SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  160
Télécharger pour lire hors ligne
คูมืออบรมเชิงปฏิบัติการ
พระธรรมวิทยากรคายพัฒนาคุณธรรมสําหรับนักเรียน
                        รุนที่ ๑
                ๒๖ - ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๕


                                          บริสุทธิ์จริงใจไรเดียงสา....
                                          บอบบางกวามาลีแรกคลี่ชอ
                                       เยาวชนสืบเหยาเทิดเหลากอ......
                                         เหมือนเพชรรอเวลาเจียรไน
                                   เสี่ยงตอการติดกับความหยาบกราน..
                                    งายตอการหลงตามความแปลกใหม
                                       เหมาะแกการเสริมสรางกําลังใจ
                                         เพื่อจะไดกาวมั่นถูกขั้นตอน
                                        หากเยาวชนสนใจธรรมสักนิด
                                       ภาวะจิตจะกาวรุดไมหยุดหยอน
                                        พระศาสนาดังน้ําดับความรอน
                                          ชี้แนะสอนพัฒนาเยาวชน




 ฝายบริการฝกอบรม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
                            รวมกับ
                   สํานักงานพุทธมณฑล
การอบรมเชิงปฏิบัติการนี้เปนสวนหนึ่งของโครงการคายคุณธรรม
                                                     ณธรรม
      และศูนยการเรียนรูพระพุทธศาสนาในพุทธมณฑล
๒


                                   กําหนดการ
    พิธีเปดโครงการฝกอบรมพระธรรมวิทยากรคายพัฒนาคุณธรรมสําหรับนักเรียน
             มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย รวมกับพุทธมณฑล
  ณ หองประชุมหอสมุดพุทธศาสนา พุทธมณฑล ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม
                          วันพุธ ที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๕
                                     ******************
เวลา ๐๘.๓๐ น.-๐๙.๐๐ น.     ลงทะเบียนรายงานตัว
เวลา ๐๙.๐๐ น.-๐๙.๓๐ น.     ผูเขารับการฝกอบรมพรอมเพียงกัน ณ หองประชุมหอสมุด
                           พุทธมณฑล
เวลา ๐๙.๓๐ น.–๑๐.๓๐ น.     พิธีเปดโครงการฯ
                           - อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
                                 ประธานในพิธี จุดธูป เทียน บูชาพระรัตนตรัย
                           - ผูอํานวยการสวนธรรมนิเทศ                    สํานักสงเสริม
                                 พระพุทธศาสนาและบริการสังคม กลาวรายงาน
                           - ประธานในพิธี ใหโอวาทและกลาวเปดโครงการฯ
                           - ผูอํานวยการสวนธรรมนิเทศถวายเครื่องไทยธรรม
เวลา ๑๐.๓๐ น.-๑๐.๑๕ น.     การกลาวตอนรับและบรรยายพิเศษเรือง พุทธมณฑล
                                                                ่
                           โดย ดร.อํานาจ บัวศิริ ผูอํานวยการสํานักงานพุทธมณฑล
      เวลา ๑๑.๑๕ น.-๑๒.๐๐ น.      พัก/ฉันภัตตาหารเพล
๓
                       กําหนดการฝกอบรมประจําวัน
    โครงการฝกอบรมพระธรรมวิทยากรคายพัฒนาคุณธรรมสําหรับนักเรียน รุนที่ ๑
           มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยรวมกับพุทธมณฑล
                      ณ หองประชุมหอสมุดพุทธมณฑล
                  ระหวางวันที่ ๒๖ - ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๕
                             ****************************
วันพุธที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๕
     เวลา ๐๘.๐๐ - ๐๙.๐๐ น.        ลงทะเบียนรายงานตัว
     เวลา ๐๙.๐๐ - ๐๙.๓๐ น.        พรอมกัน ณ หองประชุมอาคารหอสมุดพุทธมณฑล
     เวลา ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น.        พิธีเปดโครงการ ฯ
                                  - อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
                                       ประธานในพิธี จุดธูปเทียน บูชาพระรัตนตรัย
                                  - รักษาการผูอํานวยการสวนธรรมนิเทศกลาวรายงาน
                                  - อธิการบดีใหโอวาทเปดการอบรม
                                  - ผูอํานวยการสํานักงานพุทธมณฑลถวายเครื่องไทย
                                       ธรรม
     เวลา ๑๐.๓๐ - ๑๑.๑๕ น.        กลาวถวายการตอนรับและบรรยายพิเศษเรื่อง พุทธ
                                  มณฑล
                                  โดย ดร.อํานาจ บัวศิริ ผูอํานวยการสํานักงานพุทธ
                                  มณฑล
     เวลา ๑๑.๑๕ - ๑๓.๐๐ น.        ฉันภัตตาหารเพล / พัก
     เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น.        บรรยายเรื่อง วิธีปลุกจิตสํานึกใหหางไกลยาเสพยติด
                                  โดย พระมหาธีรพันธ รกฺขิตสีโล
     เวลา ๑๖.๐๐ - ๑๗.๓๐ น.        พักทําธุระสวนตัว
     เวลา ๑๗.๓๐ - ๑๘.๐๐ น.        ทําวัตรเย็น
     เวลา ๑๘.๐๐ - ๒๑.๐๐ น.        บรรยายเรื่อง การใชเทคโนโลยีในการฝกอบรม
                                  โดย พระมหาธีรพันธ รกฺขิตสีโล
     เวลา ๒๑.๐๐ น.                พักผอน

วันพฤหัสบดีที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๔๕
     เวลา ๐๕.๐๐ - ๐๕.๓๐ น.        ตื่นนอน/ทําธุระสวนตัว
     เวลา ๐๕.๓๐ - ๐๖.๐๐ น.        ทําวัตรเชา
     เวลา ๐๖.๐๐ - ๐๗.๐๐ น.        กิจกรรมเสริมหลักสูตร
๔

      เวลา ๐๗.๐๐ - ๐๘.๐๐ น.     ฉันภัตตาหารเชา
      เวลา ๐๘.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.     บรรยายเรื่อง วิธีการผลิตสื่อธรรมะและวิธีการนําเสนอที่มี
                                ประสิทธิภาพ โดย อาจารยปนทอง ใจสุทธิ
                                ฝายพัฒนาและสงเสริมวิชาการ กรมสามัญศึกษา
      เวลา ๑๑.๐๐ - ๑๓.๐๐ น.     ฉันภัตตาหารเพล / พัก
      เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น.     (ตอ) วิธีการผลิตสื่อธรรมะและวิธีการนําเสนอที่มีประสิทธิ
                                ภาพ โดย อาจารยปนทอง ใจสุทธิ
      เวลา ๑๖.๐๐ - ๑๗.๓๐ น.     พักทําธุระสวนตัว
      เวลา ๑๗.๓๐ - ๑๘.๐๐ น.     ทําวัตรเย็น
      เวลา ๑๘.๐๐ - ๒๑.๐๐ น.     บรรยายเรื่อง จริยธรรมพระธรรมวิทยากร
                                โดย พระมหาไพเราะ ฐิตสีโล
                                ผูอํานวยการสํานักสงเสริมพระพุทธศาสนาและ
                                บริการสังคม มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
      เวลา ๒๑.๐๐ น.             พักผอน

วันศุกรที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๔๕
      เวลา   ๐๕.๐๐ - ๐๕.๓๐ น.   ตื่นนอน/ทําธุระสวนตัว
      เวลา   ๐๕.๓๐ - ๐๖.๓๐ น.   ทําวัตรเชา
      เวลา   ๐๖.๐๐ - ๐๗.๐๐ น.   กิจกรรมเสริมหลักสูตร
      เวลา   ๐๗.๐๐ - ๐๘.๐๐ น.   ฉันภัตตาหารเชา
      เวลา   ๐๘.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.   เทคนิคการสอนธรรมบันเทิง / กิจกรรมนันทนาการ
                                โดย เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม ม.มจร.และคณะ
      เวลา ๑๑.๐๐ - ๑๓.๐๐ น.     ฉันภัตตาหารเพล / พัก
      เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น.     เทคนิคการสอนธรรมบันเทิง / กิจกรรมนันทนาการ
                                โดย เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม ม.มจร.และคณะ(ตอ)
      เวลา ๑๖.๐๐ - ๑๗.๓๐ น.     พักทําธุระสวนตัว
      เวลา ๑๗.๓๐ - ๑๘.๐๐ น.     ทําวัตรเย็น
      เวลา ๑๘.๐๐ - ๒๑.๐๐ น.     เทคนิคการสอนธรรมบันเทิง / กิจกรรมนันทนาการ
                                โดย เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม ม.มจร.และคณะ(ตอ)
      เวลา ๒๑.๐๐ น.             พักผอน

วันเสารที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๔๕
      เวลา ๐๕.๐๐ - ๐๕.๓๐ น.     ตื่นนอน/ทําธุระสวนตัว
      เวลา ๐๕.๓๐ - ๐๖.๐๐ น.     ทําวัตรเชา
๕
      เวลา ๐๖.๐๐ - ๐๗.๐๐ น.      กิจกรรมเสริมหลักสูตร
      เวลา ๐๗.๐๐ - ๐๘.๐๐ น.      ฉันภัตตาหารเชา
      เวลา ๐๘.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.      บรรยายเรื่อง เทคนิคการนําเสนอกิจกรรมปลูกจิตสํานึก -
                                 ทางคุณธรรม จริยธรรม
                                 โดย เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม ม.มจร. และคณะ
      เวลา ๑๑.๐๐ - ๑๓.๐๐ น.      ฉันภัตตาหารเพล / พัก
      เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น.      เทคนิคการนําเสนอกิจกรรมปลูกจิตสํานึกทางคุณธรรม -
                                 จริยธรรม โดย เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม ม.มจร.
                                 และคณะ (ตอ)
      เวลา ๑๖.๐๐ - ๑๗.๓๐ น.      พัก /ทําธุระสวนตัว
      เวลา ๑๗.๓๐ - ๑๘.๐๐ น.      ทําวัตรเย็น
      เวลา ๑๘.๐๐ - ๒๑.๐๐ น.      เทคนิคการนําเสนอกิจกรรมปลูกจิตสํานึกทางคุณธรรม -
                                 จริยธรรม โดย เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม ม.มจร.
                                 และคณะ (ตอ)
      เวลา ๒๑.๐๐ น.              พักผอน

วันอาทิตยที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๕
      เวลา   ๐๕.๐๐ - ๐๕.๓๐ น.    ตื่นนอน / ทําธุระสวนตัว
      เวลา   ๐๕.๓๐ - ๐๖.๐๐ น.    ทําวัตรเชา
      เวลา   ๐๖.๓๐ - ๐๗.๐๐ น.    กิจกรรมเสริมหลักสูตร
      เวลา   ๐๗.๐๐ - ๐๘.๐๐ น.    ฉันภัตตาหารเชา
      เวลา   ๐๘.๐๐ - ๑๑.๐๐ น.    กิจกรรม ฐานการเรียนรูพระพุทธศาสนาในพุทธมณฑล
                                 โดย เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม ม.มจร. และคณะ
      เวลา ๑๑.๐๐ - ๑๒.๓๐ น.      ฉันภัตตาหารเพล / พัก
      เวลา ๑๒.๓๐ - ๑๓.๐๐ น.      พรอมกันที่หองประชุม / ซอมพิธีรับประกาศนียบัตร
      เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๔.๐๐ น.      พิธีมอบประกาศนียบัตร
                                 - อธิการบดี มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราช
                                      วิทยาลัย
                                      ประธานในพิธี จุดธูปเทียน บูชาพระรัตนตรัย
                                 - รักษาการผูอํานวยการสวนธรรมนิเทศกลาวรายงาน
                                 - รักษาการหัวหนาฝายบริการฝกอบรมขานรายชื่อ
                                      ผูสําเร็จการฝกอบรมเขารับประกาศนียบัตร
                                 - อธิการบดี ใหโอวาทปดโครงการ ฯ
                                 - ผูอํานวยการสํานักพุทธมณฑลถวายเครื่องไทยธรรม
                                 - ไหวพระพรอมกันเปนอันเสร็จพิธี
๖
                                      ขอควรปฏิบัติ
                                   สําหรับผูเขารับการฝกอบรม
                 โครงการฝกอบรมพระธรรมวิทยากรคายพัฒนาคุณธรรมสําหรับนักเรียน
                             ณ หองประชุมอาคารหอสมุดพุทธมณฑล
                             ระหวางวันที่ ๒๖ - ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๕
                                  *************************
๑. นุงหมเปนปริมณฑล (หมดองรัดอก) ในขณะเขารับการฝกอบรม
๒. ถามีความจําเปนจะออกนอกสถานที่ฝกอบรม ควรครองจีวรใหเรียบรอย
๓. หามสูบบุหรี่ ในสถานที่ฝกอบรม
๔. ไมใชเครื่องมือสื่อสารในขณะเขารับการฝกอบรม
๕. ปฏิบัติตามกําหนดการอยางพรอมเพรียงกัน
๖. ใหความรวมมือกับวิทยากรและคณะผูใหการฝกอบรมในโครงการ ฯ
๗. ทุกรูปตองอยูอบรมครบตามกําหนดการที่กําหนดไวทุกกิจกรรมจึงจะมีสิทธิ์รับวุฒิบัตร
๘. เพื่อความเรียบรอย และความงดงามของหมูคณะ จงอยูดวยกันตามหลักสาราณียธรรม
ตารางอบรมเชิงปฏิบัติการ
                               โครงการฝกอบรมพระธรรมวิทยากรคายพัฒนาคุณธรรมสําหรับนักเรียน รุนที่ ๑
                                  มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยรวมกับสํานักงานพุทธมณฑล
                                ณ หองประชุมอาคารหอสมุดพุทธมณฑล ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม
                                                ระหวางวันที่ ๒๖–๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๕
เวลา
             ๘.๐๐ น.-๙.๐๐ น.           ๙.๐๐ น.-๑๑.๐๐ น.                       ๑๓.๐๐ น.-๑๖.๐๐ น.                          ๑๘.๐๐ น.-๒๑.๐๐ น.
    วัน
    พุธ         ลงทะเบียน                                              วิธีปลุกจิตสํานึกใหหางไกลยาเสพยติด   การใชสื่อเทคโนโลยีในการใหการฝกอบรม
                                             พิธีเปด
  ๒๖ มิ.ย.      รายงานตัว                                                  โดย..พระมหาธีรพันธ รกฺขิตสีโล      โดย..พระมหาธีรพันธ รกฺขิตสีโล
                                                                                                                        จริยธรรมพระธรรมวิทยากร
 พฤหัสบดี                        วิธีการผลิตสื่อธรรมะและวิธีการนําเสนอที่มีประสิทธิภาพ
                                                                                                                       โดย..พระมหาไพเราะ ฐิตสีโล
 ๒๗ มิ.ย.               โดย..อาจารยปนทอง ใจสุทธิ ฝายพัฒนาและสงเสริมวิชาการ กรมสามัญศึกษา
                                                                                                                 ผ.อ.สํานักสงเสริมพระพุทธศาสนา ฯ มจร.

