SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  38
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 2
การเลือกรูปแบบองค์กรธุรกิจ
และการเริ่มต้นธุรกิจ
บรรยายโดย
อาจารย์ชิตวรา บรรจงปรุ
โปรแกรมวิชาการจัดการ
ก่อนที่จะตัดสินใจเลือกรูปแบบธุรกิจนั้น ผู้ประกอบการควรจะต้อง
ศึกษาข้อมูลให้ละเอียดรอบคอบเสียก่อน โดยเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับ
ลักษณะเฉพาะขององค์การธุรกิจแต่ละรูปแบบ เช่น
• ความยุ่งยากในการจัดตั้ง
• อานาจในการตัดสินใจ
• ความรับผิดชอบในหนี้สินของกิจการ
• ระเบียบปฏิบัติทางกฎหมาย
• ภาษีที่ต้องเสีย
• ข้อดีข้อเสีย
ประเภทของธุรกิจ
หลักในการแบ่งมีแนวความคิดหลายแนว ดังนี้
แนวคิดที่ 1 ใช้วิธีการประกอบธุรกิจ (3)
แนวคิดที่ 2 ใช้ผลผลิตเป็นหลักในการแบ่ง (8)
แนวคิดที่ 3 ใช้วิธีการได้เงินมาเป็นหลักในการแบ่ง (4)
แนวคิดที่ 1 ใช้วิธีการประกอบธุรกิจ
•ธุรกิจอุตสาหกรรม มุ่งผลิตสินค้า
•ธุรกิจการค้า เป็นการซื้อมาขายไป
•ธุรกิจบริการ เป็นการเสนอขายบริการต่างๆ
แนวคิดที่ 2 ใช้ผลผลิตเป็นหลักในการแบ่ง
1. ธุรกิจการเกษตร 5. ธุรกิจการเงิน
2. ธุรกิจเหมืองแร่ 6. ธุรกิจการให้บริการ
3. ธุรกิจอุตสาหกรรม 7. ธุรกิจการก่อสร้าง
4. ธุรกิจการพาณิชย์ 8. ธุรกิจอื่นๆ
แนวคิดที่ 3 ใช้วิธีการได้เงินมาเป็นหลักในการแบ่ง
• อาชีพลูกจ้าง (Employee)
• อาชีพทาธุรกิจส่วนตัว (Self Employee)
• อาชีพการเป็นเจ้าของกิจการ (Business Employee) เปิดกิจการแล้ว
จ้างผู้อื่นมาทาเช่น เปิดคลินิกแล้วจ้างแพทย์มารักษาคนไข้ เป็นต้น
• อาชีพนักลงทุน (Investor) เช่น ซื้อหุ้นกองทุนต่าง ๆ เป็นต้น
การที่จะเริ่มธุรกิจขึ้นใหม่
ควรจะได้ศึกษาปัญหาต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
• การจัดตั้งธุรกิจรูปแบบที่ต้องการนั้นยากหรือง่าย
• เจ้าของธุรกิจจะต้องรับผิดชอบเพียงไร
• จะต้องการเงินลงทุนสักเท่าไรเพื่อเริ่มกิจการ
• จะหาทุนเพิ่มระหว่างดาเนินกิจการได้หรือไม่ เพียงไร
• มีกฎหมายบังคับสาหรับธุรกิจประเภทนั้นๆหรือไม่ และอย่างไร
• ธุรกิจประเภทนั้นไม่อยู่ในข่ายบังคับของกฎหมายเพียงไร
• การมอบโอนอานาจและหน้าที่ให้แก่พนักงานชั้นผู้น้อยจะมีแผนดาเนินการอย่างไร
รูปแบบการประกอบธุรกิจ
มีหลายรูปแบบที่ควรทราบมีดังนี้
1. ธุรกิจเจ้าของคนเดียว
2. ห้างหุ้นส่วน
3. บริษัทจากัด
4. บริษัทมหาชนจากัด
5. กิจการร่วมค้า
1. ธุรกิจเจ้าของคนเดียว(sole proprietorship)
ข้อดี ข้อเสีย
1)การจัดตั้งและเลิกกิจการทาได้
สะดวก
1) มีทุนจากัด จะขยายกิจการให้ใหญ่โตหรือทา
ธุรกิจใหญ่ๆไม่ได้
2) การดาเนินงานมีอิสระ คล่องตัว 2)ต้องรับผิดชอบต่อความเสียหายแต่เพียงผู้เดียว
