SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
Télécharger pour lire hors ligne
พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 1
บทที่ 3
มาตรฐานทางจริยศาสตร์
1.มาตรฐานทางจริยธรรม
มาตรฐานสาหรับวัดความดี มีทฤษฎีทางจริยศาสตร์ที่สาคัญๆ กล่าวไว้ 4 ทฤษฎี ได้แก่
หน้าที่เป็นมาตรฐานทางจริยธรรม ความสุขเป็นมาตรฐานทางจริยธรรม ความอยู่รอดเป็น
มาตรฐานทางจริยธรรม และการพัฒนาตนเองเป็นมาตรฐานทางจริยธรรม ดังนี้
1. หน้าที่เป็นมาตรฐานทางจริยธรรม คาว่า “หน้าที่” มี 2 แนวคิดที่เสนอเรื่องนี้ คือ
ลัทธิของค้านท์ กับพระพุทธศาสนา ลัทธิของค้านท์ได้เสนอว่า หน้าที่คือมาตรฐานในการวัดความ
ดี ลัทธินี้ตั้งสมมติฐานว่า หน้าที่ได้ถูกกาหนดด้วยเหตุผล เหตุผลมาจากศีลธรรม ในขณะที่ศีลธรรม
มาจากกฎศีลธรรม และกฎศีลธรรมมาจากกฎสากล ใครปฏิบัติตามหน้าที่ ถือว่าได้ปฏิบัติตามกฎ
สากล แต่การจะปฏิบัติตามหน้าที่จะต้องมีเจตนาดี คาว่า “เจตนาดี” ของค้านท์ คือเจตนาปฏิบัติ
ตามหน้าที่เท่านั้น ไม่เหมือนกับเจตนาดีตามหลักพระพุทธศาสนา ในทัศนะของค้านท์ ใครปฏิบัติ
ตามหน้าที่ ถือว่ามีเจตนาดีและถือว่าเจตนาดี เป็นเกณฑ์ตัดสินความดีได้ แต่ถ้าถามว่า กฎสากล
ของค้านท์ คืออะไร ค้านท์ตอบว่า กฎสากลคือกฎที่ทุกคนยอมรับ เมื่อท่านคิดที่จะทาอันใด ต้อง
คิดเสมอว่า การกระทาอันนั้นทุกคนยอมรับได้หรือไม่ หน้าที่และเจตนาดีในทางพระพุทธศาสนา
หน้าที่เป็นเพียงกิจกรรมที่ควรกระทาของบุคคลต่อบุคคลหรือกลุ่มชน เช่นหน้าที่ของพ่อที่มีต่อลูก
หน้าที่ของลูกที่ปฏิบัติต่อพ่อฯลฯ ส่วนเจตนาในทางพระพุทธศาสนาถือว่า เป็นตัวกาหนดกรรม
(เจตนาห ภิกฺขเว กมฺม วทามิ) ถ้ามีเจตนา ถือว่าเป็นกรรม เจตนาของพระพุทธศาสนากว้างกว่าของ
ค้านท์ เจตนาดีของค้านท์ต้องปฏิบัติตามหน้าที่ หรือเรียกว่า ปฏิบัติตามหน้าที่เพื่อหน้าที่มนุษย์ใน
ทัศนะของค้านท์จึงมีมุมองว่าเป็นมนุษย์หุ่นยนต์
2. ความสุขเป็นมาตรฐานทางจริยธรรม แนวคิดนี้ถือว่า การกระทาใดที่ก่อให้เกิด
ความสุข การกรทานั้นดี จะไม่คานึงว่า คุณจะมีเจตนาดีหรือไม่ดี คุณจะปฏิบัติตามหน้าที่หรือไม่
ผลการกระทาที่ออกมาเป็นความสุขเป็นประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่นถือว่าเป็นความดีในทางตรงกัน
ข้าม การกระทาโดยก่อให้เกิดความทุกข์ทั้งแก่ตนเองและผู้อื่น ถือเป็นความชั่วแนวคิดนี้ เน้นผล
การกระทาเป็นมาตรฐาน
3. ความอยู่รอด การรักษาตัวให้อยู่รอด หรือภาษิตที่ว่า “รักษาตัวรอดเป็นยอดดี”
แนวคิดนี้ถือว่า การรักษาตัวรอด หรือการปรับตัวให้เข้ากับคนอื่นได้ เป็นมาตรฐานการตัดสินความ
ดีและความชั่ว ความชั่ว ความถูกและชั่ว ความถูกและความผิด คล้ายแนวความคิดของ ดาร์วิน
ที่ว่า ผู้แข็งแรงเท่านั้นที่จะอยู่รอดได้ มีความคิดขัดแย้งกันอยู่ 2 ทาง คือ อยู่ดีกว่าตาย กับตาย
ดีกว่าอยู่ เป็นหางราชสีห์ที่ตายแล้ว ยังดีกว่า เป็นหัวสุนัขที่ยังมีชีวิตอยู่ หรือเป็นหัวของสุนัขที่มี
ชีวิตอยู่ดีกว่าเป็นหัวราชสีห์ที่ตายแล้ว ก็แล้วแต่จะคิดและเลือกที่จะทาอย่างใดอย่างหนึ่งที่คิดว่าดี
สาหรับตนเอง
พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 2
4. การพัฒนาตนเป็นมาตรฐานทางจริยธรรม แนวคิดนี้ ถือว่าการพัฒนาตนเอง เป็น
มาตรฐานการตัดสินความดี ความชั่ว ความผิด และความถูก การพัฒนาคือการทาให้ดีกว่าเดิม
ดีกว่า ดีกว่า จนถึงดีที่สุด โดยธรรมชาติการกระทาของมนุษย์ มีอยู่ 2 ทางคือ ไม่ทาดีก็ทาเลว
หรือทาผสมผสานกันทั้งดีและเลว แต่แนวคิดนี้ ตั้งเป้าหมายไว้ให้มนุษย์ดาเนินไป ใครกระทาที่
เกิดผลสอดคล้องกับเป้าหมาย บรรลุเป้าหมายโดยลาดับจากน้อยไปหามาก จากต่าไปหาสูง จาก
ง่ายไปหายาก ฯลฯ ถือเป็นการพัฒนา พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) เคยเสนอคาตอบปัญหา
ว่า มนุษย์ควรเกิดมาเพื่ออะไร ท่านตอบว่ามนุษย์เกิดมาเพื่อพัฒนากรรม คือการพัฒนากรรมดีให้ดี
ขึ้น จนกว่าจะบรรลุถึงความดีสูงสุด (นิพพานป เมื่อถึงก็ถือว่า พ้นความดี ความชั่ว (คณาจารย์มหา
จุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย,25519-10)
2. องค์ประกอบของจริยธรรมที่สมบูรณ์
1. ความเป็นผู้มีความสมบูรณ์ด้วยความรู้ (Good Knowledge) ผู้มีความรู้ความ
เข้าใจในศาสตร์ความประพฤติจึงจาเป็นต้องมีความรู้ในเรื่องของความประพฤติ โดยเฉพาะการรู้ว่า
การประพฤติแบบไหนคือการประพฤติดีและแบบในคือความประพฤติชั่ว มีความเข้าใจในเนื้อหา
ของความถูกผิดของการกระทา
2. ความเป็นผู้มีเหตุผลที่สมบูรณ์() ความเป็นผู้เข้าใจในเหตุผล และมีเหตุผลในการ
กระทามีการไตร่ตรองก่อนกระทาทุกครั้งและมองเห็นผลที่เกิดขึ้นจากการกระทาทุกครั้ง โดยอ้าง
เหตุผลในเชิงจริยธรรมทุกครั้งเมื่อกระทาและหลังการกระทา
3. ความเป็นผู้มีเจตคติที่ดี (moral attitude and belief) ความพึงพอใจความ
ศรัทธา เลื่อมใส เกิดความนิยมยินดีที่จะรับนาเอาจริยธรรมมาเป็นแนวทางประพฤติปฏิบัติ ผู้ที่จะ
เป็นผู้มีจริยธรรมที่สมบูรณ์นั้นจะต้องเป็นผู้เจตคติที่ดีต่อศีลธรรมหรือจริยธรรม เช่น ชาวพุทธ มี
ความเชื่อว่า ทาดี ย่อมได้ ทาชั่ว ย่อมได้ผลแห่งกรรมชั่ว ทุกครั้งไป เชื่อว่าบาป บุญมีจริง เจตคติ
เช่นนี้ถือว่ามีความเชื่อในเบื้องต้นว่าคุณค่าทางจริยธรรมมีจริง บุคคลนั้นๆจึงจะปฏิบัติตามหลัก
จริยธรรมที่ตนยอมรับได้อย่างได้ผล
4. ความเป็นผู้มีความประพฤติดี(moral conduct) ส่วนประกอบด้านพฤติกรรมที่
แสดงออก คือพฤติกรรมการกระทาที่บุคคลตัดสินใจกระทาถูกหรือผิดในสถานการษณ์แวดล้อม
ต่างๆ เชื่อว่าอิทธิพลส่วนหนึ่งของการกระทาหรือไม่กระทาพฤติกรรมแบบใดแบบหนึ่ง ขึ้นอยู่กับ
อิทธิพลของส่วนประกอบที่กล่าวแล้ว และบางส่วนอาจเกิดขึ้นกับองค์กระกอบอื่นๆเช่น ลักษณะ
จิตวิทยาบางประการของบุคคลนั้นๆ หรือความรุนแรงบีบคั้นนของสถานการณ์ที่รุมเร้าบุคคลนั่นอีก
ด้วย ถ้าบุคคลมีความรู้ดี มีการศึกษาสูง เข้าใจในเรื่องของจริยธรรมว่ามีคุณค่า เป็นผู้เหตุมีผลใน
เชิงจริยธรรมเป็นอย่างดี เจคติที่ดีต่อจริยธรรมแล้วนั้น ยังไม่พอแต่ต้องเป็นผู้มีความประพฤติดี ถ้า
ในทางพระพุทธศาสนาท่านใช้คาว่า บุคคลผู้ที่จะเป็นผู้ประเสริฐได้นั้นต้องเป็นผู้มีความถึงพร้อมด้วย
วิชาความรู้ความเข้าในทั้งในทางโลกและทางแล้วยังต้องเป็นผู้มีความประพฤติดีด้วยใน
องค์ประกอบของจริยธรรมที่สมบูรณ์แม้จะมีความสาคัญทุกข้อแต่ข้อที่บุคคลมีความประพฤติดีถือ
ว่าเป็นข้อสาคัญที่สุด
พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 3
นอกจากนั้นพฤติกรรมของมนุษย์ยังมีพื้นฐานทางจิตวิทยาของจริยศาสตร์ การกระทา
ต่าง ๆเราไม่อาจพิจารณาตัดสินในทางศีลธรรมได้ในทุกกรณีไป เช่น การทาของเด็กไร้เดียงสา คน
บ้า คนเสียสติ เป็นต้น ดังนั้น การพิจารณาตัดสินทางจริยธรรมจึงจาเป็นต้องคานึงถึงความพร้อม
หรือสภาพจิตใจของผู้กระทาการในขณะนั้น ๆด้วย ซึ่งมีประเด็นสาคัญควรพิจารณาดังนี้
1. เจตนา (Will) หรือความจูงใจ คือการกระทาโดยเจตนา และเจตนาในที่นี้เกิดจาก
ความต้องการ ความอยากและความปรารถนา
2. แรงจูงใจ (Motive) คือแรงจูงใจหรือสิ่งจูงใจให้บุคคลกระทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง มิลล์ก
ล่าวว่า แรงจูงใจคือความรู้สึกที่ทาให้บุคคลจงใจทา แมคแคนซี่ กล่าวว่า แรงจูงใจในการกระทาที่
แท้จริง คือ ความรู้เห็นในจุดหมายคือ ความคิดเกี่ยวกับจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน กรีน กล่าวว่า
แรงจูงใจคือจุดมุ่งหมายซึ่งชักนาไปสู่การกระทาให้เป็นจริง
3. นิสัย (Habit) คือผลของการกระทาซ้า ๆในเรื่องใดเรื่องหนึ่งด้วยความสมัครใจหรือ
ตั้งใจ เมื่อการกระทาใดกลายเป็นนิสัยแล้ว ก็เป็นการกระทาโดยไม่ต้องพยายามหรือตั้งใจ
4. อุปนิสัย (Character) คือความโน้มเอียงทางจิตใจอย่างถาวรของจิตใจ เป็นผล
สืบเนื่องจากนิสัยและความจูงใจ
5. สถานการณ์หรือสิ่งแวดล้อม (Circumstances) คือเหตุการณ์หรือสิ่งแวดล้อมซึ่ง
