SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  41
Télécharger pour lire hors ligne
11
S: Security & Privacy of Information and
Social Media (Personnel Safety Goals)
นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์
ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายสารสนเทศ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
มหาวิทยาลัยมหิดล
SlideShare.net/Nawanan
15 มีนาคม 2562
22
S: Social Media and Communication
S 1 Security and Privacy of Information
S 2 Social Media and Communication
Professionalism
Personnel Safety Goals: S in SIMPLE
33
S 1: Security and Privacy of Information
• ข้อมูลส่วนบุคคล (Personal Information) หมายถึง
ข้อมูลของบุคคลหรือเกี่ยวกับบุคคล ที่สามารถระบุตัว
บุคคลนั้นได้ หรือเข้าใจได้ว่าหมายถึงข้อมูลของบุคคลใด
ทั้งที่อยู่ในรูปแบบเอกสารและอิเล็กทรอนิกส์
44
S 1: Security and Privacy of Information
• ความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ (Information Security)
หมายถึง การคุ้มครองป้องกันข้อมูลและระบบสารสนเทศของ
บุคคลหรือองค์กร จากการถูกเข้าถึง ใช้ เปิดเผย แก้ไข ทาลาย
หรือระงับการใช้งานโดยไม่ได้รับอนุญาต (CIA: Confidentiality,
Integrity, Availability)
• ความเป็นส่วนตัว (Privacy) ของข้อมูลสารสนเทศ หมายถึง การ
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เพื่อให้การเข้าถึง ใช้ และเปิดเผยข้อมูล
สารสนเทศดังกล่าว เป็นไปตามความประสงค์และความยินยอม
ของผู้นั้น ยกเว้นกรณีปฏิบัติตามกฎหมาย
55
http://en.wikipedia.org/wiki/A._S._Bradford_House
Security and Privacy
66
S 1: Security and Privacy of Information: Why?
• ลดความเสี่ยงที่จะเกิดความเสียหายต่อสถานพยาบาล
และผู้ให้บริการเอง ไม่ว่าจะเป็นผลกระทบในด้านการ
ให้บริการหรือผลกระทบต่อตัวบุคคล
• ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้รับบริการ ถือเป็นความลับของ
ผู้รับบริการที่ผู้ให้บริการมีหน้าที่ทางจริยธรรมในการ
คุ้มครองป้องกัน
77
S 1: Security and Privacy of Information: Process
• Policy & Regulations: นโยบายและระเบียบปฏิบัติที่
เหมาะสมด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศและความ
เป็นส่วนตัว ที่มีการสื่อสารทาความเข้าใจภายในองค์กร
อย่างทั่วถึง
• Risk Management: มีการประเมิน จัดการ และติดตาม
ความเสี่ยงด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศและความ
เป็นส่วนตัวอย่างเหมาะสม
88
S 1: Security and Privacy of Information: Process
• Security Measures: มีมาตรการคุ้มครองป้องกันด้าน
ความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ ของระบบสารสนเทศที่มี
ข้อมูลส่วนบุคคลเกี่ยวกับบุคลากรหรือผู้ป่วย ในด้าน
– Physical Security
– Administrative Security
– User Security
– Network Security
– System Security
– Data Security
99
S 1: Security and Privacy of Information: Process
• Privacy Measures: มีมาตรการคุ้มครองความเป็น
ส่วนตัว (Privacy) ของข้อมูลสารสนเทศ ทั้งที่เป็นข้อมูล
ส่วนบุคคลเกี่ยวกับบุคลากร และข้อมูลสุขภาพของผู้ป่วย
– Informed Consent
– Access Control according to Need-To-Know Basis
– Privacy in Paper Documents
– Privacy Protection in Secondary Use of Data
1010
S 1: Security and Privacy of Information: Indicators
• มีนโยบายและระเบียบปฏิบัติที่เหมาะสม
• มีการประเมิน แผน และผลการจัดการความเสี่ยงด้านความมั่นคง
ปลอดภัยสารสนเทศและความเป็นส่วนตัวของข้อมูลสารสนเทศ
• สัดส่วนของบุคลากรที่ได้รับการอบรมสร้างความตระหนัก
(Security Awareness Training)
• จานวนอุบัติการณ์ความเสี่ยงด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ
และความเป็นส่วนตัวของข้อมูลสารสนเทศที่เกิดขึ้นใน
สถานพยาบาล
1111
S 1: Security and Privacy of Information: Pitfalls
• เน้นเรื่องการจัดหาเทคโนโลยี แต่ไม่ให้
ความสาคัญกับกระบวนการหรือบุคลากร
• แผนการจัดการความเสี่ยงไม่สอดคล้องกับ
ความเสี่ยงที่ถูกประเมิน หรือการจัดการ
ความเสี่ยงไม่เป็นไปตามแผนหรือไม่มี
ประสิทธิภาพ
• ให้ความสาคัญเฉพาะข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
ในระบบสารสนเทศ แต่ไม่ให้ความสาคัญ
กับข้อมูลส่วนบุคคลในเอกสาร
Technology
ProcessPeople
1212
S: Social Media and Communication
S 1 Security and Privacy of Information
S 2 Social Media and Communication
Professionalism
Personnel Safety Goals: S in SIMPLE
1313
S 2: Social Media: Why?
• การใช้งานและการสื่อสารผ่านสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media)
และสื่ออื่นๆ อย่างไม่เหมาะสมหรือไม่เป็นมืออาชีพ
(Unprofessional Conduct) อาจทาให้บุคลากรทางการแพทย์
ถูกดาเนินการทางจริยธรรมหรือทางวินัย และอาจสร้างความ
เสียหายต่อตนเอง สถานพยาบาล วิชาชีพ หรือเกิดผลกระทบต่อ
ผู้ป่วยได้
1414
S 2: Social Media: Process
• สถานพยาบาลมีแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้งาน Social Media
และสื่ออื่นๆ ของบุคลากร ทั้งที่เป็นผู้ประกอบวิชาชีพที่มีกฎหมาย
ควบคุม และบุคลากรอื่นของสถานพยาบาล (ทั้งที่ใช้งานในนาม
ส่วนตัวหรือในนามองค์กร) ที่เหมาะสมกับบริบทขององค์กร โดย
อาจนาแนวทางปฏิบัติที่เป็น Best Practices มาปรับใช้
• สถานพยาบาลมีการสื่อสารทาความเข้าใจแนวทางปฏิบัติดังกล่าว
ภายในองค์กรอย่างทั่วถึง
1515
จัดทาโดย นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/E/088/12.PDF
Social Media Best Practices
1616
S 2: Social Media: Process
แนวทางปฏิบัติ ควรครอบคลุมถึง
• ความเชื่อมโยงกับจริยธรรมวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ
• การเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และหลีกเลี่ยง Cyber-bullying
• Appropriate Conduct
• การคานึงถึงความปลอดภัย (Safety) และ Privacy ของบุคคลอื่น โดยเฉพาะผู้ป่วย
• การห้ามบุคลากรทาการโฆษณาที่ผิดกฎหมายหรือจริยธรรม
• แนวทางการใช้งานที่ไม่เป็นการเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องหรือเป็นอันตราย เช่น ความรู้
ทางการแพทย์ที่ผิดๆ
• ขอบเขตและแนวทางการใช้งานเพื่อการปรึกษา ให้คาปรึกษา ติดตาม สั่งการรักษา หรือ
ให้คาแนะนาเกี่ยวกับสุขภาพ (Online Consultation) ไม่ว่าจะระหว่างบุคลากรด้วย
กันเอง หรือกับผู้ป่วยหรือบุคคลภายนอก ที่เหมาะสมขององค์กร
1717
S 2: Social Media: Process
สถานพยาบาลมีการเฝ้าระวังและกระบวนการสื่อสารใน
ภาวะวิกฤต (Crisis Communication) ซึ่งรวมถึงการ
ตอบสนองในกรณีที่มีเหตุที่อาจส่งผลกระทบด้านลบต่อ
ชื่อเสียง ภาพลักษณ์ และความเชื่อมั่นขององค์กรในวงกว้าง
ที่เหมาะสม คล่องตัว และมีประสิทธิภาพ
1818
S 2: Social Media: Process
สถานพยาบาลมีการเฝ้าระวังและกระบวนการสื่อสารใน
ภาวะวิกฤต (Crisis Communication) ซึ่งรวมถึงการ
ตอบสนองในกรณีที่มีเหตุที่อาจส่งผลกระทบด้านลบต่อ
ชื่อเสียง ภาพลักษณ์ และความเชื่อมั่นขององค์กรในวงกว้าง
ที่เหมาะสม คล่องตัว และมีประสิทธิภาพ
1919
S 2: Social Media: Indicators
• มีแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้งาน Social Media
• สัดส่วนของบุคลากรที่มีความตระหนักต่อการใช้งานสื่อ
สังคมออนไลน์และสื่อต่างๆ อย่างเหมาะสมและมีความ
เป็นมืออาชีพ
• จานวนอุบัติการณ์ความเสี่ยงด้านการใช้งานสื่อสังคม
ออนไลน์ที่ส่งผลกระทบต่อบุคลากรหรือองค์กรที่สามารถ
ป้องกันได้
2020
S 2: Social Media: Pitfalls
• แนวทางปฏิบัติไม่สอดคล้องกับบริบทขององค์กร หรือมีความยุ่งยากซับซ้อนจนเกินไป
• แนวทางปฏิบัติจากัดสิทธิเสรีภาพของบุคลากรจนเกินไป หรือมีปัญหาการยอมรับโดย
บุคลากร
• องค์กรเองไม่เข้าใจธรรมชาติของสื่อสังคมออนไลน์ เช่น สร้างปัญหาความสัมพันธ์กับ
ผู้ป่วยมากกว่าเดิม ละเมิดสิทธิของผู้ป่วย หรือส่งผลเสียต่อความเชื่อมั่นต่อองค์กรเอง
• องค์กรมุ่งเน้นแต่เรื่องการถ่ายภาพหรืออัดเสียงในโรงพยาบาลหรือการโพสต์ข้อความบน
สื่อสังคมออนไลน์ของผู้ป่วยและญาติมากจนเกินไป จนเป็นการละเมิดสิทธิของผู้ป่วยเกิน
สมควรหรือสร้างปัญหาความสัมพันธ์กับผู้ป่วย แต่ไม่ได้ให้ความสาคัญกับการใช้งานสื่อ
สังคมออนไลน์ของบุคลากรที่เป็นปัญหาเสียเองและส่งผลกระทบด้านลบต่อองค์กรและ
บุคลากรเองด้วย
• การเฝ้าระวัง ติดตาม หรือแก้ไขปัญหาบนสื่อสังคมออนไลน์ขององค์กรไม่ทันท่วงทีหรือ
ขาดประสิทธิภาพ
2121
Need for Crisis Communication
More Strategies: Silence, Combinations
2222
https://www.khaosod.co.th/special-stories/news_1708103
Social Media Case Study
2323
Discussion
• ที่มาและรายละเอียดของดราม่านี้คืออะไร
• หากเราเป็นผู้โดยสารในสายการบินนี้ เราจะรู้สึกอย่างไร
• ในฐานะประชาชนทั่วไป เรามีความเห็นอย่างไร
• หากเราเป็นผู้โดยสาร เราจะคาดหวังการตอบสนองอย่างไร
จากการบินไทย
• หากเราเป็นประชาชนทั่วไป เราคาดหวังการตอบสนอง
อย่างไรจากการบินไทย
2424
Social Media Case Study
https://www.matichon.co.th/economy/news_1185531
2525
Social Media Case Study
https://www.facebook.com/ThaiAirways.TH/photos/a.629441047162126/1652336818205872/
2626
Discussion
• หากเราเป็นนักบินของการบินไทย เราจะรู้สึกอย่างไรต่อ
ดราม่านี้
• หากเราเป็นนักบินของการบินไทย เราคาดหวังการ
ตอบสนองของผู้บริหารการบินไทยอย่างไร
• หากเราเป็นนักบินของการบินไทย เราจะแสดงออกอย่างไร
ต่อดราม่านี้
2727
Social Media Case Study
2828
Social Media Case Study
2929
https://www.khaosod.co.th/breaking-news/news_1721068
Social Media Case Study
3030
Discussion
• หากเราเป็นนักบินของการบินไทย เราจะรู้สึกอย่างไรต่อ
การแสดงออกของเพื่อนนักบินนี้
• หากเราเป็นประชาชนทั่วไป เราจะรู้สึกอย่างไรต่อการ
แสดงออกของนักบินการบินไทย
• หากเราเป็นพนักงานอื่นๆ ของการบินไทย เราจะรู้สึก
อย่างไรต่อการแสดงออกของนักบิน
3131
http://www.komchadluek.net/news/local/348788
Social Media Case Study
3232
http://www.komchadluek.net/news/local/348788