3)กฎหมายและระเบียบข้อบังคับมีน้อย 3)ความรู้ความสามารถมีจากัดเพราะปะกอบการ
คนเดียว
4) ควบคุมพนักงานได้ง่าย 4)ขาดความต่อเนื่องในกิจการเมื่อเจ้าของมี
ปัญหา เช่น เจ็บป่วย หรือเสียชีวิต เป็นต้น
5)ถ้ามีความลับของธุรกิจ ก็สามารถ
ป้องกันการรั่วไหลได้ดี
สถานการณ์ที่เหมาะแก่การดาเนินแบบเจ้าของคนเดียว
1) ธุรกิจนั้นต้องการลงทุนไม่มากนัก พอที่จะหามาได้โดยไม่ต้องมีการระดมทุนชักชวน
คนอื่นมาร่วมด้วย
2) การดาเนินธุรกิจมีขอบเขตไม่กว้างขวางมากนัก ผู้ประกอบการมีโอกาสพบปะ
พูดคุยทาความรู้จักกับลูกค้าได้ด้วยตนเอง ทาให้ลูกค้าได้รับความพึงพอใจและมี
แนวโน้มที่จะเป็นลูกค้าประจาหรือแนะนาลูกค้าใหม่มาให้ นั้นคือ ควรเป็นธุรกิจที่
ลูกค้าได้รับความเอาใจใส่เป็นรายบุคคล
3) ธุรกิจบางประเภทที่มุ่งให้บริการหรือตอบสนองความต้องการแก่เฉพาะลูกค้าที่มี
รสนิยมเป็นการส่วนตัวก็เหมาะที่จะดาเนินธุรกิจแบบเจ้าของคนเดียว
4) ธุรกิจที่มีการเสี่ยงน้อย ได้แก่ ธุรกิจประเภทที่มีการแข่งขันน้อย เสนอขายสินค้า
เครื่องอุปโภคบริโภคที่จาเป็นแก่การดารงชีวิต มีตลาดกว้างขวาง เป็นต้น
การจัดตั้งธุรกิจในรูปของเจ้าของคนเดียว ประกอบธุรกิจขาย
สินค้า โรงสี โรงเลื่อย นายหน้าหรือตัวแทน การขนส่ง การหัตกรรม
การอุตสาหกรรม ต้องไปยื่นขอจดทะเบียนพาณิชย์ที่กรมพัฒนาธุรกิจ
กระทรวงพาณิชย์หรือที่พาณิชย์จังหวัด ภายใน 30 วัน นับแต่วันเริ่ม
ประกอบกิจการ ถ้าฝ่าฝืนถูกปรับ หากเป็นกิจการประเภทโรงงาน มี
คนงานเกิน 20 คน หรือมีเครื่องจักรเกิน 20 แรงม้า ต้องไปแจ้งกรม
โรงงานอุตสาหกรรมหรือ สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดด้วย
2. ห้างหุ้นส่วน (partnership)
ห้างหุ้นส่วน
ห้างหุ้นส่วนสามัญ
ห้างหุ้นส่วน
(ไม่จดทะเบียน)
ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติ
บุคคล (จดทะเบียน)
ห้างหุ้นส่วนจากัด (จด
ทะเบียน)
การเปรียบเทียบห้างหุ้นส่วนสามัญและห้างหุ้นส่วนจากัด
ห้างหุ้นส่วนสามัญ ห้างหุ้นส่วนจากัด
1. ไม่ต้องจดทะเบียน 1. ต้องจดทะเบียน
2. ถ้าจดทะเบียนเป็นห้างหุ้นส่วนสามัญนิติ
บุคคล
2. เป็นนิติบุคคล
3. รับผิดชอบหนี้โดยไม่จากัด 3. รับผิดชอบหนี้จากัด
4. หุ้นส่วนประเภทเดียวคือประเภทรับผิดไม่จากัด 4. หุ้นส่วนมี 2 ประเภท คือ รับผิดจากัด และรับ
ผิดไม่จากัด
5. หุ้นส่วนทุกคนเข้ามาจัดการงานของห้างได้ 5. หุ้นส่วนประเภทรับผิดไม่จากัดเท่านั้นที่สามารถ
เข้ามาจัดการงานของห้างได้
ข้อดีและข้อเสียของการประกอบธุรกิจแบบห้างหุ้นส่วน
ข้อดี ข้อเสีย
1)มีเงินทุนมากขึ้น ถ้ามีหุ้นส่วนมากระดมทุนได้
มาก
1) ทุนจากัดถ้ามีหุ้นส่วนน้อยราย