มีอิทธิพลต่อการกระทาของมนุษย์ ซึ่งอาจเป็นบุคคล สังคม เหตุการณ์ ธรรมชาติเป็นต้น(ศรัณย์
วงศ์คาจันทร์,2526:152-155)
3. มาตรรวัดทางจริยธรรม
สาหรับการตัดสินคุณค่าของชีวิตและความเป็นมนุษย์ ส่วนใหญ่จะปรากฏอยู่ในแนวคิด
มนุษยนิยม (Humanism) เป็นกลุ่มนักคิดหนึ่งทางปรัชญา โดยเน้นการยกย่องศักดิ์ศรีและคุณค่า
ของมนุษย์ให้อยู่เหนือสิ่งอื่นใด ไม่ว่าจะเป็นสสารวัตถุ หรือเทพเจ้าต่าง ๆ แนวคิดที่กล่าวถึงคุณค่า
ของมนุษย์ประกอบด้วย
1. มนุษย์เป็นภาวะที่สูงส่งที่สุดในโลก ทั้งในแง่ของสติปัญญาแลเอารมณ์ ความรู้สึก
แนวคิดนี้เห็นว่มีแต่มนุษย์เท่านั้นที่สามารถประเมินคุณค่าของสิ่งต่าง ๆ ในอดีตนักปรัชญาชาวกรีก
ชื่อ โปรธากอรัส (Prothagorus) ได้กล่าวว่า “มนุษย์เป็นเครื่องวัดสรรพสิ่ง” (Man is the
Measure of All Things) จากพื้นฐานความคิดนี้นามาสู่ความคิดที่ว่า เมื่อมนุษย์เป็นรูปแบบของ
สติปัญญาเพียงรูปแบบเดียวในโลกที่สามารรถประเมินคุณคร่าได้ ดังนั้น มนุษย์จึงอยู่ในฐานะของผู้
ทรงคุณค่าเช่นเดียวกัน และต้องถือว่ามีคุณค่าสูงสุดเพราะเป็นผู้กุมอานาจเด็ดขาดในการตัดสินต่าง
ๆ เช่น นางงามจักรวาล (Miss Universe) ได้รับอิทธิพลจากแนวคิดที่เชื่อว่า มนุษย์เป็นผู้ตัดสินทุก
สิ่งทุกอย่าง ไม่เพียงแต่ในโลกเท่านั้น แต่เป็นถึงระดับจักรวาล หมายถึง แม้ว่าจะมีสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ใน
เอกภพนี้ แต่ก็ไม่มีความสามารถในการตัดสินคุณค่าของความงามได้เทียบเท่ากับการตัดสินของ
มนุษย์
2. มนุษย์มีคุณค่าในตนเอง นักปรัชญาบางคนเห็นว่า มนุษย์ทุกคนมีคุณค่าแห่งความ
เป็นมนุษย์ แม้จะยังไม่ได้แสดงออกมาเป็นคุณค่าสะสม นักปรัชญากลุ่มนี้เห็นว่า มนุษย์มีศักยภาพ
แห่งความเป็นมนุษย์อย่างเท่าเทียมกัน ต่างกันแต่โอกาสที่จะแสดงออกซึ่งคุณค่าแห่งตนเท่านั้น นัก
ปรัชญาสายนี้มีแนวโน้มในการให้โอกาสในการแสดงออกของทุก ๆ คน และแนวคิดนี้สอดคล้อง
สัมพันธ์กับเรื่องสิทธิมนุษยชน (Human Right)
พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 4
3. มนุษย์อยู่กึ่งกลางและอยู่ในความพอดี ในทัศนะของ แสง จันทร์งาม (2535) กล่าว
โดยสรุปว่า ชีวิตมนุษย์เป็นชีวิตที่มีคุณค่าที่สุดในบรรดาภาวะทั้งหลาย ตามคัมภีร์และความเชื่อทาง
ศาสนาพุทธ เทวดาและเทพธิดาบนสรวงสวรรค์นั้นเป็นภาวะที่มีความสุขจนไม่มีเรื่องที่จะตั้งคาถาม
หรือไม่มีปัญหาชีวิตใด ๆ ส่วนสัตว์เดรัจฉาและสัตว์นรกต่าง ๆ อยู่ในภาวะที่เต็มไปด้วยความทุกข์
ทรมาน จนไม่มีเวลาคิดแก้ปัญหาความทุกข์ยาก จึงมีแต่มนุษย์ที่อยู่กึ่งกลาง พบทั้งความสุขและ
ความทุกข์ ซึ่งท่านอธิบายว่าเป็นเหตุให้ภพมนุษย์นั้นเมาะสมที่สุดในการแสวงหา ความรู้เพื่อสิ่งที่
ดีกว่าสาหรับชีวิต คือความหลุดพ้นจากความทุกข์อย่างถาวร กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือมนุษย์มีคุณค่าสูง
กว่าสิ่งอื่น ไม่ว่าจ้ะเป็นพวกเทวดา นางฟ้า ที่มีความสุขมากเกินไป หรือสัตว์เดรัจฉาน สัตว์นรกทีมี
ความทุกข์มากเกินไป
มาตรวัดของจริยธรรมของแต่ละคนแต่ละสังคมย่อมมีความแตกต่างกันออกไป แต่มาตร
วัดสามารถแยกออเป็น 3 ส่วน คือ อะไรดีไม่ดีถูกไม่ถูกไม่ถูกควรไม่ควรให้ใช้ตัวเองเป็นผู้ตัดสิน
ในทางพระพุทธศาสนาใช้คาว่า พึงตรวจสอบตนเองด้วยตัวเราเอง ให้มโนธรรมเป็นเครื่องตัดสิน(หิริ
และโอตตัปปะ)ของตนเอง ตนเองกระทาแล้วรู้สึกดี คนอื่นที่ถูกกระทามีความรู้สึกดีมีความสุข
หรือไม่ (ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น ใช้เกณฑ์ที่เป็นที่สังคมยอมรับที่เป็นสากลมาเป็นเครื่องวัดว่า
การกระทานั้นถูกหรือผิด ไม่ใช่ความเชื่อหรือความคิดเห็นของคนบางกลุ่มเท่านั้น เช่น การยึดหลัก
สิทธิมนุษยชนสากล เป็นต้น ใช้กฎระเบียบ ประเพณีของสังคม วัฒนธรรมของสังคมเป็นเครื่อง
ตัดสิน
คุณค่า (Value) หมายถึงคุณสมบัติที่ได้จากการประเมินแง่ใดแง่หนึ่งของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
เช่น ความงาม ความไพเราะ เป็นคุณค่าทางศิลปะ ความดี ความถูกต้อง เป็นคุณค่าทาง
จริยธรรม ความมีประโยชน์เป็นคุณค่าทางเศรษฐกิจ โดยปกติในชีวิตประจาวัน มนุษย์ต้องการ
ตัดสินใจเลือกสิ่งต่างๆ ซึ่งอาจเป็นวัตถุ ตัวบุคคล แนวคิด วิชาชีพ การกระทา ซึ่งในการตัดสินใจ
เลือกดังกล่าวย่อมแฝงด้วยการให้คุณค่าแก่สิ่งต่างๆเหล่านั้น เช่น บางคนเลือกปลูกดอกกุหลาบ
เพราะสวยงามมีกลิ่นหอม บางคนเลือกซื้อดอกชบาเพราะสีสันสดใสและรูปดอกแปลกตา บางคน
ชอบอยู่บ้านทรงยุโรปซึ่งดูสวยงามโอ่อ่า บางคนชอบอยู่บ้านทรงไทยแถบชานเมืองที่เงียบสงบ บาง
คนเลือกเรียนพยาบาล บางคนเลือกเรียนครู บางคนเลือกอาชีพครู ฯลฯ การตัดสินใจเลือกดังกล่าว
เกิดขึ้นจากการประเมินหรือการให้คุณค่าแก่สิ่งต่าง ๆตามความรู้สึก ตามเหตุผล ตามความคิดของ
บุคคลแต่ละคน การตัดสินใจเลือกโดยการให้คุณค่าดังกล่าวนี้มีผลต่อวิถีการดาเนินชีวิต พฤติกรรม
ตลอดจริยธรรมของบุคคลประเภทของคุณค่าสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ที่เราประจักษ์
กัน
1. คุณค่าส่วนบุคคล (Personal Value) บุคคลจะซึมซับเอาคุณค่าจากสังคม กลุ่มคน
เข้ามาไว้เป็นคุณค่าภายในตน
1.2 คุณค่าภายนอก (Extrinsic Value) เช่น วัตถุ เงิน
1.3 คุณค่าภายใน (Intrinsic Value) เช่น จิตใจ ความรู้สึก
1.4 คุณค่าทางความคิด เหตุผล หรือคุณค่าทางสติปัญญา (Thinking) เช่น การ
หาคาอธิบาย ที่สมเหตุสมผล ฯ
1.5 คุณค่าทางอารมณ์ความรู้สึก (Felling) การตอบสนอง ฯ
1.6 คุณค่าทางความดีงาม หรือเจตนารมณ์อันดี (Willing) คือการตอบสนอง
ความสานึกเกี่ยวกับความดีงามหรือจิตใจ
พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 5
2. คุณค่าแห่งวิชาชีพ (Professional Value) เป็นคุณค่าที่วิชาชีพนั้น ๆ ให้
ความสาคัญ ได้จาก
2.1 การเรียนรู้เป็นทางการ เช่น จรรยาบรรณวิชาชีพในห้องเรียน
2.2 การรู้อย่างไม่เป็นทางการ เช่น การสังเกตจากอาจารย์
2.3 คุณค่าแห่งวิชาชีพที่สาคัญที่สุด คือ ความรับผิดชอบ
กระบวนการของการให้คุณค่าเริ่มจาก การเลือก การรู้สึกยอมรับ และการปฏิบัติ ซึ่งเขียน
แสดงได้ดังนี้ การเลือกคุณค่า การยอมรับคุณค่า การ
ปฏิบัติตามคุณค่า
การเลือกคุณค่าของบุคคลแม้จะมีความแตกต่างกันแต่ละบุคคลเฉพาะตัว แต่การ
ตัดสินใจเลือกคุณค่าย่อมมีพื้นฐานมาจากความรู้ ความเชื่อ ค่านิยม ทัศนคติ ศาสนา วัฒนธรรม
อันเป็นองค์ประกอบสาคัญของความเป็นมนุษย์ การเข้าใจในเรื่องของคุณค่า การให้คุณค่าและการ
เลือกคุณค่าของบุคคลหรือการทาค่านิยมให้กระจ่าง (Value clarification) จึงเป็นสิ่งสาคัญสาหรับ
ผู้ประกอบอาชีพ (ศิวลี สิริไล,2542:72-73)
ในช่วงแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 19 คาว่า “คุณค่า” เป็นศัพท์เฉพาะของวิชา
เศรษฐศาสตร์ หมายถึงราคาหรือเชิงปริมาณ (Worth) ต่อมานักปรัชญาชาวเยอรมันกลุ่มหนึ่ง
สังเกตพบว่า ปัญหาทางปรัชญาบางเรื่องในอดีต เช่น ปัญหาเรื่องความดี(Good) ความถูก ( Right
)การตัดสินจริยธรรม ( Moral Judgment ) ความงาม (Beauty ) การตัดสินความสุนทรีย์ (
Aesthetic judgment ) ความจริง (Truth) หรือความสมเหตุสมผล (Validity) ล้วนแล้วแต่เป็น
ปัญหาลักษณะมีเนื้อหารวมกัน ได้แก่การกล่าวถึง สิ่งควรจะเป็น( What it ought to Be) ซึ่ง
แตกต่างจากข้อเท็จจริง (Fact) หมายถึงสิ่งที่กาลังเป็น ( What It Is ) สิ่งที่เคยเป็น( What Is
was)หรือสิ่งจะต้องเป็น (What It will Be ) สิ่งที่ควรจะเป็นนี้เองเป็นสิ่งที่มีคุณค่า
ความแตกต่างระหว่างคุณค่ากับเท็จจริง ยกตัวอย่างโดยการเปรียบเทียบกับสิ่งที่พบเห็น
ได้ชัดเจนในชีวิตประจาวัน ได้แก่ สมมติในวงสนทนาหนึ่ง มีการพูดคุยถึงเรื่องของปากกาว่าดังนี้
ปากกาสอบด้าม ด้ามหนึ่งสีดา ด้ามหนึ่งสีแดง ด้ามสีดายาว 15 เซนติเมตร ด้ามสีแดง
ยาว 13 เซนติเมตร แล้วมีคนตั้งคาถามง่าย ๆว่ ด้ามไหนมีความยาวกว่ากัน คาถามนี้เราสามารถ
