SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  30
บทที่ 4
การเขียนคำาสั่ง
ควบคุม
แบบวนซำ้า
นิพจน์ทาง
คณิตศาสตร์
   ทางคณิตศาสตร์นั้นเป็นนิพจน์ที่ใช้ในการคำานวณ 
ซึ่งนิพจน์ทางคณิตศาสตร์นั้นจะมีรูปแบบเหมือนกับ
สมการคณิตศาสตร์  แต่จะประกอบไปด้วย  ค่าคงที่
หรือตัวแปร  ซึ่งเรียกอีกอย่างว่า  “ตัวถูกดำาเนินการ” 
(Operand)  แล้วเชื่อมกันด้วยเครื่องหมายทาง
คณิตศาสตร์  หรือเรียกอีกอย่างว่า  ตัวดำาเนินการ 
(Operator)  นั่นเอง
รูปแบบ
[ตัวถูกดำาเนินการตัวแรก]  [ตัวดำาเนินการ]  [ตัว
ถูกดำาเนินการตัวที่สอง]
ตัวอย่าง
A+B
ตัวดำาเนินการทางคณิตศาสตร์ 
ตัวดำาเนินการทางคณิตศาสตร์ของภาษา Cมีดังนี้
ตารางที่4.1แสดงตัวดำาเนินการทางคณิตศาสตร์
ตัวดำาเนินการ ความหมาย
+
-
*
/
%
++
--
บวก
ลบ
คูณ
หาร
หารเอาเศษหรือ Modulus
เพิ่มค่าครั้งละ 1
ลดค่าครั้งละ 1
การสร้างนิพจน์ทางคณิตศาสตร์ ถ้าเป็นนิพจน์ที่มีตัวถูกดำาเนินการเพียง2ตัวจะไม่มีปัญหาอะไรแต่ถ้าเกิดมีตัวถูก
ดำาเนินการมากกว่า 2ตัวขึ้นไปผู้ใช้จะต้องคำานึงถึงลำาดับความสำาคัญของตัวดำาเนินการด้วย มิฉะนั้นอาจจะได้ผลลัพธ์ที่ไม่ตรงตาม
ความต้องการได้
ตัวอย่างการดำาเนินการทาง
คณิตศาสตร์ 
 ผู้ใช้ต้องการให้เอา  2  บวกกับ  3  แล้วนำาไปคูณด้วย  5 
ซึ่งคำาตอบที่ผู้ใช้ต้องการ  คือ  25  แต่ถ้าผู้ใช้เขียนนิพจน์
เป็น
2 + 3 * 5
ผลลัพธ์ที่ได้จะเท่ากับ  17  เพราะภาษา C จะคิดตาม
ลำาดับความสำาคัญของตัวดำาเนินการ  (Precedence) 
ดังนี้  เอา  3  คูณกับ  5  ได้  15  แล้วนำาไปบวกกับ  2 
ได้  17  ซึ่งเป็นคำาตอบที่ไม่ตรงตามความต้องการ  เพราะ
ฉะนั้นผู้ใช้จึงต้องระวังเรื่องนี้อย่างมาก  วิธีการแก้ไขก็
สามารถทำาได้โดยการใช้วงเล็บเข้ามาช่วย  ซึ่งวงเล็บจะมี
ลำาดับความสำาคัญสูงที่สุด  และเมื่อลำาดับความสำาคัญเท่า
กัน  ให้ดูในตารางโดยเรียงจากซ้ายไปขวา  ซึ่งถ้ามีหลาย
วงเล็บซ้อนกัน  ภาษา C จะคิดจากวงเล็บในออกมา  ดังนั้น
ถ้าตัวอย่างด้านบนจะเขียนนิพจน์ให้ได้ผลลัพธ์ตาม
ต้องการ  จะต้องเขียนดังนี้
ตารางลำาดับความสำาคัญของตัว
ดำาเนินการทางคณิตศาสตร์
ตัวดำาเนินการ ลำาดับความสำาคัญ
++ , -- 16
- (เครื่องหมายลบหน้า
ตัวเลข)
15
* , / ,% 13
+ , - 12
 ตัวอย่างนิพจน์ทาง
คณิตศาสตร์  และวิธีการ
คำานวณ
นิพจน์ วิธีการคำานวณ
10/2*3 เอา 10 หาร 2 ได้ 5 แล้วคูณด้วย
3 จะได้ผลลัพธ์ 15
12*2+(2*6) เอา 2 คูณ 6 ได้ 12 มาคูณ 2 ได้
24 จากนั้นนำา 24มาบวก 12 จะได้