2)การจัดตั้งและเลิกกิจการไม่ยุ่งยากสะหรับ
ห้างหุ้นส่วนสามัญ
2) มีปัญหาเรื่องความซื่อสัตย์ของหุ้นส่วนบางคน
3)เป็นการรวมความรู้ความสามารถหลายด้าน
ช่วยกัน ทาให้กิจการเจริญและขยายตัวได้ดี
3) ความรับผิดชอบของห้างหุ้นส่วนไม่จากัด ทาให้
ไม่กล้าเสี่ยงขยายกิจการ
4) มีเครดิตสูงกว่าธุรกิจเจ้าของคนเดียว 4) ทุนที่เข้าหุ้นถอนได้อยาก จนกว่าจะเลิกกิจการ
5)มีกฎหมายและระเบียบควบคุมการ
ดาเนินการมากขึ้น
5)อายุการดาเนินการห้างหุ้นส่วนไม่แน่นนอนหาก
มีการเปลี่ยนแปลงตัวผู้ถือหุ้น เช่น ถึงแก่กรรม
การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนไม่มีอะไรยุ่งยากมากนัก หากเป็นการ
จัดตั้งห้างหุ้นส่วนสามัญที่ไม่จดทะเบียนก็ตั้งขึ้นได้เลยเพียงแต่ไป
ยื่นขอจดทะเบียนพาณิชย์ภายใน 30 วันนับแต่วันเริ่มแรก จะใช้
ชื่อว่าอย่างไรก็โดยไม่จาเป็นมีคาว่า ห้างหุ้นส่วน หรือ ห้าง
หุ้นส่วนสามัญ ประกอบชื่อของห้าง สาหรับห้างหุ้นส่วนจากัด
นั้นจะต้องไปจดทะเบียนเสมอ
การจัดการห้างหุ้นส่วนสามัญ
1) ผู้จัดการห้างฯอาจมีคนเดียวหรือ
หุ้นส่วนทุกคนเป็นผู้จัดการก็ได้
2) ผู้จัดการห้างฯย่อมมีอานาจจัดการ
ทั้งหลายตามวัตถุประสงค์อันเป็นปกติธรรมดาใน
การค้าขาย
การจัดการห้างหุ้นส่วนสามัญ
3) หน้าที่ของห้างหุ้นส่วนผู้จัดการ
3.1) ต้องจัดการงานของห้างฯด้วยตนเอง
3.2) ต้องจัดการงานของห้างฯด้วยความระมัดระวังเสมือนจัดการงานของตนเอง
3.3) ต้องส่งเงินและทรัพย์สินที่ทาในนามของห้างฯให้แก่ห้างหุ้นส่วน
3.4) ต้องเสียดอกเบี้ยเมื่อนาเงินและทรัพย์สินของห้างฯไปใช้ส่วนตัว
3.5) ต้องชดใช้แก่ห้างฯเมื่อเกิดความเสียหายเพราะความประมาทเลินเล่อหรือ
กระทานอกเหนือขอบเขตอานาจ
3.6) ต้องแจ้งให้หุ้นส่วนอื่นทราบเมื่อเขามีความประสงค์จะทราบความเป็นไปของ
ห้างฯ
การจัดการห้างหุ้นส่วนสามัญ
4) หุ้นส่วนทุกคนมีสิทธิไต่ถามตรวจ และคัดสาเนาสมุดบัญชีและเอกสาร
ต่างๆ ลงมติออกเสียงในปัญหาใดๆของห้างฯ
5) เมื่อห้างฯมีกาไรขาดทุน ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนจะรับผิดชอบร่วมกัน
6) ห้ามมิให้ผู้เป็นหุ้นส่วนทาการค้าขายแข่งกับห้างฯในสภาพเดียวกัน
การจัดการห้างหุ้นส่วนจากัด
1) หุ้นส่วนจาพวกไม่จากัดความรับผิดชอบเท่านั้นจึงจะเป็นผู้จัดการได้
2) การจัดการห้างฯให้จัดการเช่นเดียวกับห้างหุ้นส่วนสามัญ
3) หุ้นส่วนจาพวกจากัดความรับผิด มีสิทธิเข้าไปดูแล สอบถาม ให้คาแนะนาแก่ห้างฯ
เช่นเดียวกับห้างหุ้นส่วนสามัญ
4) ผู้เป็นหุ้นส่วนจาพวกจากัดความรับผิดจะค้าขายแข่งกับห้างฯก็ได้
5) ห้ามมิให้เงินปันผลหรือดอกเบี้ยให้แก่ผู้เป็นหุ้นส่วนจาพวกจากัดความรบผิด
นอกจากผลกาไร
