SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  17
สำนักงำนหลักประกันสุขภำพแห่งชำติ
เขต 3 นครสวรรค์
นำยแพทย์ ชูชัย ศรชำนิ
ผู้อำนวยกำร สปสช. เขต 3 นครสวรรค์
chuchai.s@nhso.go.th
chuchai.sn@gmail.com
เส้นทำงสู่ควำมสำเร็จกำรควบคุมดูแลระดับน้ำตำล
และระดับควำมดันโลหิตที่เหมำะสมด้วยตนเอง
ในระดับชุมชน
โรคเบาหวานคืออะไร
โรคเบาหวานคือโรคน้าตาลในเลือดสูง เนื่องจากร่างกายไม่สามารถนา
น้าตาลไปใช้ได้ตามปกติ
 ปกติอาหารที่เรารับประทานเข้าไปจะถูกย่อยและเปลี่ยนแปลงเป็น
น้าตาลในกระแสเลือด ตับอ่อนของเราจะหลั่งฮอร์โมนชนิดหนึ่งที่
เรียกว่าอินสุลิน มานาน้าตาลเข้าสู่เซลล์เพื่อใช้เป็นพลังงาน หาก
ร่างกายขาดฮอร์โมนอินสุลินหรือมีภาวะดื้อต่อการทางานของฮอร์โมน
อินสุลิน ก็จะทาให้น้าตาลในเลือดสูงได้
 ระดับน้าตาลที่สูงนี้มีผลเสีย ทาให้เส้นเลือดทั่วร่างกายเปลี่ยนแปลงเกิด
ภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานได้
1
โรคแทรกซ้อนผู้ป่ วยเบาหวาน 1
โรคแทรกซ้อนเฉียบพลัน
 ภาวะน้าตาลในเลือดสูง มากกว่า 250 mg/dl ทาให้เกิดภาวะเลือดเป็น
กรดในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 ผู้ป่วยจะมีอาการหิวน้าบ่อย ปัสสาวะบ่อย
หอบลึก ซึม หมดสติ ส่วนในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 จะเกิดอาการชัก
กระตุกเฉพาะที่ ซึมหมดสติได้โดยเฉพาะเมื่อระดับน้าตาลในเลือดสูง
มากกว่า 600 mg/dl
 ภาวะน้าตาลในเลือดต่าคือระดับน้าตาลในเลือดต่ากว่า 70mg/dl อาการ
ขึ้นอยู่กับระดับน้าตาลในเลือดลดลงรวดเร็วหรือไม่ ผู้ป่วยจะมีอาการตัวสั่น
มือสั่น เหงื่อออก หวิวปวดศีรษะ มึนงง หมดสติได้หากมีอาการน้าตาลใน
เลือดต่าบ่อยๆ ผู้ป่วยอาจหมดสติโดยไม่มีอาการเตือนล่วงหน้าได้ 2
โรคแทรกซ้อนผู้ป่ วยเบาหวาน 2
โรคแทรกซ้อนชนิดเรื้อรัง
 โรคแทรกซ้อนของหลอดเลือดแดงขนาด
เล็ก ที่สาคัญได้แก่ โรคแทรกซ้อนเบาหวาน
ขึ้นจอประสาทตา โรคไตจากเบาหวาน และ
โรคระบบประสาทส่วนปลายจากเบาหวาน
 โรคแทรกซ้อนของหลอดเลือดแดงขนาด
ใหญ่ ที่สาคัญได้แก่ โรคเส้นเลือดหัวใจตีบ
เส้นเลือดสมองตีบและเส้นเลือดปลายเท้าตีบ
3
วิธีป้ องกันโรคแทรกซ้อนของหลอดเลือดแดงขนำดใหญ่
 ควบคุมระดับน้าตาลให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ โดย
ระดับน้าตาลก่อนอาหารเช้า 90-130
mg/dl และระดับน้าตาลสะสม <7%
 งดสูบบุหรี่
 ควบคุมระดับความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์
ปกติ (<130/80 มิลลิเมตรปรอท)
 ควบคุมระดับไขมันให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
(LDL<100 mg/dl)
 ควบคุมน้าหนักตัวไม่ให้อ้วนเกินไป
4
การรักษาเบาหวานต้องมีเป้าหมายระดับน้าตาลที่
เหมาะสมว่าจะควบคุมให้ได้เท่าไร
ได้มีการศึกษาพบว่า
- ระดับน้าตาลเช้าก่อนรับประทานอาหาร 90-130 มิลลิกรัมต่อ
เดซิลิตร โดยเฉพาะน้อยกว่า 110 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
