SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  77
Télécharger pour lire hors ligne
Topical Corticosteroids
ภก.นพดล จริงจิตร
โรงพยาบาลโรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จังหวัดตรัง
Topical Corticosteroid
ภก.นพดล จริงจิตร รพ.โรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จังหวัดตรัง 2
Topical Corticosteroid
ภก.นพดล จริงจิตร รพ.โรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จังหวัดตรัง 3
Pharmacology
• ผลต้านการอักเสบ (Anti – Inflammatory
Effects)
• ผลลดภูมิคุ้มกัน (Immunosuppressive Effects)
• ผลลดการเพิ่มจํานวนเซลล์ (Antiproliferative
Effects)
• ผลทําให้หลอดเลือดหดตัว (Vasoconstriction)
Topical Corticosteroid
ภก.นพดล จริงจิตร รพ.โรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จังหวัดตรัง 4
 ใช้วัดประสิทธิภาพของยา Corticosteroids
 ใช้จัดลําดับความแรงของ Corticosteroids
Vasoconstrictor assay
vasoconstrictor assay
– ทดสอบโดยทายา 5 mg บนผิวหนัง จนเริ่มเห็นผิวซีด
สูงสุดหลังทายา 9 – 12 ชั่วโมง
– วัดด้วย infrared reflection photometers /
thermal conductivity / laser doppler
velocimetry
– วิธีนี้นอกจากวัดฤทธิ์ของยาแล้ว ยังสามารถประเมินการ
ซึมผ่านผิวหนัง metabolism และการกําจัดยาได้
การจําแนกยาตามผลการทดสอบ
• สหรัฐอเมริกาจําแนกเป็น 7 ระดับ
(ระดับ 1 ความแรงสูงสุด ระดับ 7 ความแรงน้อยที่สุด)
• สหราชอาณาจักร จําแนกเป็น 4 กลุ่ม คือ mild,
moderate, very potent, super potent
Topical Corticosteroid
ภก.นพดล จริงจิตร รพ.โรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จังหวัดตรัง 7
Potency of Topical Corticosteroids
High Potency
Low Potency
Medium Potency
Topical Corticosteroid
ภก.นพดล จริงจิตร รพ.โรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จังหวัดตรัง 8
ความแรงของยา ชื่อสามัญ
Class 1 superpotent • 0.05% Betamethasone
dipropionate
• 0.05% Clobetasol
propionate
Class 2 – potent, upper
mild strength
• 0.25% Desoximetasone
• 0.1% Mometasone furoate
Class 3 – potent,upper mild
strength
• 0.1% Betamethasone
valerate
Topical Corticosteroid
ภก.นพดล จริงจิตร รพ.โรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จังหวัดตรัง 9
ความแรงของยา ชื่อสามัญ
Class 4 mild strength •0.025% Fluocinolone
acetonide
•0.1% Mometasone furoate
• 0.1% Prednicabate
Class 5 lower mild strength •0.1% Triamcinolone
acetonide
Topical Corticosteroid
ภก.นพดล จริงจิตร รพ.โรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จังหวัดตรัง 10
ความแรงของยา ชื่อสามัญ
Class 6 mild strength • 0.02% Triamcinolone
acetonide
Class 7 least strength • 0.5,1,2.5% Hydrocortisone
•0.5% Prednisolone
Topical Corticosteroid
ภก.นพดล จริงจิตร รพ.โรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จังหวัดตรัง 11
Topical Corticosteroids ที่ใช้บ่อย