6) เมื่อห้างฯขาดทุนให้เฉลี่ยกันรับผิด เว้นแต่ผู้เป็นหุ้นส่วนพวกจากัดความรับผิดชอบ
เพียงไม่เกินจานวนเงินที่ตนได้จดทะเบียนลงทุนไว้
การเลิกกิจการห้างหุ้นส่วน
ห้างหุ้นส่วนจะเลิกกิจการด้วยเหตุผลหลายประการดังนี้
1) เมื่อเกิดกรณีที่กาหนดไว้ในสัญญาว่าเป็นเหตุให้เลิก
2) กาหนดอายุของการดาเนินกิจการของห้างหุ้นส่วนนั้นไว้
3) เมื่อผู้เป็นหุ้นส่วนคนหนึ่งคนใดบอกเลิกล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 6 เดือนก่อนสิ้นรอบปี
ในทางบัญชีการเงินของห้างหุ้นส่วนนั้น
4) สัญญากาหนดไว้เพื่อทากิจการใดกิจการหนึ่งเมื่อเสร็จกิจการนั้นแล้วก็ต้องเลิก
5) เมื่อผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่งตาย หรือล้มละลาย หรือตกเป็นผู้ไร้ความสามารถ
บริษัท (Corporation)
คือองค์การธุรกิจที่จัดตั้งขึ้นด้วยการแบ่งทุนเป็นหน่วยเล็กๆ เรียกว่าหุ้น
แต่ละหุ้นมีมูลค่าเท่าๆกัน ผู้ถือหุ้นต่างรับผิดจากัดเพียงไม่เกินจานวนเงินที่
ตนยังส่วนใช้ไม่ครบมูลค่าของหุ้นที่ตนถือ
บริษัทจากัดแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1) บริษัทจากัด ที่ตั้งขึ้นตามประมวลผลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
2) บริษัทมหาชนจากัด ที่ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ
บริษัทมหาชนจากัด พ.ศ. 2535
ลักษณะสาคัญของบริษัทจากัด
1) ต้องมีผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่า 3 คน
2) หุ้นมีมูลค่าหุ้นละเท่าๆกัน ไม่ต่ากว่าหุ้นละ 5 บาท
3) มีคาว่า บริษัท นาหน้าชื่อ และต่อท้ายด้วนคาว่า จากัด เสมอ
4) การดาเนินงานของบริษัทเป็นหน้าที่ของกรรมการบริษัท ผู้ถือหุ้นไม่มีอานาจเข้ามา
จัดการ
5) ที่ประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้นเป็นผู้กาหนดนโยบายของบริษัท แต่งตั้งหรือถอนกรรมการ
และผู้สอบบัญชีและกาหนดเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้น
6) บริษัทจะต้องออก ใบหุ้น ให้แก่ผู้ถือหุ้นยึดถือไว้ และหุ้นดังกล่าวโอนกันได้โดยไม่
ต้องบอกกล่าวให้ผู้อื่นๆทราบก่อน
ข้อดีและข้อเสียของบริษัทจากัด
ข้อดี ข้อเสีย
1) สามารถระดมทุนได้มากด้วยการขายหุ้นให้แก่
ผู้สนใจ
1) การจัดตั้งมีความสลับซับซ้อนยุ่งยาก ค่าใช้จ่า
ก่อตั้งแพง
2) ความรับผิดชอบของผู้ถือหุ้นมีจากัดเพียงเท่า
มูลค่าหุ้นที่ยังมิได้ส่งใช้ครบจานวน
2) การบริหารงานอาจขาดประสิทธิภาพ หารได้
ผู้บริหารที่ไม่มีความรู้ความสามารถ พนักงานอาจ
ไม่กระตือรือร้นในการทางาน
3) อายุของบริษัทจากัดยาวนาน มั่นคงถาวร 3) ต้องเสียภาษีสูงกว่าการประกอบธุรกิจในรูปอื่น
ข้อดีและข้อเสียของบริษัทจากัด
ข้อดี ข้อเสีย
4) หุ้นสามารถเปลี่ยนมือได้โดยการโอนหือ