  ศุกร                                                       เทคนิคการสอนธรรมบันเทิง / กิจกรรมนันทนาการ
 ๒๘ มิ.ย.                                 โดย..เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และคณะ

  เสาร                                              เทคนิคการนําเสนอกิจกรรมปลุกจิตสํานึกทางคุณธรรม จริยธรรม
 ๒๙ มิ.ย.                                 โดย..เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และคณะ

  อาทิตย    กิจกรรมฐานการเรียนรูพระพุทธศาสนาในพุทธมณฑล
                                                                              พิธีมอบประกาศนียบัตร
  ๓๐ มิ.ย.          โดย...เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม
หลักสูตร
     โครงการอบรมพระธรรมวิทยากร คายพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมสําหรับนักเรียน
                                    ************
หลักสูตรและระยะเวลาดําเนินการ                           รวม             ๕๐       ชั่วโมง
       หมวดที่ ๑ วิชาทั่วไป                                             ๑๑       ชั่วโมง
       หมวดที่ ๒ วิชาหลักและวิธีการสอนธรรมประยุกต                      ๒๗       ชั่วโมง
       หมวดที่ ๓ วิชาการพัฒนาบุคลิกภาพ                                  ๑๒       ชั่วโมง


                     เนื้อหารายละเอียดหลักสูตรประจําหมวดวิชา
หมวดที่ ๑ วิชาทั่วไป
       ๑.๑ พิธีเปดโครงการ / ปฐมนิเทศ
                    จุดประสงค     เพื่อชี้แจงหลักการและเหตุผลในการจัดฝกอบรมโครงการอบรมพระ
ธรรมวิทยากรสําหรับนักเรียน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตอผูเขารับการฝกอบรม และปลุกใจ
ใหผูเขารับการมีฉันทะในการฝกอบรมจากโครงการ
                    ขอบขายเนื้อหา
                                   • เปาหมายของการพัฒนาบุคลากรสอนศีลธรรม
                                   • สภาพการณการสอนศีลธรรมใหกับเด็กและเยาวชน
                               • ประสิทธิภาพการสอนศีลธรรมของพระวิทยากร
               เวลา            ๒ ชั่วโมง
               วิธีการอบรม     บรรยายปลุกใจ

       ๑.๒ พิธีมอบประกาศนียบัตร / ปจฉิมนิเทศ
               วัตถุประสงค    เพื่อเปนการใหกําลังใจในการทํางานและความมั่นใจในการปฎิบัติอยางมี
                               ประสิทธิภาพ
                               • ประธานในพิธีนําบูชาพระรัตนตรัย
                               • ประธานมอบประกาศนียบัตรและ
                               • ใหโอวาท
               เวลา            ๒ ชั่วโมง
               วิธีการอบรม     ประธานในพิธีมอบประกาศนียบัตรและใหโอวาทปจฉิมนิเทศ
๙
      ๑.๓ วิชาการเรียนรูพระพุทธศาสนาในพุทธมณฑล
              วัตถุประสงค เพื่อใหผูเขารับการอบรมไดศึกษาประวัติความสําคัญของสถานที่สําคัญ
ทางพระพุทธศาสนาในพุทธมณฑล
              ขอบขายเนื้อหา
                               • ประวัต/ิ วัตถุประสงค/ภารกิจ/วิสัยทัศนและความสําคัญของพุทธ
                                    มณฑล
                               • ศึกษาสังเวชนียสถาน ๔ ตําบล
                               • หอพระไตรปฎกหินออน
                               • พระประธานพุทธมณฑล
                               • สถานที่สําคัญในพุทธมณฑล
              เวลา             ๓ ชั่วโมง
              วิธีการอบรม แบงกลุม/ระดมความคิด/สรุปผล

       ๑.๓ การจัดระเบียบวินัยเด็ก
              วัตถุประสงค เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมไดศึกษาวิธีการสรางระเบียบ วินัย ในหมู
       คณะ ในการควบคุมผูเขารับการอบรมในโครงการ เพื่อใหเกิดความเรียบรอยสวยงาม
              ขอบขายเนื้อหา
                                • การฝกระเบียบโดยการออกคําสั่ง
                                • การลงโทษตอผูฝาฝนระเบียบที่เหมาะสม
              เวลา              ๒ ชั่วโมง
              วิธีการฝกอบรม บรรยาย / สาธิต /ชมวิดีทัศน

       ๑.๔ วิชาการบริหารกิจกรรมคายคุณธรรม
               จุดประสงค      เพื่อใหผูเขารับการอบรมไดมีระบบการบริหารโครงการและทีมงาน
       ฝกอบรมที่มีประสิทธิภาพ
               ขอบขายเนื้อหา
                               • การจัดสรรทีมงาน
                                • การเตรียมการ
                                • การประสานงาน
                               • เทคนิคการสรางกําลังใจและมอบหมายงาน
                               • การตัดสินใจ
               เวลา            ๒ ชั่วโมง
               วิธีการฝกอบรม บรรยาย / กิจกรรมสัมพันธ
๑๐
หมวดที่ ๒ วิชาหลักและวิธีการสอนธรรมประยุกต

        ๒.๑ วิชาเทคนิคการใชเทคโนโลยีในการฝกอบรม
                วัตถุประสงค เพื่อใหผูเขารับการอบรมไดศึกษาเทคนิคการใชเครื่องมืออุปกรณเทค
โยโลยีและเลือกใชสื่อที่เหมาะสมในการใหการอบรมแกนักเรียนและเยาวชน
                ขอบขายเนื้อหา
                                 • อุปกรณเครื่องมือที่จําเปน
                                 • การเลือกเนื้อหาของสื่อที่เปน ภาพ –เสียง
                                 • การนําเสนอที่มีประสิทธิภาพ
                เวลา             ๓ ชั่วโมง
                วิธีการอบรม บรรยาย / ชมวิดีทัศน /ซักถาม

        ๒.๒ เทคนิคการผลิตสื่อธรรมะ
               วัตถุประสงค เพื่อใหผูเขารับการอบรม สามารถผลิตสื่อจากวัสดุใหเปนอุปกรณสอน
ธรรมะ และนําเสนอไดอยางมีประสิทธิภาพ
               ขอบขายเนื้อหา
                                • การเลือกวัสดุมาผลิตเปนสื่อ
                                • ขั้นตอนการผลิตสื่อ
                                • เปาหมายของสื่อกับเนื้อหาธรรมที่ซอนอยูในสื่อ
                                • ขั้นตอนการผลิตสื่อ
                                • เทคนิคการนําเสนอ
               เวลา             ๖ ชั่วโมง
               วิธีการอบรม บรรยาย / สาธิต / ฝกภาคปฏิบัติ

        ๒.๓ เทคนิคการนําเสนอกิจกรรมธรรมนันทนาการ (เกมส)
                วัตถุประสงค เพื่อใหผูเขารับการอบรม ไดเรียนรูเทคนิคการสอนธรรมโดยใชเกมสหรือ
การแสดง เปนสื่อในการสอนธรรมะเปนลักษณะการละลายพฤติกรรม กอนการฝกอบรมภาควิชาการ
                ขอบขายเนื้อหา
                               • ประเภทของเกมสหรือการแสดงตอหนาชุมชน
                               • ความเหมาะสมในการใชเกมสในการอบรม
                               • สาธิตรูปแบบเกมสหรือการแสดงในแบบตางๆ
                               • ฝกทักษะและวิธีการนําเสนอ
                               • สรุปธรรมะ
๑๑
                เวลา             ๙ ชั่วโมง
                วิธีการอบรม      บรรยาย/ สาธิต / ฝกภาคปฏิบัติ

           ๒.๔ เทคนิคปลูกจิตสํานึกทางคุณธรรมในรูปแบบกิจกรรมสัมพันธ
                  วัตถุประสงค เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรม ไดมีเทคนิครูปแบบการจัดกิจกรรมที่มี
คุณธรรม ปลุกจิตสํานึกใหเปนเด็กดี ศรัทธาตอพระพุทธศาสนาและคุณคาแหงความกตัญูกตเวทิตาธรรม
มุงมั่นตอการกระทําความดี
                  ขอบขายเนื้อหา
                                  • แนวคิดและเหตุผลในการใชกิจกรรมปลุกจิตสํานึกทางคุณ ธรรม
                                  • การเลือกกิจกรรมการสอนและเทคนิคการนําเสนอ
                                     - กิจกรรมจุดเทียนอุดมการณ                             ๒ ช.
                                  ม.
                                     - กิจกรรมปลุกจิตสํานึกพระคุณพอแม                    ๒ ช.ม.

                                 - กิจกรรมปลุกจิตสํานึกพระคุณคุณครู                     ๒ ช.ม.
                                 - ฝกภาคปฏิบัติ                                        ๓ ช.ม.
                               • สรุปผลการนําเสนอ
                เวลา           ๙      ชั่วโมง
                วิธีการฝกอบรม บรรยาย / สาธิต / ฝกภาคปฏิบัติ / อภิปราย / ซักถาม / ชมวีดีทัศน

หมวดที่ ๓ วิชาการพัฒนาบุคลิกภาพ

        ๓.๑ วิชาจริยธรรมพระธรรมวิทยากร
                  วัตถุประสงค เพื่อใหผูรับการอบรมตระหนักถึงหนาที่และลักษณะของนักเผยแผที่มี
ความรูคูคุณธรรม สามารถรักษาศรัทธาของพุทธศาสนิกชนทั่วไปอยางมั่นคง
                  ขอบขายเนื้อหา
                                 • จรรยาของพระธรรมวิทยากร
                                 • การเตรียมตัวเปนนักเผยแผที่ดี
                  เวลา           ๓ ชั่วโมง
                  วิธีการอบรม บรรยาย

        ๓.๒ วิชา การพัฒนาจิต (ทําวัตรเชา-เย็น)
                วัตถุประสงค เพื่อเอื้อเฟอตอพระธรรมวินัย ปฏิบัติกิจวัตรรวมกัน และพอกนพูนศรัทธา
แกสาธุชนทั่วไป
๑๒
ขอบขายเนื้อหา
                 • สวดมนตทําวัตรเชาเย็น
                 • สมาธิภาวนา

เวลา             ๙ ชั่วโมง
วิธีการอบรม      ประชุมพรอมกัน / สวดมนต / จิตภาวนา
๑๓


                      ๑.ภาคสาธิตกิจกรรม
                               ๑.ตัวอยางกําหนดการคาย

                                 กําหนดการอยูคายพุทธบุตร
                                      -------------------

วันที่ ๑ ของการอบรม
                ๐๗.๓๐-๐๘.๓๐ น.       นักเรียนลงทะเบียนรายงานตัว
                ๐๘.๓๐-๐๙.๐๐ น.       นักเรียนทุกคนพรอมกันในที่ประชุม
                ๐๙.๐๐-๐๙.๓๐ น.       พิธีเปดการอยูคายพุทธบุตร
                                     - เปดเพลงพระรัตนตรัย
                                     - ประธานฝายฆราวาสจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย
                                     - ประธานสงฆขึ้นธรรมาสนใหศีล
                                     - นักเรียน ครู อาจารย และแขกผูมีเกียรติกราบพระ
                                     - อาราธนาศีล และรับศีล
                                     - ประธานฝายฆราวาสรับการรายงาน
                                     - กลาวรายงาน
                                     - ประธานกลาวเปดการอบรม
              ๐๙.๓๐-๑๐.๑๕ น.         ประธานสงฆกลาวสัมโมทนียกถา
              ๑๐.๑๕-๑๐.๓๐ น.         แนะนําพระวิทยากร วิทยากร และคณะครูพี่เลี้ยง
              ๑๐.๓๐-๑๑.๓๐ น.         พิธีมอบตัวเปนศิษย
                                     สัญญาใจ
                                     คําปฏิญาณพุทธบุตร
                                     กติกาการอยูคายพุทธบุตร
              ๑๑.๓๐-๑๒.๓๐ น.         รับประทานอาหาร
              ๑๒.๓๐-๑๓.๐๐ น.         พบครูอาจารยพี่เลียง
                                                        ้
              ๑๓.๐๐-๑๓.๓๐ น.         ธรรมนันทนาการ
              ๑๓.๓๐-๑๖.๓๐ น.         แบงกลุมนักเรียน ๔ ฐาน
                                     ฐานที่ ๑ ศาสนพิธี
๑๔
                                 ฐานที่ ๒ มารยาทชาวพุทธ
                                 ฐานที่ ๓ กฎแหงกรรม
                                 ฐานที่ ๔ กลุมสัมพันธ
              ๑๖.๓๐-๑๗.๓๐ น.     นักเรียนอาบน้ํา ทําภารกิจสวนตัว
              ๑๗.๓๐-๑๘.๓๐ น.     รับประทานอาหาร
              ๑๘.๓๐-๑๙.๓๐ น.     ทําวัตรเย็น เจริญจิตตภาวนา
              ๑๙.๓๐-๒๐.๓๐ น.     กิจกรรมสูความเปนพุทธบุตร
              ๒๐.๓๐-๒๑.๓๐ น.     ฉายสไลดเรื่องพุทธประวัติ
              ๒๑.๓๐ น.           นักเรียนเขานอน




วันที่ ๒ ของการอบรม
                ๐๔.๓๐-๐๕.๐๐ น.   ตื่นนอนทําภารกิจสวนตัว
                ๐๕.๐๐-๐๕.๑๕ น.   บริหารกาย
                ๐๕.๑๕-๐๖.๐๐ น.   ทําวัตรเชา เจริญจิตตภาวนา เดินจงกรม
                ๐๖.๐๐-๐๗.๐๐ น.   กิจกรรมหนาเสาธง
                ๐๗.๐๐-๐๗.๓๐ น.   บําเพ็ญประโยชน
                ๐๗.๓๐-๐๘.๓๐ น.   รับประทานอาหาร
                ๐๘.๓๐-๑๑.๓๐ น.   แบงกลุมนักเรียนมาตรฐาน ๔ ฐาน
                                 ฐานที่ ๑ พระคุณของพระรัตนตรัย
                                 ฐานที่ ๒ พระคุณของคุณพอคุณแม
                                 ฐานที่ ๓ พระคุณของคุณครู
                                 ฐานที่ ๔ พระคุณของพระมหากษัตริย
              ๑๑.๓๐-๑๒.๓๐ น.     รับประทานอาหาร
              ๑๒.๓๐-๑๓.๐๐ น.     พบครูอาจารยพี่เลี้ยง
              ๑๓.๐๐-๑๓.๓๐ น.     ธรรมนันทนาการ
              ๑๓.๓๐-๑๖.๓๐ น.     แบงกลุมนักเรียนตามฐาน ๔ ฐาน
                                 ฐานที่ ๑ เพื่อนที่ดี
                                 ฐานที่ ๒ พลเมืองที่ดี
                                 ฐานที่ ๓ พุทธศาสนิกชนที่ดี
                                 ฐานที่ ๔ สุขภาพอนามัยที่ดี
๑๕
              ๑๖.๓๐-๑๗.๓๐ น.      นักเรียนอาบน้ํา ทําธุรกิจสวนตัว
                                  พระวิทยากรและผูรวมงานประชุม
              ๑๗.๓๐-๑๘.๓๐ น.      รับประทานอาหาร
              ๑๘.๓๐-๒๐.๐๐ น.      ทําวัตรเย็น เจริญจิตตภาวนา
              ๒๐.๐๐-๒๑.๓๐ น.      นักเรียนแสดงละครธรรมะเรื่อง
                                  § ความสนใจใฝรูและสรางสรรค
                                  § ความมีน้ําใจ
                                  § ความมีวินัย
                                  § ความเปนไทย
              ๒๑.๓๐ น.            นักเรียนเขานอน

วันที่ ๓ ของการอบรม
                ๐๔.๓๐-๐๕.๐๐ น.    ตื่นนอนทําภารกิจสวนตัว
                ๐๕.๐๐-๐๕.๑๕ น.    บริหารกาย
                ๐๕.๑๕-๐๖.๐๐ น.    ทําวัตรเชา เจริญจิตตภาวนา เดินจงกรม
                ๐๖.๐๐-๐๗.๐๐ น.    กิจกรรมหนาเสาธง
                ๐๗.๐๐-๐๗.๓๐ น.    บําเพ็ญประโยชน
                ๐๗.๓๐-๐๘.๓๐ น.    รับประทานอาหาร
                ๐๘.๓๐-๐๙.๓๐ น.    อภิปรายเรื่องศิษยดีมีคุณธรรม
                ๐๙.๓๐-๑๐.๓๐ น.    แบงกลุมเขียนเรียงความ เรื่องพระคุณของคุณพอคุณแม
                พระคุณของคุณครู
                ๑๐.๓๐-๑๑.๓๐ น.    สนทนาธรรม
                ๑๑.๓๐-๑๒.๓๐ น.    รับประทานอาหาร
                ๑๒.๓๐-๑๓.๐๐ น.    ธรรมนันทนาการ
                ๑๓.๐๐-๑๖.๐๐ น.    อธิษฐานจิตเพื่อชีวิตใหม
                ๑๖.๐๐-๑๖.๓๐ น.    พิธีปดการอยูคายพุทธบุตร
                                  § ประธานฝกอบรมมอบวุฒิบัตร
                                  § ประธานฝกอบรมมอบศิษยคืน ผูบริหารโรงเรียนรับ
                                       ศิษยคืน และกลาวปดการอบรม
                                  § พระอาจารยนํากราบพระ
๑๖
                 รายละเอียดและขั้นตอนการดําเนินงานการอยูคายพุทธบุตร