ผลลัพธ์ 36
ตัวดำาเนินการในการกำาหนดค่า
ตัวดำาเนินการที่ใช้ในการกำาหนดค่านั้นจะเป็น
เครื่องหมาย = การทำางานของตัวดำาเนินการนี้จะ
ทำาการนำาค่าที่อยู่ทางด้านขวาของตัวดำาเนินการ
ไป เก็บไว้ในตัวแปรทางด้านซ้ายของตัวดำาเนิน
การสิ่งที่อยู่ด้านขวาของตัวดำาเนิน การนั้นอาจจะ
เป็นนิพจน์ทางคณิตศาสตร์  หรือจะเป็นตัวแปร
ก็ได้
รูปแบบ
[ตัวแปร] = [นิพจน์]
Simple  Assignments (การกำาหนดค่าแบบ
ง่าย)
Simple  Assignments  จะมีรูปแบบเหมือนกับ
วอย่าง
A=2
um=2+A
um=(2*5)+6
วอย่าง SimpleAssignments
ค่าของx ค่าของy นิพจน์ ค่าของนิพจน์ ผลลัพธ์ของนิพจน์
10 5 x=y+2 7 x=7
10 5 x=x/y 2 x=2
10 5 x=y%4 1 x=1
ตัวอย่าง
A = 2
Sum = 2+A
Sum = (2*5) +6
ตัวอย่าง Simple
Assignments
 โปรแกรมภาษาซี  การกำาหนดให้กับ
ตัวแปรในลักษณะต่าง ๆ
ตาราง ความหมายของตัวดำาเนิน
การ
นิพจน์แบบCompound เทียบเท่ากับนิพจน์แบบSimple
x*=y x=x*y
X/=y X=x/y
X%=y X=x%y
X+=y X=x+y
X-=y X=x-y
โปรแกรมภาษาซี  ผลของตัวดำาเนินการแบบ
 ผสม
ตัวดำาเนินการ  ++  และ  --
ตัวดำาเนินการ  ++  จะทำาการเพิ่มค่าของ
ตัวแปรอีก  1  ส่วน  --  นั้นจะทำาการลดค่าของ
ตัวแปรลง  1  ซึ่งการสร้างนิพจน์ด้วยตัวดำาเนิน
การ  2  ตัวนี้  จะมี  2  แบบ  คือ
1.แบบ  POSTFIX
รูปแบบ
[ตัวแปร] [ตัวดำาเนินการ]
ตัวอย่าง
A ++
A –
ขั้นตอนการทำางานของนิพจน์แบบ POSTFIX
1.ให้x=a
2.จากนั้นจะทำาการa=a+1
หรือเมื่อนิพจน์เป็นy=b-- จะมีขั้นตอนการทำาการ ดังนี้
1.ให้y=b
2.จากนั้นจะทำาการ b=b–1
ค่าของaตอนแรก นิพจน์ ผลลัพธ์ของนิพจน์ ค่าของaตอนหลัง
10 a++ 10 11
10 a-- 10 9
2.แบบ  PREFIX
 รูปแบบ
[ตัวดำาเนินการ] [ตัวแปร]
ตัวอย่าง
++a
--a
ขั้นตอนการทำางานของนิพจน์แบบPrefixเมื่อนิพจน์x=++a
1. จากนั้นจะทำาการ a=a+1
2. ให้x=a
หรือ เมื่อนิพจน์เป็นy=--bจะมีขั้นตอนการทำาการ ดังนี้
1. จากนั้นจะทำาการ b=b-1
2. ให้y=b
ค่าของaตอนแรก นิพจน์ ผลลัพธ์ของนิพจน์ ค่าของaตอนหลัง
10 ++a 11 11
10 --a 9 9
โปรแกรมภาษาซีแสดงผลของตัว
ดำาเนินการ++ในแบบ PREFIX
คำาสั่งควบคุมแบบวนซำ้า
• การวนซำ้า (LOOP) หมายถึง การ
กำาหนดเงื่อนไขเพื่อให้โปรแกรมทำางานใน
STATEMENT เดิมมากกว่า 1ครั้ง โดย
จำานวนครั้งของการ
ทำางานจะเป็นไปตามเงื่อนไขที่กำาหนดไว้
• คำาสั่งแบบวนซำ้ามี 3ประเภท ดังนี้
– คำาสั่งวนซำ้าแบบ FOR
– คำาสั่งวนซำ้าแบบ WHILE
– คำาสั่งวนซำ้าแบบ DO...WHILE
 
