SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  16
การพัฒนาเว็บไซต์
เรื่อง สัตว์ใต้ท้องทะเลลึก
ด้วยโปรแกรม google slide
สัตว์ใต้ท้องทะเล คืออะไร ?
หมายถึง สิ่งมีชีวิตในทะเลมีทั้งที่อาศัยอยู่ในมวลน้า (pelagic organisms) และอาศัยอยู่ตามพื้นท้อง
ทะเล (benthic organism) แบ่งเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ
1)Pleuston หมายถึงสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ทวนกระแสน้าได้ โดยจะมีส่วนของร่างกายที่ยื่นไปใน
อากาศเรียกว่า sail เป็นตัวช่วยในการเคลื่อนที่โดยมีลมเป็นตัวพา
2)เป็นสิ่งมีชีวิตที่ล่องลอยอยู่ในน้าไม่สามารถว่ายน้าได้ เช่น microplankton phytoplankton
3) เป็นสิ่งมีชีวิตที่เคลื่อนที่ได้อย่างเป็นอิสระด้วยตัวเอง ไม่ขึ้นกับการเคลื่อนที่ของมวลน้า ได้แก่ปลา สัตว์
เลี้ยงลูกด้วยนมในทะเล หมึก เป็นต้น
แมงกะพรุน
ลักษณะ : แมงกะพรุนเป็นสัตว์ที่มีลาตัวโปร่งใส ร่างกายประกอบด้วยเจลาตินเป็นส่วนใหญ่
สามารถมองเห็นเข้าไปได้ถึงอวัยวะภายใน เป็นสัตว์ที่ไม่มีทั้งสมองหรือหัวใจ ลาตัวด้านบนของ
แมงกะพรุนมีลักษณะคล้ายร่ม
พิษอันตราย : แมงกะพรุนหลายชนิดมีพิษ โดยบริเวณหนวดและแขนงที่ยื่นรอบปาก เรียกว่า
"มีนีมาโตซีส" หรือเข็มพิษ ใช้สาหรับฆ่าเหยื่อ หรือทาให้เหยื่อสลบก่อนจับกินเป็นอาหาร ซึ่งโดยมากเป็น
ปลา
การป้องกัน : ควรหลีกเลี่ยงการเล่นน้าหลังจากมีฝนตกในบริเวณ หรือเวลาที่มีแมงกะพรุนชุก
ชุม หากต้องการลงเล่นน้าในบริเวณที่คาดว่าอาจจะมีแมงกะพรุน ควรป้องกันด้วยการสวมเสื้อผ้าที่
มิดชิด
ดาวหนาม
ลักษณะทั่วไป : ดาวหนามเหมือนกับปลาดาวเพียงแต่มันมีแขน หรือแฉกมากกว่า แต่มีรูปร่างเหมือนกันตาม
ลาตัวและแขนจะมีหนามแหลมยาว ซึ่งค่อนข้างแข็งเนื่องจากมีส่วนประกอบของพวกหินปูนที่บริเวณผิวของพวก
หนามเหล่านี้ จะผลิตสารพิษออกมาเคลือบอยู่ด้านนอกของหนาม
พิษอันตราย : เมื่อถูกหนามของดาวหนามทิ่มหรือแทง ซึ่งมีสารพิษอยู่ที่ผิวของหนามนั้น พิษจะซึมเข้าสู่
ผิวหนังของผู้เคราะห์ร้าย เนื่องจากหนามของมันแหลมและค่อนข้างยาว ดังนั้นจึงมักจะเกิดเป็นแผลลึกทาให้ความ
สะอาดแผลได้ลาบาก
การป้องกัน : เนื่องจากดาวหนามมีหนามแหลมและอาศัยอยู่ตามแนวปะการัง และอาศัยอยู่ติดกับพื้นท้อง
ทะเล ดังนั้นเมื่อเราเหยียบย่าลงไปตามพื้นท้องทะเลที่มีพวกนี้อาศัยอยู่ ก็ควรจะสวมใส่รองเท้าหนาๆ ไม่ควรจับพวก
นี้ด้วยมือเปล่าเพราะนั้นเป็นการเสี่ยงอันตราย ควรจะหากิ่งไม้เขี่ยมันขึ้นมาแทนการใช้มือเปล่า
เม่นทะเล
ลักษณะทั่วไป: เม่นทะเล มีรูปร่างกลมมนหรืออาจจะค่อนข้างแบนแล้วแต่ชนิด รอบๆ ตัวจะมีสีดา
และหนามอยู่รอบตัว เม่นทะเลมีหนามแหลมปกคลุมบนลาตัวซึ่งมีอยู่ 2 ชนิดคือหนามใหญ่ กับหนามเล็ก
พิษอันตราย: ยังมีอวัยวะอีกอย่างหนึ่งซึ่งมีลักษณะเป็นก้านเล็กๆ คล้ายเกสรดอกไม้อยู่ระหว่างหนาม
ทั้งสองปกคลุมลาตัวอยู่ ซึ่งจะมีเขี้ยวพิษ 2 – 4 อัน จะมีต่อมน้าพิษอยู่ ซึ่งพิษนี้ของบางชนิดร้ายแรงมาก
อาจจะทาให้ถึงแก่ชีวิตได้
การป้องกัน: ก่อนที่จะลงไปเล่นน้าทะเล ควรจะสารวจดูก่อนว่าบริเวณนั้นมีพวกนี้อาศัยอยู่หรือไม่
