับกำรรักษำใน รพ. • เริ่มต้นโดยกำรสอบถำมอำกำรทำงกำยและสภำพจิตใจ เพื่อแสดงถึงควำมเห็นอกเห็นใจ ควำมเข้ำใจ (start with empathy) • สอบถำมให้แน่ใจว่ำไม่มีอำกำรรุนแรงที่ควรต้องได้รับกำรรักษำทำงกำรแพทย์โดยเร็ว เช่น หำยใจหอบเหนื่อย หำยใจเร็ว หำยใจลำบำก หำยใจไม่ออก เพลียมำกผิดปกติ ฯลฯ • ขอให้แจ้งผู้สัมผัสไปรับกำรตรวจ และหำกเป็นผู้สัมผัสใกล้ชิดเสี่ยงสูง ให้กักตัว 14 วัน นับจำกวันสัมผัสครั้งสุดท้ำย • แยกตัวจำกผู้อื่น ไม่ควรมีคนอื่นพักในห้องพัก
  • 36. 36 Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด Step C: การดาเนินการเพื่อแก้ไขสถานการณ์ C2: เอาวัตถุประสงค์ในข้อ C1 ตามลาดับความสาคัญ มาตั้งเป็นโจทย์ในการดาเนินการ ต่อไปนี้เป็นตัวอย่ำงกำรดำเนินกำร (อำจแตกต่ำง ตำมบริบท) C2.5 แนะนำกำรปฏิบัติตัวของผู้ติดเชื้อ หำกยังจำเป็นต้องพักอำศัยในห้องพักระหว่ำงรอเข้ำรับกำรรักษำใน รพ. (ต่อ) • ห้ำมออกจำกห้อง (ยกเว้นกรณี รพ. รับไปรักษำ หรือกรณีฉุกเฉิน เช่น ไฟไหม้ โดยในกรณีเช่นนั้น ขอให้สวมหน้ำกำกและเว้นระยะห่ำง เลี่ยงกำรสัมผัสจุดต่ำงๆ อย่ำงเต็มที่) • หำกทำอำหำร ซักผ้ำ เองได้ ขอให้ทำ • ตกลงเรื่องมำตรกำรรับส่งอำหำร delivery ให้แจ้งเจ้ำหน้ำที่รับขึ้นมำไว้หน้ำประตูห้อง เว้นระยะห่ำง แล้วเจ้ำตัวสวมหน้ำกำกแล้วนำเข้ำไป เอง เปิดประตูเพียงช่วงสั้นๆ • กรณีขยะที่จำเป็นต้องทิ้งเลย เก็บรอไว้ในห้องนำนๆ ไม่ได้ เช่น เศษอำหำร ให้ใส่ถุงแยก 2 ชั้น ประสำนเจ้ำหน้ำที่รับที่หน้ำประตูโดย หลีกเลี่ยงกำรอยู่ใกล้ชิดกัน สวมหน้ำกำกทุกครั้งก่อนเปิดประตู รับไปกำจัดโดยดูแลแบบขยะติดเชื้อ • หลีกเลี่ยงกำรส่งซักรีดนอกห้อง เท่ำที่ทำได้ (กรณีจำเป็น ให้ใส่ถุงแยก ระมัดระวังขณะซัก ใช้น้ำยำทำควำมสะอำดที่เหมำะสม) • แลกเบอร์ติดต่อ และแจ้งแนวทำงกำรติดต่อหำกมีอำกำรแย่ลงที่ต้องรีบรับกำรรักษำ หรือกรณีต้องกำรให้ช่วยเหลือ/ประสำนงำนอะไร รวมทั้งกรณีที่ได้รับกำรประสำนงำนจำก รพ. หรือ รพ. แจ้งแผนกำรรับไปรักษำ
  • 37. 37 Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด Step C: การดาเนินการเพื่อแก้ไขสถานการณ์ C2: เอาวัตถุประสงค์ในข้อ C1 ตามลาดับความสาคัญ มาตั้งเป็นโจทย์ในการดาเนินการ ต่อไปนี้เป็นตัวอย่ำงกำรดำเนินกำร (อำจแตกต่ำงตำมบริบท) C2.6 เรียกประชุมเจ้ำหน้ำที่ สื่อสำรสถำนกำรณ์ ควำมเสี่ยง กำรดำเนินกำร แนวนโยบำยและแนวทำงกำรตอบคำถำม สิ่งที่ขอควำมร่วมมือ ให้โอกำสสอบถำมและ แสดงควำมรู้สึกเต็มที่ ดูแลขวัญกำลังใจของเจ้ำหน้ำที่ C2.7 สื่อสำรกับผู้พักอำศัย/ผู้ใช้บริกำร • กรณี timeline สำมำรถระบุผู้สัมผัสใกล้ชิดเสี่ยงสูงโดยตรงได้ แจ้งให้ทรำบเป็นรำยบุคคล แนะนำให้ไปตรวจหำเชื้อและกักตัว หรือปฏิบัติตำมคำแนะนำของ รพ. • สื่อสำรให้ผู้พักอำศัย/ผู้ใช้บริกำรทรำบผ่ำนหลำยช่องทำงหำกทำได้ ว่ำ มีผู้ติดเชื้อ แจ้ง timeline หรือพื้นที่เสี่ยงสูงภำยในอำคำรชุด/อพำร์ตเม้นต์ เท่ำที่ทำได้ แจ้งแนวทำงกำรดำเนินกำรของเจ้ำหน้ำที่ แจ้งสิ่งที่ขอควำมร่วมมือจำกผู้พักอำศัย/ผู้ใช้บริกำร (กรณีนี้ กำรแจ้งพื้นที่เสี่ยงในอำคำร เป็นกรณีที่มี duty to warn คือ หน้ำที่ในกำรเตือนภัย