- ระดับน้าตาลหลังรับประทานอาหารไม่เกิน 140 มิลลิกรัมต่อ
เดซิลิตร
- ระดับน้าตาลสะสม (HbA1c) <7% โดยเฉพาะน้อย
กว่า 6.5% จะยิ่งดี
5
ต้องควบคุมปัจจัยโรคแทรกซ้อนอื่นๆ ด้วย
ไขมันคลอเลสเตอรอล(Cholesterol) <200 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
ไขมันไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride) <150 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
ไขมันแอลดีแอล (LDL) <100 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
ไขมันเอชดีแอล(HDL) ชายมากกว่า 40 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตรหรือหญิง
มากกว่า 50 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
+ ระดับความดันโลหิตน้อยกว่า 130/80 มิลลิเมตรปรอท
+ ดัชนีมวลกายควรน้อยกว่าหรือเท่ากับ 23 กิโลกรัมต่อเมตร 2
+ ขนาดรอบเอวชายน้อยกว่า 90 เซนติเมตร หรือหญิงน้อย
กว่า 80 เซนติเมตร
6
ความดันโลหิตสูง
 เมื่อหัวใจบีบตัวหัวใจจะบีบเลือดไปยังหลอดเลือดแดง ทาให้เกิดความ
ดันโลหิตซึ่งเกิดจากการบีบตัวของหัวใจ และแรงต้านทานของหลอด
เลือด หัวใจคนเราเต้น 60-80ครั้ง ความดันก็จะเพิ่มขณะที่หัวใจบีบ
ตัว และลดลงขณะที่หัวใจคลายตัว ความดันโลหิตของคนเราไม่เท่ากัน
ตลอดเวลาขึ้นกับท่า ความเครียด การออกกาลังกาย การนอนหลับ แต่
ไม่ควรเกิน 140/90 หากสูงกว่านี้แสดงว่าคุณเป็นโรคความ
ดันโลหิตสูง
 โรคความดันโลหิตสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงทาให้เกิดโรคหัวใจ โรคไต โรคหลอดเลือด
หัวใจตีบ โรคอัมพาต โรคหัวใจเป็นโรคที่มีอัตราตายสูง ดังนั้นการป้องกันความ
ดันโลหิตสูงสามารถป้องกันอัตราการตายจากโรคหัวใจ และโรคอัมพาต
7
คนที่เป็นเบำหวำน ควำมดันโลหิตสูง
หรือโรคเรื้อรังอื่น ....เป็นแล้ว... อยำกได้อะไร ???
งานวิจัยทางสังคม
8
ความสัมพันธ์เชิงเยียวยาต่อเนื่องกับทีมที่เอาใจใส่
และองค์กรในสังคมที่เอื้ออาทรต่อ
ภาวะทางกาย จิตใจ การเข้าสังคม และภูมิปัญญา
A “continuoushealingrelationship”witha careteamandpracticesystemorganizedto meettheir
needs
กำรจัดกำรโรคและควำมเจ็บป่ วยด้วยตนเอง (Self-management)
คืออะไร ?
 เป็นกระบวนการแบบกระตือรือร้น
กระหายใคร่อยากจะมีชีวิตที่ดีอยู่กับโรค
เรื้อรัง ด้วยตัวผู้ป่วยเอง ครอบครัวเอง
 การส่งเสริมสนับสนุนจากสังคมรอบ
ข้าง (Social support) เพื่อการ
จัดการบริการสุขภาพตนเองได้อย่าง
มั่นใจ เป็นเรื่องที่สาคัญมาก โดยเฉพาะ
สังคมไทย
Not Good
Good Control 6
A1c
13
12
7
5
8
11
9
120
180
210
270
300
360
90
150
14
330
10 240
Poor Control
Pretty Good
Know Your Number
เรื่องรำวของกำรจัดกำรโรคและควำมเจ็บป่ วยด้วยตนเอง
1. การส่งเสริมสุขภาพวิธีต่างๆ วิถีต่างๆ เพื่อลดความเสี่ยง
2. การตัดสินใจด้วยตนเองเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องเป็นไป
ตามหลักวิชา
3. จัดการตามติด ติดตามกับแผนการรักษา