ถ้ามีก็ควรหลีกเลี่ยงไปที่อื่น หากมีความจาเป็นที่จะต้องเดินหรือย่าไปตามชายหาดบริเวณที่มีพวกเม่นทะเล
อาศัยอยู่นั้น
เพรียงหิน
ลักษณะทั่วไป: โดยสร้างเปลือกหินปุนออกมาช่วยยึดติดอยู่กับที่ และห่อหุ้มร่างกายเอาไว้ทา
ให้สามารถอาศัยอยู่บนบกได้เป็นเวลานาน เพรียงหินอาศัยอยู่ตามโขดหิน
พิษอันตราย: อันตรายที่อาจได้รับจากเพรียงหิน คือการถูกบาดจากเปลือกที่แหลมคม ขณะ
เดินไปตามโขดหินหรือจากการดาน้าเก็บหอยแมลงภู่
การป้องกัน: เวลาเดินตามโขดหินให้สังเกตเพรียงหินด้วยเพราะมันชอบยึดตรงโขดหิน
งูทะเล
ลักษณะ : งูทะเล เป็นชื่อสามัญที่ใช้เรียกสัตว์เลื้อยคลานจาพวกงู ที่อาศัยและดารงชีวิตอยู่ใน
ทะเลตลอดชีวิต ไม่เคยขึ้นมาบนบกเลย ยกเว้นการผสมพันธุ์และวางไข่ในบางชนิด
พิษอันตราย : งูทะเลส่วนใหญ่เป็นงูพิษ แเป็นพิษที่ทาลายระบบกล้ามเนื้อ โดยจะออกฤทธิ์
เมื่อถูกกัดไปแล้วนานถึงครึ่งชั่วโมงหรือ 1 ชั่วโมง จึงมักมีผู้ถูกงูทะเลกัดเสียชีวิตบ่อย ๆ โดยไม่รู้ตัว
การป้องกีน : โดยปกติมักจะพบงูทะเลจากซอกหิน และบริเวณนั้นส่วนมากน้าทะเลจะไม่ใสทา
ให้ไม่สามารถมองเห็นตัวงูได้ควรเล่นน้าอย่างระมัดระวัง บางชนิดชอบซ่อนตัวอยู่ตามฟองคลื่นทะเล
และชายฝั่ง
หอยเต้าปูน
ลักษณะ: รูปร่างเป็นทรงกรวยหัวป้านปลายแหลม หอยเต้าปูนเป็นหอยฝาเดียว มีเปลือกเป็นรูป
กรวย นาและหนัก ขนาดเปลือกมีตั้งแต่ 2-3 เซนติเมตรไปจนถึง 20 เซนติเมตร ลวดลายบนเปลือก
แตกต่างกันไปตามชนิดหอย
พิษอันตราย: หอยเต้าปูนเป็นสัตว์ที่มีลาตัวอ่อนนุ่ม มีเปลือกห่อหุ้มอยู่ภายนอกร่างกาย เพื่อเป็น
การป้องกันอันตราย จากสัตว์อื่น ๆ ในท้องทะเล มีเข็มพิษเป็นอาวุธ
การป้องกัน: มันอาศัยตามท้องเล อยู่ใต้พื้นทราย แต่หอยเต้าปูนนั้นเป็นหอยที่หยาก โอกาสที่จะ
พบยากมาก
แมงดาถ้วย
แมงดาถ้วย หรือ แมงดาทะเลหางกลม มีรูปร่างกลมและกระดองนูนเหมือนชามหรือถ้วยคว่า
ทางด้านหัวโค้งกลม หางเรียวยาวเป็นทรงกลม กระดองสีเขียวเหลือบเหลืองคล้า ใช้สาหรับปักลงกับพื้น
ท้องทะเล เมื่อต้องการนอนนิ่งอยู่กับที่ หรือใช้พลิกตัวเมื่อนอนหงายท้อง พบอาศัยในทะเลโคลนแถบป่า
ชายเลนหรือปากแม่น้า อาจพบได้ในเขตน้ากร่อยหรือน้าจืดได้ ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวประมาณ 40
เซนติเมตร (รวมหาง) ในบางครั้งแมงดาถ้วยบางตัวและในบางฤดูกาลอาจมีสีกระดองสีแดงเหลือบส้ม
และมีขนที่กระดองและบางส่วนของลาตัว แมงดาถ้วยแบบนี้จะเรียกว่า เหรา (อ่านว่า [เห-รา]), ตัว
เหรา หรือ แมงดาไฟ
แตนทะเล
ลักษณะ: เป็นสัตว์ทะเลขนาดเล็กจิ๋ว บางครั้งเราเห็นเหมือนเป็นตะกอนอยู่ในน้าซึ่งเราอาจยกไม่ออกว่เป็น
ตะกอนหรือแตนทะเล
พิษอันตราย: เมื่อโดนแตนทะเลต่อยจะรู้สึกเจ็บจี๊ดๆ เหมือนโดนเข็มขนาดเล็กจิ๊ม แต่เจ็บไม่เท่าไรพอทนได้
การป้องกัน :คล้ายๆกับตอนที่เขียนเรื่องแมงกะพรุนก็คือ ควรใส่ชุดที่ป้องกัน เช่น เว็ทสูท แบบ แขนยาว-
ขายาว สวมฮูด (hood) หรือบูท(boot)
ฟองน้า (Sponge)
ลักษณะ: ฟองน้าเป็นสัตว์เกาะนิ่งอยู่กับที่ มีลาตัวเป็นรูพรุนดารงชีวิตได้โดยอาศัยระบบท่อให้น้า
ไหลผ่านลาตัว มีโครงค้าจุนร่างกายเป็นหนาม
พิษอันตราย: หากส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายสัมผัสกับฟองน้า จะทาให้เกิดรอยผื่นแดงบวม