ตอบได้ทันที่ว่า ด้ามสีดายาวกว่าด้ามสีแดง เพระเราสามารถตัดสินได้ด้วยการใช้ไม้บรรทัดวัดความ
ยาวของมันได้ แต่ถ้ามีเพื่อนอีกคนหนึ่งถามขึ้นมาว่า ระหว่างปากกาสีดากับปากกาด้ามสีแดง สอง
ด้ามนี้ด้ามไหนเขียนได้สวยกว่ากัน คาถามนี้เพื่อนในวงเหล้าจะตอบอย่างไร?
นี้คือความแตกต่างระหว่างข้อเท็จจริง(Fact) กับคุณค่า (Value) กล่าวคือข้อเท็จจริงเป็น
สิ่งที่ตัดสินได้ด้วยเครื่องมือที่มีมาตรฐานอันยอมรับกัน ส่วนคุณค่านั้นไม่สามารถตัดสินด้วยวิธี
ดังกล่าว เพราะข้อเท็จจริงคือสิ่งที่มันเป็นแต่คุณค่าคือสิ่งที่ควรเป็น การศึกษาเรื่องเกี่ยวกับคุณค่า
จึงมีขอบเขตกว้างขวางกระจายอยู่เป็นหัวข้อของวิชาการต่างๆ หลายวิชา อย่างไรก็ตาม มีชื่อเรียก
วิชาที่ศึกษาเรื่องคุณค่าโดยเฉพาะว่า "ทฤษฎีคุณค่า”(Theory of Value) หรืออรรฆวิทยา
(Axiology)ซึ่งมีรายละเอียดต่าง ๆ หลายแง่นั้น ล้วนมีจุดประสงค์ร่วมกันคือ เพื่อหาแนวทางใน
การตัดสิน ซึ่งเรียกว่าการตัดสินคุณค่านั่นเอง (Value Judgment) ดังนั้นการตัดสินคุณค่านั้นก็คือ
การเปรียบเทียบเพื่อเลือกอย่างใดอย่างหนึ่งจากสองอย่าง(หรือมากกว่า) เราจะเห็นได้ว่าใน
ชีวิตประจาวันของมนุษย์ จะมีสถานการณ์ให้มนุษย์เลือกกระทาอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือเลือกสิ่งใด
สิ่งหนึ่งเพียงเพื่อตนเอง และการเลือกนั้นก็อาศัยการพิจารณาเปรียบเทียบคุณสมบัติของสิ่งต่าง ๆ
พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 6
ที่เป็นตัวเลือกโดยพิจารณาให้สัมพันธ์กับเป้าหมายและเจตคติ (Attitude) ของผู้เลือก การตัดสิน
คุณค่าจึงเป็นสิ่งที่ใกล้ตัวเรา นั่นเอง
อย่างไรก็ตาม การเปรียบเทียบเชิงคุณภาพ เช่น ความดี ความงามความถู ความชอบ
ความพึงพอใจ มักจะมีปัญหามากกว่าการเปรียบเทียบเชิงปริมาณ เช่น มากกว่า น้อยกว่า สูง
กว่า ต่ากว่า เป็นต้น เพลโต้ (Plato) นักปรัชญาชาวกรีกเคยเขียนไว้บทสนทนาเรื่องยูไทโฟร
ว่า (ใน ส. ศิวลักษณ์ . ผู้แปล.2533:41)
คุณค่าในเชิงวัตถุ
การศึกษาเรื่องของคุณค่าเป็นการศึกษาที่มีขอบเขตกว้างขวางและมีความหลากหลาย
มาก การจาแนกประเภทของคุณค่ายังกาหนดมุมมองที่แตกต่างกันเป็นมุมมองต่าง ๆ ได้อีก เช่น
นักปรัชญาบางคนเห็นว่าการพิจารณาเรื่องของคุณค่า ต้องมองในลักษณะของขบวนการ สิ่งหนึ่ง
อาจมีเพราะมันเป็นทางผ่านไปสู่คุณค่าอื่น ๆ โดยแบ่งออกคุณค่าเป็น 6 ประเภทและเห็นว่า
ทั้งหมดมีความสัมพันธ์กันเป็นกระบวนการดังนี้
1. คุณค่าในฐานะสิ่งที่มีประโยชน์ (Usefulness) ไม้เป็นสิ่งที่มีคุณค่าในฐานะเป็น
ประโยชน์ในการเป็นส่วนประกอบของไวโอลิน
2. คุณค่าในฐานะเป็นเครื่องมือหรือทางผ่าน(Instrumental Value) ไวโอลินมี
คุณค่าในฐานะเป็นเครื่องมือไปสู่คุณค่าอื่นคือ ความไพเราะ
3. คุณค่าในฐานะเป็นคุณสมบัติประจาโดยธรรมชาติ (Inherent Value) ความ
ไพเราะที่ได้จากเสียงเป็นคุณค่าที่แนบเนื่อง(Inherent)กับการฟัง
4. คุณค่าในตัวเอง(Intrinsic Value)การฟังทาให้ผู้ฟังได้เสพสุนทรียรสซึ่งเป็น
คุณค่าในตัวเอง
5. คุณค่าในฐานะที่เป็นส่วนส่งเสริมให้เกิดคุณค่าอื่น (Contributory Value) อาจ
มีคุณค่าเป็น
6. ส่วนประกอบ เช่น เป็นส่วนประกอบในการรับประทานอาหารมื้อเย็นอย่างมี
ความสุขยิ่งขึ้น
คุณค่าทั่วไป (General value) กับคุณค่าเฉพาะ(Instrumental Value) คุณค่าทั่วไป
คือการตอบสนองความต้องการ หรือความสนใจของคนโดยทั่วไป คุณค่าเฉพาะคือ การตอบสนอง
ความสนใจเฉพาะเจาะจงเป็นพิเศษ เช่นเงินทองเป็นสิ่งมีคุณค่าทั่วไป เพราะสามารถตอบสนอง
ความต้องการของคนส่วนมาก แต่เพลงแร็ปเป็นสิ่งที่มีคุณค่าเฉพาะ เนื่องจากมีบุคคลบางกลุ่ม
เท่านั้น
พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 7
คุณค่าในเชิงนามธรรม
คุณค่าในเชิงนามธรรมมี 4 ลักษณะ ซึ่งทั้งคุณค่าเชิงพฤติกรรมและที่เป็นคุณค่าในเชิง
นามธรรมด้วย ได้แก่
1. สิ่งที่มีคุณค่าคือสิ่งที่ควรมีและเป็นสิ่งที่ควรทา สิ่งควรมีแยกออกเป็น 2 ส่วน
ด้วยกัน
ส่วนที่ 1 สิ่งที่ควรมีที่ได้แก่วัตถุภายนอก ที่นอกเหนือจากปัจจัยสี่ สิ่งที่ควรมีไม่ใช่
สิ่งจาเป็นซึ่งได้แก่ อาหาร เสื้อผ้า ยารักษาโรค และที่อยู่อาศัย ซึ่งสิ่งเหล่านี้ในการดาเนินชีวิต
ของเราในแต่ละวันจะขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นอาหารซึ่งถือว่าเป็นส่วนสาคัญสุดในการ
ดารงชีวิตอยู่ของคนเราในแต่ละวัน เสื้อผ้าที่ถือว่าเป็นส่วนสาคัญนั้นหมายความว่านอกจากจะเป็น
สิ่งที่ปกปิดอวัยวะต่างๆของร่างเพื่อไม่ให้เกิดเป็นเรื่องของความเป็นสิ่งที่น่าอนาจารแล้วเป็นสิ่ง
สาคัญในฐานะที่มีคุณค่าที่ทาให้ร่างกายเราอบอุ่น ไม่เจ็บไข้ได้ป่วยได้ง่าย เป็นต้น ยารักษาโรค ก็
เป็นส่วนหนึ่งที่เป็นสิ่งที่จาเป็นต้องมี เราอาจจะไม่ได้ใช้ยาเพื่อการดารงชีวิตอยู่ในแต่ละวันได้ทุกวัน
เมื่อร่างกายที่เกิดการเจ็บป่วยขึ้นมาย่อมเกิดมาจากการที่ร่างกายของเรามีภูมิต้านทานที่อ่อนลงไป
การรับประทานยารักษาโรคก็เพื่อบรรเทาความทุกขเวทนาทางด้านร่างกายก็ถือว่าเป็นสิ่งที่จาเป็น
และสิ่งที่จาเป็นส่วนสุดท้ายได้แก่ ที่อยู่อาศัย ถือเป็นปัจจัยพื้นฐานที่มนุษย์เราต้องมี แต่ส่วนที่เรา
กาลังพูดถึงคือสิ่งที่ควรมีแต่ไม่จาเป็น จะมีก็ได้ไม่มีก็ได้ เช่น ได้แก่ รถยนต์ หรือโทรศัพท์มือถือ
เป็นต้น สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งสิ่งควรมี หรือเป็นสิ่งที่สืบเนื่องจากปัจจัยสี่ หรือที่เรียกว่า พันธะ
(Obligation) )เป็นสิ่งที่อานวยความสะดวกสบายให้กับเราในการดาเนินชีวิตในแต่ละวันได้
สะดวกมีมากขึ้น
ส่วนที่ 2 คุณค่าภายใน อันได้แก่คุณธรรมภายในจิต เช่น ความกตัญญู ความเป็นผู้มี
มโนธรรม หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ คุณค่าทางจิตวิญญาณ อันได้แก่คุณค่าทางด้านศาสนา ความดี
ความถูกต้อง ควรไม่ควรเหมาะหรือไม่เหมาะ เป็นต้น
สิ่งที่มีคุณค่าคือสิ่งที่ควรทา อันได้แก่ ความดี การประพฤติที่เกิดออกมาจากคุณค่า
ภายใน ซึ่งสอดคล้องกับแนวความคิดฝ่ายปฏิบัตินิยมที่ว่า..คุณค่าที่ไม่ได้ผ่านการทดสอบด้วยการ
ปฏิบัติ ไม่ควรได้รับการประทับตราว่าเป็นคุณค่าที่ดี..เพราะฉะนั้นสิ่งที่มีคุณค่าคือสิ่งที่ควรทา ถึง
บางครั้งแนวความคิดของเราอาจจะดี แต่ว่าความคิดที่ดีก็เป็นสิ่งที่ดี แต่จะให้ดีกว่านั้นต่อเมื่อเรา
นาความคิดนั้นไปการปฏิบัติจะถือว่าดีกว่า
2 สิ่งที่มีคุณค่าคือสิ่งที่มีสาระและมีศักยภาพ ได้แก่ พฤติกรรมก่อให้เกิดผลที่เป็น
ประโยชน์ต่อตนเองและต่อผู้อื่น พฤติกรรมของนักศึกษาที่กาลังเรียนหนังสือ หรือการเข้ามาสู่
สถาบันการศึกษาเพื่อศึกษาก็ถือว่าเป็นการกระทาที่เป็นสาระเพราะเป็นการแสวงหาความรู้หรือ
เป็นการเพิ่มความรู้ เพื่อนาไปพัฒนาศักยภาพของตนเองให้มีความศักยภาพมากขึ้นไปเรื่อย ๆ
3. สิ่งที่มีคุณค่าคือสิ่งที่ตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกายและจิตใจ ได้แก่ คุณค่า
ของสิ่งเหล่านั้นไม่ว่าจะเป็นคุณค่าทางวัตถุหรือคุณค่าทางจิตในย่อมมีความสืบเนื่องกัน เช่น
พฤติกรรมใดก็แล้วแต่ที่เราประพฤติแล้วหรือปฏิบัติแล้วจะมีคุณค่าหรือไม่มีคุณค่าสามารถวัดได้ว่า
ด้วยว่า การกระทานั้นมีความจาเป็นต่อร่างกาย หรือมีประโยชน์ต่อร่างกายของเราหรือไม่ หรือเมื่อ
กระทาแล้วทาให้เราสุขภาพจิตเสียหรือไม่ ตนเองติเตียนตนเองหรือไม่ ทาไปแล้วจิตใจเศร้าหมอง
หรือไม่ เพราะบางอย่างอาจตอบสนองความต้องการทางด้านจิตใจแต่ไม่ตอบสนองความต้องการ
ทางด้านร่างกาย สิ่งเหล่านี้ก็ถือว่าไม่มีประโยชน์ เช่น ความต้องการทางด้านเครื่องดื่มที่มี
พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 8
แอลกอฮอล์ เป็นต้น จิตใจเราอาจจะอยากดื่ม แต่ถามว่า มีประโยชน์ต่อร่างกายหรือไม่ ? เป็น
ประโยชน์ต่อสุขภาพก็ไม่เลย สิ่งที่มีคุณค่าคือสิ่งที่ตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกายและ
จิตใจ ซึ่งสามารถยกตัวอย่างเพื่อให้เข้าใจง่าย ๆ ได้แก่ อาหารที่รับประทานในแต่ละวันนี้ถือว่าเป็น