Social Media Case Study
• เมื่อวันที่ 19 ต.ค. 61 ผู้สื่อข่าวรายงานว่า กรณีหญิงสาวเกิดอาการปวดหัวอย่างหนัก
ไปที่โรงพยาบาลกลางดึก แต่เจอไล่กลับให้มาใหม่พรุ่งนี้ โดยแพทย์บอกว่า รพ.นะ
ไม่ใช่เซเว่นฯ นั้น กรณีนี้เกิดขึ้นเมื่อเวลา 21.00 น. วันที่ 18 ต.ค. ที่ผ่านมา
• น.ส.เยาวลักษณ์ (ขอสงวนนามสกุล) อายุ 24 ปี ระบุว่า ตนเองมีอาการปวดศีรษะ
มาก จึงไปซื้อยาจากร้านขายยามากิน แต่อาการไม่ดีขึ้น จึงเดินทางไปโรงพยาบาล
อรัญประเทศ อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว แต่พอตนเองถูกส่งเข้าไปพบแพทย์ในห้อง
ฉุกเฉิน ปรากฏว่า ถูกแพทย์เวรซึ่งเป็นผู้ชายไล่และต่อว่า ว่านี่มันโรงพยาบาลนะ
ไม่ใช่เซเว่นฯ นึกจะมาเวลาไหนก็ได้ ให้มาใหม่ในวันพรุ่งนี้
• น.ส.เยาวลักษณ์ ระบุด้วยว่า ด้วยที่ตนเองมีอาการปวดหัวมาก เมื่อมาเจอหมอไล่อีก
จึงไม่รู้จะไปทางไหน ปวดหัวก็ปวด เสียความรู้สึกมาก ซึ่งหลังจากถูกไล่ก็มีพยาบาล
ได้ออกมาพูดคุยสอบถามเนื่องจากเห็นว่ามีอาการหนักและจะให้เข้าไปตรวจและขอ
คุยกับแพทย์ แต่สุดท้ายก็ไม่ได้มีการตรวจแต่อย่างใด
3333
Discussion
• หากเราเป็นผู้ป่วยคนนี้ เราจะรู้สึกอย่างไร
• ในฐานะประชาชนทั่วไป เรามีความเห็นอย่างไร
• หากเราเป็นผู้ป่วย เราจะคาดหวังการตอบสนองอย่างไร
จากโรงพยาบาล
• หากเราเป็นประชาชนทั่วไป เราคาดหวังการตอบสนอง
อย่างไรจากโรงพยาบาล
3434
Discussion
• หากเราเป็นบุคลากรทางการแพทย์ เราจะรู้สึกอย่างไรต่อ
ดราม่านี้
• หากเราเป็นบุคลากรทางการแพทย์ เราคาดหวังการตอบสนอง
ของผู้บริหารโรงพยาบาลอย่างไร
• หากเราเป็นบุคลากรทางการแพทย์ เราจะแสดงออกอย่างไรต่อ
ดราม่านี้
3535
Discussion
• ถ้าแพทย์/บุคลากรทางการแพทย์แสดงความเห็นต่อดราม่านี้ ใน
ทานองบ่น/ตัดพ้อว่างานเยอะ เหนื่อย เครียด ทางานหนัก ไม่ได้
นอน ค่าตอบแทนน้อย คนไข้คาดหวังสูง เราในฐานะบุคลากรทาง
การแพทย์ด้วยกันจะรู้สึกอย่างไร
• แล้วคิดว่า ผู้ป่วย/ประชาชน จะรู้สึกต่อความเห็นดังกล่าวอย่างไร
3636
http://www.komchadluek.net/news/local/348788
Social Media Case Study
• ล่าสุด ภายหลังผู้บริหารโรงพยาบาลอรัญประเทศ อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว ทราบเรื่องตั้งแต่หลังเกิดเหตุการณ์เมื่อ
เวลา 21.00 น. โดยช่วงเช้าวันนี้ (19 ต.ค.) ทีมงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจาตาบลคลองน้าใส ได้ลงไปที่บ้าน
ของผู้ป่วยหญิงคนดังกล่าว เพื่อดูแลสภาพจิตใจ อาการของโรค เพื่อทาความเข้าใจเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เบื้องต้น ทราบ
ว่าป่วยเป็นไข้หวัดธรรมดา
• ต่อมาเวลา 10.00 น. นายสวนิต สุริยกุล ณ อยุธยา นายอาเภออรัญประเทศ พร้อมด้วย นายแพทย์สรวิศ ชลาลัย รอง
ผู้อานวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลอรัญประเทศ นายอดุลย์ หาญชิงชัย สาธารณสุขอาเภออรัญประเทศ และ
คณะ ได้ลงพื้นที่เพื่อสอบถามข้อเท็จจริง
• นายแพทย์สรวิศ ชลาลัย รองผู้อานวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลอรัญประเทศ เปิดเผยว่า จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ทางโรงพยาบาลยอมรับว่าได้เกิดเหตุการณ์ดังกล่าวขึ้นจริง โดยเมื่อคืนวันที่ 18 ต.ค. เวลาประมาณ 21.00 น. ที่ห้อง
ฉุกเฉินของโรงพยาบาลมีคนไข้วิกฤติฉุกเฉินมารับบริการหลายราย เช่น คนไข้ป่วยด้วยโรคหลอดเลือดสมอง2 ราย
ต้องใส่ท่อช่วยหายใจ , คนไข้โรคหัวใจขาดเลือด 1 ราย , คนไข้ป่วยกระดูกต้นคอทับเส้นประสาทจนเป็นอัมพาตทั้งตัว
1 ราย คนไข้มีแผลเปิด 2 ราย และคนไข้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เร่งด่วนแต่ไม่วิกฤติ 4 - 5 ราย
• นายแพทย์สรวิศ กล่าวอีกว่า ขณะเกิดเหตุมีแพทย์เวรปฏิบัติงาน 2 คน ซึ่งกาลังวุ่นกับการให้การรักษาผู้ป่วยฉุกเฉินอยู่
ในขณะที่มีผู้ป่วยหญิงรายที่เป็นข่าวเข้ามารักษาด้วยอาการปวดศีรษะ ไอมา 2 - 3 วัน ทาให้เกิดเหตุการณ์ดังกล่าวขึ้น
และจากการสอบถามทีหลังพบว่า ก่อนหน้านี้แพทย์เวรมีอาการป่วยอยู่ ประกอบกับกาลังเครียดกับผู้ป่วยฉุกเฉินที่มา
รับบริการพร้อมกันจานวนมาก เลยทาให้ปฏิบัติงานไม่เต็มประสิทธิภาพและเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวขึ้น
3737
Social Media Case Study
Disclaimer (นพ.นวนรรน):
นาเสนอเป็นกรณีศึกษาเพื่อการเรียนรู้
เรื่อง Social Media เท่านั้น ไม่มี
เจตนาลบหลู่ ดูหมิ่น หรือทาให้ผู้ใด
องค์กรใด หรือวิชาชีพใดเสียหาย
โปรดใช้วิจารณญาณในการอ่านเนื้อหา
3838
Social Media Case Study
Disclaimer (นพ.นวนรรน):
นาเสนอเป็นกรณีศึกษาเพื่อการเรียนรู้
เรื่อง Social Media เท่านั้น ไม่มี
เจตนาลบหลู่ ดูหมิ่น หรือทาให้ผู้ใด
องค์กรใด หรือวิชาชีพใดเสียหาย
โปรดใช้วิจารณญาณในการอ่านเนื้อหา
3939
Social Media Case Study
4040
• ใช้ social media อย่างเหมาะสมและรับผิดชอบต่อตนเอง
และสังคม
• คานึงถึงมุมมองที่แตกต่างจากจุดยืนของเราด้วย
(ต้อง “เข้าใจ” จึงจะ “เข้าถึง”)
• การจัดการ Crisis Communication ใน Social Media
อย่างเหมาะสม มีความสาคัญต่อ Outcome ของ Crisis
สรุป
4141
คำถำม?