ขายหุ้นซึ่งกระทาได้โดยง่าย
4) มีข้อจากัดทางกฎหมายมากมาย เพราะ
ต้องการให้เกิดประโยชน์แก่ผู้เกี่ยวข้องและ
ประชาชนมากที่สุด
5) บริษัทขยายทุนได้ง่าย โดยออกหุ้นเพิ่ม
หรือขายพันธบัตร
5) อาจมีการขดแย้งระหว่างผู้
6) การจัดการมีประสิทธิภาพ เพราะต้อง
มอบให้กรรมการบริษัทจัดผู้ชานาญการมา
ทาหน้าที่บริหารแทน
บริหารงานและผู้ถือหุ้นเกี่ยวกับการ
ดาเนินงานของบริษัท
ผู้ก่อการ 3 คนทา
หนังสือ
บริคณห์ไปจด
ทะเบียน
จัดให้จอง
หุ้นให้ครบ
ประชุมก่อตั้ง
บริษัท
มอบกิจการให้
กรรมการที่
เลือกตั้งขึ้นมา
ดาเนินการต่อไป
เรียกค่าหุ้น
อย่างน้อย 25 %
จดทะเบียนภาย
ใน 3 เดือน
บริษัท
สมบูรณ์
ชนิดของหุ้น
1) หุ้นทุนสามัญ
2) หุ้นทุนบุริมสิทธิ
3) หุ้นทุนซึ่งมีสิทธิรองลงมา
4) หุ้นให้เปล่า
5) หุ้นทุนร่วมเป็นเจ้าของ
การเปรียบเทียบบริษัทมหาชนจากัด
รายการ บริษัทจากัด บริษัทมหาชนจากัด
1. ผู้เริ่มก่อการ
2. หนังสือชี้ชวน
3. มูลค่าหุ้น
4. เสนอขายหุ้นต่อประชาชนทั่วไป
5.คาต่อท้ายชื่อบริษัท
6.ขออนุญาตต่อตลาดหลักทรัพย์
แห่งประเทศไทย
7.การเรียกชาระค่าหุ้นครั้งแรก
8.ใบหุ้น
9.การออกหุ้นกู้
10.กรรมการบริษัท
11.การเสนอขายหุ้น
3 คนขึ้นไป
ห้ามออกหนังสือชี้ชวน
ไม่ต่ากว่า 5 บาท
ห้ามเสนอ
จากัด
ไม่ต้องขออนุญาต
ไม่ต่ากว่า 25 %
ไม่รุบุชื่อผู้ถือก็ได้
ออกหุ้นกู้ไม่ได้
กี่คนก็ได้ (คนเดียวก็ได้)
ต่ากว่าราคาพาร์ไม่ได้
15 คนขึ้นไป
ออกหนังสือชี้ชวนแจกจ่ายแก่
ประชาชน
ตั้งแต่ 1 บาท ขึ้นไป
เสนออย่างน้อย 50%
จากัด (มหาชน)
ต้องขออนุญาต
100 % (ผ่านธนาคาร)
ต้องระบุชื่อผู้ถือ
ออกหุ้นกู้ได้
ไม่น้อยกว่า 5 คน
ต่ากว่าราคาพาร์ได้
กิจการร่วมค้า(joint venture)
เป็นการลงทุนประกอบธุรกิจระหว่างบริษัทกับ
บริษัท หรือบริษัทกับห้างหุ้นส่วน อาจเป็น
บริษัทต่างประเทศมาลงทุนร่วมกันกับบริษัท
ภายในประเทศ กิจการร่วมค้าจะมีการกาทา
สัญญาของการเข้าร่วมและผู้เข้าร่วมทุกคน
รับผิดชอบในหนี้ที่เกิดโดยไม่จากัด
และมีลักษณะเป็นการประกอบธุรกิจในระยะสั้น เมื่อดาเนินกิจการบรรลุวัตถุประสงค์
แล้วกิจการจะสลายตัวไป
ประเภทของผู้ประกอบการ
• ผู้ประกอบการที่เป็นผู้ก่อตั้ง (founder entrepreneur)
• ผู้ประกอบการที่เป็นผู้บริหาร (administrative entrepreneur)
• ผู้ซื้อสิทธิพิเศษ
• ผู้ประกอบการที่เป็นช่างฝีมือ (artisan entrepreneur)
• ผู้ประกอบการที่แสวงหาโอกาส (opportunistic entrepreneur)
• ผู้ประกอบการที่เป็นผู้หญิง
ประเภทของผู้ประกอบการ (ต่อ)
• ทีมผู้ประกอบการ
• ผู้ประกอบการเป็นสามีและภรรยา (copreneur)
• ธุรกิจครอบครัว
• ผู้ประกอบการที่เป็นหนุ่มสาว
• ผู้ประกอบกิจการที่บ้าน
• ผู้ลี้ภัย