สิ่งที่ตอบสนองความต้องการทั้งทางด้านร่างกายและทางด้านจิตใจ สังเกตง่าย ๆ เมื่อเราหิวข้าว
สุขภาพจิตก็ไม่ค่อยดี ร่างกายก็เมื่อยล้า ประสิทธิภาพในการทางานก็ลดน้อยลง แต่เมื่อเราได้
รับประทานอาหารเข้าไปสุขภาพจิตก็ดี ร่างกายก็กระปรี้กระเปร่า สามารถทางานได้ดีขึ้น และมี
ประสิทธิภาพ
4. สิ่งที่มีคุณค่าคือสิ่งที่สอดคล้องกับเป้าหมายที่วางไว้ ได้แก่ พฤติกรรมใดที่เป็นไป
ตามตามวัตถุประสงค์หรือตามเป้าหมายที่เราวางไว้ ถือว่าเป็นสิ่งที่มีคุณค่า เช่น การที่เราอยากมี
ร่างกายที่แข็งแรงเป็นเป้าหมายพฤติกรรมที่อยากมีร่างกายที่แข็งแรงนั้นต้องสอดคล้องกับการที่เรา
อยากมีร่างกายที่แข็งแรง เช่น การออกกาลัง การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย การ
พักผ่อนให้เพียงพอ ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นส่วนประกอบที่ทาให้ร่างกายแข็งแรง ซึ่งถือว่ามีคุณค่าเพราะ
สอดคล้องกับเป้าหมายที่เราวางไว้
เรื่องของคุณค่ามีเนื้อหากว้างขวาง รวมไปถึงคุณค่าทางสังคม คุณค่าทางเศรษฐกิจ แต่
เรื่องของคุณค่าที่นักปรัชญาให้ความสนใจคือเรื่องคุณค่าทางจิตใจ (Mental Value) ซึ่งเมื่อจัด
หมวดหมู่ให้ตรงกับแนวคิดดั้งเดิมที่นักปรัชญาได้แบ่งการศึกษาคุณค่าทางจิตใจไว้ 3 ประการค
1. คุณค่าทางความคิด เหตุผล หรือคุณค่าทางสติปัญญา (Thinking) หมายถึง การที่
มนุษย์สามารถคิดสงสัยเรื่องใดเรื่องหนึ่งขึ้นมา แล้วหาคาตอบเรื่องนั้นได้พร้อมด้วยคาอธิบายที่
สมเหตุสมผล (Validity) และสามารถอธิบายความคิดของเราให้ผู้อื่นรับรู้ได้ แม้ว่าความรู้ซึ่งเป็นผล
จากความคิดของผู้นั้นจะมีประโยชน์ใด ๆ ต่อการดาเนินชีวิตประจาวันหรือไม่ก็ตาม สาหรับ
การศึกษาในด้านนี้จะใช้แนวทางของวิชาตรรกศาสตร์ (Logic)
2. คุณค่าทางอารมณ์ความรู้สึก (Felling) หมายถึง การได้รับการตอบสนองความ
ต้องการทางด้านอารมณ์ สามารถจดจ่อ (Contemplation) กับอารมณ์ความรู้สึกนั้น จนมิได้สนใจ
เรื่องอื่น ๆ ชนิดไม่รับรู้โลกภายนอก เช่น เวลาดูละครโทรทัศน์เรื่องโปรดห้ามใครชวนคุย เวลาฟัง
เพลงโปรดอยากฟังสงบ ๆ คนเดียว เป็นต้น การศึกษาคุณค่าด้านนี้เรียกว่า การศึกษาวิชา
สุนทรียศาสตร์ (Aesthetics)
3. คุณค่าทางความดีงาม หรือเจตนารมณ์อันดี (Willing) หมายถึง การได้รับการ
ตอบสนองความสานึกเกี่ยวกับความดีงาม หรือคุณค่าทางจิตใจทางด้านเป้าหมายของชีวิต หรือ
เจตนารมณ์ (Willing) เช่น ความรู้สึกชื่นชมต่อผู้เสียสละเพื่อสังคม ผู้เป็นตัวอย่างที่ดีของสังคม
ทหารหาญที่เสียสละเพื่อประเทศชาติ ชาวบางระจันที่ยอมต่อสู้จนตัวตาย ท้าวสุรนารีผู้กล้าหาญ
และชาญฉลาดสามารถต่อสู้และปกป้องเอกราช หรือความรู้สึกมีความสุขสบายใจเมื่อได้ใส่บาตร
หรือทาบุญ รวมทั้งความรู้สึกปลื้มปีติที่ทางานได้สาเร็จตามเป้าหมายหรือเจตนารมณ์ เช่น
ความรู้สึกปลื้มปีติขณะรับพระราชทานปริญญา เป็นต้น การศึกษาคุณค่าด้านนี้เรียกว่าการศึกษาใน
วิชาจริยศาสตร์ (Ethics)
การศึกษาเรื่องเกี่ยวกับคุณค่าจึงมีขอบเขตกว้างขวางกระจายอยู่เป็นหัวข้อของวิชาการ
ต่างๆ หลายวิชา อย่างไรก็ตาม มีชื่อเรียกวิชาที่ศึกษาเรื่องคุณค่าโดยเฉพาะว่า "ทฤษฎี
คุณค่า”(Theory of Value) หรืออรรฆวิทยา (Axiology) ซึ่งมีรายละเอียดต่าง ๆ หลายแง่นั้น
ล้วนมีจุดประสงค์ร่วมกันคือ เพื่อหาแนวทางในการตัดสิน ซึ่งเรียกว่าการตัดสินคุณค่านั่นเอง
พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 9
(Value Judgment) ดังนั้นการตัดสินคุณค่านั้นก็คือการเปรียบเทียบเพื่อเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง
จากสองอย่าง (หรือมากกว่า) เราจะเห็นได้ว่า ในชีวิตประจาวันของมนุษย์ จะมีสถานการณ์ให้
มนุษย์เลือกกระทาอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือเลือกสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพียงเพื่อตนเอง และการเลือกนั้นก็
อาศัยการพิจารณาเปรียบเทียบคุณสมบัติของสิ่งต่าง ๆ ที่เป็นตัวเลือกโดยพิจารณาให้สัมพันธ์กับ
เป้าหมายและเจตคติ (Attitude) ของผู้เลือก การตัดสินคุณค่าจึงเป็นสิ่งที่ใกล้ตัวเรา นั่นเอง
การศึกษาเรื่องของคุณค่าซึ่งเรียกว่า ทฤษฎีคุณค่า (Theory of Value) จึงมีขอบเขต
เนื้อหาครอบคลุมอยู่ในสาขาปรัชญาที่เรียกว่า คุณวิทยา หรืออรรฆวิทยา (Axiology) ประกอบด้วย
ทฤษฎีของคุณค่า 3 สาขา คือคุณสมบัติพื้นฐานของชีวิตมนุษย์ ที่จะนามาพิจารณาในรายละเอียด
ของความมุ่งหมายและคุณค่าของชีวิต ดังนี้
1. ตรรกศาสตร์ (Logic) ว่าด้วยคุณค่าของความสมเหตุผล (Validity) และความเป็นไป
ได้ (Probability)
2. สุนทรียศาสตร์ (Aesthetics) ว่าด้วยคุณค่าแห่งความงาม หรือคุณค่าความรู้สึกมนุษย์
ที่รับรู้โลกภายนอกด้วยประสาทสัมผัสและมีปฏิกิริยาต่อโลกภายนอก เรียกว่าคุณค่าทางสุนทรียะ
3. จริยศาสตร์ (Ethics) ว่าด้วยคุณค่าแห่งความดี คือการกระทาที่มีคุณค่า ความดีถือ
เป็นคุณค่าอย่างหนึ่ง ที่เกี่ยวกับความประพฤติของมนุษย์ควรจะเป็นอย่างไร พฤติกรรมของมนุษย์
ที่จะต้องได้รับการประเมินค่าว่า ดี-ชั่ว ควร-ไม่ควร ควรอย่างไร กิริยาการแสดงออกของมนุษย์ เรา
จะไม่ถือว่า เป็นเพียงสิ่งที่เรียกว่า พฤติกรรมเท่านั้นเพราะสัตว์อื่นๆ ก็มีพฤติกรรมเหมือนกันไม่ว่า
จะเป็นการกินอยู่ การหลับนอน การขับถ่ายและการสืบพันธุ์ แต่มนุษย์ได้พัฒนาตัวเองเข้าสู่
พฤติกรรมที่สูงกว่า เข้าสู่การตัดสินพฤติกรรมที่ต้องได้รับการประเมินค่า ที่เรียกว่าจริยะ
นอกจากนี้ มนุษย์ยังมีความเป็นอยู่ที่สัมพันธ์กับมนุษย์คนอื่นๆ ในสังคม การกระทา
ต่างๆ ที่มนุษย์ควรจะปฏิบัติต่อกันความเป็นอย่างไร มนุษย์จึงพยายามที่จะแสวงหาหลักแห่งความ
ประพฤติ เพื่อให้สามารถนามาประเมินค่า และยิ่งไปกว่านั้น มนุษย์ยังต้องการแสวงหาสิ่งที่ดีให้แก่
ตัวเองและสังคมในฐานะที่เป็นอุดมคติหรือเป็นเป้าหมายสูงสุด (Summum bonum) ว่าคืออะไร
และควรเป็นอย่างไร
ในภาษาอังกฤษว่า “Value” มาจากคาในภาษาลาตินว่า “Valere” ซึ่งหมายถึง มี
คุณค่า น่ายกย่อง มีความสาคัญ มีเกียรติศักดิ์ (คาแหง วิสุทธางกูร, 2550)
ในพจนานุกรมศัพท์ปรัชญาอังกฤษ - ไทย ให้ความหมายไว้ว่า “คุณสมบัติที่ได้จากการ
ประเมินสิ่งใด สิ่งหนึ่ง เช่น ความงามเป็นค่าทางศิลปะ ความดีเป็นคุณค่าทางจริยธรรม”
(ราชบัณฑิตยสถาน, 2532)
พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 10
คุณค่าในทางวัตถุกับคุณค่าในทางจริยธรรมมีความแตกต่างกัน แต่คุณค่าทั้งสองอย่างก็
ต้องมีความเกี่ยวข้องกัน แต่เมื่อกล่าวโดยรวมแล้ว สิ่งที่มีคุณค่าคือ 1) สิ่งที่ควรมี 2) สิ่งที่ควรทา
3) สิ่งตอบสนองความต้องการทั้งทางด้านร่างกายและทางด้านจิตใจ และ 4) สิ่งที่มีคุณค่าคือสิ่ง
กระทาไปแล้วย่อมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่เราวางเอาไว้ และไม่เป็นไปเพื่อการเบียดเบียน
ตนเองและเบียดเบียนผู้อื่น การตัดสินคุณค่าที่สมบูรณ์ที่สุดและเชื่อถือได้ที่สุดคือการตัดสินเชิง
สัมพัทธวิสัย เพราะมีความองค์ประกอบหลายด้านที่ต้องนามาใช้พิจารณาร่วม ไม่ว่าจะเป็นเชิงวัตถุ
วิสัย เชิงจิตวิสัย ตลอดมโนธรรมที่คานึงถึงประโยชน์ การนามาปฏิบัติได้ผลจริงหรือไม่ ความ
สมบูรณ์ทางเจตนา เป็นต้น อย่างไรก็ตาม เมื่อกล่าวในทางปฏิบัติพระพุทธศาสนาสอนให้ถือการ
พิจารณาเกี่ยวกับกุศล (ความดี) และอกุศล (ความชั่ว) เป็นหลักแกนกลาง แล้วขยายลดลง
ตามลาดับ ให้ยึดความดีความชั่วของตนผู้ใช้เกณฑ์นั้นด้วยเรียกว่า “มโนธรรม” เพราะมโนธรรม
เป็นสิ่งที่มนุษย์ทุกคนมี หรือติดตัวมาตั้งแต่เกิด แม้ไม่มีคนบอกหรือแน่ะนาสิ่งที่เรียกว่ามโนธรรมนี้ก็
จะมีอยู่กับเรา ขึ้นอยู่ที่ว่าใครจะเอาออกมาใช้ได้มากหรือน้อยกว่ากันเท่านั้นเอง และยึดมติของผู้รู้
เป็นเครื่องประกอบด้วย เพราะทั้งสองส่วนนี้เป็นฐานของหิริและโอตตัปปะ นอกจากนั้นให้พิจารณา
ผลของการกระทาที่เกิดขึ้นแก่ตนเองและผู้อื่นด้วย