Contenu connexe

Tendances

การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
Patamaporn Seajoho
 
โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014
Hospital for Health
 
Unit5.ppt (read only)
Unit5.ppt (read only)Unit5.ppt (read only)
Unit5.ppt (read only)
sirinyabh
 

Tendances (20)

CLABSI
CLABSICLABSI
CLABSI
 
Ethics, morality
Ethics, moralityEthics, morality
Ethics, morality
 
Ppt.หูเสื่อม
Ppt.หูเสื่อมPpt.หูเสื่อม
Ppt.หูเสื่อม
 
คางทูม
คางทูมคางทูม
คางทูม
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
Social Media Guidelines for Healthcare Practitioners
Social Media Guidelines for Healthcare PractitionersSocial Media Guidelines for Healthcare Practitioners
Social Media Guidelines for Healthcare Practitioners
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
 
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบการจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
 
135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติ
135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติ135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติ
135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติ
 
โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014
 
Vuorovaikutus ja ryhmäytyminen etätoiminnassa
Vuorovaikutus ja ryhmäytyminen etätoiminnassaVuorovaikutus ja ryhmäytyminen etätoiminnassa
Vuorovaikutus ja ryhmäytyminen etätoiminnassa
 
Unit5.ppt (read only)
Unit5.ppt (read only)Unit5.ppt (read only)
Unit5.ppt (read only)
 
คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014
คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014
คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014
 
กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)
กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)
กฎหมาย IT สำหรับพยาบาล (August 26, 2016)
 
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยบทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
 
Power Point
Power PointPower Point
Power Point
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
 
Public Health Emergency Management
Public Health Emergency ManagementPublic Health Emergency Management
Public Health Emergency Management
 

Similaire à S: Security & Privacy of Information and Social Media (Personnel Safety Goals) (July 11, 2019)

ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการใช้สื่อสังคมออนไลน์กับผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ (...
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการใช้สื่อสังคมออนไลน์กับผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ (...ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการใช้สื่อสังคมออนไลน์กับผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ (...
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการใช้สื่อสังคมออนไลน์กับผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ (...
Nawanan Theera-Ampornpunt
 

Similaire à S: Security & Privacy of Information and Social Media (Personnel Safety Goals) (July 11, 2019) (20)

Information Privacy & Social Media Issues in Healthcare
Information Privacy & Social Media Issues in HealthcareInformation Privacy & Social Media Issues in Healthcare
Information Privacy & Social Media Issues in Healthcare
 
Social Media Threats to Patient Privacy and Hospitals
Social Media Threats to Patient Privacy and HospitalsSocial Media Threats to Patient Privacy and Hospitals
Social Media Threats to Patient Privacy and Hospitals
 
Social Media & Personnel Safety (July 27, 2017)
Social Media & Personnel Safety (July 27, 2017)Social Media & Personnel Safety (July 27, 2017)
Social Media & Personnel Safety (July 27, 2017)
 
SIMPLE for Personnel Safety: Social Media
SIMPLE for Personnel Safety: Social MediaSIMPLE for Personnel Safety: Social Media
SIMPLE for Personnel Safety: Social Media
 
Personnel Safety Goals (SIMPLE): S
Personnel Safety Goals (SIMPLE): SPersonnel Safety Goals (SIMPLE): S
Personnel Safety Goals (SIMPLE): S
 