แก่ผู้พักอำศัย/ผู้ใช้บริกำร) • ไม่ควรบอกชื่อ เลขห้อง ของผู้ติดเชื้อ/ผู้กักตัว เพรำะไม่ได้มีประโยชน์เพิ่มเติม (ทำงเจ้ำหน้ำที่ควรดูแลควำมเสี่ยงของพื้นที่ต่ำงๆ ตำมที่กล่ำวมำแล้วอยู่แล้ว และ ไม่มี duty to warn เลย เพรำะเชื้อไม่ได้กระโดดแพร่ผ่ำนอำกำศจำกห้องของผู้ติดเชื้อไปยังห้องอื่นเพื่อติดต่อไปยังผู้พักอำศัยคนอื่นโดยตรง) ทั้งกำรเปิดเผยยังมี ควำมเสี่ยงกับสวัสดิภำพของเจ้ำตัว และสุ่มเสี่ยงที่จะเกิด incident ที่ทำให้เจ้ำตัวไม่ปลอดภัย หรือทำให้เกิดผลร้ำยต่อกำรดูแลตัวเอง หรือเกิดกำรแพร่ระบำด เพิ่มขึ้น • กำรบอกชั้น ปีก และอำคำร ของผู้ติดเชื้อ พิจำรณำชั่งน้ำหนักตำมควำมจำเป็น ควำมเสี่ยง และควำมเหมำะสม
  • 38. 38 Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด Step C: การดาเนินการเพื่อแก้ไขสถานการณ์ C2: เอาวัตถุประสงค์ในข้อ C1 ตามลาดับความสาคัญ มาตั้งเป็นโจทย์ในการดาเนินการ ต่อไปนี้เป็นตัวอย่ำงกำรดำเนินกำร (อำจแตกต่ำง ตำมบริบท) C2.7 สื่อสำรกับผู้พักอำศัย/ผู้ใช้บริกำร (ต่อ) • กรณีผู้กักตัวที่ไม่ใช่ผู้ติดเชื้อ ไม่มีควำมจำเป็นต้องแจ้งข้อมูลใดๆ เพรำะยังไม่ใช่ผู้ติดเชื้อ กำรแจ้งไม่มีประโยชน์เพิ่มบนข้อมูลที่มี และไม่มี duty to warn • กรณีผู้ติดเชื้อ/ผู้กักตัวไม่ร่วมมือ พิจำรณำแจ้งพนักงำนเจ้ำหน้ำที่และกำรดำเนินกำรที่เหมำะสม โดยคำนึงถึงควำมเสี่ยงต่อผู้อื่น และสวัสดิ ภำพของผู้ติดเชื้อ/ผู้กักตัว ประกอบกัน • กรณีผู้พักอำศัย/ผู้ใช้บริกำร มีท่ำทีคุกคำม ไม่ร่วมมือ bully หรือ harass ผู้ติดเชื้อ/ผู้กักตัว ดูแลควำมปลอดภัยและสวัสดิภำพของทุกฝ่ำย และป้องกันกำรแพร่ระบำดของเชื้อ เป็นลำดับแรก และพยำยำมส่งเสริมกำรเข้ำอกเข้ำใจและเห็นใจกัน และชี้แจงกำรทำหน้ำที่/มำตรกำร ดูแลควำมเสี่ยงต่ำงๆ ของเจ้ำหน้ำที่ รวมทั้งเหตุผลที่อำจไม่สำมำรถ/ไม่ควรทำตำมที่ผู้พักอำศัย/ผู้ใช้บริกำรร้องขอ (ถ้ำมี) หำกจำเป็นอำจ ต้องแจ้งพนักงำนเจ้ำหน้ำที่ให้มำดูแลควำมปลอดภัยและควำมเรียบร้อย • สื่อสำรโดยยึดหลักกำรสื่อสำรในภำวะวิกฤติที่ดี: สื่อสำรเร็ว สื่อสำรถูกต้อง ส่งเสริม trust ระหว่ำงกัน ไม่โกหกหรือปิดบัง ส่งเสริมควำม ร่วมมือและกำรดำเนินกำรที่เหมำะสม
  • 39. 39 Guideline การจัดการกรณีมีผู้ติดเชื้อในอาคารชุด Step C: การดาเนินการเพื่อแก้ไขสถานการณ์ C2: เอาวัตถุประสงค์ในข้อ C1 ตามลาดับความสาคัญ มาตั้งเป็นโจทย์ในการดาเนินการ ต่อไปนี้เป็นตัวอย่ำงกำร ดำเนินกำร (อำจแตกต่ำงตำมบริบท) C2.8 การดาเนินการหลังผ่านระยะแรก • พูดคุยกับผู้ติดเชื้อ/ผู้กักตัว เป็นระยะ เช่น วันละ 1-2 ครั้ง เพื่อติดตำมอำกำร ประเมินสภำพจิตใจ ควำมร่วมมือ สิ่งที่ ต้องกำรให้สนับสนุน อัปเดตกำรติดต่อประสำนงำนกับ รพ./แผนกำรมำรับตัว • พิจำรณำสื่อสำรกับผู้พักอำศัย/ผู้ใช้บริกำรเป็นระยะ โดยเฉพำะกรณีที่มีข้อมูลควำมเสี่ยงของผู้พักอำศัย/ผู้ใช้บริกำรเพิ่มขึ้น หรือควำมเสี่ยงเปลี่ยนแปลงไป หรือมีกำรดำเนินกำรที่ควรสื่อสำรให้ทรำบ • monitor สถำนกำรณ์ ควำมรู้สึก ควำมคำดหวัง และควำมเสี่ยงต่ำงๆ เป็นระยะๆ • monitor ขวัญและกำลังใจเจ้ำหน้ำที่เป็นระยะๆ • ทบทวนกำรดำเนินกำร ถอดบทเรียน ปรับปรุงเพื่อกำรพัฒนำสำหรับเหตุกำรณ์ครั้งต่อไป ขอให้พวกเรำทุกคนมีสติ และผ่ำนพ้นวิกฤตินี้ไปด้วยกัน โดยควำมปลอดภัยของทุกฝ่ำย และควำมเข้ำอกเข้ำใจกันครับ