คำำสั่ง
FOR
  for  เป็นคำำสั่งที่สั่งให้โปแกรมมีกำรทำำงำนซำ้ำ ๆ
 วนลูปจนกว่ำเงื่อนไขที่กำำหนดไว้เป็นเท็จ จึงออกจำก
 คำำสั่ง for     ไปทำำคำำสั่งถัดไป ควรใช้คำำสั่ง for  ใน
กรณีที่ทรำบจำำนวนรอบของกำรทำำงำน
  รูปแบบกำรใช้คำำสั่ง for
 for  (expression1; expression2;
expression3) 
       statement;
หรือ
for  (expression1; expression2;
expression3)
{
      statement(s);
}
ลักษณะกำรทำำงำนของคำำ
 สั่ง for
รูปแบบทั่วไป
for(นิพจน์ที่1; นิพจน์ที่2; นิพจน์ที่3)
{
คำำสั่งวนรอบ;
…….
}
เป็นคำำสั่งที่ใช้ในกำรควบคุมให้มีกำรวนรอบคำำสั่งหลำยๆรอบโดย
นิพจน์ที1คือกำรกำำหนดค่ำเริ่มต้นให้กับตัวแปรที่ใช้ในกำรวนรอบ
นิพจน์ที่2เป็นกำรเปรียบเทียบก่อนที่จะวนรอบถ้ำเงื่อนไขของนิพจน์เป็นจริงจะมีกำรทำำงำนตำมคำำสั่งวนรอบ
นิพจน์ที่3เป็นคำำสั่งในกำรกำำหนดค่ำที่จะเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละรอบ
ตัวอย่ำง โปรแกรม for1.c
#include<stdio.h>
#include<conio.h>
intcounter;
charword[20]="Bodindecha";
main()
{
clrscr();
for(counter=5;counter<=10;counter=counter+1)
printf("countert=t%2dtmyschoolist%sn",counter,word);
}
 กำรทำำซำ้ำแบบ WHILE
while เป็นคำำสั่งให้มีกำรทำำซำ้ำเป็นรอบ ๆ (loop)
ลักษณะกำรทำำงำนทำำนองเดียวกับคำำสั่ง for แต่
ต่ำงกันตรงที่ไม่ทรำบจำำนวนรอบที่แน่นอน แต่ต้อง
มีเงื่อนไขที่เป็นเท็จจึงจะออกจำกคำำสั่ง while ได้มิ
ฉะนั้นจะมีปัญหำที่โปรแกรมทำำงำนแบบวนซำ้ำแบบ
ไม่มีที่สิ้นสุด (endless loop)
 กำรทำำซำ้ำแบบ while อำจเขียนผังงำน ดังรูป
ลักษณะกำรทำำงำนของคำำสั่ง
while
คำำสั่ง WHILE มีรูปแบบ ดังนี้
while(นิพจน์ทดสอบเงื่อนไข)statement; หรือwhile(นิพจน์ทดสอบเงื่อนไข)
{
คำำสั่งที่1;
คำำสั่งที่2;
...
คำำสั่งสุดท้ำย;
}
โดย whileจะทำำกำรทำำซำ้ำต่อไปเมื่อนิพจน์ทดสอบเงื่อนไขให้ผลลัพธ์เป็นจริงและทำำต่อจนกระทั่งผลลัพธ์ของนิพจน์
ทดสอบเงื่อนไขเป็นเท็จ
คำำสั่งทำำซำ้ำหรือวนรอบ DO -
WHILE
do while เป็นคำำสั่งให้มีกำรทำำซำ้ำเป็นรอบ ๆ