Social Media in Health and Corporate Communication (September 15, 2016)
Social Media in Health and Corporate Communication (September 15, 2016)Social Media in Health and Corporate Communication (September 15, 2016)
Social Media in Health and Corporate Communication (September 15, 2016)
 
Issues on Social Media Use by Physicians (November 2, 2017)
Issues on Social Media Use by Physicians (November 2, 2017)Issues on Social Media Use by Physicians (November 2, 2017)
Issues on Social Media Use by Physicians (November 2, 2017)
 
Social Media: คุณอนันต์ โทษมหันต์ (June 30, 2017)
Social Media: คุณอนันต์ โทษมหันต์ (June 30, 2017)Social Media: คุณอนันต์ โทษมหันต์ (June 30, 2017)
Social Media: คุณอนันต์ โทษมหันต์ (June 30, 2017)
 
Social Media for Medical Professionals (January 16, 2020)
Social Media for Medical Professionals (January 16, 2020)Social Media for Medical Professionals (January 16, 2020)
Social Media for Medical Professionals (January 16, 2020)
 
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้านสุขภาพ: Help or Harm?
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้านสุขภาพ: Help or Harm?การใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้านสุขภาพ: Help or Harm?
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ด้านสุขภาพ: Help or Harm?
 
Social Media Communication (July 26, 2019)
Social Media Communication (July 26, 2019)Social Media Communication (July 26, 2019)
Social Media Communication (July 26, 2019)
 
Patient & Personnel Safety: Personnel Safety -- S: Security and Privacy of In...
Patient & Personnel Safety: Personnel Safety -- S: Security and Privacy of In...Patient & Personnel Safety: Personnel Safety -- S: Security and Privacy of In...
Patient & Personnel Safety: Personnel Safety -- S: Security and Privacy of In...
 
Social Media Use by Doctors: Advice for Safety and for Effectiveness (Februar...
Social Media Use by Doctors: Advice for Safety and for Effectiveness (Februar...Social Media Use by Doctors: Advice for Safety and for Effectiveness (Februar...
Social Media Use by Doctors: Advice for Safety and for Effectiveness (Februar...
 
สื่อออนไลน์ ผลกระทบกับการแพทย์และสาธารณสุข
สื่อออนไลน์ ผลกระทบกับการแพทย์และสาธารณสุขสื่อออนไลน์ ผลกระทบกับการแพทย์และสาธารณสุข
สื่อออนไลน์ ผลกระทบกับการแพทย์และสาธารณสุข
 
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการใช้สื่อสังคมออนไลน์กับผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ (...
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการใช้สื่อสังคมออนไลน์กับผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ (...ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการใช้สื่อสังคมออนไลน์กับผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ (...
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการใช้สื่อสังคมออนไลน์กับผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ (...
 
Ethical Issues in Health Information Privacy (October 30, 2017)
Ethical Issues in Health Information Privacy (October 30, 2017)Ethical Issues in Health Information Privacy (October 30, 2017)
Ethical Issues in Health Information Privacy (October 30, 2017)
 
Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)
Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)
Social Media & Internet Applications (February 19, 2018)
 
Social Networking in Healthcare
Social Networking in HealthcareSocial Networking in Healthcare
Social Networking in Healthcare
 
Social Media and Threats to Patient Data Privacy
Social Media and Threats to Patient Data PrivacySocial Media and Threats to Patient Data Privacy
Social Media and Threats to Patient Data Privacy
 
Physicians & Social Media in the 4.0 Era
Physicians & Social Media in the 4.0 EraPhysicians & Social Media in the 4.0 Era
Physicians & Social Media in the 4.0 Era
 

Plus de Nawanan Theera-Ampornpunt

Plus de Nawanan Theera-Ampornpunt (20)

Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
 
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
 
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
 
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
 
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
 
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
 
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
 
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
 
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
 
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewTelemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
 
Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)
 
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
 
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
 
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
 
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
 
Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)
 
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
 
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
 

S: Security & Privacy of Information and Social Media (Personnel Safety Goals) (July 11, 2019)