Contenu connexe

Tendances

ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมPadvee Academy
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตchonlataz
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม ExistentialismPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกรมณ รมณ
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บรรพต แคไธสง
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาPadvee Academy
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์บรรพต แคไธสง
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารPadvee Academy
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาPadvee Academy
 

Tendances (20)

590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
 
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
10
1010
10
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
มงคลชีวิต
มงคลชีวิตมงคลชีวิต
มงคลชีวิต
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
 

Similaire à จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี

พระวินัย ปรัชญาวินัย 0
พระวินัย ปรัชญาวินัย 0พระวินัย ปรัชญาวินัย 0
พระวินัย ปรัชญาวินัย 0Yota Bhikkhu
 
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกจริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกBeeBee ComEdu
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52juriporn chuchanakij
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Nan Natni
 
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13khumtan
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธ
โครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธโครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธ
โครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธSomruay Pindon
 
Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2 Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2 Wai Chamornmarn
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์Watcharin Chongkonsatit
 

Similaire à จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี (20)

05 ethics
05 ethics05 ethics
05 ethics
 
พระวินัย ปรัชญาวินัย 0
พระวินัย ปรัชญาวินัย 0พระวินัย ปรัชญาวินัย 0
พระวินัย ปรัชญาวินัย 0
 
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกจริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
 
03
0303
03
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
 
บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)
 
บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
 
โครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธ
โครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธโครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธ
โครงร่างวิทยานิพนธ์1 รูปแบบการพัฒนาคุณธรรมเยาวชนเชิงพุทธ
 
Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2 Business ethics 2013 part2
Business ethics 2013 part2
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์
 

Plus de Pa'rig Prig

ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินPa'rig Prig
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์Pa'rig Prig
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาคPa'rig Prig
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาคPa'rig Prig
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาคPa'rig Prig
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลPa'rig Prig
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตPa'rig Prig
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพPa'rig Prig
 