การลงทะเบียนรายงานตัว
        ๑. จัดโตะรับรายงานตัว และมีครูรับรายงานตัว
        ๒. จัดนักเรียนเปน ๘ กลุม พรอมรายชื่อนักเรียนที่เขาคายพุทธบุตร ดังนี้
               กลุมฉันทะ ๑ ปายชื่อ สีเหลือง              กลุมจิตตะ ๑ ปายชื่อสีน้ําเงิน
               กลุมฉันทะ ๒ ปายชื่อ สีเหลือง              กลุมจิตตะ ๒ ปายชื่อสีน้ําเงิน
               กลุมวิริยะ ๑ ปายชื่อสีฟา                 กลุมวิมังสา ๑ ปายชื่อสีเขียว
               กลุมวิริยะ ๒ ปายชื่อสีฟา                 กลุมวิมังสา ๒ ปายชื่อสีเขียว
        ๓. นักเรียนลงชื่อรายงานตัวและรับปายชื่อ
        ๔. ครูนํานักเรียนไปหองประชุม

การเขาหองประชุม
        - จัดรวมเด็กที่สนาม ตามกลุมที่จัดไว
        - จัดเด็กใหยืนตามลําดับไหล ใหคําต่ําที่สุดยืนหัวแถว
        - ปลอยเด็กใหเดินแถวไปเขาหองประชุม
        - ถึงหองประชุมเขายืนประจําที่ของตัวเอง
        - สั่งใหเด็กจัดแถวใหคนหนาสุดยืนเปนแบบคนอื่น ๆ ยกมือขวายื่นมาขางหนาแลวถอยหลัง
            ไป จนปลายน้ํามือหางจากแผนหลังของคนที่ยืนอยูขางหนาประมาณ สองคืบ
        - สั่งเด็กใหขวาหันเมื่อขวาหันแลวใหแถวที่อยูหนาสุดยืนเปนแบบแถวอื่น ๆ จัดตัวเองใหยืน
            จมูกตรงคอคนหนา
        - สั่งเด็กใหซายหัน ใหทุกคนยืนใหจมูกตรงคอคนหนา
        - วิธีนั่งใหหยอนเขาซายลงกอน แลวตามดวยเขาขวา
        - นั่งลงแลวคุกเขา ผูชายนั่งทาเทพบุตร ผูหญิงนั่งทาเทพธิดา
        - กราบพระรัตนตรัย ๓ ครั้งแลวจึงนั่งพับเพียบดวยการตวัดปลายเทาลงมาทางดานหลัง

วิธียืน-นั่ง-เปลี่ยนทานั่ง
           ถาเรานั่งพับเพียบอยูแตตองการจะยืน ตองปฏิบัติดังนี้
         - นั่งคุกเขา ยกเขาขางขวาตั้งตรงขึ้น (คลายนักกรีฑาเตรียมวิ่ง) แลวยืนขึ้น (พึงสังเกตวาถาจะ
                ยืนยกเขาขวาขึ้นกอน ถาจะนั่งหยอนเขาซายลงกอน)
           เมื่อนั่งพับเพียบนาน ๆ รูสึกเมื่อยหรือปวด ใหเปลี่ยนทานั่งดังนี้
           - นั่งคุกเขาขึ้น แลวตวัดปลายเทาเปลี่ยนไปอีกขางหนึ่งทางดานหลัง
๑๗

วิธีกราบ
           - กราบพระรัตนตรัย ใหกราบแบบเบญจางคประดิษฐ ๓ ครั้ง
           - กราบพอแม ครูอาจารย นั่งพับเพียบ ยื่นมือออกไปขางหนาไมตองแบมือ กราบเอาหนาผาก
             ลงบนสันกระพุมมือ ๑ ครั้ง

กราบทานประธาน
       - พระอาจารยตั้งหัวหนานักเรียน ๑ คน ใหทําหนาที่สั่งนักเรียน
       - เมื่อประธานนั่งเรียบรอยแลว หัวหนานักเรียนสั่งวา “นักเรียนทําความเคารพทานประธาน”
          นักเรียนทั้งหมดกราบ ๑ ครั้ง แลวลุกขึ้นนั่งตัวตรงแบบนั่งตอหนาผูใหญ
       - พิธีกรเชิญประธานจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย
       - พอประธานลุกขึ้นเดินไปจุดธูปเทียน นักเรียนนั่งคุกเขาขึ้น พระวิทยากร ครูอาจารย แขกผู
          มีเกียรติ ที่นั่งเกาอี้ทั้งหมดยืน
       - ประธานจุดเทียนเลมที่ ๑ ทุกคนประนมมือ
       - ประธานทําหนาที่บนเวทีเสร็จแลวลงมายืนหันหนาไปทางโตะหมู
       - พระอาจารยนํากลาวบูชาพระรัตนตรัย ทุกคนวาตาม
       - ประธานยืนที่สแตนดรับฟงคํากลาวรายงาน
       - นักเรียนนั่งพับเพียบ และทุกคนนั่ง ณ ที่ของตน
       - ประธานปราศรัยเสร็จนักเรียนรับวา “สาธุ” (ไมปรบมือ)
       - พิธีกร “นักเรียนทําความเคารพ” นักเรียนทั้งหมดกราบ ๑ ครั้ง นั่งตัวตรง
                                             เสร็จพิธีฝกซอม

หมายเหตุ          วิธีกราบประธานและคําพูดของนักเรียนที่แนะนํามานี้ใชสําหรับประธานที่เปน
                  ฆราวาส (ถาประธานเปนพระใหนักเรียนกราบเพญจางคประดิษฐ ๓ ครั้ง)

พิธีเปดการอยูคายพุทธบุตร
         ๑. เปดเพลงพระรัตนตรัย
         ๒. ประธานฝายฆราวาสจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย
         ๓. ประธานสงฆขึ้นธรรมาสนใหศีล นั่งอาสนะ
         ๔. นักเรียน ครู อาจารย และแขกผูมีเกียรติกราบพระ
         ๕. ตัวแทนนักเรียนอาราธนาศีล ทุกคนรับศีลพรอมกัน
         ๖. ประธานยืนที่สแตนด ฟงคํากลาวรายงาน
๑๘
        ๗. ผูรับผิดชอบโครงการกลาวรายงาน
        ๘. ประธานรับรายงานแลวกลาวเปดการอบรม
        ๙. นักเรียนกวา “สาธุ” นักเรียนกราบประธาน

                                       พิธีมอบตัวเปนศิษย
        เตรียมสถานที่
        - จัดเกาอี้เทาจํานวนพระอาจารยและครูอาจารยตั้งเปนแถวตรงหนานักเรียนซึ่งนั่งเรียบรอย
             อยูกอนแลว ในหองประชุม (สําหรับครู ใชเสื่อปูนั่ง หรือนั่งบนเกาอี)้
        เตรียมบุคคล
        - เตรียมเด็กนํากลาวมอบตัวเปนศิษย ๑ คน
        เตรียมอุปกรณ
        - เตรียมดอกไมใสพานเทาจํานวนกลุมนักเรียน ที่แบงไวใหตัวแทนกลุมเปนผูมอบใหพระ
             อาจารย และครูอาจารย
        ขั้นตอนพิธีมอบตัวเปนศิษย
        - คณะพระอาจารยและครูอาจารยนั่งเกาอี้
        - นักเรียนกราบ ๓ ครั้ง
        - พระอาจารยกลาวถึงความสัมพันธระหวางครูกับศิษย
        - ตัวแทนนักเรียนนํากลาวมอบตัวเปนศิษย
        - นักเรียนนั่งตัวตรงหลับตาระลึกถึงพระคุณของคุณครู (เปดเพลงพระคุณที่สาม)
        - ตัวแทนกลุมนักเรียนประเคนพานดอกไมและพานธูปเทียนแพ
        - นักเรียนทั้งหมดกราบ ๓ ครั้ง
        - รับศีล ๕

ขั้นตอนพิธีมอบตัวเปนศิษย
         พูดโนมนาวใหนักเรียนซาบซึ้งในพระคุณของแม
         เจริญสุขคณะครูอาจารย นักเรียนที่รักทุกคน พระอาจารยรูสึกดีใจมากที่ไดเห็นความพรอม
เพรียง ของคณะครูอาจารย ตลอดจนนักเรียนทุกคนที่มาพรอมกัน ณ ที่นี้เพื่อเขารับการอบรมธรรมะของ
องคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา เพื่อเปนดวงประทีปสองแสงสวางนําทางชีวิตใหแกตนเอง
         นักเรียนทุกคน ชีวิตของคนเรานั้นเลือกเกิดไมได แตทุกคนมีโอกาสที่จะเลือกประพฤติดีปฏิบัติ
ชอบได แตเพราะเหตุวานักเรียนมีสติปญญายังไมกลาแข็ง ประกอบกับสิ่งแวดลอมที่เลวรายบางประการ
จึงทําใหการดําเนินชีวิตของนักเรียนแตละคน มีชีวิตที่นาเปนหวง คุณครู คุณพอ คุณแม ตลอดจนพระ
อาจารยมีความรูสึกเปนหวงนักเรียนทุกคนเปนอยางยิ่ง จึงไดจัดการอบรมคุณธรรมจริยธรรมขึ้น ก็ดวย
๑๙
หมายใจวาจะใหนักเรียนอันเปนที่รักไดมีวิถีชีวิตที่ถูกตอง สามารถดําเนินชีวิตไดอยางปลอดภัย
ปราศจากอันตรายทั้งปวง
         พระคุณของคุณพอคุณแม เลิศล้ําหาที่สุดมิได เพราะทานรักลูกดังดวงใจจึงมีความเห็นวาการ
ดําเนินชีวิตที่ขาดธรรมะ ขาดสติปญญา ก็เชนเดียวกันกับเรือที่ขาดหางเสือจึงไดตัดใจมอบลูกรักมารับ
การอบรมคุณธรรมจริยธรรมแหงนี้ มาอยูในความดูแลของพระอาจารยและครูอาจารยทุกทาน
         นักเรียนทุกคน คุณครูเปรียบเสมือนพอแมคนที่สองของนักเรียนมีพระคุณตอนักเรียนมาก ครู
อบรมสั่งสอนใหศิษยไดรับความรูโดยไมเลือกที่รักมักที่ชัง ตอไปนี้จะใหตัวแทนนักเรียนมากลาวคํา
มอบตัวเปนศิษยสืบตอไป
         - ตัวแทนนักเรียนนําดอกไมธูปเทียนประเคนพระวิทยากร (๒ คน กราบเบญจางคประดิษฐ
             ๓ ครั้ง)
         - ตัวแทนนักเรียนกลาวนํามอบตัวเปนศิษย และยินยอมรับคําสั่งสอนของพระอาจารย
         - พระอาจารยและครูกลาวรับวา สาธุ

          คํากลาวนํามอบตัวเปนศิษย (กลาวกอนถวายดอกไมธูปเทียน)
          กราบนมัสการพระอาจารยทุกรูป และขอกราบอาจารยทุกทาน นับเปนโอกาสอันดีงามของพวก
ขาพเจาที่จะไดรับการอบรมธรรมะอันประเสริฐวันนี้ ชีวิตของพวกขาพเจาตั้งแตเกิดมามีพอแมอุปการะ
เลี้ยงดูไดรับความอบอุนเสมอมา แตบัดนี้พวกขาพเจาเขามารับการอบรมที่นี่เพื่อแสวงหาความดี ใน
โครงการอบรมคุณธรรมจริยธรรม และปฏิบัติธรรมเพื่อพัฒนาจิต
          ถึงแมวาพวกขาพเจาจะจากบานจากพอแมมา แตเพื่อความดีและมั่นใจในความปรารถนาดีของ
ทานทั้งหลาย ทานยอมเหน็ดเหนื่อย เสียสละเวลามาอบรมสั่งสอนใหพวกขาพเจาเปนคนดี พวกขาพเจา
จะตั้งใจรับการอบรมสั่งสอนดวยความเต็มใจดังคํากลอนสอนใจดังนี.้ ..
                                  ขอประนม                  กมกราบ                ครูอาจารย
                          นมัสการ                          พระอาจารย             ผูสั่งสอน
                          พร่ําฝากฝง                      สอนศิษย               ใจอาวรณ
                          ดวยอาทร                         หวังศิษย              เปนคนดี
                                  วางระเบียบ               วินัย                  ไวแจมแจง
                          จงเขมแข็ง                       สูชีวิต               มีศักดิ์ศรี
                          สอนใหศิษย                      ละชั่ว                 ยึดสิ่งดี
                          เปนไมงาม                       ประดับชีวี             ใหกาวไกล
                                  ดวยดวงจิต               มุงมาตร               ปรารถนา
                          ขอสัญญา                          ยึดมั่น                ไมหวั่นไหว
                          จะกราบไหว                       พระอาจารย             สุดหัวใจ
๒๐
                             องคทาวไท                        รูเห็น               เปนพยาน
                                      จะเนิ่นนาน               เพียงใด               ใจสํานึก
                             นอมรําลึก                        ในพระคุณ              อบอุนผสาน
                             ทานฝกฝน                         ชี้แนะให             ใจเบิกบาน
                             นิรันดรกาล                       ขอเทอด                พระคุณเอย
                  ณ โอกาสนี้ พวกขาพเจาขอปฏิญานมอบกายใจแกทานทั้งหลาย (ขอใหทุกคนโปรด
          ประนมมือ) กลาวตามขาพเจา ดังนี.้ .....
                             เอเต มยํ ภณฺเต อาจริยา อตฺตภาวํ ตุมฺหากํ ปริจฺจชามฺ
                             (เอเต มะยัง ภันเต อาจะริยา อัตตะภาวัง ตุมหากัง ปริจจะชามะ)
          ขาแตพระอาจารยและอาจารยผูเจริญ ขาพเจาทั้งหลายขอมอบกายและใจเปนศิษยที่ดีของพระ
อาจารยและครูอาจารย ขาพเจาทั้งหลายจะตั้งใจศึกษา เชื่อฟงคําสั่งสอนและปฏิบัติตามดวยความเคารพ
ทุกประการ ดวยสัจจะวาจานี้ขอใหขาพเจาทั้งหลายจงมีแตความสุขความเจริญตลอดกาลนานเทอญ
          ตัวแทนนักเรียนนําพานธูปเทียนแพ มอบถวายพระอาจารย
          รองเพลงพระคุณที่ ๓
          หัวหนาคณะวิทยากร กลาวรับเปนศิษย และใหโอวาท
          นักเรียนที่รักทั้งหลาย ณ บัดนี้ พระอาจารยและคุณครูทุกทาน ยินดีรับนักเรียนทั้งหมดเปนศิษย
ที่ดีดวยความเต็มใจ ขอใหศิษยทุกทานจงประพฤติตนใหอยูในระเบียบวินัยของการองรม เชื่อฟง
คําแนะนําสั่งสอนของพระอาจารยดวยความเต็มใจ มีความสงบสํารวมไมสงเสียงดังรบกวนผูอื่น รัก
ใครสามัคคีมีความเอื้อเฟอเผื่อแผเพื่อน ๆ ในการอบรมดวยกันใหมีความซื่อสัตยตอตนเองและผูอื่นอยู
                                                                                              
เสมอ สํารวมกายวาจาและใจมีสัมมาคารวะสามัคคีพยายามใฝใจในการอบรม เรียนรู ทําเปน มีวินัย ใจ
เย็น เห็นแกประโยชนสวนรวมเสมอ
          บัดนี้ขอใหนักเรียน ศิษยที่รักทุกคน ตั้งใจรับฟงคําแนะนํากติกาสัญญาใจตอไป