4. การจัดการเกี่ยวกับยา อุปกรณ์เครื่องการดูแลรักษาสุขภาพ
10
Diabetes - Self-Monitoring of Blood Glucose
(SMBG) การจัดการควบคุมโรคเบาหวาน (+ ความดันเลือดสูง) ด้วยตนเอง
SMBG เป็นความก้าวหน้าของการดูแลและจัดการสุขภาพเกี่ยวกับ
โรคเบาหวาน และมีประโยชน์ในการป้องกันโรคแทรกซ้อนจากเบาหวาน
ด้วยความก้าวหน้าของเครื่องตรวจที่ง่ายขึ้น ถูกต้องแม่นยาขึ้น และ
ความสามารถของผู้ป่วยและครอบครัว ผู้ป่ วยและญาติสามารถดูจัดการ
ควบคุมกากับระดับน้าตาลได้ด้วยตนเองที่บ้าน เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงก็
สามารถสื่อสารกับผู้ให้บริการได้โดยไม่ต้องเดินทางไปที่โรงพยาบาลเพื่อ
เปลี่ยนแปลงการรักษาหรือยาบ่อยนัก
11
เส้นทำงสู่ควำมสำเร็จกำรควบคุมดูแลระดับน้ำตำล
และระดับควำมดันโลหิตที่เหมำะสมด้วยตนเอง
ในระดับชุมชน
12
ผู้ป่ วยและครอบครัวผู้ดูแล
อสม. ผู้นำชุมชน พระ ครู นำยก อบต.
เทศมนตรี ... “กองทุนหลักฯ”
เชิงรุกไปที่คนเสี่ยงสูง
Outreach to & engagement of
high risk populations
ผลักดัน นโยบำยชุมชนสุขภำวะ
Advocate for policies that improve health
HEALTHCARE
ORGANIZATIONS
คืนข้อมูลสู่ชุมชน
Clinical
Information
Systems
Informed
Activated
Patient
Activated
Community
Prepared
Proactive
Practice
Team
Prepared
Proactive
Community
Partners
ปฏิสัมพันธ์เชิงสร้ำงสรรค์
ต่อกันProductive
Interactions &
Relationships
เบำหวำน ควำมดันโลหิตสูงควบคุมได้ ใช้ชีวิตในชุมชน สังคมยุคใหม่ อย่ำงปกติสุข มั่นใจในกำรสร้ำงผลิต
ภำพแก่สังคม
ช่วยคนไข้ “ให้ไปถึงบริกำร”
Provide gap-filling and linkage
services
จัดโปรแกรมรณรงค์สม่ำเสมอ
ทั้งปี = ตำ ไต หัวใจ เท้ำ
Offer proven, effective programming
เพิ่มเสริมสนับสนุนอุปกรณ์ บริกำร
เสริม Increase access to benefits
and services
ช่วยส่งเสริมสนับสนุนให้มีกำรดูแล
ตนเองได้
Self Management
Support
คำแนะนำแนวทำงที่ช่วยให้ตัดสินใจเกี่ยวกับยำ
และกำรปฏิบัติตัว
ป้ องกันควำมเสี่ยงที่ง่ำย
Decision
Support
ออกแบบ
ระบบ รพ.ให้เชื่อมกันกับ รพ
สต. อสม..
Delivery System Design
ร้อยละของผู้ป่ วยเบำหวำนชนิดที่ 2 ที่มีระดับ Hb A1C
<7% จำแนกตำมเขตสปสช. 2553 - 2554
44.4 44.1
42.4
38.6 38.2
37.4 36.7
34.3 34.0 33.6
29.7
28.1
24.9
41.0
39.4 38.9
35.6
38.1 38.8 38.1 37.5
35.8
32.1
29.5
25.8
24.6
-
5.0
10.0
15.0
20.0
25.0
30.0
35.0
40.0
45.0
50.0
3 นส 13 กทม 4 สบ 5 รบ 9 นม 6 รย 2 พล 1 ชม 11 สฏ 12 สข 8 อด 10 อบ 7 ขก
2553 2554
0.0
10.0
20.0
30.0
40.0
50.0
60.0
70.0
80.0
10 อบ 1 ชม 7 ขก 9 นม 8 อด 2 พล 5 รบ 6 รย 3 นส 4 สบ 11 สฏ12 สข 13
กทม
2553
2554
ร้อยละของผู้ป่ วยโรคควำมดันโลหิตสูง ที่สำมำรถควบคุมควำมดันโลหิตอยู่ใน
เกณฑ์ที่เหมำะสม จำแนกตำมเขต สปสช 2553 - 2554
นำยแพทย์ ชูชัย ศรชำนิ
chuchai.s@nhso.go.th