Plus de Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 

จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี

  • 1. พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 1 บทที่ 3 มาตรฐานทางจริยศาสตร์ 1.มาตรฐานทางจริยธรรม มาตรฐานสาหรับวัดความดี มีทฤษฎีทางจริยศาสตร์ที่สาคัญๆ กล่าวไว้ 4 ทฤษฎี ได้แก่ หน้าที่เป็นมาตรฐานทางจริยธรรม ความสุขเป็นมาตรฐานทางจริยธรรม ความอยู่รอดเป็น มาตรฐานทางจริยธรรม และการพัฒนาตนเองเป็นมาตรฐานทางจริยธรรม ดังนี้ 1. หน้าที่เป็นมาตรฐานทางจริยธรรม คาว่า “หน้าที่” มี 2 แนวคิดที่เสนอเรื่องนี้ คือ ลัทธิของค้านท์ กับพระพุทธศาสนา ลัทธิของค้านท์ได้เสนอว่า หน้าที่คือมาตรฐานในการวัดความ ดี ลัทธินี้ตั้งสมมติฐานว่า หน้าที่ได้ถูกกาหนดด้วยเหตุผล เหตุผลมาจากศีลธรรม ในขณะที่ศีลธรรม มาจากกฎศีลธรรม และกฎศีลธรรมมาจากกฎสากล ใครปฏิบัติตามหน้าที่ ถือว่าได้ปฏิบัติตามกฎ สากล แต่การจะปฏิบัติตามหน้าที่จะต้องมีเจตนาดี คาว่า “เจตนาดี” ของค้านท์ คือเจตนาปฏิบัติ ตามหน้าที่เท่านั้น ไม่เหมือนกับเจตนาดีตามหลักพระพุทธศาสนา ในทัศนะของค้านท์ ใครปฏิบัติ ตามหน้าที่ ถือว่ามีเจตนาดีและถือว่าเจตนาดี เป็นเกณฑ์ตัดสินความดีได้ แต่ถ้าถามว่า กฎสากล ของค้านท์ คืออะไร ค้านท์ตอบว่า กฎสากลคือกฎที่ทุกคนยอมรับ เมื่อท่านคิดที่จะทาอันใด ต้อง คิดเสมอว่า การกระทาอันนั้นทุกคนยอมรับได้หรือไม่ หน้าที่และเจตนาดีในทางพระพุทธศาสนา หน้าที่เป็นเพียงกิจกรรมที่ควรกระทาของบุคคลต่อบุคคลหรือกลุ่มชน เช่นหน้าที่ของพ่อที่มีต่อลูก หน้าที่ของลูกที่ปฏิบัติต่อพ่อฯลฯ ส่วนเจตนาในทางพระพุทธศาสนาถือว่า เป็นตัวกาหนดกรรม (เจตนาห ภิกฺขเว กมฺม วทามิ) ถ้ามีเจตนา ถือว่าเป็นกรรม เจตนาของพระพุทธศาสนากว้างกว่าของ ค้านท์ เจตนาดีของค้านท์ต้องปฏิบัติตามหน้าที่ หรือเรียกว่า ปฏิบัติตามหน้าที่เพื่อหน้าที่มนุษย์ใน ทัศนะของค้านท์จึงมีมุมองว่าเป็นมนุษย์หุ่นยนต์ 2. ความสุขเป็นมาตรฐานทางจริยธรรม แนวคิดนี้ถือว่า การกระทาใดที่ก่อให้เกิด ความสุข การกรทานั้นดี จะไม่คานึงว่า คุณจะมีเจตนาดีหรือไม่ดี คุณจะปฏิบัติตามหน้าที่หรือไม่ ผลการกระทาที่ออกมาเป็นความสุขเป็นประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่นถือว่าเป็นความดีในทางตรงกัน ข้าม การกระทาโดยก่อให้เกิดความทุกข์ทั้งแก่ตนเองและผู้อื่น ถือเป็นความชั่วแนวคิดนี้ เน้นผล การกระทาเป็นมาตรฐาน 3. ความอยู่รอด การรักษาตัวให้อยู่รอด หรือภาษิตที่ว่า “รักษาตัวรอดเป็นยอดดี” แนวคิดนี้ถือว่า การรักษาตัวรอด หรือการปรับตัวให้เข้ากับคนอื่นได้ เป็นมาตรฐานการตัดสินความ ดีและความชั่ว ความชั่ว ความถูกและชั่ว ความถูกและความผิด คล้ายแนวความคิดของ ดาร์วิน ที่ว่า ผู้แข็งแรงเท่านั้นที่จะอยู่รอดได้ มีความคิดขัดแย้งกันอยู่ 2 ทาง คือ อยู่ดีกว่าตาย กับตาย ดีกว่าอยู่ เป็นหางราชสีห์ที่ตายแล้ว ยังดีกว่า เป็นหัวสุนัขที่ยังมีชีวิตอยู่ หรือเป็นหัวของสุนัขที่มี ชีวิตอยู่ดีกว่าเป็นหัวราชสีห์ที่ตายแล้ว ก็แล้วแต่จะคิดและเลือกที่จะทาอย่างใดอย่างหนึ่งที่คิดว่าดี สาหรับตนเอง
  • 2. พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 2 4. การพัฒนาตนเป็นมาตรฐานทางจริยธรรม แนวคิดนี้ ถือว่าการพัฒนาตนเอง เป็น มาตรฐานการตัดสินความดี ความชั่ว ความผิด และความถูก การพัฒนาคือการทาให้ดีกว่าเดิม ดีกว่า ดีกว่า จนถึงดีที่สุด โดยธรรมชาติการกระทาของมนุษย์ มีอยู่ 2 ทางคือ ไม่ทาดีก็ทาเลว หรือทาผสมผสานกันทั้งดีและเลว แต่แนวคิดนี้ ตั้งเป้าหมายไว้ให้มนุษย์ดาเนินไป ใครกระทาที่ เกิดผลสอดคล้องกับเป้าหมาย บรรลุเป้าหมายโดยลาดับจากน้อยไปหามาก จากต่าไปหาสูง จาก ง่ายไปหายาก ฯลฯ ถือเป็นการพัฒนา พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) เคยเสนอคาตอบปัญหา ว่า มนุษย์ควรเกิดมาเพื่ออะไร ท่านตอบว่ามนุษย์เกิดมาเพื่อพัฒนากรรม คือการพัฒนากรรมดีให้ดี ขึ้น จนกว่าจะบรรลุถึงความดีสูงสุด (นิพพานป เมื่อถึงก็ถือว่า พ้นความดี ความชั่ว (คณาจารย์มหา จุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย,25519-10) 2. องค์ประกอบของจริยธรรมที่สมบูรณ์ 1. ความเป็นผู้มีความสมบูรณ์ด้วยความรู้ (Good Knowledge) ผู้มีความรู้ความ เข้าใจในศาสตร์ความประพฤติจึงจาเป็นต้องมีความรู้ในเรื่องของความประพฤติ โดยเฉพาะการรู้ว่า การประพฤติแบบไหนคือการประพฤติดีและแบบในคือความประพฤติชั่ว มีความเข้าใจในเนื้อหา ของความถูกผิดของการกระทา 2. ความเป็นผู้มีเหตุผลที่สมบูรณ์() ความเป็นผู้เข้าใจในเหตุผล และมีเหตุผลในการ กระทามีการไตร่ตรองก่อนกระทาทุกครั้งและมองเห็นผลที่เกิดขึ้นจากการกระทาทุกครั้ง โดยอ้าง เหตุผลในเชิงจริยธรรมทุกครั้งเมื่อกระทาและหลังการกระทา 3. ความเป็นผู้มีเจตคติที่ดี (moral attitude and belief) ความพึงพอใจความ ศรัทธา เลื่อมใส เกิดความนิยมยินดีที่จะรับนาเอาจริยธรรมมาเป็นแนวทางประพฤติปฏิบัติ ผู้ที่จะ เป็นผู้มีจริยธรรมที่สมบูรณ์นั้นจะต้องเป็นผู้เจตคติที่ดีต่อศีลธรรมหรือจริยธรรม เช่น ชาวพุทธ มี ความเชื่อว่า ทาดี ย่อมได้ ทาชั่ว ย่อมได้ผลแห่งกรรมชั่ว ทุกครั้งไป เชื่อว่าบาป บุญมีจริง เจตคติ เช่นนี้ถือว่ามีความเชื่อในเบื้องต้นว่าคุณค่าทางจริยธรรมมีจริง บุคคลนั้นๆจึงจะปฏิบัติตามหลัก จริยธรรมที่ตนยอมรับได้อย่างได้ผล 4. ความเป็นผู้มีความประพฤติดี(moral conduct) ส่วนประกอบด้านพฤติกรรมที่ แสดงออก คือพฤติกรรมการกระทาที่บุคคลตัดสินใจกระทาถูกหรือผิดในสถานการษณ์แวดล้อม ต่างๆ เชื่อว่าอิทธิพลส่วนหนึ่งของการกระทาหรือไม่กระทาพฤติกรรมแบบใดแบบหนึ่ง ขึ้นอยู่กับ อิทธิพลของส่วนประกอบที่กล่าวแล้ว และบางส่วนอาจเกิดขึ้นกับองค์กระกอบอื่นๆเช่น ลักษณะ จิตวิทยาบางประการของบุคคลนั้นๆ หรือความรุนแรงบีบคั้นนของสถานการณ์ที่รุมเร้าบุคคลนั่นอีก ด้วย ถ้าบุคคลมีความรู้ดี มีการศึกษาสูง เข้าใจในเรื่องของจริยธรรมว่ามีคุณค่า เป็นผู้เหตุมีผลใน เชิงจริยธรรมเป็นอย่างดี เจคติที่ดีต่อจริยธรรมแล้วนั้น ยังไม่พอแต่ต้องเป็นผู้มีความประพฤติดี ถ้า ในทางพระพุทธศาสนาท่านใช้คาว่า บุคคลผู้ที่จะเป็นผู้ประเสริฐได้นั้นต้องเป็นผู้มีความถึงพร้อมด้วย วิชาความรู้ความเข้าในทั้งในทางโลกและทางแล้วยังต้องเป็นผู้มีความประพฤติดีด้วยใน องค์ประกอบของจริยธรรมที่สมบูรณ์แม้จะมีความสาคัญทุกข้อแต่ข้อที่บุคคลมีความประพฤติดีถือ ว่าเป็นข้อสาคัญที่สุด
  • 3. พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 3 นอกจากนั้นพฤติกรรมของมนุษย์ยังมีพื้นฐานทางจิตวิทยาของจริยศาสตร์ การกระทา ต่าง ๆเราไม่อาจพิจารณาตัดสินในทางศีลธรรมได้ในทุกกรณีไป เช่น การทาของเด็กไร้เดียงสา คน บ้า คนเสียสติ เป็นต้น ดังนั้น การพิจารณาตัดสินทางจริยธรรมจึงจาเป็นต้องคานึงถึงความพร้อม หรือสภาพจิตใจของผู้กระทาการในขณะนั้น ๆด้วย ซึ่งมีประเด็นสาคัญควรพิจารณาดังนี้ 1. เจตนา (Will) หรือความจูงใจ คือการกระทาโดยเจตนา และเจตนาในที่นี้เกิดจาก ความต้องการ ความอยากและความปรารถนา 2. แรงจูงใจ (Motive) คือแรงจูงใจหรือสิ่งจูงใจให้บุคคลกระทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง มิลล์ก ล่าวว่า แรงจูงใจคือความรู้สึกที่ทาให้บุคคลจงใจทา แมคแคนซี่ กล่าวว่า แรงจูงใจในการกระทาที่ แท้จริง คือ ความรู้เห็นในจุดหมายคือ ความคิดเกี่ยวกับจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน กรีน กล่าวว่า แรงจูงใจคือจุดมุ่งหมายซึ่งชักนาไปสู่การกระทาให้เป็นจริง 3. นิสัย (Habit) คือผลของการกระทาซ้า ๆในเรื่องใดเรื่องหนึ่งด้วยความสมัครใจหรือ ตั้งใจ เมื่อการกระทาใดกลายเป็นนิสัยแล้ว ก็เป็นการกระทาโดยไม่ต้องพยายามหรือตั้งใจ 4. อุปนิสัย (Character) คือความโน้มเอียงทางจิตใจอย่างถาวรของจิตใจ เป็นผล สืบเนื่องจากนิสัยและความจูงใจ 5. สถานการณ์หรือสิ่งแวดล้อม (Circumstances) คือเหตุการณ์หรือสิ่งแวดล้อมซึ่ง มีอิทธิพลต่อการกระทาของมนุษย์ ซึ่งอาจเป็นบุคคล สังคม เหตุการณ์ ธรรมชาติเป็นต้น(ศรัณย์ วงศ์คาจันทร์,2526:152-155) 3. มาตรรวัดทางจริยธรรม สาหรับการตัดสินคุณค่าของชีวิตและความเป็นมนุษย์ ส่วนใหญ่จะปรากฏอยู่ในแนวคิด มนุษยนิยม (Humanism) เป็นกลุ่มนักคิดหนึ่งทางปรัชญา โดยเน้นการยกย่องศักดิ์ศรีและคุณค่า ของมนุษย์ให้อยู่เหนือสิ่งอื่นใด ไม่ว่าจะเป็นสสารวัตถุ หรือเทพเจ้าต่าง ๆ แนวคิดที่กล่าวถึงคุณค่า ของมนุษย์ประกอบด้วย 1. มนุษย์เป็นภาวะที่สูงส่งที่สุดในโลก ทั้งในแง่ของสติปัญญาแลเอารมณ์ ความรู้สึก แนวคิดนี้เห็นว่มีแต่มนุษย์เท่านั้นที่สามารถประเมินคุณค่าของสิ่งต่าง ๆ ในอดีตนักปรัชญาชาวกรีก ชื่อ โปรธากอรัส (Prothagorus) ได้กล่าวว่า “มนุษย์เป็นเครื่องวัดสรรพสิ่ง” (Man is the Measure of All Things) จากพื้นฐานความคิดนี้นามาสู่ความคิดที่ว่า เมื่อมนุษย์เป็นรูปแบบของ สติปัญญาเพียงรูปแบบเดียวในโลกที่สามารรถประเมินคุณคร่าได้ ดังนั้น มนุษย์จึงอยู่ในฐานะของผู้ ทรงคุณค่าเช่นเดียวกัน และต้องถือว่ามีคุณค่าสูงสุดเพราะเป็นผู้กุมอานาจเด็ดขาดในการตัดสินต่าง ๆ เช่น นางงามจักรวาล (Miss Universe) ได้รับอิทธิพลจากแนวคิดที่เชื่อว่า มนุษย์เป็นผู้ตัดสินทุก สิ่งทุกอย่าง ไม่เพียงแต่ในโลกเท่านั้น แต่เป็นถึงระดับจักรวาล หมายถึง แม้ว่าจะมีสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ใน เอกภพนี้ แต่ก็ไม่มีความสามารถในการตัดสินคุณค่าของความงามได้เทียบเท่ากับการตัดสินของ มนุษย์ 2. มนุษย์มีคุณค่าในตนเอง นักปรัชญาบางคนเห็นว่า มนุษย์ทุกคนมีคุณค่าแห่งความ เป็นมนุษย์ แม้จะยังไม่ได้แสดงออกมาเป็นคุณค่าสะสม นักปรัชญากลุ่มนี้เห็นว่า มนุษย์มีศักยภาพ แห่งความเป็นมนุษย์อย่างเท่าเทียมกัน ต่างกันแต่โอกาสที่จะแสดงออกซึ่งคุณค่าแห่งตนเท่านั้น นัก ปรัชญาสายนี้มีแนวโน้มในการให้โอกาสในการแสดงออกของทุก ๆ คน และแนวคิดนี้สอดคล้อง สัมพันธ์กับเรื่องสิทธิมนุษยชน (Human Right)