                                             สัญญาใจ
                                         น อนริยํ กริสฺสามิ
                                     (นะ อะนะริยัง กะริสสามิ)
                                     (เราจักไมทําสิ่งที่ต่ําทราม)
คําปฏิญาณ
       ๑. ใหกําหนดในใจวา เรามาเขาคายพุทธบุตร เพื่อฝกฝนตนเองใหเปนคนดี จึงควรพยายามละ
          เวนเรื่องตาง ๆ ทางโลกเสีย มุงประคองจิตใหดําเนินไปในทางธรรม
       ๒. พยายามสํารวมตนเองทั้งกาย วาจา ใจ
       ๓. การพูดคุยควรอยูเฉพาะในวงแหงธรรมะ และตามความจําเปนเทานั้น
๒๑
       ๔. เจริญสติทุกอิริยาบถ ใหรูตัววาขณะนี้กําลังทําอะไรอยู
       ๕. ลดละทิฐิมานะเดิม ตั้งใจเจริญภาวนาและเจริญเมตตาใหมาก
       ๖. อดทนตอความยากลําบากทุกกรณี
       ๗. เมื่อมีปญหาหรือสงสัยสิ่งใดใหถามวิทยากรผูใหการอบรม
       ๘. แตงกายสุภาพเรียบรอย เก็บรองเทาใหเปนระเบียบในทีกําหนด
                                                                  ่
       ๙. ชวยกันทําความสะอาดที่พักทุกคน และรักษาความสะอาดในการใชหองน้ํา
       ๑๐. หามสมาชิกชายหญิง อยูในที่ลับสองตอสอง
       ๑๑. มีมารยาทในการรับประทานอาหาร และสุภาพเรียบรอยตอสมาชิกรวมคาย
       ๑๒. ตรงตอเวลา
       ๑๓. ขณะมีการฝกฝนกรรมฐาน หามทําเสียงดังเปนอันขาด
       ๑๔. หามนําอาหารหรือขนม เขาไปรับประทานในเขตอบรมหรือเก็บไวในหองพัก
       ๑๕. ขอปฏิบัติอื่น ๆ นอกไปจากนี้ใหพิจารณาตามความเหมาะสมแกกาลเทศะ เพศ วัย
                                          ปฏิธานพุทธบุตร
                               จะอดทนขมใจใฝฝกฝน
                               จะขยันสรางตนไมเหหัน
                               จะประหยัดใชจายประจําวัน
                               จะซื่อสัตยตอกันมั่นไมคลาย
                               จะกตัญูรูบุญคุณทุกทาน
                               จะมีวินัยรวมประสานงานทั้งหลาย
                               จะ ละ เลิก อบายมุข ไมเยี่ยมกราย
                               จวบชีพวายจะทําดีทุกวี่วัน



              อดทน                   ขยัน                  ประหยัด               ซื่อสัตย
                      กตัญู                รูวินัย              หางไกลอบายมุข



กติกาการเขาคายพุทธบุตร
       ๑. เราจะตรงตอเวลา
       ๒. เราจะสุภาพเรียบรอย
       ๓. กอนพระวิทยากรบรรยายใหพูดวา “สวัสดีครับ สวัสดีคะ” กราบ ๓ ครั้ง
       ๔. เมื่อพระวิทยากรบรรยายจบใหพูดวา “ขอบคุณครับ ขอบคุณคะ” กราบ ๓ ครั้ง
๒๒
        ๕. เมื่อพระวิทยากรบรรยายจบหรือชอบใจ ใหพนมมือกวาคําวา “สาธุ” ไมปรบมือ
        ๖. เมื่อพูดคุยกับพระอาจารยหรือครูอาจารย เราจะประนมมือทุกครั้ง
        ๗. เราจะวางรองเทาใหเปนระเบียบ
        ๘. เราจะไมพูดสงเสียงดังในทุก ๆ สถานที่
        ๙. เราจะมีระเบียบในการเดินแถวและเขาออกหองประชุม หรือทําธุรกิจอื่น ๆ
        ๑๐. ขณะรับประทานอาหารจะไมมีการพูดคุยกัน
        ๑๑. เราจะมีความสุภาพเรียบรอยตอวิทยากร พระอาจารย ครูอาจารยพี่เลี้ยง
        ๑๒. เราจะเชื่อฟงและปฏิบัติตามคําสั่งของพระอาจารย ครูอาจารยพี่เลี้ยงอยางเครงครัด
        ๑๓. เราจะไมเปนคนเห็นแกตัว พรอมที่จะเสียสละทุกเมื่อ
        ๑๔. เมื่อเห็นคนอื่นทํางานเราจะชวยทันที
        ๑๕. เราจะไมมีการทะเลาะเบาะแวงกัน
        ๑๖. เราจะพูดคุยกับเพื่อน ๆ ดวยความสุภาพทุกเมื่อ
        ๑๗. เราจะไมมีการออกไปนอกสุถานที่อบรมกอนไดรับอนุญาต
        ๑๘. เราจะมีความอดทน อดกลั้นไดในทุก ๆ กรณี
        ๑๙. เราจะไมแอบรับประทานอาหารหรือขนมและสิ่งเสพติดทุกชนิด
        ๒๐. เมื่อเราไมสบายหรือเห็นเพื่อนไมสบายหรือมีสิ่งใดผิดปกติเกิดขึ้นใหรีบแจงพระอาจารย
             หรือครูอาจารยพี่เลี้ยงทันที
        ๒๑. เราจะใหความรวมมือและตั้งใจในการปฏิบัติงานเปนอยางดี
        ๒๒. เสื้อผา สิ่งของ ๆ ตน ตองมีชื่อหรือเครื่องหมาย เพื่อปองกันการสับเปลี่ยนกัน
        ๒๓. อยานําสิ่งของมีคามาเขาคายอบรม ถามีใหนํามาฝากครูอาจารยพี่เลี้ยง
        ๒๔. เราจะรักษาความสะอาดเรียบรอย และชวยกันรักษาที่พักอยูตลอดเวลา

การรับประทานอาหาร
       - ใหนักเรียนนําอุปกรณ เชน จาน ชอน แกวน้ํา ฯลฯ มาเรียบรอย
       - ใหนักเรียนวางอุปกรณไวทางขวามือ ใหเปนแถวตรงกันดูสวยงาม
       - ใหนักเรียนกราบพระพรอมกัน ๓ ครั้ง
       - ใหนักเรียนทองพุทธศาสนสุภาษิต คํากลอน เตรียมความพรอม
       - ใหนักเรียนออกรับอาหารเปนแถวอยางมีระเบียบ
       - ใหนักเรียนกลุมที่ไมไดออกรับอาหาร ทองสุภาษิต หรือนั่งสมาธิ แลวแตกรณี
       - นักเรียนรับอาหารมาแลววางไวทางขวามือเปนแถวตรงกัน
       - ตัวแทนกลุมที่มีน้ําใจเอื้อเฟอเอาน้ําใสเหยือกบริการใหเพื่อน (ครูที่ปรึกษาชวยบริการดวยก็
          ได)
๒๓
        -    นักเรียนกลาวคําพิจารณาอาหารพรอมกัน (ใชคําปลุกสํานึก กอนรับประทานอาหาร)
        -    พระอาจารยพูดธรรมะหรือประโยชนของอาหารเปนการใหอาหารใจไปดวย
        -    ใครรับประทานอาหารเสร็จกอนใหนั่งตัวตรงหลับตาทําสมาธิ
        -    รับประทานอาหารเสร็จแลวกลาวคําขอบคุณผูมีอุปการะพรอมกัน
        -    พระอาจารยปลอยใหไปลางจานทีละกลุมอยางมีระเบียบ

ปลุกสํานึกกอนรับประทานอาหาร
        ในการอยูคายพุทธบุตรนั้นเราฝกใหเด็กรับประทานอาหารอยางมีระเบียบเรียบรอยสวยงาม
พระอาจารยจึงจัดเด็กออกไปรับอาหารทีละกลุมอยางมีระเบียบ และเมื่อกลับมานั่งที่เดิมหมดทุกคนแลว
กอนจะรับประทานอาหาร พระอาจารยจะกลาวนําใหวาตาม ดังนี้
                            “ขาวทุกจาน                     อาหารทุกอยาง
                            อยากินทิ้งขวาง                เปนของมีคา
                            หลายคนเหนื่อยยาก                ลําบากนักหนา
                            สงสารบรรดา                      คนยากคนจน
                            ในโลกนี้ยังมีคนที่จนยาก แสนลําบากอัตคัดและขัดสน
                            อยากินทิ้งขวางตามใจตน สงสารคนอื่นที่ไมมีกิน
                    ฉันจะประหยัด         ซื่อสัตยเกื้อหนุน       สํานึกบุญคุณ  ใหคุมขาวคํา

กติกาในการับประทานอาหาร
       “เราชาวพุทธบุตร รับประทานอาหารดวยความตั้งใจวา ไมดัง ไมหก ไมเหลือ”

คําอธิษฐานหลังรับประทานอาหาร
        ขาพเจาขอตั้งจิตอธิษฐานวา เมื่อขาพเจาไดชีวิต ไดเลือดเนื้อ จากอาหารมื้อนี้แลว ขาพเจาจะไม
ลืมพระคุณของผูมีพระคุณ และขอใชกาย วาจา ใจ เปนไปในทางที่มีประโยชนแกตนเอง และผูอื่น
ตลอดไป
        เมื่อกลาวคําอธิษฐานเสร็จแลว พระอาจารยใหนักเรียนออกไปลางจานทีละกลุมอยางมีระเบียบ
มีคุณครูคอยแนะนําเด็กอยู ณ ที่ลางจาน

พบครูอาจารยพี่เลี้ยง
       การพบครูอาจารยพี่เลี้ยง มีจุดประสงคเพื่อ
       ๑. ใหรูจักนักเรียนเปนรายบุคคลในกลุมที่รับผิดชอบ
       ๒. ใหนักเรียนนําของที่มีคาฝากไวที่ครูอาจารยพี่เลี้ยง
๒๔
       ๓. แนะนําสถานที่ตาง ๆ ใหนักเรียนรูจัก เชน ที่พัก ที่รับประทานอาหาร ที่อาบน้ํา
          สถานที่เรียนกรรมฐาน เปนตน
       ๔. เปนที่ปรึกษานักเรียนขณะอยูคายพุทธบุตร คอยดูแลสุขภาพอนามัยนักเรียน
       ๕. สนทนาซักถามความเปนอยู และปญหาตาง ๆ ขณะอยูคายพุทธบุตร

การประชุมพระวิทยากรและผูรวมงาน
      การประชุมพระวิทยากร และผูรวมงาน มีจุดประสงคเพื่อ
      ๑. สนทนาถึงกิจกรรมที่จัดในแตละวันในเรื่อง
          ๑.๑ สภาพความสําเร็จการจัดกิจกรรม
          ๑.๒ ปญหาอุปสรรคในการจัดกิจกรรม
          ๑.๓ ขอเสนอแนะในการปรับปรุงกิจกรรมในวันตอไป
      ๒. การนําเสนอกิจกรรมวันตอไปในเรื่อง
          ๒.๑ การเตรียมการจัดกิจกรรม
          ๒.๒ ภารกิจความรับผิดชอบในแตละงาน
          ๒.๓ การเตรียมอุปกรณและของใชในแตละกิจกรรม
          ๒.๔ การเตรียมบุคลากรรับผิดชอบกิจกรรม
          ๒.๕ การซักซอมความเขาใจในกิจกรรมตาง ๆ

ธรรมนันทนาการ
       ธรรมนันทนาการมีจุดมุงหมายเพื่อใหนักเรียนเกิดความสนุกสนานมีอารมณสุนทรียในบทเพลง
และสุภาษิตคําพังเพย เพลงที่นําเสนอในคายพุทธบุตรตองเปนเพลงที่ปลูกฝงอุดมการณและจิตสํานึกที่ดี
ในดานคุณธรรมจริยธรรม
       วันที่ ๑ ของการอบรม เปนเพลงที่มีจังหวะและทํานองสนุกสนานเราใจ
       วันที่ ๒ ของการอบรม เปนเพลงที่รองแลวเกิดความซาบซึ้งในคุณธรรม
       วันที่ ๓ ของการอบรม เปนเพลงที่รองแลวเกิดความซาบซึ้งและประทับใจ และไมมีดนตรี
                 ประกอบ เนื้อเพลงประกอบกิจกรรมธรรมนันทนาการไดพิมพไวในคูมือนี้แลว

การแบงกลุมเรียนตามฐาน
       ๑. กําหนดสถานที่เรียนตามฐาน และเขียนปายชื่อฐานที่เรียน
       ๒. เตรียมอุปกรณและสื่อประจําฐาน เชน เครื่องขยายเสียง และสื่อประกอบการเรียนฐาน
       ๓. ใหนักเรียนแตละกลุมเดินเรียงแถวไปตามฐานที่กําหนด
       ๔. เมื่อไปถึงในแตละฐานใหนักเรียนปฏิบัติดังนี้
๒๕
            ๔.๑ ในกรณีวิทยากรเปนพระสงฆใหนักเรียนนั่งใหเรียบรอยกลาวคําวา “สวัสดีครับ/
คะ พระอาจารย” แลวกราบแบบเบญจางคประดิษฐ ๓ ครั้ง และใหนักเรียนฟงหรือปฏิบัติกิจกรรมดวย
อาการสํารวจ เมื่อจบการเรียนใหนักเรียนทุกคนกลาววา “ขอบพระคุณครับ/คะ พระอาจารย” แลวกราบ
เบญจางคประดิษฐ ๓ ครั้ง
            ๔.๒ ในกรณีวิทยากรเปนฆราวาสใหนักเรียนนั่งใหเรียบรอยกลาวคําวา “สวัสดีครับ/คะ
อาจารย” แลวกราบ ๑ ครั้ง และใหนักเรียนฟงหรือปฏิบัติกิจกรรมดวยอาการสํารวย เมื่อจบการเรียนให
นักเรียนทุกคนกลาววา “ขอบพระคุณครับ/คะ อาจารย” และกราบ ๑ ครั้ง
        กิจกรรมที่เรียนตามฐานตาง ๆ รายละเอียดกิจกรรมอยูในภาคผนวก

การทําวัตรสวดมนต
        - ใชหนังสือสวดมนตแปลฉบับพุทธบุตร (หรือฉบับของสวนโมกข)
        - นั่งคุกเขาเทพบุตร-เทพธิดา (จนกวาพระอาจารยจะสั่งเปลี่ยน)
        - พระอาจารยจุดเทียนเลมที่ ๑ ทุกคนประนมมือ
        - จุดเทียนและธูปเสร็จแลว กราบพระรัตนตรัย ๓ ครั้ง
        - พระอาจารยที่เปนหัวหนาในที่นั้นนําสวดมนตไปจนจบ

อานิสงสของการสวดมนต
       - ทําใหอานหนังสือคลอง ออกเสียงไดถูกตอง สมองไดรับการพัฒนา
       - ขับไลความเกียจคราน จิตใจแชมชื่นเบิกบาน ไมเบื่อไมเซ็ง กระปรี้กระเปรา)
       - ตัดความเห็นแกตัวลงได เพราะขณะสวดมนต โลภะ โทสะ โมหะ ไมเกิด
       - จิตเปนสมาธิ เพราะจิตแนวแนอยูกับบทสวด ไมฟุงซาน จิตเยือกเย็น
       - ไดปญญาเขาใจความหมายและรูจักหลักคําสอนของพระพุทธเจา
       - ไดเขาเฝาพระพุทธเจา และถึงพรอมดวย ศีล สมาธิ ปญญา

การเจริญจิตตภาวนา
        - ทําวัตรสวดมนตเสร็จแลวนั่งคุกเขากราบ ๓ ครั้ง
        - พระอาจารยนํากลาวคําสมาทานกรรมฐาน ทุกคนวาตามดังนี้

คําสมาทานกรรมฐาน
       อุกาสะ อุกาสะ ณ โอกาสบัดนี้ ขาพเจาขอมอบอัตตภาพรางกายนี้ แดพระรัตนตรัย เพื่อที่จะ
เจริญกรรมฐาน
       ขอใหสมาธิและวิปสสนาญาณ จงบังเกิดขึ้น ในขันธสันดานของขาพเจา
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์
คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม  ฉบับสมบูรณ์

Contenu connexe

Tendances

คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2niralai
 
คู่มือเข้าค่ายมัธยม(3วัน)
คู่มือเข้าค่ายมัธยม(3วัน)คู่มือเข้าค่ายมัธยม(3วัน)
คู่มือเข้าค่ายมัธยม(3วัน)niralai
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดkrisdika
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญาพิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญาniralai
 
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัยแนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัยPadvee Academy
 
บทบรรยายพระคุณแม่
บทบรรยายพระคุณแม่บทบรรยายพระคุณแม่
บทบรรยายพระคุณแม่niralai
 
คู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองคู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองniralai
 
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561ungpao
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3niralai
 
คำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมคำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมniralai
 