(loop) ลักษณะกำรทำำงำนทำำนองเดียวกับคำำสั่ง
while แต่ต่ำงกันตรงที่คำำสั่งนี้จะมีกำรทำำงำนตำมคำำสั่ง
ไป 1 รอบ ก่อนที่จะทดสอบเงื่อนไข ถ้ำเงื่อนไขที่เป็น
จริงจะทำำงำนต่อไป ถ้ำเงื่อนไขเป็นเท็จจึงจะออกจำก
คำำสั่ง do while คำำสั่งนี้ก็เช่นเดียวกันจะต้องกำำหนด
ให้มีโอกำสที่เงื่อนไขเป็นเท็จได้ มิฉะนั้นจะมีปัญหำที่
โปรแกรมทำำงำนแบบวนซำ้ำแบบไม่มีที่สิ้นสุด (endless
loop) กรณีที่เงื่อนไขเป็นเท็จเพียงอย่ำงเดียวจะมีกำร
ทำำงำน 1 รอบ ก่อนออกจำกกำรทำำซำ้ำ
ลักษณะการทำางานของคำาสั่ง do-
while
  กรณีศึกษา การใช้คำาสั่งควบคุมวนซำ้า
การใช้คำาสั่ง while เพื่อวนคำานวณค่าสะสมตัวเลข
1 ถึง 10 และหาค่าเฉลี่ย แล้วแสดงผลออกจอภาพ
ผลลัพธ์ที่ได้จาก
โปรแกรม
คำาอธิบายโปรแกรม
        สามารถอธิบายการทำางานของโปรแกรมที่สำาคัญ
ๆ ได้ดังนี้
- บรรทัดที่ 8 คำาสั่ง while (n < 11) เพื่อควบคุมการทำางาน
ของโปรแกรมให้ทำางานซำ้า ๆ กัน โดยการทำางานของคำาสั่ง
while จะตรวจสอบเงื่อนไข n < 11 เป็นจริงหรือเท็จ ถ้า
เป็นจริงจะทำางานตามคำาสั่งที่อยู่ภายใน loop while คือ
บรรทัดที่ 10 และ 11 จากนั้นจะกลับมาตรวจสอบเงื่อนไข
- บรรทัดที่ 10 และ 11 เป็นคำาสั่งที่โปรแกรมจะทำางาน
ภายหลังจากตรวจสอบเงื่อนไข while แล้วเป็นจริง นั่น
คือ คำานวณค่าสะสมของตัวแปร sum และ เพิ่มค่า n ที
ละ 1 ตามลำาดับ
- บรรทัดที่ 13 ถึง 18 เป็นคำาสั่งที่โปรแกรมจะทำางานภาย
หลังจากตรวจสอบเงื่อนไข while แล้วเป็นเท็จ คือ ลด
ค่าตัวแปร n ลง 1 แล้วคำานวณค่าเฉลี่ยเก็บไว้ที่ตัวแปร
avg และพิมพ์ค่าตัวแปร n, sum และ avg แสดงที่
จอภาพ พร้อมกับพิมพ์ข้อความให้กดคีย์ใด ๆ เพื่อกลับสู่
โปรแกรม สุดท้ายจะหยุดรอรับค่าใด ๆ จากคีย์บอร์ด
เช่น ถ้ากด enter ก็จะกลับสู่โปรแกรม
แหล่งอ้างอิง
http://courseware.bodin.ac.th/computer/Advance
dLevel4/programming/C_language/4.htm
http://202.143.152.6/files/1106301616560373_12
01240883219.ppt
http://158.108.103.7:12222/~boonchoo/images/st
ories/resources/pp254/5_loop.pdf
 