Contenu connexe

Tendances

ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงTuang Thidarat Apinya
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองCAPD AngThong
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวานiceconan25
 
โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงbird090533
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วนsumethinee
 
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงMetabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงUtai Sukviwatsirikul
 
งานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานงานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานMuay Muay Somruthai
 
การรักษาโรคอ้วน
การรักษาโรคอ้วนการรักษาโรคอ้วน
การรักษาโรคอ้วนKhunchit Krusawat
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559CAPD AngThong
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpointnin261
 
อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียน
อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียนอาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียน
อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียนCaween Queen
 
การแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกายการแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกายNett Parachai
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานyadatada
 
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง Tuang Thidarat Apinya
 

Tendances (20)

ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูงขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวาน
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูง
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วน
 
Cpg obesity
Cpg obesityCpg obesity
Cpg obesity
 
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงMetabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วนโครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ โรคอ้วน
 
งานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานงานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวาน
 
การรักษาโรคอ้วน
การรักษาโรคอ้วนการรักษาโรคอ้วน
การรักษาโรคอ้วน
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียน
อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียนอาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียน
อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียน
 
การแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกายการแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกาย
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 

Similaire à เส้นทางสู่ความสำเร็จSmbg

โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาทโปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาทโฮลลี่ เมดิคอล
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วนsumethinee
 
อาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดอาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดVorawut Wongumpornpinit
 
Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01vora kun
 
Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Aimmary
 
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdfคู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdfSakarinHabusaya1
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาแนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555Utai Sukviwatsirikul
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003maprang1962
 
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)Wan Ngamwongwan
 
คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdf
คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdfคู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdf
คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdfVorawut Wongumpornpinit
 

Similaire à เส้นทางสู่ความสำเร็จSmbg (20)

โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาทโปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
โปรแกรมตรวจสุขภาพ 13 รายการ 999 บาท
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วน
 
อาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดอาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือด
 
Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01
 
หมอครอบครัว ระบบยาชุมชน
หมอครอบครัว  ระบบยาชุมชนหมอครอบครัว  ระบบยาชุมชน
หมอครอบครัว ระบบยาชุมชน
 
Precision medicine
Precision medicinePrecision medicine
Precision medicine
 
Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334
 
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdfคู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตาแนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
แนวทางการตรวจคัดกรองและการดูแลรักษาโรคเบาหวานเข้าจอประสาทตา
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
 