  • 1. 11 S: Security & Privacy of Information and Social Media (Personnel Safety Goals) นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายสารสนเทศ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล SlideShare.net/Nawanan 15 มีนาคม 2562
  • 2. 22 S: Social Media and Communication S 1 Security and Privacy of Information S 2 Social Media and Communication Professionalism Personnel Safety Goals: S in SIMPLE
  • 3. 33 S 1: Security and Privacy of Information • ข้อมูลส่วนบุคคล (Personal Information) หมายถึง ข้อมูลของบุคคลหรือเกี่ยวกับบุคคล ที่สามารถระบุตัว บุคคลนั้นได้ หรือเข้าใจได้ว่าหมายถึงข้อมูลของบุคคลใด ทั้งที่อยู่ในรูปแบบเอกสารและอิเล็กทรอนิกส์
  • 4. 44 S 1: Security and Privacy of Information • ความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ (Information Security) หมายถึง การคุ้มครองป้องกันข้อมูลและระบบสารสนเทศของ บุคคลหรือองค์กร จากการถูกเข้าถึง ใช้ เปิดเผย แก้ไข ทาลาย หรือระงับการใช้งานโดยไม่ได้รับอนุญาต (CIA: Confidentiality, Integrity, Availability) • ความเป็นส่วนตัว (Privacy) ของข้อมูลสารสนเทศ หมายถึง การ คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล เพื่อให้การเข้าถึง ใช้ และเปิดเผยข้อมูล สารสนเทศดังกล่าว เป็นไปตามความประสงค์และความยินยอม ของผู้นั้น ยกเว้นกรณีปฏิบัติตามกฎหมาย
  • 6. 66 S 1: Security and Privacy of Information: Why? • ลดความเสี่ยงที่จะเกิดความเสียหายต่อสถานพยาบาล และผู้ให้บริการเอง ไม่ว่าจะเป็นผลกระทบในด้านการ ให้บริการหรือผลกระทบต่อตัวบุคคล • ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้รับบริการ ถือเป็นความลับของ ผู้รับบริการที่ผู้ให้บริการมีหน้าที่ทางจริยธรรมในการ คุ้มครองป้องกัน
  • 7. 77 S 1: Security and Privacy of Information: Process • Policy & Regulations: นโยบายและระเบียบปฏิบัติที่ เหมาะสมด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศและความ เป็นส่วนตัว ที่มีการสื่อสารทาความเข้าใจภายในองค์กร อย่างทั่วถึง • Risk Management: มีการประเมิน จัดการ และติดตาม ความเสี่ยงด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศและความ เป็นส่วนตัวอย่างเหมาะสม
  • 8. 88 S 1: Security and Privacy of Information: Process • Security Measures: มีมาตรการคุ้มครองป้องกันด้าน ความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ ของระบบสารสนเทศที่มี ข้อมูลส่วนบุคคลเกี่ยวกับบุคลากรหรือผู้ป่วย ในด้าน – Physical Security – Administrative Security – User Security – Network Security – System Security – Data Security
  • 9. 99 S 1: Security and Privacy of Information: Process • Privacy Measures: มีมาตรการคุ้มครองความเป็น ส่วนตัว (Privacy) ของข้อมูลสารสนเทศ ทั้งที่เป็นข้อมูล ส่วนบุคคลเกี่ยวกับบุคลากร และข้อมูลสุขภาพของผู้ป่วย – Informed Consent – Access Control according to Need-To-Know Basis – Privacy in Paper Documents – Privacy Protection in Secondary Use of Data
  • 10. 1010 S 1: Security and Privacy of Information: Indicators • มีนโยบายและระเบียบปฏิบัติที่เหมาะสม • มีการประเมิน แผน และผลการจัดการความเสี่ยงด้านความมั่นคง ปลอดภัยสารสนเทศและความเป็นส่วนตัวของข้อมูลสารสนเทศ • สัดส่วนของบุคลากรที่ได้รับการอบรมสร้างความตระหนัก (Security Awareness Training) • จานวนอุบัติการณ์ความเสี่ยงด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ และความเป็นส่วนตัวของข้อมูลสารสนเทศที่เกิดขึ้นใน สถานพยาบาล
  • 11. 1111 S 1: Security and Privacy of Information: Pitfalls • เน้นเรื่องการจัดหาเทคโนโลยี แต่ไม่ให้ ความสาคัญกับกระบวนการหรือบุคลากร • แผนการจัดการความเสี่ยงไม่สอดคล้องกับ ความเสี่ยงที่ถูกประเมิน หรือการจัดการ ความเสี่ยงไม่เป็นไปตามแผนหรือไม่มี ประสิทธิภาพ • ให้ความสาคัญเฉพาะข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ในระบบสารสนเทศ แต่ไม่ให้ความสาคัญ กับข้อมูลส่วนบุคคลในเอกสาร Technology ProcessPeople
  • 12. 1212 S: Social Media and Communication S 1 Security and Privacy of Information S 2 Social Media and Communication Professionalism Personnel Safety Goals: S in SIMPLE
  • 13. 1313 S 2: Social Media: Why? • การใช้งานและการสื่อสารผ่านสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) และสื่ออื่นๆ อย่างไม่เหมาะสมหรือไม่เป็นมืออาชีพ (Unprofessional Conduct) อาจทาให้บุคลากรทางการแพทย์ ถูกดาเนินการทางจริยธรรมหรือทางวินัย และอาจสร้างความ เสียหายต่อตนเอง สถานพยาบาล วิชาชีพ หรือเกิดผลกระทบต่อ ผู้ป่วยได้