และมีอาการคันได้
การป้องกัน: หลีกเลี่ยงจากการสัมผัสฟองน้าขนาดใหญ่ตามแนวปะการัง หากเป็นความบังเอิญ
ที่ไม่ได้ระวังตัว
ปลาปักเป้า
ลักษณะ : ปลาปักเป้าทั้งในน้าทะเล และน้าจืด เป็นปลาที่มีนิสัยดุร้าย และมีฟันแหลมคม ชอบอยู่กับที่ และ
ว่ายน้าช้าๆ แต่จะว่ายพุ่งตัวเร็วเมื่อตกใจหรือมีศัตรูเข้าใกล้ หากถึงสถานการณ์ฉุกเฉินที่ต้องเอาตัวรอดหรือเวลาถูก
จับอยู่บนบก ปลาปักเป้าจะสูบลมเข้าท้อง (หากอยู่ในน้าจะพุ่งตัวขึ้นเหนือน้าแล้วสูบลมเข้าท้องหรือบางตัวจะสูบน้า
เข้าท้อง) ทาให้ลาตัวพองโต แลดูไม่มีชีวิต และเมื่อปลอดภัยแล้วก็จะปล่อยลมหรือน้าออกเหมือนเดิม
พิษอันตราย : ปลาปักเป้าทั้งในน้าจืด และน้าเค็มจะมีสารพิษชนิดรุนแรงที่ชื่อว่า tetrodotoxin (TTX) ซึ่ง
เป็นสารอัลคาลอยด์ (alkaloid) ที่ทาให้เกิดพิษยับยั้งระบบกระแสประสาท
การป้องกัน: พิษของปลาปักเป้าเป็นพิษที่ทนต่อความร้อน เมื่อถูกความร้อนพิษจะไม่เสียไป เพราะฉะนั้นเวลา
รับประทานปักเป้าต้องรับประทานที่มีความเชื่อถือ
ปลาสิงโต
ลักษณะ: ปลาสิงโตมีลาตัวยาวปานกลางแบนข้างเล็กน้อยมีหัวขนาดใหญ่ ลาตัวและหัวมีแถบสีน้าตาล
เข้มสลับกับสีน้าตาลอ่อนและสีขาว ครีบที่แผ่ออกมาแต่ละครีบนั้นประกอบด้วยก้านครีบที่เป็นหนามและมีต่อมพิษที่
ก้านครีบแข็งทุกก้านและมีต่อมพิษจานวนมากอยู่ใต้ผิวหนัง
พิษอันตราย : พิษของปลาสิงโตเป็นสารประกอบโปรตีนเมื่อแทงเข้าไปในร่างการจะทาให้ผู้ถูกพิษมี
อาการปวดแสบปวดร้อนอย่างมาก อาจมีอาการคอแห้ง ซึมเพ้อ ปวดเมื่อยตามข้อ นอกจากนี้อาจทาให้เกิดอาการ
อัมพาตชั่วคราว หรืออาจเสียชีวิตได้
การป้องกัน : ไม่ควรไปสัมผัสตัวของปลาสิงโต เพราะปลาสิงโตมีพิษอยู่ที่ก้านครีบ ถ้าโดนก้านครีบ
แทงเข้าไปจะเจ็บปวดมาก
ปลากะรังหัวโขน
ลักษณะ : ปลาชนิดนี้มีหัวขนาดใหญ่ ปากกว้าง มักนอนสงบนิ่งอยู่ตามพื้นทะเล เพื่อรอให้เหยื่อว่ายผ่านมา
ปลาจะพุ่งตัวฮุบเหงื่อกินทั้งตัว ปลาชนิดนี้แม้ว่ายถูกจับมาได้ก็ไม่นิยมนามาบริโภคปลากะรังหัวโขน มีรูปร่าง
คล้ายคลึงกับก้อนหิน
พิษอันตราย: มองดูกลมกลืนกับสภาพแวดล้อมที่อาศัยอยู่ทาให้มองไม่เห็น จึงไม่เพียงทาให้เกิดบาดแผล
เท่านั้น ที่ก้านครีบของปลาชนิดนี้ยังมีพิษที่เป็นอันตรายรุนแรงอาจทาให้ถึงแก่ชีวิตได้
การป้องกัน: ระวังอย่าจับปลาชนิดนี้ หรือไม่ควรไปเล่นกับมัน การรักษาเช่นเดียวกับการถูเงี่ยงปลากระเบน
ปะการังไฟ
ลักษณะ : ปะการังไฟนั้นไม่ใช้ปะการังแท้จริง แต่เป็นสัตว์ทะเลจาพวกเดียวกับขนนกทะเลและมีพิษ
เช่นเดียวกัน ปะการังไฟมีรูปร่าง 3 แบบคือ แบบแผ่น แบบก้อน และแบบแขนง โดยทั่วไปมักมีสีเหลืองอ่อนหรือ
น้าตาล พบปะปนอยู่กับสัตว์อื่นในแนวปะการังทั่วไป
พิษอันตราย : หากสัมผัสกับปะการังไฟ จะทาให้เกิดรอยไหม้ บวมแดง และปวดแสบปวดร้อนบริเวณ
ผิวหนังที่สัมผัส
การป้องกัน: เมื่อเห็นปะการังไฟอย่าไปแตะต้องเพราะอาจทาให้เกิดรอยไหม้ได้
สมาชิกภายในกลุ่ม
1.ด.ญ.ณัฏฐวิตรา กล่อมเกลี้ยง ม.2/2 เลขที่ 23
2.ด.ญ.นิชานันท์ ณะพิบูลย์ ม.2/2 เลขที่ 25
3.ด.ญ.ภัทรวดี ธรรมชัยโสภิต ม.2/2 เลขที่ 30
4.ด.ญ.ศศิกานต์ สามทอง ม.2/2 เลขที่ 36