คำกลอนสอนศิษย์
คำกลอนสอนศิษย์คำกลอนสอนศิษย์
คำกลอนสอนศิษย์PomPam Comsci
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานAnchalee BuddhaBucha
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5niralai
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10supap6259
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาPadvee Academy
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์พัน พัน
 

Tendances (20)

คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
 
คู่มือเข้าค่ายมัธยม(3วัน)
คู่มือเข้าค่ายมัธยม(3วัน)คู่มือเข้าค่ายมัธยม(3วัน)
คู่มือเข้าค่ายมัธยม(3วัน)
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
 
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญาพิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
 
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัยแนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
 
บทบรรยายพระคุณแม่
บทบรรยายพระคุณแม่บทบรรยายพระคุณแม่
บทบรรยายพระคุณแม่
 
คู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองคู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทอง
 
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3
 
คำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมคำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรม
 
คำกลอนสอนศิษย์
คำกลอนสอนศิษย์คำกลอนสอนศิษย์
คำกลอนสอนศิษย์
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 

Similaire à คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม ฉบับสมบูรณ์

ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.dentyomaraj
 
กำหนดการ สมัชชา ล่าสุด
กำหนดการ สมัชชา ล่าสุดกำหนดการ สมัชชา ล่าสุด
กำหนดการ สมัชชา ล่าสุดPisan Chueachatchai
 
Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09Kasem S. Mcu
 
งานอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)
งานอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)งานอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)
งานอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)yahapop
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556oraneehussem
 
ต้นฉบับ โครงการ ประชุมวิชาการประจำปี ๒๕๕๔ การฝังรากฟันเทียม
ต้นฉบับ โครงการ ประชุมวิชาการประจำปี ๒๕๕๔ การฝังรากฟันเทียมต้นฉบับ โครงการ ประชุมวิชาการประจำปี ๒๕๕๔ การฝังรากฟันเทียม
ต้นฉบับ โครงการ ประชุมวิชาการประจำปี ๒๕๕๔ การฝังรากฟันเทียมdentyomaraj
 
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่4 new
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่4 newรายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่4 new
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่4 newsomdetpittayakom school
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น dentyomaraj
 
กำหนดการสัมมนา(จริง)
กำหนดการสัมมนา(จริง)กำหนดการสัมมนา(จริง)
กำหนดการสัมมนา(จริง)Tongsamut vorasan
 

Similaire à คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม ฉบับสมบูรณ์ (20)

V 302
V 302V 302
V 302
 
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
 
R2554
R2554R2554
R2554
 
Rt2554
Rt2554Rt2554
Rt2554
 
กำหนดการ สมัชชา ล่าสุด
กำหนดการ สมัชชา ล่าสุดกำหนดการ สมัชชา ล่าสุด
กำหนดการ สมัชชา ล่าสุด
 
V 285
V 285V 285
V 285
 
V 298
V 298V 298
V 298
 
V 278
V 278V 278
V 278
 
Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09
 
งานอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)
งานอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)งานอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)
งานอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)
 
V 261
V 261V 261
V 261
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556
 
V 284
V 284V 284
V 284
 
ต้นฉบับ โครงการ ประชุมวิชาการประจำปี ๒๕๕๔ การฝังรากฟันเทียม
ต้นฉบับ โครงการ ประชุมวิชาการประจำปี ๒๕๕๔ การฝังรากฟันเทียมต้นฉบับ โครงการ ประชุมวิชาการประจำปี ๒๕๕๔ การฝังรากฟันเทียม
ต้นฉบับ โครงการ ประชุมวิชาการประจำปี ๒๕๕๔ การฝังรากฟันเทียม
 
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่4 new
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่4 newรายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่4 new
รายงานการประชุมคณะกรรมการสหวิทยาเขตสมเด็จ ครั้งที่4 new
 
Aaa
AaaAaa
Aaa
 
V 274
V 274V 274
V 274
 
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
ทันตกรรมป้องกันในเด็กและวัยรุ่น
 
กำหนดการสัมมนา(จริง)
กำหนดการสัมมนา(จริง)กำหนดการสัมมนา(จริง)
กำหนดการสัมมนา(จริง)
 
V 300
V 300V 300
V 300
 

Plus de niralai

334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10niralai
 
332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชาniralai
 
331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษาniralai
 
338มารยาทไทย
338มารยาทไทย338มารยาทไทย
338มารยาทไทยniralai
 
337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนาniralai
 
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)niralai
 
336เบญจศีล
336เบญจศีล336เบญจศีล
336เบญจศีลniralai
 
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธniralai
 
339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!niralai
 
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทยniralai
 
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศniralai
 
343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูดniralai
 
342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5niralai
 
341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษาniralai
 
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษาniralai
 
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดีniralai
 
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12niralai
 
350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6niralai
 
349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4niralai
 
351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3niralai
 

Plus de niralai (20)

334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10
 
332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา
 
331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา
 
338มารยาทไทย
338มารยาทไทย338มารยาทไทย
338มารยาทไทย
 
337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา
 
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
 
336เบญจศีล
336เบญจศีล336เบญจศีล
336เบญจศีล
 
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
 
339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!
 