  • 14. 1414 S 2: Social Media: Process • สถานพยาบาลมีแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้งาน Social Media และสื่ออื่นๆ ของบุคลากร ทั้งที่เป็นผู้ประกอบวิชาชีพที่มีกฎหมาย ควบคุม และบุคลากรอื่นของสถานพยาบาล (ทั้งที่ใช้งานในนาม ส่วนตัวหรือในนามองค์กร) ที่เหมาะสมกับบริบทขององค์กร โดย อาจนาแนวทางปฏิบัติที่เป็น Best Practices มาปรับใช้ • สถานพยาบาลมีการสื่อสารทาความเข้าใจแนวทางปฏิบัติดังกล่าว ภายในองค์กรอย่างทั่วถึง
  • 16. 1616 S 2: Social Media: Process แนวทางปฏิบัติ ควรครอบคลุมถึง • ความเชื่อมโยงกับจริยธรรมวิชาชีพของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพ • การเคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์และหลีกเลี่ยง Cyber-bullying • Appropriate Conduct • การคานึงถึงความปลอดภัย (Safety) และ Privacy ของบุคคลอื่น โดยเฉพาะผู้ป่วย • การห้ามบุคลากรทาการโฆษณาที่ผิดกฎหมายหรือจริยธรรม • แนวทางการใช้งานที่ไม่เป็นการเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่ถูกต้องหรือเป็นอันตราย เช่น ความรู้ ทางการแพทย์ที่ผิดๆ • ขอบเขตและแนวทางการใช้งานเพื่อการปรึกษา ให้คาปรึกษา ติดตาม สั่งการรักษา หรือ ให้คาแนะนาเกี่ยวกับสุขภาพ (Online Consultation) ไม่ว่าจะระหว่างบุคลากรด้วย กันเอง หรือกับผู้ป่วยหรือบุคคลภายนอก ที่เหมาะสมขององค์กร
  • 17. 1717 S 2: Social Media: Process สถานพยาบาลมีการเฝ้าระวังและกระบวนการสื่อสารใน ภาวะวิกฤต (Crisis Communication) ซึ่งรวมถึงการ ตอบสนองในกรณีที่มีเหตุที่อาจส่งผลกระทบด้านลบต่อ ชื่อเสียง ภาพลักษณ์ และความเชื่อมั่นขององค์กรในวงกว้าง ที่เหมาะสม คล่องตัว และมีประสิทธิภาพ
  • 18. 1818 S 2: Social Media: Process สถานพยาบาลมีการเฝ้าระวังและกระบวนการสื่อสารใน ภาวะวิกฤต (Crisis Communication) ซึ่งรวมถึงการ ตอบสนองในกรณีที่มีเหตุที่อาจส่งผลกระทบด้านลบต่อ ชื่อเสียง ภาพลักษณ์ และความเชื่อมั่นขององค์กรในวงกว้าง ที่เหมาะสม คล่องตัว และมีประสิทธิภาพ
  • 19. 1919 S 2: Social Media: Indicators • มีแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้งาน Social Media • สัดส่วนของบุคลากรที่มีความตระหนักต่อการใช้งานสื่อ สังคมออนไลน์และสื่อต่างๆ อย่างเหมาะสมและมีความ เป็นมืออาชีพ • จานวนอุบัติการณ์ความเสี่ยงด้านการใช้งานสื่อสังคม ออนไลน์ที่ส่งผลกระทบต่อบุคลากรหรือองค์กรที่สามารถ ป้องกันได้
  • 20. 2020 S 2: Social Media: Pitfalls • แนวทางปฏิบัติไม่สอดคล้องกับบริบทขององค์กร หรือมีความยุ่งยากซับซ้อนจนเกินไป • แนวทางปฏิบัติจากัดสิทธิเสรีภาพของบุคลากรจนเกินไป หรือมีปัญหาการยอมรับโดย บุคลากร • องค์กรเองไม่เข้าใจธรรมชาติของสื่อสังคมออนไลน์ เช่น สร้างปัญหาความสัมพันธ์กับ ผู้ป่วยมากกว่าเดิม ละเมิดสิทธิของผู้ป่วย หรือส่งผลเสียต่อความเชื่อมั่นต่อองค์กรเอง • องค์กรมุ่งเน้นแต่เรื่องการถ่ายภาพหรืออัดเสียงในโรงพยาบาลหรือการโพสต์ข้อความบน สื่อสังคมออนไลน์ของผู้ป่วยและญาติมากจนเกินไป จนเป็นการละเมิดสิทธิของผู้ป่วยเกิน สมควรหรือสร้างปัญหาความสัมพันธ์กับผู้ป่วย แต่ไม่ได้ให้ความสาคัญกับการใช้งานสื่อ สังคมออนไลน์ของบุคลากรที่เป็นปัญหาเสียเองและส่งผลกระทบด้านลบต่อองค์กรและ บุคลากรเองด้วย • การเฝ้าระวัง ติดตาม หรือแก้ไขปัญหาบนสื่อสังคมออนไลน์ขององค์กรไม่ทันท่วงทีหรือ ขาดประสิทธิภาพ
  • 21. 2121 Need for Crisis Communication More Strategies: Silence, Combinations
  • 23. 2323 Discussion • ที่มาและรายละเอียดของดราม่านี้คืออะไร • หากเราเป็นผู้โดยสารในสายการบินนี้ เราจะรู้สึกอย่างไร • ในฐานะประชาชนทั่วไป เรามีความเห็นอย่างไร • หากเราเป็นผู้โดยสาร เราจะคาดหวังการตอบสนองอย่างไร จากการบินไทย • หากเราเป็นประชาชนทั่วไป เราคาดหวังการตอบสนอง อย่างไรจากการบินไทย
  • 24. 2424 Social Media Case Study https://www.matichon.co.th/economy/news_1185531
  • 25. 2525 Social Media Case Study https://www.facebook.com/ThaiAirways.TH/photos/a.629441047162126/1652336818205872/
  • 26. 2626 Discussion • หากเราเป็นนักบินของการบินไทย เราจะรู้สึกอย่างไรต่อ ดราม่านี้ • หากเราเป็นนักบินของการบินไทย เราคาดหวังการ ตอบสนองของผู้บริหารการบินไทยอย่างไร • หากเราเป็นนักบินของการบินไทย เราจะแสดงออกอย่างไร ต่อดราม่านี้
  • 30. 3030 Discussion • หากเราเป็นนักบินของการบินไทย เราจะรู้สึกอย่างไรต่อ การแสดงออกของเพื่อนนักบินนี้ • หากเราเป็นประชาชนทั่วไป เราจะรู้สึกอย่างไรต่อการ แสดงออกของนักบินการบินไทย • หากเราเป็นพนักงานอื่นๆ ของการบินไทย เราจะรู้สึก อย่างไรต่อการแสดงออกของนักบิน