Contenu connexe

Tendances

สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่าJiraporn
 
9789740331315
97897403313159789740331315
9789740331315CUPress
 
สัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวนสัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวนPiangtawan Tianloek
 
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อ
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อPresentationสื่อการสอนผีเสื้อ
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อfonrin
 
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์supornp13
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังnokbiology
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศพัน พัน
 
การอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่าการอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่าKONGBENG
 
Biome and Biodiversity
Biome and BiodiversityBiome and Biodiversity
Biome and BiodiversityWan Kanlayarat
 
7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะ7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะPinNii Natthaya
 

Tendances (16)

ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่า
 
9789740331315
97897403313159789740331315
9789740331315
 
ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางระบบนิเวศความหลากหลายทางระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางระบบนิเวศ
 
EcoSystem01
EcoSystem01EcoSystem01
EcoSystem01
 
สัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวนสัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวน
 
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อ
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อPresentationสื่อการสอนผีเสื้อ
Presentationสื่อการสอนผีเสื้อ
 
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อมติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
ติวสอบเตรียมนิเวศสิ่งแวดล้อม
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
การอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่าการอนุรักษ์สัตว์ป่า
การอนุรักษ์สัตว์ป่า
 
Biome and Biodiversity
Biome and BiodiversityBiome and Biodiversity
Biome and Biodiversity
 
7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะ7.สรุปและข้อเสนอแนะ
7.สรุปและข้อเสนอแนะ
 