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
 
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
 
343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด
 
342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5
 
341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา
 
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
 
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
 
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
 
350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6
 
349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4
 
351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3
 

คู่มือพระวิทยากรค่ายคุณธรรม ฉบับสมบูรณ์

  • 1. คูมืออบรมเชิงปฏิบัติการ พระธรรมวิทยากรคายพัฒนาคุณธรรมสําหรับนักเรียน รุนที่ ๑ ๒๖ - ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๕ บริสุทธิ์จริงใจไรเดียงสา.... บอบบางกวามาลีแรกคลี่ชอ เยาวชนสืบเหยาเทิดเหลากอ...... เหมือนเพชรรอเวลาเจียรไน เสี่ยงตอการติดกับความหยาบกราน.. งายตอการหลงตามความแปลกใหม เหมาะแกการเสริมสรางกําลังใจ เพื่อจะไดกาวมั่นถูกขั้นตอน หากเยาวชนสนใจธรรมสักนิด ภาวะจิตจะกาวรุดไมหยุดหยอน พระศาสนาดังน้ําดับความรอน ชี้แนะสอนพัฒนาเยาวชน ฝายบริการฝกอบรม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย รวมกับ สํานักงานพุทธมณฑล การอบรมเชิงปฏิบัติการนี้เปนสวนหนึ่งของโครงการคายคุณธรรม ณธรรม และศูนยการเรียนรูพระพุทธศาสนาในพุทธมณฑล
  • 2. กําหนดการ พิธีเปดโครงการฝกอบรมพระธรรมวิทยากรคายพัฒนาคุณธรรมสําหรับนักเรียน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย รวมกับพุทธมณฑล ณ หองประชุมหอสมุดพุทธศาสนา พุทธมณฑล ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม วันพุธ ที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๕ ****************** เวลา ๐๘.๓๐ น.-๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียนรายงานตัว เวลา ๐๙.๐๐ น.-๐๙.๓๐ น. ผูเขารับการฝกอบรมพรอมเพียงกัน ณ หองประชุมหอสมุด พุทธมณฑล เวลา ๐๙.๓๐ น.–๑๐.๓๐ น. พิธีเปดโครงการฯ - อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประธานในพิธี จุดธูป เทียน บูชาพระรัตนตรัย - ผูอํานวยการสวนธรรมนิเทศ สํานักสงเสริม พระพุทธศาสนาและบริการสังคม กลาวรายงาน - ประธานในพิธี ใหโอวาทและกลาวเปดโครงการฯ - ผูอํานวยการสวนธรรมนิเทศถวายเครื่องไทยธรรม เวลา ๑๐.๓๐ น.-๑๐.๑๕ น. การกลาวตอนรับและบรรยายพิเศษเรือง พุทธมณฑล ่ โดย ดร.อํานาจ บัวศิริ ผูอํานวยการสํานักงานพุทธมณฑล เวลา ๑๑.๑๕ น.-๑๒.๐๐ น. พัก/ฉันภัตตาหารเพล
  • 3. กําหนดการฝกอบรมประจําวัน โครงการฝกอบรมพระธรรมวิทยากรคายพัฒนาคุณธรรมสําหรับนักเรียน รุนที่ ๑ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยรวมกับพุทธมณฑล ณ หองประชุมหอสมุดพุทธมณฑล ระหวางวันที่ ๒๖ - ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๕ **************************** วันพุธที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๕ เวลา ๐๘.๐๐ - ๐๙.๐๐ น. ลงทะเบียนรายงานตัว เวลา ๐๙.๐๐ - ๐๙.๓๐ น. พรอมกัน ณ หองประชุมอาคารหอสมุดพุทธมณฑล เวลา ๐๙.๓๐ - ๑๐.๓๐ น. พิธีเปดโครงการ ฯ - อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ประธานในพิธี จุดธูปเทียน บูชาพระรัตนตรัย - รักษาการผูอํานวยการสวนธรรมนิเทศกลาวรายงาน - อธิการบดีใหโอวาทเปดการอบรม - ผูอํานวยการสํานักงานพุทธมณฑลถวายเครื่องไทย ธรรม เวลา ๑๐.๓๐ - ๑๑.๑๕ น. กลาวถวายการตอนรับและบรรยายพิเศษเรื่อง พุทธ มณฑล โดย ดร.อํานาจ บัวศิริ ผูอํานวยการสํานักงานพุทธ มณฑล เวลา ๑๑.๑๕ - ๑๓.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเพล / พัก เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. บรรยายเรื่อง วิธีปลุกจิตสํานึกใหหางไกลยาเสพยติด โดย พระมหาธีรพันธ รกฺขิตสีโล เวลา ๑๖.๐๐ - ๑๗.๓๐ น. พักทําธุระสวนตัว เวลา ๑๗.๓๐ - ๑๘.๐๐ น. ทําวัตรเย็น เวลา ๑๘.๐๐ - ๒๑.๐๐ น. บรรยายเรื่อง การใชเทคโนโลยีในการฝกอบรม โดย พระมหาธีรพันธ รกฺขิตสีโล เวลา ๒๑.๐๐ น. พักผอน วันพฤหัสบดีที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๔๕ เวลา ๐๕.๐๐ - ๐๕.๓๐ น. ตื่นนอน/ทําธุระสวนตัว เวลา ๐๕.๓๐ - ๐๖.๐๐ น. ทําวัตรเชา เวลา ๐๖.๐๐ - ๐๗.๐๐ น. กิจกรรมเสริมหลักสูตร
  • 4. เวลา ๐๗.๐๐ - ๐๘.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเชา เวลา ๐๘.๐๐ - ๑๑.๐๐ น. บรรยายเรื่อง วิธีการผลิตสื่อธรรมะและวิธีการนําเสนอที่มี ประสิทธิภาพ โดย อาจารยปนทอง ใจสุทธิ ฝายพัฒนาและสงเสริมวิชาการ กรมสามัญศึกษา เวลา ๑๑.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเพล / พัก เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. (ตอ) วิธีการผลิตสื่อธรรมะและวิธีการนําเสนอที่มีประสิทธิ ภาพ โดย อาจารยปนทอง ใจสุทธิ เวลา ๑๖.๐๐ - ๑๗.๓๐ น. พักทําธุระสวนตัว เวลา ๑๗.๓๐ - ๑๘.๐๐ น. ทําวัตรเย็น เวลา ๑๘.๐๐ - ๒๑.๐๐ น. บรรยายเรื่อง จริยธรรมพระธรรมวิทยากร โดย พระมหาไพเราะ ฐิตสีโล ผูอํานวยการสํานักสงเสริมพระพุทธศาสนาและ บริการสังคม มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เวลา ๒๑.๐๐ น. พักผอน วันศุกรที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๔๕ เวลา ๐๕.๐๐ - ๐๕.๓๐ น. ตื่นนอน/ทําธุระสวนตัว เวลา ๐๕.๓๐ - ๐๖.๓๐ น. ทําวัตรเชา เวลา ๐๖.๐๐ - ๐๗.๐๐ น. กิจกรรมเสริมหลักสูตร เวลา ๐๗.๐๐ - ๐๘.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเชา เวลา ๐๘.๐๐ - ๑๑.๐๐ น. เทคนิคการสอนธรรมบันเทิง / กิจกรรมนันทนาการ โดย เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม ม.มจร.และคณะ เวลา ๑๑.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเพล / พัก เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. เทคนิคการสอนธรรมบันเทิง / กิจกรรมนันทนาการ โดย เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม ม.มจร.และคณะ(ตอ) เวลา ๑๖.๐๐ - ๑๗.๓๐ น. พักทําธุระสวนตัว เวลา ๑๗.๓๐ - ๑๘.๐๐ น. ทําวัตรเย็น เวลา ๑๘.๐๐ - ๒๑.๐๐ น. เทคนิคการสอนธรรมบันเทิง / กิจกรรมนันทนาการ โดย เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม ม.มจร.และคณะ(ตอ) เวลา ๒๑.๐๐ น. พักผอน วันเสารที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๔๕ เวลา ๐๕.๐๐ - ๐๕.๓๐ น. ตื่นนอน/ทําธุระสวนตัว เวลา ๐๕.๓๐ - ๐๖.๐๐ น. ทําวัตรเชา
  • 5. เวลา ๐๖.๐๐ - ๐๗.๐๐ น. กิจกรรมเสริมหลักสูตร เวลา ๐๗.๐๐ - ๐๘.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเชา เวลา ๐๘.๐๐ - ๑๑.๐๐ น. บรรยายเรื่อง เทคนิคการนําเสนอกิจกรรมปลูกจิตสํานึก - ทางคุณธรรม จริยธรรม โดย เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม ม.มจร. และคณะ เวลา ๑๑.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเพล / พัก เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. เทคนิคการนําเสนอกิจกรรมปลูกจิตสํานึกทางคุณธรรม - จริยธรรม โดย เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม ม.มจร. และคณะ (ตอ) เวลา ๑๖.๐๐ - ๑๗.๓๐ น. พัก /ทําธุระสวนตัว เวลา ๑๗.๓๐ - ๑๘.๐๐ น. ทําวัตรเย็น เวลา ๑๘.๐๐ - ๒๑.๐๐ น. เทคนิคการนําเสนอกิจกรรมปลูกจิตสํานึกทางคุณธรรม - จริยธรรม โดย เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม ม.มจร. และคณะ (ตอ) เวลา ๒๑.๐๐ น. พักผอน วันอาทิตยที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๕ เวลา ๐๕.๐๐ - ๐๕.๓๐ น. ตื่นนอน / ทําธุระสวนตัว เวลา ๐๕.๓๐ - ๐๖.๐๐ น. ทําวัตรเชา เวลา ๐๖.๓๐ - ๐๗.๐๐ น. กิจกรรมเสริมหลักสูตร เวลา ๐๗.๐๐ - ๐๘.๐๐ น. ฉันภัตตาหารเชา เวลา ๐๘.๐๐ - ๑๑.๐๐ น. กิจกรรม ฐานการเรียนรูพระพุทธศาสนาในพุทธมณฑล โดย เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม ม.มจร. และคณะ เวลา ๑๑.๐๐ - ๑๒.๓๐ น. ฉันภัตตาหารเพล / พัก เวลา ๑๒.๓๐ - ๑๓.๐๐ น. พรอมกันที่หองประชุม / ซอมพิธีรับประกาศนียบัตร เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๔.๐๐ น. พิธีมอบประกาศนียบัตร - อธิการบดี มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย ประธานในพิธี จุดธูปเทียน บูชาพระรัตนตรัย - รักษาการผูอํานวยการสวนธรรมนิเทศกลาวรายงาน - รักษาการหัวหนาฝายบริการฝกอบรมขานรายชื่อ ผูสําเร็จการฝกอบรมเขารับประกาศนียบัตร - อธิการบดี ใหโอวาทปดโครงการ ฯ - ผูอํานวยการสํานักพุทธมณฑลถวายเครื่องไทยธรรม - ไหวพระพรอมกันเปนอันเสร็จพิธี
  • 6. ขอควรปฏิบัติ สําหรับผูเขารับการฝกอบรม โครงการฝกอบรมพระธรรมวิทยากรคายพัฒนาคุณธรรมสําหรับนักเรียน ณ หองประชุมอาคารหอสมุดพุทธมณฑล ระหวางวันที่ ๒๖ - ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๕ ************************* ๑. นุงหมเปนปริมณฑล (หมดองรัดอก) ในขณะเขารับการฝกอบรม ๒. ถามีความจําเปนจะออกนอกสถานที่ฝกอบรม ควรครองจีวรใหเรียบรอย ๓. หามสูบบุหรี่ ในสถานที่ฝกอบรม ๔. ไมใชเครื่องมือสื่อสารในขณะเขารับการฝกอบรม ๕. ปฏิบัติตามกําหนดการอยางพรอมเพรียงกัน ๖. ใหความรวมมือกับวิทยากรและคณะผูใหการฝกอบรมในโครงการ ฯ ๗. ทุกรูปตองอยูอบรมครบตามกําหนดการที่กําหนดไวทุกกิจกรรมจึงจะมีสิทธิ์รับวุฒิบัตร ๘. เพื่อความเรียบรอย และความงดงามของหมูคณะ จงอยูดวยกันตามหลักสาราณียธรรม
  • 7. ตารางอบรมเชิงปฏิบัติการ โครงการฝกอบรมพระธรรมวิทยากรคายพัฒนาคุณธรรมสําหรับนักเรียน รุนที่ ๑ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยรวมกับสํานักงานพุทธมณฑล ณ หองประชุมอาคารหอสมุดพุทธมณฑล ต.ศาลายา อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม ระหวางวันที่ ๒๖–๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๕ เวลา ๘.๐๐ น.-๙.๐๐ น. ๙.๐๐ น.-๑๑.๐๐ น. ๑๓.๐๐ น.-๑๖.๐๐ น. ๑๘.๐๐ น.-๒๑.๐๐ น. วัน พุธ ลงทะเบียน วิธีปลุกจิตสํานึกใหหางไกลยาเสพยติด การใชสื่อเทคโนโลยีในการใหการฝกอบรม พิธีเปด ๒๖ มิ.ย. รายงานตัว โดย..พระมหาธีรพันธ รกฺขิตสีโล โดย..พระมหาธีรพันธ รกฺขิตสีโล จริยธรรมพระธรรมวิทยากร พฤหัสบดี วิธีการผลิตสื่อธรรมะและวิธีการนําเสนอที่มีประสิทธิภาพ โดย..พระมหาไพเราะ ฐิตสีโล ๒๗ มิ.ย. โดย..อาจารยปนทอง ใจสุทธิ ฝายพัฒนาและสงเสริมวิชาการ กรมสามัญศึกษา ผ.อ.สํานักสงเสริมพระพุทธศาสนา ฯ มจร. ศุกร เทคนิคการสอนธรรมบันเทิง / กิจกรรมนันทนาการ ๒๘ มิ.ย. โดย..เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และคณะ เสาร เทคนิคการนําเสนอกิจกรรมปลุกจิตสํานึกทางคุณธรรม จริยธรรม ๒๙ มิ.ย. โดย..เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และคณะ อาทิตย กิจกรรมฐานการเรียนรูพระพุทธศาสนาในพุทธมณฑล พิธีมอบประกาศนียบัตร ๓๐ มิ.ย. โดย...เจาหนาที่ฝายบริการฝกอบรม
  • 8. หลักสูตร โครงการอบรมพระธรรมวิทยากร คายพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมสําหรับนักเรียน ************ หลักสูตรและระยะเวลาดําเนินการ รวม ๕๐ ชั่วโมง หมวดที่ ๑ วิชาทั่วไป ๑๑ ชั่วโมง หมวดที่ ๒ วิชาหลักและวิธีการสอนธรรมประยุกต ๒๗ ชั่วโมง หมวดที่ ๓ วิชาการพัฒนาบุคลิกภาพ ๑๒ ชั่วโมง เนื้อหารายละเอียดหลักสูตรประจําหมวดวิชา หมวดที่ ๑ วิชาทั่วไป ๑.๑ พิธีเปดโครงการ / ปฐมนิเทศ จุดประสงค เพื่อชี้แจงหลักการและเหตุผลในการจัดฝกอบรมโครงการอบรมพระ ธรรมวิทยากรสําหรับนักเรียน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตอผูเขารับการฝกอบรม และปลุกใจ ใหผูเขารับการมีฉันทะในการฝกอบรมจากโครงการ ขอบขายเนื้อหา • เปาหมายของการพัฒนาบุคลากรสอนศีลธรรม • สภาพการณการสอนศีลธรรมใหกับเด็กและเยาวชน • ประสิทธิภาพการสอนศีลธรรมของพระวิทยากร เวลา ๒ ชั่วโมง วิธีการอบรม บรรยายปลุกใจ ๑.๒ พิธีมอบประกาศนียบัตร / ปจฉิมนิเทศ วัตถุประสงค เพื่อเปนการใหกําลังใจในการทํางานและความมั่นใจในการปฎิบัติอยางมี ประสิทธิภาพ • ประธานในพิธีนําบูชาพระรัตนตรัย • ประธานมอบประกาศนียบัตรและ • ใหโอวาท เวลา ๒ ชั่วโมง วิธีการอบรม ประธานในพิธีมอบประกาศนียบัตรและใหโอวาทปจฉิมนิเทศ