  • 4. พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 4 3. มนุษย์อยู่กึ่งกลางและอยู่ในความพอดี ในทัศนะของ แสง จันทร์งาม (2535) กล่าว โดยสรุปว่า ชีวิตมนุษย์เป็นชีวิตที่มีคุณค่าที่สุดในบรรดาภาวะทั้งหลาย ตามคัมภีร์และความเชื่อทาง ศาสนาพุทธ เทวดาและเทพธิดาบนสรวงสวรรค์นั้นเป็นภาวะที่มีความสุขจนไม่มีเรื่องที่จะตั้งคาถาม หรือไม่มีปัญหาชีวิตใด ๆ ส่วนสัตว์เดรัจฉาและสัตว์นรกต่าง ๆ อยู่ในภาวะที่เต็มไปด้วยความทุกข์ ทรมาน จนไม่มีเวลาคิดแก้ปัญหาความทุกข์ยาก จึงมีแต่มนุษย์ที่อยู่กึ่งกลาง พบทั้งความสุขและ ความทุกข์ ซึ่งท่านอธิบายว่าเป็นเหตุให้ภพมนุษย์นั้นเมาะสมที่สุดในการแสวงหา ความรู้เพื่อสิ่งที่ ดีกว่าสาหรับชีวิต คือความหลุดพ้นจากความทุกข์อย่างถาวร กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือมนุษย์มีคุณค่าสูง กว่าสิ่งอื่น ไม่ว่าจ้ะเป็นพวกเทวดา นางฟ้า ที่มีความสุขมากเกินไป หรือสัตว์เดรัจฉาน สัตว์นรกทีมี ความทุกข์มากเกินไป มาตรวัดของจริยธรรมของแต่ละคนแต่ละสังคมย่อมมีความแตกต่างกันออกไป แต่มาตร วัดสามารถแยกออเป็น 3 ส่วน คือ อะไรดีไม่ดีถูกไม่ถูกไม่ถูกควรไม่ควรให้ใช้ตัวเองเป็นผู้ตัดสิน ในทางพระพุทธศาสนาใช้คาว่า พึงตรวจสอบตนเองด้วยตัวเราเอง ให้มโนธรรมเป็นเครื่องตัดสิน(หิริ และโอตตัปปะ)ของตนเอง ตนเองกระทาแล้วรู้สึกดี คนอื่นที่ถูกกระทามีความรู้สึกดีมีความสุข หรือไม่ (ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น ใช้เกณฑ์ที่เป็นที่สังคมยอมรับที่เป็นสากลมาเป็นเครื่องวัดว่า การกระทานั้นถูกหรือผิด ไม่ใช่ความเชื่อหรือความคิดเห็นของคนบางกลุ่มเท่านั้น เช่น การยึดหลัก สิทธิมนุษยชนสากล เป็นต้น ใช้กฎระเบียบ ประเพณีของสังคม วัฒนธรรมของสังคมเป็นเครื่อง ตัดสิน คุณค่า (Value) หมายถึงคุณสมบัติที่ได้จากการประเมินแง่ใดแง่หนึ่งของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น ความงาม ความไพเราะ เป็นคุณค่าทางศิลปะ ความดี ความถูกต้อง เป็นคุณค่าทาง จริยธรรม ความมีประโยชน์เป็นคุณค่าทางเศรษฐกิจ โดยปกติในชีวิตประจาวัน มนุษย์ต้องการ ตัดสินใจเลือกสิ่งต่างๆ ซึ่งอาจเป็นวัตถุ ตัวบุคคล แนวคิด วิชาชีพ การกระทา ซึ่งในการตัดสินใจ เลือกดังกล่าวย่อมแฝงด้วยการให้คุณค่าแก่สิ่งต่างๆเหล่านั้น เช่น บางคนเลือกปลูกดอกกุหลาบ เพราะสวยงามมีกลิ่นหอม บางคนเลือกซื้อดอกชบาเพราะสีสันสดใสและรูปดอกแปลกตา บางคน ชอบอยู่บ้านทรงยุโรปซึ่งดูสวยงามโอ่อ่า บางคนชอบอยู่บ้านทรงไทยแถบชานเมืองที่เงียบสงบ บาง คนเลือกเรียนพยาบาล บางคนเลือกเรียนครู บางคนเลือกอาชีพครู ฯลฯ การตัดสินใจเลือกดังกล่าว เกิดขึ้นจากการประเมินหรือการให้คุณค่าแก่สิ่งต่าง ๆตามความรู้สึก ตามเหตุผล ตามความคิดของ บุคคลแต่ละคน การตัดสินใจเลือกโดยการให้คุณค่าดังกล่าวนี้มีผลต่อวิถีการดาเนินชีวิต พฤติกรรม ตลอดจริยธรรมของบุคคลประเภทของคุณค่าสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ที่เราประจักษ์ กัน 1. คุณค่าส่วนบุคคล (Personal Value) บุคคลจะซึมซับเอาคุณค่าจากสังคม กลุ่มคน เข้ามาไว้เป็นคุณค่าภายในตน 1.2 คุณค่าภายนอก (Extrinsic Value) เช่น วัตถุ เงิน 1.3 คุณค่าภายใน (Intrinsic Value) เช่น จิตใจ ความรู้สึก 1.4 คุณค่าทางความคิด เหตุผล หรือคุณค่าทางสติปัญญา (Thinking) เช่น การ หาคาอธิบาย ที่สมเหตุสมผล ฯ 1.5 คุณค่าทางอารมณ์ความรู้สึก (Felling) การตอบสนอง ฯ 1.6 คุณค่าทางความดีงาม หรือเจตนารมณ์อันดี (Willing) คือการตอบสนอง ความสานึกเกี่ยวกับความดีงามหรือจิตใจ
  • 5. พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 5 2. คุณค่าแห่งวิชาชีพ (Professional Value) เป็นคุณค่าที่วิชาชีพนั้น ๆ ให้ ความสาคัญ ได้จาก 2.1 การเรียนรู้เป็นทางการ เช่น จรรยาบรรณวิชาชีพในห้องเรียน 2.2 การรู้อย่างไม่เป็นทางการ เช่น การสังเกตจากอาจารย์ 2.3 คุณค่าแห่งวิชาชีพที่สาคัญที่สุด คือ ความรับผิดชอบ กระบวนการของการให้คุณค่าเริ่มจาก การเลือก การรู้สึกยอมรับ และการปฏิบัติ ซึ่งเขียน แสดงได้ดังนี้ การเลือกคุณค่า การยอมรับคุณค่า การ ปฏิบัติตามคุณค่า การเลือกคุณค่าของบุคคลแม้จะมีความแตกต่างกันแต่ละบุคคลเฉพาะตัว แต่การ ตัดสินใจเลือกคุณค่าย่อมมีพื้นฐานมาจากความรู้ ความเชื่อ ค่านิยม ทัศนคติ ศาสนา วัฒนธรรม อันเป็นองค์ประกอบสาคัญของความเป็นมนุษย์ การเข้าใจในเรื่องของคุณค่า การให้คุณค่าและการ เลือกคุณค่าของบุคคลหรือการทาค่านิยมให้กระจ่าง (Value clarification) จึงเป็นสิ่งสาคัญสาหรับ ผู้ประกอบอาชีพ (ศิวลี สิริไล,2542:72-73) ในช่วงแรกของคริสต์ศตวรรษที่ 19 คาว่า “คุณค่า” เป็นศัพท์เฉพาะของวิชา เศรษฐศาสตร์ หมายถึงราคาหรือเชิงปริมาณ (Worth) ต่อมานักปรัชญาชาวเยอรมันกลุ่มหนึ่ง สังเกตพบว่า ปัญหาทางปรัชญาบางเรื่องในอดีต เช่น ปัญหาเรื่องความดี(Good) ความถูก ( Right )การตัดสินจริยธรรม ( Moral Judgment ) ความงาม (Beauty ) การตัดสินความสุนทรีย์ ( Aesthetic judgment ) ความจริง (Truth) หรือความสมเหตุสมผล (Validity) ล้วนแล้วแต่เป็น ปัญหาลักษณะมีเนื้อหารวมกัน ได้แก่การกล่าวถึง สิ่งควรจะเป็น( What it ought to Be) ซึ่ง แตกต่างจากข้อเท็จจริง (Fact) หมายถึงสิ่งที่กาลังเป็น ( What It Is ) สิ่งที่เคยเป็น( What Is was)หรือสิ่งจะต้องเป็น (What It will Be ) สิ่งที่ควรจะเป็นนี้เองเป็นสิ่งที่มีคุณค่า ความแตกต่างระหว่างคุณค่ากับเท็จจริง ยกตัวอย่างโดยการเปรียบเทียบกับสิ่งที่พบเห็น ได้ชัดเจนในชีวิตประจาวัน ได้แก่ สมมติในวงสนทนาหนึ่ง มีการพูดคุยถึงเรื่องของปากกาว่าดังนี้ ปากกาสอบด้าม ด้ามหนึ่งสีดา ด้ามหนึ่งสีแดง ด้ามสีดายาว 15 เซนติเมตร ด้ามสีแดง ยาว 13 เซนติเมตร แล้วมีคนตั้งคาถามง่าย ๆว่ ด้ามไหนมีความยาวกว่ากัน คาถามนี้เราสามารถ ตอบได้ทันที่ว่า ด้ามสีดายาวกว่าด้ามสีแดง เพระเราสามารถตัดสินได้ด้วยการใช้ไม้บรรทัดวัดความ ยาวของมันได้ แต่ถ้ามีเพื่อนอีกคนหนึ่งถามขึ้นมาว่า ระหว่างปากกาสีดากับปากกาด้ามสีแดง สอง ด้ามนี้ด้ามไหนเขียนได้สวยกว่ากัน คาถามนี้เพื่อนในวงเหล้าจะตอบอย่างไร? นี้คือความแตกต่างระหว่างข้อเท็จจริง(Fact) กับคุณค่า (Value) กล่าวคือข้อเท็จจริงเป็น สิ่งที่ตัดสินได้ด้วยเครื่องมือที่มีมาตรฐานอันยอมรับกัน ส่วนคุณค่านั้นไม่สามารถตัดสินด้วยวิธี ดังกล่าว เพราะข้อเท็จจริงคือสิ่งที่มันเป็นแต่คุณค่าคือสิ่งที่ควรเป็น การศึกษาเรื่องเกี่ยวกับคุณค่า จึงมีขอบเขตกว้างขวางกระจายอยู่เป็นหัวข้อของวิชาการต่างๆ หลายวิชา อย่างไรก็ตาม มีชื่อเรียก วิชาที่ศึกษาเรื่องคุณค่าโดยเฉพาะว่า "ทฤษฎีคุณค่า”(Theory of Value) หรืออรรฆวิทยา (Axiology)ซึ่งมีรายละเอียดต่าง ๆ หลายแง่นั้น ล้วนมีจุดประสงค์ร่วมกันคือ เพื่อหาแนวทางใน การตัดสิน ซึ่งเรียกว่าการตัดสินคุณค่านั่นเอง (Value Judgment) ดังนั้นการตัดสินคุณค่านั้นก็คือ การเปรียบเทียบเพื่อเลือกอย่างใดอย่างหนึ่งจากสองอย่าง(หรือมากกว่า) เราจะเห็นได้ว่าใน ชีวิตประจาวันของมนุษย์ จะมีสถานการณ์ให้มนุษย์เลือกกระทาอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือเลือกสิ่งใด สิ่งหนึ่งเพียงเพื่อตนเอง และการเลือกนั้นก็อาศัยการพิจารณาเปรียบเทียบคุณสมบัติของสิ่งต่าง ๆ
  • 6. พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 6 ที่เป็นตัวเลือกโดยพิจารณาให้สัมพันธ์กับเป้าหมายและเจตคติ (Attitude) ของผู้เลือก การตัดสิน คุณค่าจึงเป็นสิ่งที่ใกล้ตัวเรา นั่นเอง อย่างไรก็ตาม การเปรียบเทียบเชิงคุณภาพ เช่น ความดี ความงามความถู ความชอบ ความพึงพอใจ มักจะมีปัญหามากกว่าการเปรียบเทียบเชิงปริมาณ เช่น มากกว่า น้อยกว่า สูง กว่า ต่ากว่า เป็นต้น เพลโต้ (Plato) นักปรัชญาชาวกรีกเคยเขียนไว้บทสนทนาเรื่องยูไทโฟร ว่า (ใน ส. ศิวลักษณ์ . ผู้แปล.2533:41) คุณค่าในเชิงวัตถุ การศึกษาเรื่องของคุณค่าเป็นการศึกษาที่มีขอบเขตกว้างขวางและมีความหลากหลาย มาก การจาแนกประเภทของคุณค่ายังกาหนดมุมมองที่แตกต่างกันเป็นมุมมองต่าง ๆ ได้อีก เช่น นักปรัชญาบางคนเห็นว่าการพิจารณาเรื่องของคุณค่า ต้องมองในลักษณะของขบวนการ สิ่งหนึ่ง อาจมีเพราะมันเป็นทางผ่านไปสู่คุณค่าอื่น ๆ โดยแบ่งออกคุณค่าเป็น 6 ประเภทและเห็นว่า ทั้งหมดมีความสัมพันธ์กันเป็นกระบวนการดังนี้ 1. คุณค่าในฐานะสิ่งที่มีประโยชน์ (Usefulness) ไม้เป็นสิ่งที่มีคุณค่าในฐานะเป็น ประโยชน์ในการเป็นส่วนประกอบของไวโอลิน 2. คุณค่าในฐานะเป็นเครื่องมือหรือทางผ่าน(Instrumental Value) ไวโอลินมี คุณค่าในฐานะเป็นเครื่องมือไปสู่คุณค่าอื่นคือ ความไพเราะ 3. คุณค่าในฐานะเป็นคุณสมบัติประจาโดยธรรมชาติ (Inherent Value) ความ ไพเราะที่ได้จากเสียงเป็นคุณค่าที่แนบเนื่อง(Inherent)กับการฟัง 4. คุณค่าในตัวเอง(Intrinsic Value)การฟังทาให้ผู้ฟังได้เสพสุนทรียรสซึ่งเป็น คุณค่าในตัวเอง 5. คุณค่าในฐานะที่เป็นส่วนส่งเสริมให้เกิดคุณค่าอื่น (Contributory Value) อาจ มีคุณค่าเป็น 6. ส่วนประกอบ เช่น เป็นส่วนประกอบในการรับประทานอาหารมื้อเย็นอย่างมี ความสุขยิ่งขึ้น คุณค่าทั่วไป (General value) กับคุณค่าเฉพาะ(Instrumental Value) คุณค่าทั่วไป คือการตอบสนองความต้องการ หรือความสนใจของคนโดยทั่วไป คุณค่าเฉพาะคือ การตอบสนอง ความสนใจเฉพาะเจาะจงเป็นพิเศษ เช่นเงินทองเป็นสิ่งมีคุณค่าทั่วไป เพราะสามารถตอบสนอง ความต้องการของคนส่วนมาก แต่เพลงแร็ปเป็นสิ่งที่มีคุณค่าเฉพาะ เนื่องจากมีบุคคลบางกลุ่ม เท่านั้น
  • 7. พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 7 คุณค่าในเชิงนามธรรม คุณค่าในเชิงนามธรรมมี 4 ลักษณะ ซึ่งทั้งคุณค่าเชิงพฤติกรรมและที่เป็นคุณค่าในเชิง นามธรรมด้วย ได้แก่ 1. สิ่งที่มีคุณค่าคือสิ่งที่ควรมีและเป็นสิ่งที่ควรทา สิ่งควรมีแยกออกเป็น 2 ส่วน ด้วยกัน ส่วนที่ 1 สิ่งที่ควรมีที่ได้แก่วัตถุภายนอก ที่นอกเหนือจากปัจจัยสี่ สิ่งที่ควรมีไม่ใช่ สิ่งจาเป็นซึ่งได้แก่ อาหาร เสื้อผ้า ยารักษาโรค และที่อยู่อาศัย ซึ่งสิ่งเหล่านี้ในการดาเนินชีวิต ของเราในแต่ละวันจะขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็นอาหารซึ่งถือว่าเป็นส่วนสาคัญสุดในการ ดารงชีวิตอยู่ของคนเราในแต่ละวัน เสื้อผ้าที่ถือว่าเป็นส่วนสาคัญนั้นหมายความว่านอกจากจะเป็น สิ่งที่ปกปิดอวัยวะต่างๆของร่างเพื่อไม่ให้เกิดเป็นเรื่องของความเป็นสิ่งที่น่าอนาจารแล้วเป็นสิ่ง สาคัญในฐานะที่มีคุณค่าที่ทาให้ร่างกายเราอบอุ่น ไม่เจ็บไข้ได้ป่วยได้ง่าย เป็นต้น ยารักษาโรค ก็ เป็นส่วนหนึ่งที่เป็นสิ่งที่จาเป็นต้องมี เราอาจจะไม่ได้ใช้ยาเพื่อการดารงชีวิตอยู่ในแต่ละวันได้ทุกวัน เมื่อร่างกายที่เกิดการเจ็บป่วยขึ้นมาย่อมเกิดมาจากการที่ร่างกายของเรามีภูมิต้านทานที่อ่อนลงไป การรับประทานยารักษาโรคก็เพื่อบรรเทาความทุกขเวทนาทางด้านร่างกายก็ถือว่าเป็นสิ่งที่จาเป็น และสิ่งที่จาเป็นส่วนสุดท้ายได้แก่ ที่อยู่อาศัย ถือเป็นปัจจัยพื้นฐานที่มนุษย์เราต้องมี แต่ส่วนที่เรา กาลังพูดถึงคือสิ่งที่ควรมีแต่ไม่จาเป็น จะมีก็ได้ไม่มีก็ได้ เช่น ได้แก่ รถยนต์ หรือโทรศัพท์มือถือ เป็นต้น สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งสิ่งควรมี หรือเป็นสิ่งที่สืบเนื่องจากปัจจัยสี่ หรือที่เรียกว่า พันธะ (Obligation) )เป็นสิ่งที่อานวยความสะดวกสบายให้กับเราในการดาเนินชีวิตในแต่ละวันได้ สะดวกมีมากขึ้น ส่วนที่ 2 คุณค่าภายใน อันได้แก่คุณธรรมภายในจิต เช่น ความกตัญญู ความเป็นผู้มี มโนธรรม หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ คุณค่าทางจิตวิญญาณ อันได้แก่คุณค่าทางด้านศาสนา ความดี ความถูกต้อง ควรไม่ควรเหมาะหรือไม่เหมาะ เป็นต้น สิ่งที่มีคุณค่าคือสิ่งที่ควรทา อันได้แก่ ความดี การประพฤติที่เกิดออกมาจากคุณค่า ภายใน ซึ่งสอดคล้องกับแนวความคิดฝ่ายปฏิบัตินิยมที่ว่า..