ไบโอม
ไบโอมไบโอม
ไบโอม
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 

Similaire à Sea animals in Thailand

การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังnokbiology
 
อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceteeraya
 
Hr1 Type And Physical Prop Fth 467
Hr1 Type And Physical Prop Fth 467Hr1 Type And Physical Prop Fth 467
Hr1 Type And Physical Prop Fth 467off5230
 
ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย
ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทยซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย
ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทยAphichati-yas
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJira Boonjira
 
Under the sea
Under the seaUnder the sea
Under the seaMICKY_JS
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะnative
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยพันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยcahtchai
 
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยพันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยcahtchai
 
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยพันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยcahtchai
 
ชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdfชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdfssuser09955f
 

Similaire à Sea animals in Thailand (20)

การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Science
 
Hr1 Type And Physical Prop Fth 467
Hr1 Type And Physical Prop Fth 467Hr1 Type And Physical Prop Fth 467
Hr1 Type And Physical Prop Fth 467
 
nam
namnam
nam
 
ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย
ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทยซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย
ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย
 
ecosystem
ecosystemecosystem
ecosystem
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Under the sea
Under the seaUnder the sea
Under the sea
 
Stingrays
StingraysStingrays
Stingrays
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ธรณีกาล
ธรณีกาลธรณีกาล
ธรณีกาล
 
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยพันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
 
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยพันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
 
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทยพันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
พันธุ์ปลาน้ำจืดในประเทศไทย
 
Animalia kingdom
Animalia kingdomAnimalia kingdom
Animalia kingdom
 
Stingrays
StingraysStingrays
Stingrays
 
ชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdfชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdf
 