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
 
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
แนวทางเวชปฎิบัติสำหรับโรคเบาหวาน จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2555
 
Cpg เบาหวาน 2560
Cpg เบาหวาน 2560Cpg เบาหวาน 2560
Cpg เบาหวาน 2560
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003โรคเบาหวาน2003
โรคเบาหวาน2003
 
Guideline diabetes-care-2017
Guideline diabetes-care-2017Guideline diabetes-care-2017
Guideline diabetes-care-2017
 
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
 
4 0
4 04 0
4 0
 
คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdf
คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdfคู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdf
คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง (2555).pdf
 

Plus de สปสช นครสวรรค์

คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นวคำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นวสปสช นครสวรรค์
 
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จสปสช นครสวรรค์
 
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์สปสช นครสวรรค์
 
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 5618 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56สปสช นครสวรรค์
 
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)สปสช นครสวรรค์
 
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภทประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภทสปสช นครสวรรค์
 
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภทประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภทสปสช นครสวรรค์
 

Plus de สปสช นครสวรรค์ (20)

3ข่าวรับฟังความคิดเห็น
3ข่าวรับฟังความคิดเห็น3ข่าวรับฟังความคิดเห็น
3ข่าวรับฟังความคิดเห็น
 
~$Poster รับฟังความคิดเห็น
~$Poster รับฟังความคิดเห็น~$Poster รับฟังความคิดเห็น
~$Poster รับฟังความคิดเห็น
 
Ad
AdAd
Ad
 
Ad
AdAd
Ad
 
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นวคำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
คำสั่งแต่งตั้ง นพ.วงษ์สวัสดิ์ ตันวิสุทธิ์ ในตำแหน่ง ผอ.สปสช. เขต 3 นว
 
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
ยูเอ็นเรียกร้องทุกประเทศจัดหลักประกันสุขภาพให้ประชาชน ยกไทยต้นแบบความสำเร็จ
 
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
121113สปสช.ขู่สอบรพ.เบิกเงินเกินจริง เดลินิวส์
 
ประกาศฯ(ฉบับที๒)
ประกาศฯ(ฉบับที๒)ประกาศฯ(ฉบับที๒)
ประกาศฯ(ฉบับที๒)
 
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
ผลสำรวจ สำนักงานสถิติ Oct55
 
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 5618 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
18 oct 55 แนวทางการบริหารงบ tb ปี 56
 
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
023125 กค(การระบุเหตุผลการใช้ยานอกบัญชียาหลัก)
 
18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต
18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต
18 oct12 การจัดทำแผนเอดส์56เขต
 
ประกาศจากสำนักกฎหมาย
ประกาศจากสำนักกฎหมาย ประกาศจากสำนักกฎหมาย
ประกาศจากสำนักกฎหมาย
 
ประกาศแก้ไขบุคคลภายนอก
ประกาศแก้ไขบุคคลภายนอกประกาศแก้ไขบุคคลภายนอก
ประกาศแก้ไขบุคคลภายนอก
 
ประกาศฯบริหารจัดการปี ๕๕
ประกาศฯบริหารจัดการปี ๕๕ประกาศฯบริหารจัดการปี ๕๕
ประกาศฯบริหารจัดการปี ๕๕
 
Aidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวมAidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวม
 
Aidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวมAidsปี56สรุปภาพรวม
Aidsปี56สรุปภาพรวม
 
Gnewvb01 090401013958-phpapp01
Gnewvb01 090401013958-phpapp01Gnewvb01 090401013958-phpapp01
Gnewvb01 090401013958-phpapp01
 
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภทประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
ประกาศกระทรวงพม เรื่องประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ6ประเภท
 
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภทประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
ประกาศกระทรวงพม ประเภทและหลักเกณฑ์ความพิการ7ประเภท
 

เส้นทางสู่ความสำเร็จSmbg