คุณค่าที่ไม่ได้ผ่านการทดสอบด้วยการ ปฏิบัติ ไม่ควรได้รับการประทับตราว่าเป็นคุณค่าที่ดี..เพราะฉะนั้นสิ่งที่มีคุณค่าคือสิ่งที่ควรทา ถึง บางครั้งแนวความคิดของเราอาจจะดี แต่ว่าความคิดที่ดีก็เป็นสิ่งที่ดี แต่จะให้ดีกว่านั้นต่อเมื่อเรา นาความคิดนั้นไปการปฏิบัติจะถือว่าดีกว่า 2 สิ่งที่มีคุณค่าคือสิ่งที่มีสาระและมีศักยภาพ ได้แก่ พฤติกรรมก่อให้เกิดผลที่เป็น ประโยชน์ต่อตนเองและต่อผู้อื่น พฤติกรรมของนักศึกษาที่กาลังเรียนหนังสือ หรือการเข้ามาสู่ สถาบันการศึกษาเพื่อศึกษาก็ถือว่าเป็นการกระทาที่เป็นสาระเพราะเป็นการแสวงหาความรู้หรือ เป็นการเพิ่มความรู้ เพื่อนาไปพัฒนาศักยภาพของตนเองให้มีความศักยภาพมากขึ้นไปเรื่อย ๆ 3. สิ่งที่มีคุณค่าคือสิ่งที่ตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกายและจิตใจ ได้แก่ คุณค่า ของสิ่งเหล่านั้นไม่ว่าจะเป็นคุณค่าทางวัตถุหรือคุณค่าทางจิตในย่อมมีความสืบเนื่องกัน เช่น พฤติกรรมใดก็แล้วแต่ที่เราประพฤติแล้วหรือปฏิบัติแล้วจะมีคุณค่าหรือไม่มีคุณค่าสามารถวัดได้ว่า ด้วยว่า การกระทานั้นมีความจาเป็นต่อร่างกาย หรือมีประโยชน์ต่อร่างกายของเราหรือไม่ หรือเมื่อ กระทาแล้วทาให้เราสุขภาพจิตเสียหรือไม่ ตนเองติเตียนตนเองหรือไม่ ทาไปแล้วจิตใจเศร้าหมอง หรือไม่ เพราะบางอย่างอาจตอบสนองความต้องการทางด้านจิตใจแต่ไม่ตอบสนองความต้องการ ทางด้านร่างกาย สิ่งเหล่านี้ก็ถือว่าไม่มีประโยชน์ เช่น ความต้องการทางด้านเครื่องดื่มที่มี
  • 8. พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 8 แอลกอฮอล์ เป็นต้น จิตใจเราอาจจะอยากดื่ม แต่ถามว่า มีประโยชน์ต่อร่างกายหรือไม่ ? เป็น ประโยชน์ต่อสุขภาพก็ไม่เลย สิ่งที่มีคุณค่าคือสิ่งที่ตอบสนองความต้องการทางด้านร่างกายและ จิตใจ ซึ่งสามารถยกตัวอย่างเพื่อให้เข้าใจง่าย ๆ ได้แก่ อาหารที่รับประทานในแต่ละวันนี้ถือว่าเป็น สิ่งที่ตอบสนองความต้องการทั้งทางด้านร่างกายและทางด้านจิตใจ สังเกตง่าย ๆ เมื่อเราหิวข้าว สุขภาพจิตก็ไม่ค่อยดี ร่างกายก็เมื่อยล้า ประสิทธิภาพในการทางานก็ลดน้อยลง แต่เมื่อเราได้ รับประทานอาหารเข้าไปสุขภาพจิตก็ดี ร่างกายก็กระปรี้กระเปร่า สามารถทางานได้ดีขึ้น และมี ประสิทธิภาพ 4. สิ่งที่มีคุณค่าคือสิ่งที่สอดคล้องกับเป้าหมายที่วางไว้ ได้แก่ พฤติกรรมใดที่เป็นไป ตามตามวัตถุประสงค์หรือตามเป้าหมายที่เราวางไว้ ถือว่าเป็นสิ่งที่มีคุณค่า เช่น การที่เราอยากมี ร่างกายที่แข็งแรงเป็นเป้าหมายพฤติกรรมที่อยากมีร่างกายที่แข็งแรงนั้นต้องสอดคล้องกับการที่เรา อยากมีร่างกายที่แข็งแรง เช่น การออกกาลัง การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย การ พักผ่อนให้เพียงพอ ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นส่วนประกอบที่ทาให้ร่างกายแข็งแรง ซึ่งถือว่ามีคุณค่าเพราะ สอดคล้องกับเป้าหมายที่เราวางไว้ เรื่องของคุณค่ามีเนื้อหากว้างขวาง รวมไปถึงคุณค่าทางสังคม คุณค่าทางเศรษฐกิจ แต่ เรื่องของคุณค่าที่นักปรัชญาให้ความสนใจคือเรื่องคุณค่าทางจิตใจ (Mental Value) ซึ่งเมื่อจัด หมวดหมู่ให้ตรงกับแนวคิดดั้งเดิมที่นักปรัชญาได้แบ่งการศึกษาคุณค่าทางจิตใจไว้ 3 ประการค 1. คุณค่าทางความคิด เหตุผล หรือคุณค่าทางสติปัญญา (Thinking) หมายถึง การที่ มนุษย์สามารถคิดสงสัยเรื่องใดเรื่องหนึ่งขึ้นมา แล้วหาคาตอบเรื่องนั้นได้พร้อมด้วยคาอธิบายที่ สมเหตุสมผล (Validity) และสามารถอธิบายความคิดของเราให้ผู้อื่นรับรู้ได้ แม้ว่าความรู้ซึ่งเป็นผล จากความคิดของผู้นั้นจะมีประโยชน์ใด ๆ ต่อการดาเนินชีวิตประจาวันหรือไม่ก็ตาม สาหรับ การศึกษาในด้านนี้จะใช้แนวทางของวิชาตรรกศาสตร์ (Logic) 2. คุณค่าทางอารมณ์ความรู้สึก (Felling) หมายถึง การได้รับการตอบสนองความ ต้องการทางด้านอารมณ์ สามารถจดจ่อ (Contemplation) กับอารมณ์ความรู้สึกนั้น จนมิได้สนใจ เรื่องอื่น ๆ ชนิดไม่รับรู้โลกภายนอก เช่น เวลาดูละครโทรทัศน์เรื่องโปรดห้ามใครชวนคุย เวลาฟัง เพลงโปรดอยากฟังสงบ ๆ คนเดียว เป็นต้น การศึกษาคุณค่าด้านนี้เรียกว่า การศึกษาวิชา สุนทรียศาสตร์ (Aesthetics) 3. คุณค่าทางความดีงาม หรือเจตนารมณ์อันดี (Willing) หมายถึง การได้รับการ ตอบสนองความสานึกเกี่ยวกับความดีงาม หรือคุณค่าทางจิตใจทางด้านเป้าหมายของชีวิต หรือ เจตนารมณ์ (Willing) เช่น ความรู้สึกชื่นชมต่อผู้เสียสละเพื่อสังคม ผู้เป็นตัวอย่างที่ดีของสังคม ทหารหาญที่เสียสละเพื่อประเทศชาติ ชาวบางระจันที่ยอมต่อสู้จนตัวตาย ท้าวสุรนารีผู้กล้าหาญ และชาญฉลาดสามารถต่อสู้และปกป้องเอกราช หรือความรู้สึกมีความสุขสบายใจเมื่อได้ใส่บาตร หรือทาบุญ รวมทั้งความรู้สึกปลื้มปีติที่ทางานได้สาเร็จตามเป้าหมายหรือเจตนารมณ์ เช่น ความรู้สึกปลื้มปีติขณะรับพระราชทานปริญญา เป็นต้น การศึกษาคุณค่าด้านนี้เรียกว่าการศึกษาใน วิชาจริยศาสตร์ (Ethics) การศึกษาเรื่องเกี่ยวกับคุณค่าจึงมีขอบเขตกว้างขวางกระจายอยู่เป็นหัวข้อของวิชาการ ต่างๆ หลายวิชา อย่างไรก็ตาม มีชื่อเรียกวิชาที่ศึกษาเรื่องคุณค่าโดยเฉพาะว่า "ทฤษฎี คุณค่า”(Theory of Value) หรืออรรฆวิทยา (Axiology) ซึ่งมีรายละเอียดต่าง ๆ หลายแง่นั้น ล้วนมีจุดประสงค์ร่วมกันคือ เพื่อหาแนวทางในการตัดสิน ซึ่งเรียกว่าการตัดสินคุณค่านั่นเอง
  • 9. พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 9 (Value Judgment) ดังนั้นการตัดสินคุณค่านั้นก็คือการเปรียบเทียบเพื่อเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง จากสองอย่าง (หรือมากกว่า) เราจะเห็นได้ว่า ในชีวิตประจาวันของมนุษย์ จะมีสถานการณ์ให้ มนุษย์เลือกกระทาอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือเลือกสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพียงเพื่อตนเอง และการเลือกนั้นก็ อาศัยการพิจารณาเปรียบเทียบคุณสมบัติของสิ่งต่าง ๆ ที่เป็นตัวเลือกโดยพิจารณาให้สัมพันธ์กับ เป้าหมายและเจตคติ (Attitude) ของผู้เลือก การตัดสินคุณค่าจึงเป็นสิ่งที่ใกล้ตัวเรา นั่นเอง การศึกษาเรื่องของคุณค่าซึ่งเรียกว่า ทฤษฎีคุณค่า (Theory of Value) จึงมีขอบเขต เนื้อหาครอบคลุมอยู่ในสาขาปรัชญาที่เรียกว่า คุณวิทยา หรืออรรฆวิทยา (Axiology) ประกอบด้วย ทฤษฎีของคุณค่า 3 สาขา คือคุณสมบัติพื้นฐานของชีวิตมนุษย์ ที่จะนามาพิจารณาในรายละเอียด ของความมุ่งหมายและคุณค่าของชีวิต ดังนี้ 1. ตรรกศาสตร์ (Logic) ว่าด้วยคุณค่าของความสมเหตุผล (Validity) และความเป็นไป ได้ (Probability) 2. สุนทรียศาสตร์ (Aesthetics) ว่าด้วยคุณค่าแห่งความงาม หรือคุณค่าความรู้สึกมนุษย์ ที่รับรู้โลกภายนอกด้วยประสาทสัมผัสและมีปฏิกิริยาต่อโลกภายนอก เรียกว่าคุณค่าทางสุนทรียะ 3. จริยศาสตร์ (Ethics) ว่าด้วยคุณค่าแห่งความดี คือการกระทาที่มีคุณค่า ความดีถือ เป็นคุณค่าอย่างหนึ่ง ที่เกี่ยวกับความประพฤติของมนุษย์ควรจะเป็นอย่างไร พฤติกรรมของมนุษย์ ที่จะต้องได้รับการประเมินค่าว่า ดี-ชั่ว ควร-ไม่ควร ควรอย่างไร กิริยาการแสดงออกของมนุษย์ เรา จะไม่ถือว่า เป็นเพียงสิ่งที่เรียกว่า พฤติกรรมเท่านั้นเพราะสัตว์อื่นๆ ก็มีพฤติกรรมเหมือนกันไม่ว่า จะเป็นการกินอยู่ การหลับนอน การขับถ่ายและการสืบพันธุ์ แต่มนุษย์ได้พัฒนาตัวเองเข้าสู่ พฤติกรรมที่สูงกว่า เข้าสู่การตัดสินพฤติกรรมที่ต้องได้รับการประเมินค่า ที่เรียกว่าจริยะ นอกจากนี้ มนุษย์ยังมีความเป็นอยู่ที่สัมพันธ์กับมนุษย์คนอื่นๆ ในสังคม การกระทา ต่างๆ ที่มนุษย์ควรจะปฏิบัติต่อกันความเป็นอย่างไร มนุษย์จึงพยายามที่จะแสวงหาหลักแห่งความ ประพฤติ เพื่อให้สามารถนามาประเมินค่า และยิ่งไปกว่านั้น มนุษย์ยังต้องการแสวงหาสิ่งที่ดีให้แก่ ตัวเองและสังคมในฐานะที่เป็นอุดมคติหรือเป็นเป้าหมายสูงสุด (Summum bonum) ว่าคืออะไร และควรเป็นอย่างไร ในภาษาอังกฤษว่า “Value” มาจากคาในภาษาลาตินว่า “Valere” ซึ่งหมายถึง มี คุณค่า น่ายกย่อง มีความสาคัญ มีเกียรติศักดิ์ (คาแหง วิสุทธางกูร, 2550) ในพจนานุกรมศัพท์ปรัชญาอังกฤษ - ไทย ให้ความหมายไว้ว่า “คุณสมบัติที่ได้จากการ ประเมินสิ่งใด สิ่งหนึ่ง เช่น ความงามเป็นค่าทางศิลปะ ความดีเป็นคุณค่าทางจริยธรรม” (ราชบัณฑิตยสถาน, 2532)
  • 10. พุทธศาสนศึกษา เอกสารประกอบการบรรยาย จริยศาสตร์ ศึกษา / 10 คุณค่าในทางวัตถุกับคุณค่าในทางจริยธรรมมีความแตกต่างกัน แต่คุณค่าทั้งสองอย่างก็ ต้องมีความเกี่ยวข้องกัน แต่เมื่อกล่าวโดยรวมแล้ว สิ่งที่มีคุณค่าคือ 1) สิ่งที่ควรมี 2) สิ่งที่ควรทา 3) สิ่งตอบสนองความต้องการทั้งทางด้านร่างกายและทางด้านจิตใจ และ 4) สิ่งที่มีคุณค่าคือสิ่ง กระทาไปแล้วย่อมสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่เราวางเอาไว้ และไม่เป็นไปเพื่อการเบียดเบียน ตนเองและเบียดเบียนผู้อื่น การตัดสินคุณค่าที่สมบูรณ์ที่สุดและเชื่อถือได้ที่สุดคือการตัดสินเชิง สัมพัทธวิสัย เพราะมีความองค์ประกอบหลายด้านที่ต้องนามาใช้พิจารณาร่วม ไม่ว่าจะเป็นเชิงวัตถุ วิสัย เชิงจิตวิสัย ตลอดมโนธรรมที่คานึงถึงประโยชน์ การนามาปฏิบัติได้ผลจริงหรือไม่ ความ สมบูรณ์ทางเจตนา เป็นต้น อย่างไรก็ตาม เมื่อกล่าวในทางปฏิบัติพระพุทธศาสนาสอนให้ถือการ พิจารณาเกี่ยวกับกุศล (ความดี) และอกุศล (ความชั่ว) เป็นหลักแกนกลาง แล้วขยายลดลง ตามลาดับ ให้ยึดความดีความชั่วของตนผู้ใช้เกณฑ์นั้นด้วยเรียกว่า “มโนธรรม” เพราะมโนธรรม เป็นสิ่งที่มนุษย์ทุกคนมี หรือติดตัวมาตั้งแต่เกิด แม้ไม่มีคนบอกหรือแน่ะนาสิ่งที่เรียกว่ามโนธรรมนี้ก็ จะมีอยู่กับเรา ขึ้นอยู่ที่ว่าใครจะเอาออกมาใช้ได้มากหรือน้อยกว่ากันเท่านั้นเอง และยึดมติของผู้รู้ เป็นเครื่องประกอบด้วย เพราะทั้งสองส่วนนี้เป็นฐานของหิริและโอตตัปปะ นอกจากนั้นให้พิจารณา ผลของการกระทาที่เกิดขึ้นแก่ตนเองและผู้อื่นด้วย