 
รายชื่อสมาชิก กลุ่มที่ 4
 1.นางสาวปรียาภรณ์ แสงทวี เลขที่
14
 2.นางสาวตันหยง สุคนธา เลขที่
26
 3.นางสาวทัมรินทร์ ผูกสี เลขที่
27
 4.นางสาวรัตติกาล ขำาคม เลขที่
28
 5.นางสาวสโรชา มากระนิตย์ เลข
ที่ 33
 6.นางสาวจุฑารัตน์ ลิ้มทอว เลขที่
34
 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2
 เสนอ
 คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม

Contenu connexe

Similaire à กลุ่ม 4

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Janë Janejira
 
คำสั่งควบคุมโปรแกรม
คำสั่งควบคุมโปรแกรมคำสั่งควบคุมโปรแกรม
คำสั่งควบคุมโปรแกรม
JK133
 
การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ ppt
การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ pptการเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ ppt
การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ ppt
Aid Danuwasin
 

Similaire à กลุ่ม 4 (20)

การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำการเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำการเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
 
คำสั่งควบคุมโปรแกรม
คำสั่งควบคุมโปรแกรมคำสั่งควบคุมโปรแกรม
คำสั่งควบคุมโปรแกรม
 
4 การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ
4 การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ 4 การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ
4 การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำการเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
 
วัฒนาอ่อนนุ้ย
วัฒนาอ่อนนุ้ยวัฒนาอ่อนนุ้ย
วัฒนาอ่อนนุ้ย
 
การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ ppt
การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ pptการเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ ppt
การเขียนคำสั่งแบบวนซ้ำ ppt
 
นิพจน์ทางคณิตศาสตร์
นิพจน์ทางคณิตศาสตร์นิพจน์ทางคณิตศาสตร์
นิพจน์ทางคณิตศาสตร์
 
นิพจน์ทางคณิตศาสตร์
นิพจน์ทางคณิตศาสตร์นิพจน์ทางคณิตศาสตร์
นิพจน์ทางคณิตศาสตร์
 
9789740328766
97897403287669789740328766
9789740328766
 
9789740328766
97897403287669789740328766
9789740328766
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
 
capture 59170105 group 2
capture 59170105 group 2capture 59170105 group 2
capture 59170105 group 2
 
งานทำBlog บทที่ 4
งานทำBlog บทที่ 4งานทำBlog บทที่ 4
งานทำBlog บทที่ 4
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก ม.4/5 กลุ่ม 3
 
คำสั่งควบคุมของโปรแกรม
คำสั่งควบคุมของโปรแกรมคำสั่งควบคุมของโปรแกรม
คำสั่งควบคุมของโปรแกรม
 
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซีบทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 

Plus de Sarocha Makranit

พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
Sarocha Makranit
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
Sarocha Makranit
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
Sarocha Makranit
 
งาน ฉลองพระชันษา 100 ปี
งาน ฉลองพระชันษา 100 ปีงาน ฉลองพระชันษา 100 ปี
งาน ฉลองพระชันษา 100 ปี
Sarocha Makranit
 
Apple ลุยเทคโนโลยี 3 d
Apple ลุยเทคโนโลยี 3 dApple ลุยเทคโนโลยี 3 d
Apple ลุยเทคโนโลยี 3 d
Sarocha Makranit
 
กลุ่ม 4 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
กลุ่ม 4 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำกลุ่ม 4 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
กลุ่ม 4 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
Sarocha Makranit
 
ศิลปินรุ่นใหม่ใช้ปากกาไฮเทคแทนดินสอ
ศิลปินรุ่นใหม่ใช้ปากกาไฮเทคแทนดินสอศิลปินรุ่นใหม่ใช้ปากกาไฮเทคแทนดินสอ
ศิลปินรุ่นใหม่ใช้ปากกาไฮเทคแทนดินสอ
Sarocha Makranit
 
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษาไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
Sarocha Makranit
 