• 0.02% Triamcinolone acetonide cream
• 0.1% Triamcinolone acetonide cream
• 0.1% Betamethasone valerate cream
• 0.05% Clobetasol propionate
• 0.05% Betamethasone dipropionate
Topical Corticosteroid
ภก.นพดล จริงจิตร รพ.โรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จังหวัดตรัง 12
ตําแหน่งผิวหนังที่ยาซึมผ่านได้ดีจากมากไปน้อย
1. อัณฑะ/หนังตา 6. แขน/ขาส่วนบน
2. หน้า (ยกเว้นหน้าผาก) 7. แขน/ขาส่วนล่าง
3. หน้าผาก 8. หลังมือ/หลังเท้า
4. หนังศีรษะ 9. ฝ่ามือ
5. หน้าอก/หลัง 10. ฝ่าเท้า
ภก.นพดล จริงจิตร รพ.โรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จังหวัดตรัง 13
http://itsan.org/topical-steroids-101/
แนวทางการเลือกใช้ยา Topical Corticosteroids
• โรค/ลักษณะรอยโรค/ตําแหน่งรอยโรค
• ตัวยา (chemical characteristics)/ความแรง
(Potency)
• รูปแบบยา (vehicles)
• ความแรงของยา (potency)
แนวทางการเลือกใช้ยา Corticosteroids
รูปแบบยา (vehicles)
 corticosteroid ชนิดเดียวกันเมื่ออยู่ในรูปแบบที่
ต่างกัน จะมีความแรงไม่เท่ากัน
 เรียงลําดับความแรงจากมากไปน้อย ขี้ผึ้ง
(ointment) ครีม (cream) โลชั่น (lotion) ตามลําดับ
แนวทางการเลือกใช้ยา Corticosteroids
รูปแบบยา (vehicles) : ขี้ผึ้ง (ointment)
 ไม่มีสารกันเสีย (preservative) เป็นส่วนประกอบ :
เหมาะกับผู้ป่วยที่แพ้สารกันเสีย
 เหมาะกับผื่นหนา แห้ง แตก (lichenification) บริเวณ
ฝ่ามือ ฝ่าเท้า
 เคลือบผิวได้ดี เพิ่มความชุ่มชื้น ซึมผ่านผิวหนังได้ดี
และนาน
แนวทางการเลือกใช้ยา Corticosteroids
รูปแบบยา (vehicles) : ครีม (cream)
 ใช้ทาบริเวณผิวหนังที่ชื้น ผื่นแพ้สัมผัสระยะเฉียบพลัน
และค่อนข้างเฉียบพลัน รวมถึงบริเวณซอกพับ
(intertriginous area)
แนวทางการเลือกใช้ยา Corticosteroids
รูปแบบยา (vehicles) : โลชั่น (lotion) เจล (gel)
สารละลาย (solution)
 เหมาะสําหรับบริเวณที่มีผม และขน
 ส่วนใหญ่มีส่วนผสมของ alcohol และ propylene
glycol ดังนั้นควรหลีกเลี่ยงการทาบริเวณแผล/รอยแตก
ผิวหนัง : ทําให้เกิดการระคายเคืองได้
แนวทางการเลือกใช้ยา Corticosteroids
ความแรงของยา (potency)
 class 6-7 or low potency ทาบริเวณหน้า ซอกพับ
และผื่นผิวหนังระยะเฉียบพลัน
 class 2-5 ทาบริเวณฝ่ามือ ฝ่าเท้า ผื่นผิวหนังชนิด
เรื้อรังที่มีขุย และหนา
แนวทางการเลือกใช้ยา Corticosteroids
รอยโรค
 เมื่อทา corticosteroids บนผิวหนังปกติ พบว่า ร้อย
ละ 99 ของยาจะหลุดออกจากการถู เกา เช็ด ล้าง จะ
เหลือยาเพียงร้อยละ 1 ที่สามารถซึมผ่านผิวหนัง และให้
ผลการรักษา
แนวทางการเลือกใช้ยา Corticosteroids
รอยโรค
 โรค atopic dermatitis มีความผิดปกติของสาร
เคลือบผิวตามธรรมชาติ
 ทําให้ยาซึมผ่านได้ดีกว่าผิวหนังปกติ 2 – 10 เท่า
แนวทางการเลือกใช้ยา Corticosteroids
รอยโรค
 รอยโรคที่หนามาก เช่น dyshidrosis สะเก็ดเงินชนิด
ผื่นหนาบริเวณขาด้านล่าง หรือ lichen simplex
chronicus
 ใช้วิธีการปิดผื่นหลังทายา : เพื่อเพิ่มระยะเวลาดูดซึมยา
ผ่านผิวหนัง
แนวทางการเลือกใช้ยา Corticosteroids
ตําแหน่งรอยโรค
 หนังตา / อัณฑะ ดูดซึมยามากกว่าฝ่าเท้า 300 เท่า