Contenu connexe

Tendances

ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้
Anana Anana
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
Jariya Jaiyot
 
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
พัน พัน
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
Aomiko Wipaporn
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shm
Aey Usanee
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
weerawato
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ด
Nokko Bio
 
ไบโอม
ไบโอมไบโอม
ไบโอม
Kittiya GenEnjoy
 

Tendances (20)

คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชีบทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
 
สถิติสำหรับธุรกิจ
สถิติสำหรับธุรกิจสถิติสำหรับธุรกิจ
สถิติสำหรับธุรกิจ
 
ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
การตกผลึก
การตกผลึกการตกผลึก
การตกผลึก
 
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงานระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
ระบบย่อยอาหาร และ การสลายอาหารเพื่อให้ได้พลังงาน
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้นวิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shm
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
 
การงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ด
 
ไบโอม
ไบโอมไบโอม
ไบโอม
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 

En vedette

การประกอบการ
การประกอบการการประกอบการ
การประกอบการ
Pa'rig Prig
 
Econ presentation 1
Econ presentation 1Econ presentation 1
Econ presentation 1
wowwilawanph
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
Amarin Unchanum
 
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentmentChapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Pa'rig Prig
 

En vedette (20)

Ba.453 ch5
Ba.453 ch5Ba.453 ch5
Ba.453 ch5
 
หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่
 
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลบทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
 
การประกอบการ
การประกอบการการประกอบการ
การประกอบการ
 
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใสการบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
 
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกบทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
บทบาทของผู้ประกอบการเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
 
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใสการบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
การบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล และความโปร่งใส
 