Sea animals in Thailand

  • 2. สัตว์ใต้ท้องทะเล คืออะไร ? หมายถึง สิ่งมีชีวิตในทะเลมีทั้งที่อาศัยอยู่ในมวลน้า (pelagic organisms) และอาศัยอยู่ตามพื้นท้อง ทะเล (benthic organism) แบ่งเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ 1)Pleuston หมายถึงสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ทวนกระแสน้าได้ โดยจะมีส่วนของร่างกายที่ยื่นไปใน อากาศเรียกว่า sail เป็นตัวช่วยในการเคลื่อนที่โดยมีลมเป็นตัวพา 2)เป็นสิ่งมีชีวิตที่ล่องลอยอยู่ในน้าไม่สามารถว่ายน้าได้ เช่น microplankton phytoplankton 3) เป็นสิ่งมีชีวิตที่เคลื่อนที่ได้อย่างเป็นอิสระด้วยตัวเอง ไม่ขึ้นกับการเคลื่อนที่ของมวลน้า ได้แก่ปลา สัตว์ เลี้ยงลูกด้วยนมในทะเล หมึก เป็นต้น
  • 3. แมงกะพรุน ลักษณะ : แมงกะพรุนเป็นสัตว์ที่มีลาตัวโปร่งใส ร่างกายประกอบด้วยเจลาตินเป็นส่วนใหญ่ สามารถมองเห็นเข้าไปได้ถึงอวัยวะภายใน เป็นสัตว์ที่ไม่มีทั้งสมองหรือหัวใจ ลาตัวด้านบนของ แมงกะพรุนมีลักษณะคล้ายร่ม พิษอันตราย : แมงกะพรุนหลายชนิดมีพิษ โดยบริเวณหนวดและแขนงที่ยื่นรอบปาก เรียกว่า "มีนีมาโตซีส" หรือเข็มพิษ ใช้สาหรับฆ่าเหยื่อ หรือทาให้เหยื่อสลบก่อนจับกินเป็นอาหาร ซึ่งโดยมากเป็น ปลา การป้องกัน : ควรหลีกเลี่ยงการเล่นน้าหลังจากมีฝนตกในบริเวณ หรือเวลาที่มีแมงกะพรุนชุก ชุม หากต้องการลงเล่นน้าในบริเวณที่คาดว่าอาจจะมีแมงกะพรุน ควรป้องกันด้วยการสวมเสื้อผ้าที่ มิดชิด
  • 4. ดาวหนาม ลักษณะทั่วไป : ดาวหนามเหมือนกับปลาดาวเพียงแต่มันมีแขน หรือแฉกมากกว่า แต่มีรูปร่างเหมือนกันตาม ลาตัวและแขนจะมีหนามแหลมยาว ซึ่งค่อนข้างแข็งเนื่องจากมีส่วนประกอบของพวกหินปูนที่บริเวณผิวของพวก หนามเหล่านี้ จะผลิตสารพิษออกมาเคลือบอยู่ด้านนอกของหนาม พิษอันตราย : เมื่อถูกหนามของดาวหนามทิ่มหรือแทง ซึ่งมีสารพิษอยู่ที่ผิวของหนามนั้น พิษจะซึมเข้าสู่ ผิวหนังของผู้เคราะห์ร้าย เนื่องจากหนามของมันแหลมและค่อนข้างยาว ดังนั้นจึงมักจะเกิดเป็นแผลลึกทาให้ความ สะอาดแผลได้ลาบาก การป้องกัน : เนื่องจากดาวหนามมีหนามแหลมและอาศัยอยู่ตามแนวปะการัง และอาศัยอยู่ติดกับพื้นท้อง ทะเล ดังนั้นเมื่อเราเหยียบย่าลงไปตามพื้นท้องทะเลที่มีพวกนี้อาศัยอยู่ ก็ควรจะสวมใส่รองเท้าหนาๆ ไม่ควรจับพวก นี้ด้วยมือเปล่าเพราะนั้นเป็นการเสี่ยงอันตราย ควรจะหากิ่งไม้เขี่ยมันขึ้นมาแทนการใช้มือเปล่า
  • 5. เม่นทะเล ลักษณะทั่วไป: เม่นทะเล มีรูปร่างกลมมนหรืออาจจะค่อนข้างแบนแล้วแต่ชนิด รอบๆ ตัวจะมีสีดา และหนามอยู่รอบตัว เม่นทะเลมีหนามแหลมปกคลุมบนลาตัวซึ่งมีอยู่ 2 ชนิดคือหนามใหญ่ กับหนามเล็ก พิษอันตราย: ยังมีอวัยวะอีกอย่างหนึ่งซึ่งมีลักษณะเป็นก้านเล็กๆ คล้ายเกสรดอกไม้อยู่ระหว่างหนาม ทั้งสองปกคลุมลาตัวอยู่ ซึ่งจะมีเขี้ยวพิษ 2 – 4 อัน จะมีต่อมน้าพิษอยู่ ซึ่งพิษนี้ของบางชนิดร้ายแรงมาก อาจจะทาให้ถึงแก่ชีวิตได้ การป้องกัน: ก่อนที่จะลงไปเล่นน้าทะเล ควรจะสารวจดูก่อนว่าบริเวณนั้นมีพวกนี้อาศัยอยู่หรือไม่ ถ้ามีก็ควรหลีกเลี่ยงไปที่อื่น หากมีความจาเป็นที่จะต้องเดินหรือย่าไปตามชายหาดบริเวณที่มีพวกเม่นทะเล อาศัยอยู่นั้น