ซัมซุงครองแชมป์ตลาดสมาร์ทโฟนจีน Q1 2013
ซัมซุงครองแชมป์ตลาดสมาร์ทโฟนจีน Q1 2013ซัมซุงครองแชมป์ตลาดสมาร์ทโฟนจีน Q1 2013
ซัมซุงครองแชมป์ตลาดสมาร์ทโฟนจีน Q1 2013
Sarocha Makranit
 
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษาไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
Sarocha Makranit
 
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์
Sarocha Makranit
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Sarocha Makranit
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
Sarocha Makranit
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Sarocha Makranit
 
อินเทลโชว์ชิปใหม่
อินเทลโชว์ชิปใหม่อินเทลโชว์ชิปใหม่
อินเทลโชว์ชิปใหม่
Sarocha Makranit
 
คีย์บอร์ดแสง
คีย์บอร์ดแสงคีย์บอร์ดแสง
คีย์บอร์ดแสง
Sarocha Makranit
 
ทีวีสามมิติ ต่อเน็ตบนจอโทรทัศน์
ทีวีสามมิติ ต่อเน็ตบนจอโทรทัศน์ทีวีสามมิติ ต่อเน็ตบนจอโทรทัศน์
ทีวีสามมิติ ต่อเน็ตบนจอโทรทัศน์
Sarocha Makranit
 
ไอเซอร์เวย์
ไอเซอร์เวย์ไอเซอร์เวย์
ไอเซอร์เวย์
Sarocha Makranit
 

Plus de Sarocha Makranit (20)

พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
 
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
 
งาน ฉลองพระชันษา 100 ปี
งาน ฉลองพระชันษา 100 ปีงาน ฉลองพระชันษา 100 ปี
งาน ฉลองพระชันษา 100 ปี
 
It news
It newsIt news
It news
 
Apple ลุยเทคโนโลยี 3 d
Apple ลุยเทคโนโลยี 3 dApple ลุยเทคโนโลยี 3 d
Apple ลุยเทคโนโลยี 3 d
 
กลุ่ม 4 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
กลุ่ม 4 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำกลุ่ม 4 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
กลุ่ม 4 การเขียนคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
 
ศิลปินรุ่นใหม่ใช้ปากกาไฮเทคแทนดินสอ
ศิลปินรุ่นใหม่ใช้ปากกาไฮเทคแทนดินสอศิลปินรุ่นใหม่ใช้ปากกาไฮเทคแทนดินสอ
ศิลปินรุ่นใหม่ใช้ปากกาไฮเทคแทนดินสอ
 
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษาไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
 
ซัมซุงครองแชมป์ตลาดสมาร์ทโฟนจีน Q1 2013
ซัมซุงครองแชมป์ตลาดสมาร์ทโฟนจีน Q1 2013ซัมซุงครองแชมป์ตลาดสมาร์ทโฟนจีน Q1 2013
ซัมซุงครองแชมป์ตลาดสมาร์ทโฟนจีน Q1 2013
 
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษาไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
ไมโครซอฟท์ชู'คลาวด์'ปั้นไทยฮับการศึกษา
 
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์
เปลี่ยนสมาร์ทโฟนเป็นเครื่องวัดระดับแอลกฮอล์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
อินเทลโชว์ชิปใหม่
อินเทลโชว์ชิปใหม่อินเทลโชว์ชิปใหม่
อินเทลโชว์ชิปใหม่
 
คีย์บอร์ดแสง
คีย์บอร์ดแสงคีย์บอร์ดแสง
คีย์บอร์ดแสง
 
ทีวีสามมิติ ต่อเน็ตบนจอโทรทัศน์
ทีวีสามมิติ ต่อเน็ตบนจอโทรทัศน์ทีวีสามมิติ ต่อเน็ตบนจอโทรทัศน์
ทีวีสามมิติ ต่อเน็ตบนจอโทรทัศน์
 
ไอเซอร์เวย์
ไอเซอร์เวย์ไอเซอร์เวย์
ไอเซอร์เวย์
 
แท็บเล็ต
แท็บเล็ตแท็บเล็ต
แท็บเล็ต
 

กลุ่ม 4