  • 41. 41 ในฐานะประชาชน ท่านคาดหวังอะไรจากรัฐบาล ในสถานการณ์ New Virus Outbreak? •รับรู้สถำนกำรณ์ที่แท้จริง (Full Grasp of the Situation) •สื่อสำรให้ประชำชนเข้ำใจและยอมรับ (Communication) •พูดควำมจริง (Speaking the Truth) •มีควำมสำมำรถในกำรรับมือ (Competence) •“เอำอยู่” (Situation Under Control)
  • 43. 43 CDC’s Resources on Crisis & Emergency Risk Communication https://emergency.cdc.gov/cerc/ppt/CERC_Introduction.pdf https://www.cdc.gov/eis/field-epi-manual/chapters/Communicating-Investigation.html
  • 45. 45 Trust & Credibility 4 ปัจจัยที่คนจะ perceive ผู้สื่อสำรว่ำ น่าไว้ใจ (trusted) และน่าเชื่อถือ (credible) •Empathy & caring •Honesty & openness •Dedication & Commitment •Competence & Expertise https://www.cdc.gov/eis/field-epi-manual/chapters/Communicating-Investigation.html
  • 46. 46 Effective Messaging During Outbreak Responses •Start with empathy •Identify & explain the threat •Explain what is currently known and unknown •Explain what actions are being taken and why •Share dilemmas •Foreshadow possibilities of future changes •Emphasize a commitment to the situation https://www.cdc.gov/eis/field-epi-manual/chapters/Communicating-Investigation.html
  • 47. 47 5 Pitfalls to Avoid •Mixed messages from multiple experts •Information released late •Paternalistic attitudes •Not countering rumors and myths in real-time •Public power struggles & confusion https://emergency.cdc.gov/cerc/ppt/CERC_Introduction.pdf
  • 48. 48 Do’s & Don’ts of Being a Spokesperson https://www.cdc.gov/eis/field-epi-manual/chapters/Communicating-Investigation.html
  • 49. 49 Do’s & Don’ts of Being a Spokesperson https://www.cdc.gov/eis/field-epi-manual/chapters/Communicating-Investigation.html
  • 50. 50 Do’s & Don’ts of Being a Spokesperson https://www.cdc.gov/eis/field-epi-manual/chapters/Communicating-Investigation.html
  • 51. 51 Do’s & Don’ts of Being a Spokesperson https://www.cdc.gov/eis/field-epi-manual/chapters/Communicating-Investigation.html
  • 52. 52 Do’s & Don’ts of Being a Spokesperson https://www.cdc.gov/eis/field-epi-manual/chapters/Communicating-Investigation.html
  • 53. 53 Do’s & Don’ts of Being a Spokesperson https://www.cdc.gov/eis/field-epi-manual/chapters/Communicating-Investigation.html
  • 54. 54 Do’s & Don’ts of Being a Spokesperson https://www.cdc.gov/eis/field-epi-manual/chapters/Communicating-Investigation.html
  • 58. 58 Social Media Crisis Communication More Strategies: Silence, Combinations