  • 6. เพรียงหิน ลักษณะทั่วไป: โดยสร้างเปลือกหินปุนออกมาช่วยยึดติดอยู่กับที่ และห่อหุ้มร่างกายเอาไว้ทา ให้สามารถอาศัยอยู่บนบกได้เป็นเวลานาน เพรียงหินอาศัยอยู่ตามโขดหิน พิษอันตราย: อันตรายที่อาจได้รับจากเพรียงหิน คือการถูกบาดจากเปลือกที่แหลมคม ขณะ เดินไปตามโขดหินหรือจากการดาน้าเก็บหอยแมลงภู่ การป้องกัน: เวลาเดินตามโขดหินให้สังเกตเพรียงหินด้วยเพราะมันชอบยึดตรงโขดหิน
  • 7. งูทะเล ลักษณะ : งูทะเล เป็นชื่อสามัญที่ใช้เรียกสัตว์เลื้อยคลานจาพวกงู ที่อาศัยและดารงชีวิตอยู่ใน ทะเลตลอดชีวิต ไม่เคยขึ้นมาบนบกเลย ยกเว้นการผสมพันธุ์และวางไข่ในบางชนิด พิษอันตราย : งูทะเลส่วนใหญ่เป็นงูพิษ แเป็นพิษที่ทาลายระบบกล้ามเนื้อ โดยจะออกฤทธิ์ เมื่อถูกกัดไปแล้วนานถึงครึ่งชั่วโมงหรือ 1 ชั่วโมง จึงมักมีผู้ถูกงูทะเลกัดเสียชีวิตบ่อย ๆ โดยไม่รู้ตัว การป้องกีน : โดยปกติมักจะพบงูทะเลจากซอกหิน และบริเวณนั้นส่วนมากน้าทะเลจะไม่ใสทา ให้ไม่สามารถมองเห็นตัวงูได้ควรเล่นน้าอย่างระมัดระวัง บางชนิดชอบซ่อนตัวอยู่ตามฟองคลื่นทะเล และชายฝั่ง
  • 8. หอยเต้าปูน ลักษณะ: รูปร่างเป็นทรงกรวยหัวป้านปลายแหลม หอยเต้าปูนเป็นหอยฝาเดียว มีเปลือกเป็นรูป กรวย นาและหนัก ขนาดเปลือกมีตั้งแต่ 2-3 เซนติเมตรไปจนถึง 20 เซนติเมตร ลวดลายบนเปลือก แตกต่างกันไปตามชนิดหอย พิษอันตราย: หอยเต้าปูนเป็นสัตว์ที่มีลาตัวอ่อนนุ่ม มีเปลือกห่อหุ้มอยู่ภายนอกร่างกาย เพื่อเป็น การป้องกันอันตราย จากสัตว์อื่น ๆ ในท้องทะเล มีเข็มพิษเป็นอาวุธ การป้องกัน: มันอาศัยตามท้องเล อยู่ใต้พื้นทราย แต่หอยเต้าปูนนั้นเป็นหอยที่หยาก โอกาสที่จะ พบยากมาก
  • 9. แมงดาถ้วย แมงดาถ้วย หรือ แมงดาทะเลหางกลม มีรูปร่างกลมและกระดองนูนเหมือนชามหรือถ้วยคว่า ทางด้านหัวโค้งกลม หางเรียวยาวเป็นทรงกลม กระดองสีเขียวเหลือบเหลืองคล้า ใช้สาหรับปักลงกับพื้น ท้องทะเล เมื่อต้องการนอนนิ่งอยู่กับที่ หรือใช้พลิกตัวเมื่อนอนหงายท้อง พบอาศัยในทะเลโคลนแถบป่า ชายเลนหรือปากแม่น้า อาจพบได้ในเขตน้ากร่อยหรือน้าจืดได้ ขนาดเมื่อโตเต็มที่ยาวประมาณ 40 เซนติเมตร (รวมหาง) ในบางครั้งแมงดาถ้วยบางตัวและในบางฤดูกาลอาจมีสีกระดองสีแดงเหลือบส้ม และมีขนที่กระดองและบางส่วนของลาตัว แมงดาถ้วยแบบนี้จะเรียกว่า เหรา (อ่านว่า [เห-รา]), ตัว เหรา หรือ แมงดาไฟ
  • 10. แตนทะเล ลักษณะ: เป็นสัตว์ทะเลขนาดเล็กจิ๋ว บางครั้งเราเห็นเหมือนเป็นตะกอนอยู่ในน้าซึ่งเราอาจยกไม่ออกว่เป็น ตะกอนหรือแตนทะเล พิษอันตราย: เมื่อโดนแตนทะเลต่อยจะรู้สึกเจ็บจี๊ดๆ เหมือนโดนเข็มขนาดเล็กจิ๊ม แต่เจ็บไม่เท่าไรพอทนได้ การป้องกัน :คล้ายๆกับตอนที่เขียนเรื่องแมงกะพรุนก็คือ ควรใส่ชุดที่ป้องกัน เช่น เว็ทสูท แบบ แขนยาว- ขายาว สวมฮูด (hood) หรือบูท(boot)
  • 11. ฟองน้า (Sponge) ลักษณะ: ฟองน้าเป็นสัตว์เกาะนิ่งอยู่กับที่ มีลาตัวเป็นรูพรุนดารงชีวิตได้โดยอาศัยระบบท่อให้น้า ไหลผ่านลาตัว มีโครงค้าจุนร่างกายเป็นหนาม พิษอันตราย: หากส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายสัมผัสกับฟองน้า จะทาให้เกิดรอยผื่นแดงบวม และมีอาการคันได้ การป้องกัน: หลีกเลี่ยงจากการสัมผัสฟองน้าขนาดใหญ่ตามแนวปะการัง หากเป็นความบังเอิญ ที่ไม่ได้ระวังตัว