  • 32. 3232 http://www.komchadluek.net/news/local/348788 Social Media Case Study • เมื่อวันที่ 19 ต.ค. 61 ผู้สื่อข่าวรายงานว่า กรณีหญิงสาวเกิดอาการปวดหัวอย่างหนัก ไปที่โรงพยาบาลกลางดึก แต่เจอไล่กลับให้มาใหม่พรุ่งนี้ โดยแพทย์บอกว่า รพ.นะ ไม่ใช่เซเว่นฯ นั้น กรณีนี้เกิดขึ้นเมื่อเวลา 21.00 น. วันที่ 18 ต.ค. ที่ผ่านมา • น.ส.เยาวลักษณ์ (ขอสงวนนามสกุล) อายุ 24 ปี ระบุว่า ตนเองมีอาการปวดศีรษะ มาก จึงไปซื้อยาจากร้านขายยามากิน แต่อาการไม่ดีขึ้น จึงเดินทางไปโรงพยาบาล อรัญประเทศ อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว แต่พอตนเองถูกส่งเข้าไปพบแพทย์ในห้อง ฉุกเฉิน ปรากฏว่า ถูกแพทย์เวรซึ่งเป็นผู้ชายไล่และต่อว่า ว่านี่มันโรงพยาบาลนะ ไม่ใช่เซเว่นฯ นึกจะมาเวลาไหนก็ได้ ให้มาใหม่ในวันพรุ่งนี้ • น.ส.เยาวลักษณ์ ระบุด้วยว่า ด้วยที่ตนเองมีอาการปวดหัวมาก เมื่อมาเจอหมอไล่อีก จึงไม่รู้จะไปทางไหน ปวดหัวก็ปวด เสียความรู้สึกมาก ซึ่งหลังจากถูกไล่ก็มีพยาบาล ได้ออกมาพูดคุยสอบถามเนื่องจากเห็นว่ามีอาการหนักและจะให้เข้าไปตรวจและขอ คุยกับแพทย์ แต่สุดท้ายก็ไม่ได้มีการตรวจแต่อย่างใด
  • 33. 3333 Discussion • หากเราเป็นผู้ป่วยคนนี้ เราจะรู้สึกอย่างไร • ในฐานะประชาชนทั่วไป เรามีความเห็นอย่างไร • หากเราเป็นผู้ป่วย เราจะคาดหวังการตอบสนองอย่างไร จากโรงพยาบาล • หากเราเป็นประชาชนทั่วไป เราคาดหวังการตอบสนอง อย่างไรจากโรงพยาบาล
  • 34. 3434 Discussion • หากเราเป็นบุคลากรทางการแพทย์ เราจะรู้สึกอย่างไรต่อ ดราม่านี้ • หากเราเป็นบุคลากรทางการแพทย์ เราคาดหวังการตอบสนอง ของผู้บริหารโรงพยาบาลอย่างไร • หากเราเป็นบุคลากรทางการแพทย์ เราจะแสดงออกอย่างไรต่อ ดราม่านี้
  • 35. 3535 Discussion • ถ้าแพทย์/บุคลากรทางการแพทย์แสดงความเห็นต่อดราม่านี้ ใน ทานองบ่น/ตัดพ้อว่างานเยอะ เหนื่อย เครียด ทางานหนัก ไม่ได้ นอน ค่าตอบแทนน้อย คนไข้คาดหวังสูง เราในฐานะบุคลากรทาง การแพทย์ด้วยกันจะรู้สึกอย่างไร • แล้วคิดว่า ผู้ป่วย/ประชาชน จะรู้สึกต่อความเห็นดังกล่าวอย่างไร
  • 36. 3636 http://www.komchadluek.net/news/local/348788 Social Media Case Study • ล่าสุด ภายหลังผู้บริหารโรงพยาบาลอรัญประเทศ อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว ทราบเรื่องตั้งแต่หลังเกิดเหตุการณ์เมื่อ เวลา 21.00 น. โดยช่วงเช้าวันนี้ (19 ต.ค.) ทีมงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจาตาบลคลองน้าใส ได้ลงไปที่บ้าน ของผู้ป่วยหญิงคนดังกล่าว เพื่อดูแลสภาพจิตใจ อาการของโรค เพื่อทาความเข้าใจเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เบื้องต้น ทราบ ว่าป่วยเป็นไข้หวัดธรรมดา • ต่อมาเวลา 10.00 น. นายสวนิต สุริยกุล ณ อยุธยา นายอาเภออรัญประเทศ พร้อมด้วย นายแพทย์สรวิศ ชลาลัย รอง ผู้อานวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลอรัญประเทศ นายอดุลย์ หาญชิงชัย สาธารณสุขอาเภออรัญประเทศ และ คณะ ได้ลงพื้นที่เพื่อสอบถามข้อเท็จจริง • นายแพทย์สรวิศ ชลาลัย รองผู้อานวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลอรัญประเทศ เปิดเผยว่า จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ทางโรงพยาบาลยอมรับว่าได้เกิดเหตุการณ์ดังกล่าวขึ้นจริง โดยเมื่อคืนวันที่ 18 ต.ค. เวลาประมาณ 21.00 น. ที่ห้อง ฉุกเฉินของโรงพยาบาลมีคนไข้วิกฤติฉุกเฉินมารับบริการหลายราย เช่น คนไข้ป่วยด้วยโรคหลอดเลือดสมอง2 ราย ต้องใส่ท่อช่วยหายใจ , คนไข้โรคหัวใจขาดเลือด 1 ราย , คนไข้ป่วยกระดูกต้นคอทับเส้นประสาทจนเป็นอัมพาตทั้งตัว 1 ราย คนไข้มีแผลเปิด 2 ราย และคนไข้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เร่งด่วนแต่ไม่วิกฤติ 4 - 5 ราย • นายแพทย์สรวิศ กล่าวอีกว่า ขณะเกิดเหตุมีแพทย์เวรปฏิบัติงาน 2 คน ซึ่งกาลังวุ่นกับการให้การรักษาผู้ป่วยฉุกเฉินอยู่ ในขณะที่มีผู้ป่วยหญิงรายที่เป็นข่าวเข้ามารักษาด้วยอาการปวดศีรษะ ไอมา 2 - 3 วัน ทาให้เกิดเหตุการณ์ดังกล่าวขึ้น และจากการสอบถามทีหลังพบว่า ก่อนหน้านี้แพทย์เวรมีอาการป่วยอยู่ ประกอบกับกาลังเครียดกับผู้ป่วยฉุกเฉินที่มา รับบริการพร้อมกันจานวนมาก เลยทาให้ปฏิบัติงานไม่เต็มประสิทธิภาพและเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวขึ้น
  • 37. 3737 Social Media Case Study Disclaimer (นพ.นวนรรน): นาเสนอเป็นกรณีศึกษาเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง Social Media เท่านั้น ไม่มี เจตนาลบหลู่ ดูหมิ่น หรือทาให้ผู้ใด องค์กรใด หรือวิชาชีพใดเสียหาย โปรดใช้วิจารณญาณในการอ่านเนื้อหา
  • 38. 3838 Social Media Case Study Disclaimer (นพ.นวนรรน): นาเสนอเป็นกรณีศึกษาเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง Social Media เท่านั้น ไม่มี เจตนาลบหลู่ ดูหมิ่น หรือทาให้ผู้ใด องค์กรใด หรือวิชาชีพใดเสียหาย โปรดใช้วิจารณญาณในการอ่านเนื้อหา
  • 40. 4040 • ใช้ social media อย่างเหมาะสมและรับผิดชอบต่อตนเอง และสังคม • คานึงถึงมุมมองที่แตกต่างจากจุดยืนของเราด้วย (ต้อง “เข้าใจ” จึงจะ “เข้าถึง”) • การจัดการ Crisis Communication ใน Social Media อย่างเหมาะสม มีความสาคัญต่อ Outcome ของ Crisis สรุป