รายงานประจำปี 2559
รายงานประจำปี 2559รายงานประจำปี 2559
รายงานประจำปี 2559
 
Econ presentation 1
Econ presentation 1Econ presentation 1
Econ presentation 1
 
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทม
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทมธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทม
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานภาครัฐ กทม
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
 
หลักธรรมาภิบาลของผู้นำ บรรยายให้ผู้บริหารระดับกลาง กรมคุมประพฤติ รุ่น1
หลักธรรมาภิบาลของผู้นำ บรรยายให้ผู้บริหารระดับกลาง กรมคุมประพฤติ รุ่น1หลักธรรมาภิบาลของผู้นำ บรรยายให้ผู้บริหารระดับกลาง กรมคุมประพฤติ รุ่น1
หลักธรรมาภิบาลของผู้นำ บรรยายให้ผู้บริหารระดับกลาง กรมคุมประพฤติ รุ่น1
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจบทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
บทที่ 2 การจัดตั้งธุรกิจ
 
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentmentChapter 5 telecommunication and networks & database managentment
Chapter 5 telecommunication and networks & database managentment
 
บทที่ 3.1
บทที่ 3.1บทที่ 3.1
บทที่ 3.1
 
บทที่ 5.1
บทที่ 5.1บทที่ 5.1
บทที่ 5.1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ความเป็นมา Ld
ความเป็นมา Ldความเป็นมา Ld
ความเป็นมา Ld
 
M
MM
M
 

Similaire à การประกอบการ

ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลยใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลย
thnaporn999
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วน
thnaporn999
 
หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2
thnaporn999
 
หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2
thnaporn999
 
บริษัท
บริษัทบริษัท
บริษัท
thnaporn999
 
01 businessfinance v1 handout
01 businessfinance v1 handout01 businessfinance v1 handout
01 businessfinance v1 handout
Charin Sansuk
 
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
chwalit
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
praphol
 
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนบทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
Pa'rig Prig
 
การวิเคราะห์ความยั่งยืนในธุรกิจ
การวิเคราะห์ความยั่งยืนในธุรกิจการวิเคราะห์ความยั่งยืนในธุรกิจ
การวิเคราะห์ความยั่งยืนในธุรกิจ
guest530b
 
ห้างหุ้นส่วน
ห้างหุ้นส่วนห้างหุ้นส่วน
ห้างหุ้นส่วน
Netsai Tnz
 
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexเสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
Peerasak C.
 

Similaire à การประกอบการ (20)

Organization&Management part1
Organization&Management part1Organization&Management part1
Organization&Management part1
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลยใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลย
 
งานธุรกิจ
งานธุรกิจงานธุรกิจ
งานธุรกิจ
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วน
 
หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2
 
หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2
 
บริษัท
บริษัทบริษัท
บริษัท
 
01 businessfinance v1 handout
01 businessfinance v1 handout01 businessfinance v1 handout
01 businessfinance v1 handout
 
2การจัดตั้งธุรกิจ
2การจัดตั้งธุรกิจ2การจัดตั้งธุรกิจ
2การจัดตั้งธุรกิจ
 
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
หน่วยที่ 1กฎหมายธุรกิจ1
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2
 
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนบทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
 
1
11
1
 
การวิเคราะห์ความยั่งยืนในธุรกิจ
การวิเคราะห์ความยั่งยืนในธุรกิจการวิเคราะห์ความยั่งยืนในธุรกิจ
การวิเคราะห์ความยั่งยืนในธุรกิจ
 
5บริษัทมหาชนจำกัด
5บริษัทมหาชนจำกัด5บริษัทมหาชนจำกัด
5บริษัทมหาชนจำกัด
 
ห้างหุ้นส่วน
ห้างหุ้นส่วนห้างหุ้นส่วน
ห้างหุ้นส่วน
 
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexเสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
 
01 businessfinance v1
01 businessfinance v101 businessfinance v1
01 businessfinance v1
 

Plus de Pa'rig Prig

Plus de Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 

การประกอบการ