  • 12. ปลาปักเป้า ลักษณะ : ปลาปักเป้าทั้งในน้าทะเล และน้าจืด เป็นปลาที่มีนิสัยดุร้าย และมีฟันแหลมคม ชอบอยู่กับที่ และ ว่ายน้าช้าๆ แต่จะว่ายพุ่งตัวเร็วเมื่อตกใจหรือมีศัตรูเข้าใกล้ หากถึงสถานการณ์ฉุกเฉินที่ต้องเอาตัวรอดหรือเวลาถูก จับอยู่บนบก ปลาปักเป้าจะสูบลมเข้าท้อง (หากอยู่ในน้าจะพุ่งตัวขึ้นเหนือน้าแล้วสูบลมเข้าท้องหรือบางตัวจะสูบน้า เข้าท้อง) ทาให้ลาตัวพองโต แลดูไม่มีชีวิต และเมื่อปลอดภัยแล้วก็จะปล่อยลมหรือน้าออกเหมือนเดิม พิษอันตราย : ปลาปักเป้าทั้งในน้าจืด และน้าเค็มจะมีสารพิษชนิดรุนแรงที่ชื่อว่า tetrodotoxin (TTX) ซึ่ง เป็นสารอัลคาลอยด์ (alkaloid) ที่ทาให้เกิดพิษยับยั้งระบบกระแสประสาท การป้องกัน: พิษของปลาปักเป้าเป็นพิษที่ทนต่อความร้อน เมื่อถูกความร้อนพิษจะไม่เสียไป เพราะฉะนั้นเวลา รับประทานปักเป้าต้องรับประทานที่มีความเชื่อถือ
  • 13. ปลาสิงโต ลักษณะ: ปลาสิงโตมีลาตัวยาวปานกลางแบนข้างเล็กน้อยมีหัวขนาดใหญ่ ลาตัวและหัวมีแถบสีน้าตาล เข้มสลับกับสีน้าตาลอ่อนและสีขาว ครีบที่แผ่ออกมาแต่ละครีบนั้นประกอบด้วยก้านครีบที่เป็นหนามและมีต่อมพิษที่ ก้านครีบแข็งทุกก้านและมีต่อมพิษจานวนมากอยู่ใต้ผิวหนัง พิษอันตราย : พิษของปลาสิงโตเป็นสารประกอบโปรตีนเมื่อแทงเข้าไปในร่างการจะทาให้ผู้ถูกพิษมี อาการปวดแสบปวดร้อนอย่างมาก อาจมีอาการคอแห้ง ซึมเพ้อ ปวดเมื่อยตามข้อ นอกจากนี้อาจทาให้เกิดอาการ อัมพาตชั่วคราว หรืออาจเสียชีวิตได้ การป้องกัน : ไม่ควรไปสัมผัสตัวของปลาสิงโต เพราะปลาสิงโตมีพิษอยู่ที่ก้านครีบ ถ้าโดนก้านครีบ แทงเข้าไปจะเจ็บปวดมาก
  • 14. ปลากะรังหัวโขน ลักษณะ : ปลาชนิดนี้มีหัวขนาดใหญ่ ปากกว้าง มักนอนสงบนิ่งอยู่ตามพื้นทะเล เพื่อรอให้เหยื่อว่ายผ่านมา ปลาจะพุ่งตัวฮุบเหงื่อกินทั้งตัว ปลาชนิดนี้แม้ว่ายถูกจับมาได้ก็ไม่นิยมนามาบริโภคปลากะรังหัวโขน มีรูปร่าง คล้ายคลึงกับก้อนหิน พิษอันตราย: มองดูกลมกลืนกับสภาพแวดล้อมที่อาศัยอยู่ทาให้มองไม่เห็น จึงไม่เพียงทาให้เกิดบาดแผล เท่านั้น ที่ก้านครีบของปลาชนิดนี้ยังมีพิษที่เป็นอันตรายรุนแรงอาจทาให้ถึงแก่ชีวิตได้ การป้องกัน: ระวังอย่าจับปลาชนิดนี้ หรือไม่ควรไปเล่นกับมัน การรักษาเช่นเดียวกับการถูเงี่ยงปลากระเบน
  • 15. ปะการังไฟ ลักษณะ : ปะการังไฟนั้นไม่ใช้ปะการังแท้จริง แต่เป็นสัตว์ทะเลจาพวกเดียวกับขนนกทะเลและมีพิษ เช่นเดียวกัน ปะการังไฟมีรูปร่าง 3 แบบคือ แบบแผ่น แบบก้อน และแบบแขนง โดยทั่วไปมักมีสีเหลืองอ่อนหรือ น้าตาล พบปะปนอยู่กับสัตว์อื่นในแนวปะการังทั่วไป พิษอันตราย : หากสัมผัสกับปะการังไฟ จะทาให้เกิดรอยไหม้ บวมแดง และปวดแสบปวดร้อนบริเวณ ผิวหนังที่สัมผัส การป้องกัน: เมื่อเห็นปะการังไฟอย่าไปแตะต้องเพราะอาจทาให้เกิดรอยไหม้ได้
  • 16. สมาชิกภายในกลุ่ม 1.ด.ญ.ณัฏฐวิตรา กล่อมเกลี้ยง ม.2/2 เลขที่ 23 2.ด.ญ.นิชานันท์ ณะพิบูลย์ ม.2/2 เลขที่ 25 3.ด.ญ.ภัทรวดี ธรรมชัยโสภิต ม.2/2 เลขที่ 30 4.ด.ญ.ศศิกานต์ สามทอง ม.2/2 เลขที่ 36