  • 9. ๑.๓ วิชาการเรียนรูพระพุทธศาสนาในพุทธมณฑล วัตถุประสงค เพื่อใหผูเขารับการอบรมไดศึกษาประวัติความสําคัญของสถานที่สําคัญ ทางพระพุทธศาสนาในพุทธมณฑล ขอบขายเนื้อหา • ประวัต/ิ วัตถุประสงค/ภารกิจ/วิสัยทัศนและความสําคัญของพุทธ มณฑล • ศึกษาสังเวชนียสถาน ๔ ตําบล • หอพระไตรปฎกหินออน • พระประธานพุทธมณฑล • สถานที่สําคัญในพุทธมณฑล เวลา ๓ ชั่วโมง วิธีการอบรม แบงกลุม/ระดมความคิด/สรุปผล ๑.๓ การจัดระเบียบวินัยเด็ก วัตถุประสงค เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรมไดศึกษาวิธีการสรางระเบียบ วินัย ในหมู คณะ ในการควบคุมผูเขารับการอบรมในโครงการ เพื่อใหเกิดความเรียบรอยสวยงาม ขอบขายเนื้อหา • การฝกระเบียบโดยการออกคําสั่ง • การลงโทษตอผูฝาฝนระเบียบที่เหมาะสม เวลา ๒ ชั่วโมง วิธีการฝกอบรม บรรยาย / สาธิต /ชมวิดีทัศน ๑.๔ วิชาการบริหารกิจกรรมคายคุณธรรม จุดประสงค เพื่อใหผูเขารับการอบรมไดมีระบบการบริหารโครงการและทีมงาน ฝกอบรมที่มีประสิทธิภาพ ขอบขายเนื้อหา • การจัดสรรทีมงาน • การเตรียมการ • การประสานงาน • เทคนิคการสรางกําลังใจและมอบหมายงาน • การตัดสินใจ เวลา ๒ ชั่วโมง วิธีการฝกอบรม บรรยาย / กิจกรรมสัมพันธ
  • 10. ๑๐ หมวดที่ ๒ วิชาหลักและวิธีการสอนธรรมประยุกต ๒.๑ วิชาเทคนิคการใชเทคโนโลยีในการฝกอบรม วัตถุประสงค เพื่อใหผูเขารับการอบรมไดศึกษาเทคนิคการใชเครื่องมืออุปกรณเทค โยโลยีและเลือกใชสื่อที่เหมาะสมในการใหการอบรมแกนักเรียนและเยาวชน ขอบขายเนื้อหา • อุปกรณเครื่องมือที่จําเปน • การเลือกเนื้อหาของสื่อที่เปน ภาพ –เสียง • การนําเสนอที่มีประสิทธิภาพ เวลา ๓ ชั่วโมง วิธีการอบรม บรรยาย / ชมวิดีทัศน /ซักถาม ๒.๒ เทคนิคการผลิตสื่อธรรมะ วัตถุประสงค เพื่อใหผูเขารับการอบรม สามารถผลิตสื่อจากวัสดุใหเปนอุปกรณสอน ธรรมะ และนําเสนอไดอยางมีประสิทธิภาพ ขอบขายเนื้อหา • การเลือกวัสดุมาผลิตเปนสื่อ • ขั้นตอนการผลิตสื่อ • เปาหมายของสื่อกับเนื้อหาธรรมที่ซอนอยูในสื่อ • ขั้นตอนการผลิตสื่อ • เทคนิคการนําเสนอ เวลา ๖ ชั่วโมง วิธีการอบรม บรรยาย / สาธิต / ฝกภาคปฏิบัติ ๒.๓ เทคนิคการนําเสนอกิจกรรมธรรมนันทนาการ (เกมส) วัตถุประสงค เพื่อใหผูเขารับการอบรม ไดเรียนรูเทคนิคการสอนธรรมโดยใชเกมสหรือ การแสดง เปนสื่อในการสอนธรรมะเปนลักษณะการละลายพฤติกรรม กอนการฝกอบรมภาควิชาการ ขอบขายเนื้อหา • ประเภทของเกมสหรือการแสดงตอหนาชุมชน • ความเหมาะสมในการใชเกมสในการอบรม • สาธิตรูปแบบเกมสหรือการแสดงในแบบตางๆ • ฝกทักษะและวิธีการนําเสนอ • สรุปธรรมะ
  • 11. ๑๑ เวลา ๙ ชั่วโมง วิธีการอบรม บรรยาย/ สาธิต / ฝกภาคปฏิบัติ ๒.๔ เทคนิคปลูกจิตสํานึกทางคุณธรรมในรูปแบบกิจกรรมสัมพันธ วัตถุประสงค เพื่อใหผูเขารับการฝกอบรม ไดมีเทคนิครูปแบบการจัดกิจกรรมที่มี คุณธรรม ปลุกจิตสํานึกใหเปนเด็กดี ศรัทธาตอพระพุทธศาสนาและคุณคาแหงความกตัญูกตเวทิตาธรรม มุงมั่นตอการกระทําความดี ขอบขายเนื้อหา • แนวคิดและเหตุผลในการใชกิจกรรมปลุกจิตสํานึกทางคุณ ธรรม • การเลือกกิจกรรมการสอนและเทคนิคการนําเสนอ - กิจกรรมจุดเทียนอุดมการณ ๒ ช. ม. - กิจกรรมปลุกจิตสํานึกพระคุณพอแม ๒ ช.ม. - กิจกรรมปลุกจิตสํานึกพระคุณคุณครู ๒ ช.ม. - ฝกภาคปฏิบัติ ๓ ช.ม. • สรุปผลการนําเสนอ เวลา ๙ ชั่วโมง วิธีการฝกอบรม บรรยาย / สาธิต / ฝกภาคปฏิบัติ / อภิปราย / ซักถาม / ชมวีดีทัศน หมวดที่ ๓ วิชาการพัฒนาบุคลิกภาพ ๓.๑ วิชาจริยธรรมพระธรรมวิทยากร วัตถุประสงค เพื่อใหผูรับการอบรมตระหนักถึงหนาที่และลักษณะของนักเผยแผที่มี ความรูคูคุณธรรม สามารถรักษาศรัทธาของพุทธศาสนิกชนทั่วไปอยางมั่นคง ขอบขายเนื้อหา • จรรยาของพระธรรมวิทยากร • การเตรียมตัวเปนนักเผยแผที่ดี เวลา ๓ ชั่วโมง วิธีการอบรม บรรยาย ๓.๒ วิชา การพัฒนาจิต (ทําวัตรเชา-เย็น) วัตถุประสงค เพื่อเอื้อเฟอตอพระธรรมวินัย ปฏิบัติกิจวัตรรวมกัน และพอกนพูนศรัทธา แกสาธุชนทั่วไป
  • 12. ๑๒ ขอบขายเนื้อหา • สวดมนตทําวัตรเชาเย็น • สมาธิภาวนา เวลา ๙ ชั่วโมง วิธีการอบรม ประชุมพรอมกัน / สวดมนต / จิตภาวนา
  • 13. ๑๓ ๑.ภาคสาธิตกิจกรรม ๑.ตัวอยางกําหนดการคาย กําหนดการอยูคายพุทธบุตร ------------------- วันที่ ๑ ของการอบรม ๐๗.๓๐-๐๘.๓๐ น. นักเรียนลงทะเบียนรายงานตัว ๐๘.๓๐-๐๙.๐๐ น. นักเรียนทุกคนพรอมกันในที่ประชุม ๐๙.๐๐-๐๙.๓๐ น. พิธีเปดการอยูคายพุทธบุตร - เปดเพลงพระรัตนตรัย - ประธานฝายฆราวาสจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย - ประธานสงฆขึ้นธรรมาสนใหศีล - นักเรียน ครู อาจารย และแขกผูมีเกียรติกราบพระ - อาราธนาศีล และรับศีล - ประธานฝายฆราวาสรับการรายงาน - กลาวรายงาน - ประธานกลาวเปดการอบรม ๐๙.๓๐-๑๐.๑๕ น. ประธานสงฆกลาวสัมโมทนียกถา ๑๐.๑๕-๑๐.๓๐ น. แนะนําพระวิทยากร วิทยากร และคณะครูพี่เลี้ยง ๑๐.๓๐-๑๑.๓๐ น. พิธีมอบตัวเปนศิษย สัญญาใจ คําปฏิญาณพุทธบุตร กติกาการอยูคายพุทธบุตร ๑๑.๓๐-๑๒.๓๐ น. รับประทานอาหาร ๑๒.๓๐-๑๓.๐๐ น. พบครูอาจารยพี่เลียง ้ ๑๓.๐๐-๑๓.๓๐ น. ธรรมนันทนาการ ๑๓.๓๐-๑๖.๓๐ น. แบงกลุมนักเรียน ๔ ฐาน ฐานที่ ๑ ศาสนพิธี
  • 14. ๑๔ ฐานที่ ๒ มารยาทชาวพุทธ ฐานที่ ๓ กฎแหงกรรม ฐานที่ ๔ กลุมสัมพันธ ๑๖.๓๐-๑๗.๓๐ น. นักเรียนอาบน้ํา ทําภารกิจสวนตัว ๑๗.๓๐-๑๘.๓๐ น. รับประทานอาหาร ๑๘.๓๐-๑๙.๓๐ น. ทําวัตรเย็น เจริญจิตตภาวนา ๑๙.๓๐-๒๐.๓๐ น. กิจกรรมสูความเปนพุทธบุตร ๒๐.๓๐-๒๑.๓๐ น. ฉายสไลดเรื่องพุทธประวัติ ๒๑.๓๐ น. นักเรียนเขานอน วันที่ ๒ ของการอบรม ๐๔.๓๐-๐๕.๐๐ น. ตื่นนอนทําภารกิจสวนตัว ๐๕.๐๐-๐๕.๑๕ น. บริหารกาย ๐๕.๑๕-๐๖.๐๐ น. ทําวัตรเชา เจริญจิตตภาวนา เดินจงกรม ๐๖.๐๐-๐๗.๐๐ น. กิจกรรมหนาเสาธง ๐๗.๐๐-๐๗.๓๐ น. บําเพ็ญประโยชน ๐๗.๓๐-๐๘.๓๐ น. รับประทานอาหาร ๐๘.๓๐-๑๑.๓๐ น. แบงกลุมนักเรียนมาตรฐาน ๔ ฐาน ฐานที่ ๑ พระคุณของพระรัตนตรัย ฐานที่ ๒ พระคุณของคุณพอคุณแม ฐานที่ ๓ พระคุณของคุณครู ฐานที่ ๔ พระคุณของพระมหากษัตริย ๑๑.๓๐-๑๒.๓๐ น. รับประทานอาหาร ๑๒.๓๐-๑๓.๐๐ น. พบครูอาจารยพี่เลี้ยง ๑๓.๐๐-๑๓.๓๐ น. ธรรมนันทนาการ ๑๓.๓๐-๑๖.๓๐ น. แบงกลุมนักเรียนตามฐาน ๔ ฐาน ฐานที่ ๑ เพื่อนที่ดี ฐานที่ ๒ พลเมืองที่ดี ฐานที่ ๓ พุทธศาสนิกชนที่ดี ฐานที่ ๔ สุขภาพอนามัยที่ดี
  • 15. ๑๕ ๑๖.๓๐-๑๗.๓๐ น. นักเรียนอาบน้ํา ทําธุรกิจสวนตัว พระวิทยากรและผูรวมงานประชุม ๑๗.๓๐-๑๘.๓๐ น. รับประทานอาหาร ๑๘.๓๐-๒๐.๐๐ น. ทําวัตรเย็น เจริญจิตตภาวนา ๒๐.๐๐-๒๑.๓๐ น. นักเรียนแสดงละครธรรมะเรื่อง § ความสนใจใฝรูและสรางสรรค § ความมีน้ําใจ § ความมีวินัย § ความเปนไทย ๒๑.๓๐ น. นักเรียนเขานอน วันที่ ๓ ของการอบรม ๐๔.๓๐-๐๕.๐๐ น. ตื่นนอนทําภารกิจสวนตัว ๐๕.๐๐-๐๕.๑๕ น. บริหารกาย ๐๕.๑๕-๐๖.๐๐ น. ทําวัตรเชา เจริญจิตตภาวนา เดินจงกรม ๐๖.๐๐-๐๗.๐๐ น. กิจกรรมหนาเสาธง ๐๗.๐๐-๐๗.๓๐ น. บําเพ็ญประโยชน ๐๗.๓๐-๐๘.๓๐ น. รับประทานอาหาร ๐๘.๓๐-๐๙.๓๐ น. อภิปรายเรื่องศิษยดีมีคุณธรรม ๐๙.๓๐-๑๐.๓๐ น. แบงกลุมเขียนเรียงความ เรื่องพระคุณของคุณพอคุณแม พระคุณของคุณครู ๑๐.๓๐-๑๑.๓๐ น. สนทนาธรรม ๑๑.๓๐-๑๒.๓๐ น. รับประทานอาหาร ๑๒.๓๐-๑๓.๐๐ น. ธรรมนันทนาการ ๑๓.๐๐-๑๖.๐๐ น. อธิษฐานจิตเพื่อชีวิตใหม ๑๖.๐๐-๑๖.๓๐ น. พิธีปดการอยูคายพุทธบุตร § ประธานฝกอบรมมอบวุฒิบัตร § ประธานฝกอบรมมอบศิษยคืน ผูบริหารโรงเรียนรับ ศิษยคืน และกลาวปดการอบรม § พระอาจารยนํากราบพระ
  • 16. ๑๖ รายละเอียดและขั้นตอนการดําเนินงานการอยูคายพุทธบุตร การลงทะเบียนรายงานตัว ๑. จัดโตะรับรายงานตัว และมีครูรับรายงานตัว ๒. จัดนักเรียนเปน ๘ กลุม พรอมรายชื่อนักเรียนที่เขาคายพุทธบุตร ดังนี้ กลุมฉันทะ ๑ ปายชื่อ สีเหลือง กลุมจิตตะ ๑ ปายชื่อสีน้ําเงิน กลุมฉันทะ ๒ ปายชื่อ สีเหลือง กลุมจิตตะ ๒ ปายชื่อสีน้ําเงิน กลุมวิริยะ ๑ ปายชื่อสีฟา กลุมวิมังสา ๑ ปายชื่อสีเขียว กลุมวิริยะ ๒ ปายชื่อสีฟา กลุมวิมังสา ๒ ปายชื่อสีเขียว ๓. นักเรียนลงชื่อรายงานตัวและรับปายชื่อ ๔. ครูนํานักเรียนไปหองประชุม การเขาหองประชุม - จัดรวมเด็กที่สนาม ตามกลุมที่จัดไว - จัดเด็กใหยืนตามลําดับไหล ใหคําต่ําที่สุดยืนหัวแถว - ปลอยเด็กใหเดินแถวไปเขาหองประชุม - ถึงหองประชุมเขายืนประจําที่ของตัวเอง - สั่งใหเด็กจัดแถวใหคนหนาสุดยืนเปนแบบคนอื่น ๆ ยกมือขวายื่นมาขางหนาแลวถอยหลัง ไป จนปลายน้ํามือหางจากแผนหลังของคนที่ยืนอยูขางหนาประมาณ สองคืบ - สั่งเด็กใหขวาหันเมื่อขวาหันแลวใหแถวที่อยูหนาสุดยืนเปนแบบแถวอื่น ๆ จัดตัวเองใหยืน จมูกตรงคอคนหนา - สั่งเด็กใหซายหัน ใหทุกคนยืนใหจมูกตรงคอคนหนา - วิธีนั่งใหหยอนเขาซายลงกอน แลวตามดวยเขาขวา - นั่งลงแลวคุกเขา ผูชายนั่งทาเทพบุตร ผูหญิงนั่งทาเทพธิดา - กราบพระรัตนตรัย ๓ ครั้งแลวจึงนั่งพับเพียบดวยการตวัดปลายเทาลงมาทางดานหลัง วิธียืน-นั่ง-เปลี่ยนทานั่ง ถาเรานั่งพับเพียบอยูแตตองการจะยืน ตองปฏิบัติดังนี้ - นั่งคุกเขา ยกเขาขางขวาตั้งตรงขึ้น (คลายนักกรีฑาเตรียมวิ่ง) แลวยืนขึ้น (พึงสังเกตวาถาจะ ยืนยกเขาขวาขึ้นกอน ถาจะนั่งหยอนเขาซายลงกอน) เมื่อนั่งพับเพียบนาน ๆ รูสึกเมื่อยหรือปวด ใหเปลี่ยนทานั่งดังนี้ - นั่งคุกเขาขึ้น แลวตวัดปลายเทาเปลี่ยนไปอีกขางหนึ่งทางดานหลัง
  • 17. ๑๗ วิธีกราบ - กราบพระรัตนตรัย ใหกราบแบบเบญจางคประดิษฐ ๓ ครั้ง - กราบพอแม ครูอาจารย นั่งพับเพียบ ยื่นมือออกไปขางหนาไมตองแบมือ กราบเอาหนาผาก ลงบนสันกระพุมมือ ๑ ครั้ง กราบทานประธาน - พระอาจารยตั้งหัวหนานักเรียน ๑ คน ใหทําหนาที่สั่งนักเรียน - เมื่อประธานนั่งเรียบรอยแลว หัวหนานักเรียนสั่งวา “นักเรียนทําความเคารพทานประธาน” นักเรียนทั้งหมดกราบ ๑ ครั้ง แลวลุกขึ้นนั่งตัวตรงแบบนั่งตอหนาผูใหญ - พิธีกรเชิญประธานจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย - พอประธานลุกขึ้นเดินไปจุดธูปเทียน นักเรียนนั่งคุกเขาขึ้น พระวิทยากร ครูอาจารย แขกผู มีเกียรติ ที่นั่งเกาอี้ทั้งหมดยืน - ประธานจุดเทียนเลมที่ ๑ ทุกคนประนมมือ - ประธานทําหนาที่บนเวทีเสร็จแลวลงมายืนหันหนาไปทางโตะหมู - พระอาจารยนํากลาวบูชาพระรัตนตรัย ทุกคนวาตาม - ประธานยืนที่สแตนดรับฟงคํากลาวรายงาน - นักเรียนนั่งพับเพียบ และทุกคนนั่ง ณ ที่ของตน - ประธานปราศรัยเสร็จนักเรียนรับวา “สาธุ” (ไมปรบมือ) - พิธีกร “นักเรียนทําความเคารพ” นักเรียนทั้งหมดกราบ ๑ ครั้ง นั่งตัวตรง เสร็จพิธีฝกซอม หมายเหตุ วิธีกราบประธานและคําพูดของนักเรียนที่แนะนํามานี้ใชสําหรับประธานที่เปน ฆราวาส (ถาประธานเปนพระใหนักเรียนกราบเพญจางคประดิษฐ ๓ ครั้ง) พิธีเปดการอยูคายพุทธบุตร ๑. เปดเพลงพระรัตนตรัย ๒. ประธานฝายฆราวาสจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย ๓. ประธานสงฆขึ้นธรรมาสนใหศีล นั่งอาสนะ ๔. นักเรียน ครู อาจารย และแขกผูมีเกียรติกราบพระ ๕. ตัวแทนนักเรียนอาราธนาศีล ทุกคนรับศีลพรอมกัน ๖. ประธานยืนที่สแตนด ฟงคํากลาวรายงาน
  • 18. ๑๘ ๗. ผูรับผิดชอบโครงการกลาวรายงาน ๘. ประธานรับรายงานแลวกลาวเปดการอบรม ๙. นักเรียนกวา “สาธุ” นักเรียนกราบประธาน พิธีมอบตัวเปนศิษย เตรียมสถานที่ - จัดเกาอี้เทาจํานวนพระอาจารยและครูอาจารยตั้งเปนแถวตรงหนานักเรียนซึ่งนั่งเรียบรอย อยูกอนแลว ในหองประชุม (สําหรับครู ใชเสื่อปูนั่ง หรือนั่งบนเกาอี)้ เตรียมบุคคล - เตรียมเด็กนํากลาวมอบตัวเปนศิษย ๑ คน เตรียมอุปกรณ - เตรียมดอกไมใสพานเทาจํานวนกลุมนักเรียน ที่แบงไวใหตัวแทนกลุมเปนผูมอบใหพระ อาจารย และครูอาจารย ขั้นตอนพิธีมอบตัวเปนศิษย - คณะพระอาจารยและครูอาจารยนั่งเกาอี้ - นักเรียนกราบ ๓ ครั้ง - พระอาจารยกลาวถึงความสัมพันธระหวางครูกับศิษย - ตัวแทนนักเรียนนํากลาวมอบตัวเปนศิษย - นักเรียนนั่งตัวตรงหลับตาระลึกถึงพระคุณของคุณครู (เปดเพลงพระคุณที่สาม) - ตัวแทนกลุมนักเรียนประเคนพานดอกไมและพานธูปเทียนแพ - นักเรียนทั้งหมดกราบ ๓ ครั้ง - รับศีล ๕ ขั้นตอนพิธีมอบตัวเปนศิษย พูดโนมนาวใหนักเรียนซาบซึ้งในพระคุณของแม เจริญสุขคณะครูอาจารย นักเรียนที่รักทุกคน พระอาจารยรูสึกดีใจมากที่ไดเห็นความพรอม เพรียง ของคณะครูอาจารย ตลอดจนนักเรียนทุกคนที่มาพรอมกัน ณ ที่นี้เพื่อเขารับการอบรมธรรมะของ องคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา เพื่อเปนดวงประทีปสองแสงสวางนําทางชีวิตใหแกตนเอง นักเรียนทุกคน ชีวิตของคนเรานั้นเลือกเกิดไมได แตทุกคนมีโอกาสที่จะเลือกประพฤติดีปฏิบัติ ชอบได แตเพราะเหตุวานักเรียนมีสติปญญายังไมกลาแข็ง ประกอบกับสิ่งแวดลอมที่เลวรายบางประการ จึงทําใหการดําเนินชีวิตของนักเรียนแตละคน มีชีวิตที่นาเปนหวง คุณครู คุณพอ คุณแม ตลอดจนพระ อาจารยมีความรูสึกเปนหวงนักเรียนทุกคนเปนอยางยิ่ง จึงไดจัดการอบรมคุณธรรมจริยธรรมขึ้น ก็ดวย
  • 19. ๑๙ หมายใจวาจะใหนักเรียนอันเปนที่รักไดมีวิถีชีวิตที่ถูกตอง สามารถดําเนินชีวิตไดอยางปลอดภัย ปราศจากอันตรายทั้งปวง พระคุณของคุณพอคุณแม เลิศล้ําหาที่สุดมิได เพราะทานรักลูกดังดวงใจจึงมีความเห็นวาการ ดําเนินชีวิตที่ขาดธรรมะ ขาดสติปญญา ก็เชนเดียวกันกับเรือที่ขาดหางเสือจึงไดตัดใจมอบลูกรักมารับ การอบรมคุณธรรมจริยธรรมแหงนี้ มาอยูในความดูแลของพระอาจารยและครูอาจารยทุกทาน นักเรียนทุกคน คุณครูเปรียบเสมือนพอแมคนที่สองของนักเรียนมีพระคุณตอนักเรียนมาก ครู อบรมสั่งสอนใหศิษยไดรับความรูโดยไมเลือกที่รักมักที่ชัง ตอไปนี้จะใหตัวแทนนักเรียนมากลาวคํา มอบตัวเปนศิษยสืบตอไป - ตัวแทนนักเรียนนําดอกไมธูปเทียนประเคนพระวิทยากร (๒ คน กราบเบญจางคประดิษฐ ๓ ครั้ง) - ตัวแทนนักเรียนกลาวนํามอบตัวเปนศิษย และยินยอมรับคําสั่งสอนของพระอาจารย - พระอาจารยและครูกลาวรับวา สาธุ คํากลาวนํามอบตัวเปนศิษย (กลาวกอนถวายดอกไมธูปเทียน) กราบนมัสการพระอาจารยทุกรูป และขอกราบอาจารยทุกทาน นับเปนโอกาสอันดีงามของพวก ขาพเจาที่จะไดรับการอบรมธรรมะอันประเสริฐวันนี้ ชีวิตของพวกขาพเจาตั้งแตเกิดมามีพอแมอุปการะ เลี้ยงดูไดรับความอบอุนเสมอมา แตบัดนี้พวกขาพเจาเขามารับการอบรมที่นี่เพื่อแสวงหาความดี ใน โครงการอบรมคุณธรรมจริยธรรม และปฏิบัติธรรมเพื่อพัฒนาจิต ถึงแมวาพวกขาพเจาจะจากบานจากพอแมมา แตเพื่อความดีและมั่นใจในความปรารถนาดีของ ทานทั้งหลาย ทานยอมเหน็ดเหนื่อย เสียสละเวลามาอบรมสั่งสอนใหพวกขาพเจาเปนคนดี พวกขาพเจา จะตั้งใจรับการอบรมสั่งสอนดวยความเต็มใจดังคํากลอนสอนใจดังนี.้ .. ขอประนม กมกราบ ครูอาจารย นมัสการ พระอาจารย ผูสั่งสอน พร่ําฝากฝง สอนศิษย ใจอาวรณ ดวยอาทร หวังศิษย เปนคนดี วางระเบียบ วินัย ไวแจมแจง จงเขมแข็ง สูชีวิต มีศักดิ์ศรี สอนใหศิษย ละชั่ว ยึดสิ่งดี เปนไมงาม ประดับชีวี ใหกาวไกล ดวยดวงจิต มุงมาตร ปรารถนา ขอสัญญา ยึดมั่น ไมหวั่นไหว จะกราบไหว พระอาจารย สุดหัวใจ
  • 20. ๒๐ องคทาวไท รูเห็น เปนพยาน จะเนิ่นนาน เพียงใด ใจสํานึก นอมรําลึก ในพระคุณ อบอุนผสาน ทานฝกฝน ชี้แนะให ใจเบิกบาน นิรันดรกาล ขอเทอด พระคุณเอย ณ โอกาสนี้ พวกขาพเจาขอปฏิญานมอบกายใจแกทานทั้งหลาย (ขอใหทุกคนโปรด ประนมมือ) กลาวตามขาพเจา ดังนี.้ ..... เอเต มยํ ภณฺเต อาจริยา อตฺตภาวํ ตุมฺหากํ ปริจฺจชามฺ (เอเต มะยัง ภันเต อาจะริยา อัตตะภาวัง ตุมหากัง ปริจจะชามะ) ขาแตพระอาจารยและอาจารยผูเจริญ ขาพเจาทั้งหลายขอมอบกายและใจเปนศิษยที่ดีของพระ อาจารยและครูอาจารย ขาพเจาทั้งหลายจะตั้งใจศึกษา เชื่อฟงคําสั่งสอนและปฏิบัติตามดวยความเคารพ ทุกประการ ดวยสัจจะวาจานี้ขอใหขาพเจาทั้งหลายจงมีแตความสุขความเจริญตลอดกาลนานเทอญ ตัวแทนนักเรียนนําพานธูปเทียนแพ มอบถวายพระอาจารย รองเพลงพระคุณที่ ๓ หัวหนาคณะวิทยากร กลาวรับเปนศิษย และใหโอวาท นักเรียนที่รักทั้งหลาย ณ บัดนี้ พระอาจารยและคุณครูทุกทาน ยินดีรับนักเรียนทั้งหมดเปนศิษย ที่ดีดวยความเต็มใจ ขอใหศิษยทุกทานจงประพฤติตนใหอยูในระเบียบวินัยของการองรม เชื่อฟง คําแนะนําสั่งสอนของพระอาจารยดวยความเต็มใจ มีความสงบสํารวมไมสงเสียงดังรบกวนผูอื่น รัก ใครสามัคคีมีความเอื้อเฟอเผื่อแผเพื่อน ๆ ในการอบรมดวยกันใหมีความซื่อสัตยตอตนเองและผูอื่นอยู  เสมอ สํารวมกายวาจาและใจมีสัมมาคารวะสามัคคีพยายามใฝใจในการอบรม เรียนรู ทําเปน มีวินัย ใจ เย็น เห็นแกประโยชนสวนรวมเสมอ บัดนี้ขอใหนักเรียน ศิษยที่รักทุกคน ตั้งใจรับฟงคําแนะนํากติกาสัญญาใจตอไป สัญญาใจ น อนริยํ กริสฺสามิ (นะ อะนะริยัง กะริสสามิ) (เราจักไมทําสิ่งที่ต่ําทราม) คําปฏิญาณ ๑. ใหกําหนดในใจวา เรามาเขาคายพุทธบุตร เพื่อฝกฝนตนเองใหเปนคนดี จึงควรพยายามละ เวนเรื่องตาง ๆ ทางโลกเสีย มุงประคองจิตใหดําเนินไปในทางธรรม ๒. พยายามสํารวมตนเองทั้งกาย วาจา ใจ ๓. การพูดคุยควรอยูเฉพาะในวงแหงธรรมะ และตามความจําเปนเทานั้น
  • 21. ๒๑ ๔. เจริญสติทุกอิริยาบถ ใหรูตัววาขณะนี้กําลังทําอะไรอยู ๕. ลดละทิฐิมานะเดิม ตั้งใจเจริญภาวนาและเจริญเมตตาใหมาก ๖. อดทนตอความยากลําบากทุกกรณี ๗. เมื่อมีปญหาหรือสงสัยสิ่งใดใหถามวิทยากรผูใหการอบรม ๘. แตงกายสุภาพเรียบรอย เก็บรองเทาใหเปนระเบียบในทีกําหนด ่ ๙. ชวยกันทําความสะอาดที่พักทุกคน และรักษาความสะอาดในการใชหองน้ํา ๑๐. หามสมาชิกชายหญิง อยูในที่ลับสองตอสอง ๑๑. มีมารยาทในการรับประทานอาหาร และสุภาพเรียบรอยตอสมาชิกรวมคาย ๑๒. ตรงตอเวลา ๑๓. ขณะมีการฝกฝนกรรมฐาน หามทําเสียงดังเปนอันขาด ๑๔. หามนําอาหารหรือขนม เขาไปรับประทานในเขตอบรมหรือเก็บไวในหองพัก ๑๕. ขอปฏิบัติอื่น ๆ นอกไปจากนี้ใหพิจารณาตามความเหมาะสมแกกาลเทศะ เพศ วัย ปฏิธานพุทธบุตร จะอดทนขมใจใฝฝกฝน จะขยันสรางตนไมเหหัน จะประหยัดใชจายประจําวัน จะซื่อสัตยตอกันมั่นไมคลาย จะกตัญูรูบุญคุณทุกทาน จะมีวินัยรวมประสานงานทั้งหลาย จะ ละ เลิก อบายมุข ไมเยี่ยมกราย จวบชีพวายจะทําดีทุกวี่วัน อดทน ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย กตัญู รูวินัย หางไกลอบายมุข กติกาการเขาคายพุทธบุตร ๑. เราจะตรงตอเวลา ๒. เราจะสุภาพเรียบรอย ๓. กอนพระวิทยากรบรรยายใหพูดวา “สวัสดีครับ สวัสดีคะ” กราบ ๓ ครั้ง ๔. เมื่อพระวิทยากรบรรยายจบใหพูดวา “ขอบคุณครับ ขอบคุณคะ” กราบ ๓ ครั้ง
  • 22. ๒๒ ๕. เมื่อพระวิทยากรบรรยายจบหรือชอบใจ ใหพนมมือกวาคําวา “สาธุ” ไมปรบมือ ๖. เมื่อพูดคุยกับพระอาจารยหรือครูอาจารย เราจะประนมมือทุกครั้ง ๗. เราจะวางรองเทาใหเปนระเบียบ ๘. เราจะไมพูดสงเสียงดังในทุก ๆ สถานที่ ๙. เราจะมีระเบียบในการเดินแถวและเขาออกหองประชุม หรือทําธุรกิจอื่น ๆ ๑๐. ขณะรับประทานอาหารจะไมมีการพูดคุยกัน ๑๑. เราจะมีความสุภาพเรียบรอยตอวิทยากร พระอาจารย ครูอาจารยพี่เลี้ยง ๑๒. เราจะเชื่อฟงและปฏิบัติตามคําสั่งของพระอาจารย ครูอาจารยพี่เลี้ยงอยางเครงครัด ๑๓. เราจะไมเปนคนเห็นแกตัว พรอมที่จะเสียสละทุกเมื่อ ๑๔. เมื่อเห็นคนอื่นทํางานเราจะชวยทันที ๑๕. เราจะไมมีการทะเลาะเบาะแวงกัน ๑๖. เราจะพูดคุยกับเพื่อน ๆ ดวยความสุภาพทุกเมื่อ ๑๗. เราจะไมมีการออกไปนอกสุถานที่อบรมกอนไดรับอนุญาต ๑๘. เราจะมีความอดทน อดกลั้นไดในทุก ๆ กรณี ๑๙. เราจะไมแอบรับประทานอาหารหรือขนมและสิ่งเสพติดทุกชนิด ๒๐. เมื่อเราไมสบายหรือเห็นเพื่อนไมสบายหรือมีสิ่งใดผิดปกติเกิดขึ้นใหรีบแจงพระอาจารย หรือครูอาจารยพี่เลี้ยงทันที ๒๑. เราจะใหความรวมมือและตั้งใจในการปฏิบัติงานเปนอยางดี ๒๒. เสื้อผา สิ่งของ ๆ ตน ตองมีชื่อหรือเครื่องหมาย เพื่อปองกันการสับเปลี่ยนกัน ๒๓. อยานําสิ่งของมีคามาเขาคายอบรม ถามีใหนํามาฝากครูอาจารยพี่เลี้ยง ๒๔. เราจะรักษาความสะอาดเรียบรอย และชวยกันรักษาที่พักอยูตลอดเวลา การรับประทานอาหาร - ใหนักเรียนนําอุปกรณ เชน จาน ชอน แกวน้ํา ฯลฯ มาเรียบรอย - ใหนักเรียนวางอุปกรณไวทางขวามือ ใหเปนแถวตรงกันดูสวยงาม - ใหนักเรียนกราบพระพรอมกัน ๓ ครั้ง - ใหนักเรียนทองพุทธศาสนสุภาษิต คํากลอน เตรียมความพรอม - ใหนักเรียนออกรับอาหารเปนแถวอยางมีระเบียบ - ใหนักเรียนกลุมที่ไมไดออกรับอาหาร ทองสุภาษิต หรือนั่งสมาธิ แลวแตกรณี - นักเรียนรับอาหารมาแลววางไวทางขวามือเปนแถวตรงกัน - ตัวแทนกลุมที่มีน้ําใจเอื้อเฟอเอาน้ําใสเหยือกบริการใหเพื่อน (ครูที่ปรึกษาชวยบริการดวยก็ ได)
  • 23. ๒๓ - นักเรียนกลาวคําพิจารณาอาหารพรอมกัน (ใชคําปลุกสํานึก กอนรับประทานอาหาร) - พระอาจารยพูดธรรมะหรือประโยชนของอาหารเปนการใหอาหารใจไปดวย - ใครรับประทานอาหารเสร็จกอนใหนั่งตัวตรงหลับตาทําสมาธิ - รับประทานอาหารเสร็จแลวกลาวคําขอบคุณผูมีอุปการะพรอมกัน - พระอาจารยปลอยใหไปลางจานทีละกลุมอยางมีระเบียบ ปลุกสํานึกกอนรับประทานอาหาร ในการอยูคายพุทธบุตรนั้นเราฝกใหเด็กรับประทานอาหารอยางมีระเบียบเรียบรอยสวยงาม พระอาจารยจึงจัดเด็กออกไปรับอาหารทีละกลุมอยางมีระเบียบ และเมื่อกลับมานั่งที่เดิมหมดทุกคนแลว กอนจะรับประทานอาหาร พระอาจารยจะกลาวนําใหวาตาม ดังนี้ “ขาวทุกจาน อาหารทุกอยาง อยากินทิ้งขวาง เปนของมีคา หลายคนเหนื่อยยาก ลําบากนักหนา สงสารบรรดา คนยากคนจน ในโลกนี้ยังมีคนที่จนยาก แสนลําบากอัตคัดและขัดสน อยากินทิ้งขวางตามใจตน สงสารคนอื่นที่ไมมีกิน ฉันจะประหยัด ซื่อสัตยเกื้อหนุน สํานึกบุญคุณ ใหคุมขาวคํา กติกาในการับประทานอาหาร “เราชาวพุทธบุตร รับประทานอาหารดวยความตั้งใจวา ไมดัง ไมหก ไมเหลือ” คําอธิษฐานหลังรับประทานอาหาร ขาพเจาขอตั้งจิตอธิษฐานวา เมื่อขาพเจาไดชีวิต ไดเลือดเนื้อ จากอาหารมื้อนี้แลว ขาพเจาจะไม ลืมพระคุณของผูมีพระคุณ และขอใชกาย วาจา ใจ เปนไปในทางที่มีประโยชนแกตนเอง และผูอื่น ตลอดไป เมื่อกลาวคําอธิษฐานเสร็จแลว พระอาจารยใหนักเรียนออกไปลางจานทีละกลุมอยางมีระเบียบ มีคุณครูคอยแนะนําเด็กอยู ณ ที่ลางจาน พบครูอาจารยพี่เลี้ยง การพบครูอาจารยพี่เลี้ยง มีจุดประสงคเพื่อ ๑. ใหรูจักนักเรียนเปนรายบุคคลในกลุมที่รับผิดชอบ ๒. ใหนักเรียนนําของที่มีคาฝากไวที่ครูอาจารยพี่เลี้ยง
  • 24. ๒๔ ๓. แนะนําสถานที่ตาง ๆ ใหนักเรียนรูจัก เชน ที่พัก ที่รับประทานอาหาร ที่อาบน้ํา สถานที่เรียนกรรมฐาน เปนตน ๔. เปนที่ปรึกษานักเรียนขณะอยูคายพุทธบุตร คอยดูแลสุขภาพอนามัยนักเรียน ๕. สนทนาซักถามความเปนอยู และปญหาตาง ๆ ขณะอยูคายพุทธบุตร การประชุมพระวิทยากรและผูรวมงาน การประชุมพระวิทยากร และผูรวมงาน มีจุดประสงคเพื่อ ๑. สนทนาถึงกิจกรรมที่จัดในแตละวันในเรื่อง ๑.๑ สภาพความสําเร็จการจัดกิจกรรม ๑.๒ ปญหาอุปสรรคในการจัดกิจกรรม ๑.๓ ขอเสนอแนะในการปรับปรุงกิจกรรมในวันตอไป ๒. การนําเสนอกิจกรรมวันตอไปในเรื่อง ๒.๑ การเตรียมการจัดกิจกรรม ๒.๒ ภารกิจความรับผิดชอบในแตละงาน ๒.๓ การเตรียมอุปกรณและของใชในแตละกิจกรรม ๒.๔ การเตรียมบุคลากรรับผิดชอบกิจกรรม ๒.๕ การซักซอมความเขาใจในกิจกรรมตาง ๆ ธรรมนันทนาการ ธรรมนันทนาการมีจุดมุงหมายเพื่อใหนักเรียนเกิดความสนุกสนานมีอารมณสุนทรียในบทเพลง และสุภาษิตคําพังเพย เพลงที่นําเสนอในคายพุทธบุตรตองเปนเพลงที่ปลูกฝงอุดมการณและจิตสํานึกที่ดี ในดานคุณธรรมจริยธรรม วันที่ ๑ ของการอบรม เปนเพลงที่มีจังหวะและทํานองสนุกสนานเราใจ วันที่ ๒ ของการอบรม เปนเพลงที่รองแลวเกิดความซาบซึ้งในคุณธรรม วันที่ ๓ ของการอบรม เปนเพลงที่รองแลวเกิดความซาบซึ้งและประทับใจ และไมมีดนตรี ประกอบ เนื้อเพลงประกอบกิจกรรมธรรมนันทนาการไดพิมพไวในคูมือนี้แลว การแบงกลุมเรียนตามฐาน ๑. กําหนดสถานที่เรียนตามฐาน และเขียนปายชื่อฐานที่เรียน ๒. เตรียมอุปกรณและสื่อประจําฐาน เชน เครื่องขยายเสียง และสื่อประกอบการเรียนฐาน ๓. ใหนักเรียนแตละกลุมเดินเรียงแถวไปตามฐานที่กําหนด ๔. เมื่อไปถึงในแตละฐานใหนักเรียนปฏิบัติดังนี้
  • 25. ๒๕ ๔.๑ ในกรณีวิทยากรเปนพระสงฆใหนักเรียนนั่งใหเรียบรอยกลาวคําวา “สวัสดีครับ/ คะ พระอาจารย” แลวกราบแบบเบญจางคประดิษฐ ๓ ครั้ง และใหนักเรียนฟงหรือปฏิบัติกิจกรรมดวย อาการสํารวจ เมื่อจบการเรียนใหนักเรียนทุกคนกลาววา “ขอบพระคุณครับ/คะ พระอาจารย” แลวกราบ เบญจางคประดิษฐ ๓ ครั้ง ๔.๒ ในกรณีวิทยากรเปนฆราวาสใหนักเรียนนั่งใหเรียบรอยกลาวคําวา “สวัสดีครับ/คะ อาจารย” แลวกราบ ๑ ครั้ง และใหนักเรียนฟงหรือปฏิบัติกิจกรรมดวยอาการสํารวย เมื่อจบการเรียนให นักเรียนทุกคนกลาววา “ขอบพระคุณครับ/คะ อาจารย” และกราบ ๑ ครั้ง กิจกรรมที่เรียนตามฐานตาง ๆ รายละเอียดกิจกรรมอยูในภาคผนวก การทําวัตรสวดมนต - ใชหนังสือสวดมนตแปลฉบับพุทธบุตร (หรือฉบับของสวนโมกข) - นั่งคุกเขาเทพบุตร-เทพธิดา (จนกวาพระอาจารยจะสั่งเปลี่ยน) - พระอาจารยจุดเทียนเลมที่ ๑ ทุกคนประนมมือ - จุดเทียนและธูปเสร็จแลว กราบพระรัตนตรัย ๓ ครั้ง - พระอาจารยที่เปนหัวหนาในที่นั้นนําสวดมนตไปจนจบ อานิสงสของการสวดมนต - ทําใหอานหนังสือคลอง ออกเสียงไดถูกตอง สมองไดรับการพัฒนา - ขับไลความเกียจคราน จิตใจแชมชื่นเบิกบาน ไมเบื่อไมเซ็ง กระปรี้กระเปรา) - ตัดความเห็นแกตัวลงได เพราะขณะสวดมนต โลภะ โทสะ โมหะ ไมเกิด - จิตเปนสมาธิ เพราะจิตแนวแนอยูกับบทสวด ไมฟุงซาน จิตเยือกเย็น - ไดปญญาเขาใจความหมายและรูจักหลักคําสอนของพระพุทธเจา - ไดเขาเฝาพระพุทธเจา และถึงพรอมดวย ศีล สมาธิ ปญญา การเจริญจิตตภาวนา - ทําวัตรสวดมนตเสร็จแลวนั่งคุกเขากราบ ๓ ครั้ง - พระอาจารยนํากลาวคําสมาทานกรรมฐาน ทุกคนวาตามดังนี้ คําสมาทานกรรมฐาน อุกาสะ อุกาสะ ณ โอกาสบัดนี้ ขาพเจาขอมอบอัตตภาพรางกายนี้ แดพระรัตนตรัย เพื่อที่จะ เจริญกรรมฐาน ขอใหสมาธิและวิปสสนาญาณ จงบังเกิดขึ้น ในขันธสันดานของขาพเจา