ควรใช้ potency ต่ํา
 ฝ่ามือ ฝ่าเท้า ควรใช้ potency สูง อาจผสม salicylic
acid หรือใช้วิธีปิดผื่นหลังทายา (occlusion)
Topical Corticosteroid
ภก.นพดล จริงจิตร รพ.โรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จังหวัดตรัง 24
หลักการใช้ยาสเตียรอยด์ชนิดทาภายนอก
• Low potency
• Short term
• ทาบาง ๆ ไม่ควรทาบริเวณกว้างเกินไป
• Rotational therapy
Topical Corticosteroid
ภก.นพดล จริงจิตร รพ.โรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จังหวัดตรัง 25
Side Effect
• ผิวหนังบางลง
• เกิดรอยแตกของผิวหนัง
• ถ้ายาดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด กดการทํางานของ
ต่อมหมวกไต
Side Effect
• ผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นกับผิวหนัง
(local adverse effects)
• ผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นจากยาดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด
(systemic reactions)
Side Effect local adverse effects
ผิวบาง (atrophic changes)
• มีรายงานครั้งแรก พ.ศ.2506 จาก Triamcinolone acetonide
• ลักษณะทางคลินิก
 ผิวหนังมันเงา และใส
 หนังกําพร้าเหี่ยวย่น (epidermal atrophy)
 เมื่อดึงขึ้นผิวหนังกลับคืนสภาพเดิมช้า (alteration in skin
elasticity)
Side Effect local adverse effects
ผิวบาง (atrophic changes)
• ปัจจัยเสี่ยงขึ้นกับ
 อายุ พบในเด็ก/ผู้สูงอายุ
 potency
 ตําแหน่งที่ทา : ข้อพับ รักแร้ อัณฑะ ขาหนีบ
Side Effect local adverse effects
ผิวบาง (atrophic changes) : ความผิดปกติในชั้นหนังแท้
dermal atrophy
• เกิดจากการแบ่งตัวของ fibroblasts ลดลง
• ลดการสร้าง collagen : เกิดหลังจากทายา 3 วัน และหลัง
หยุดยานาน 2 สัปดาห์
Side Effect local adverse effects
ผิวบาง (atrophic changes) : ความผิดปกติในชั้นหนังแท้
dermal atrophy
• หลังทายา 0.1% Betamethasone valerate ต่อเนื่อง 3
สัปดาห์
 ความหนาของชั้นหนังแท้บางลงร้อยละ 15
 ห า ก ใ ช้ ต่ อ เ นื่ อ ง เ กิ ด ห ล อ ด เ ลื อ ด ฝ อ ย ข ย า ย ตั ว
(telangiectasia) เกิดรอยช้ําได้ง่าย (easy bruising) จ้ําเขียว
(purpura)
Topical Corticosteroid
ภก.นพดล จริงจิตร รพ.โรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จังหวัดตรัง 31
Side Effect : Telangiectasia
Topical Corticosteroid
ภก.นพดล จริงจิตร รพ.โรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จังหวัดตรัง 32
Side Effect
Purpura Easy Bruising
Side Effect local adverse effects
ผิวซีดขาว (hypopigmentation)
• ยับยั้งการทํางานของ melanocyte : melanin ลดลง
Side Effect local adverse effects
การติดเชื้อที่ผิวหนัง
• พบอุบัติการณ์ร้อยละ 16 – 43
• การติดเชื้อที่พบบ่อย เช่น เกลื้อน (tinea versicolor) กลาก
(tinea incognito) เชื้อราที่เล็บ (onychomycosis) เริม
(herpes simplex infection) หูดข้าวสุก (molluscum
contagiosum) หิด (scabiasis)
Side Effect local adverse effects
ผื่นคล้ายสิว (acneiform reactions)
• ลักษณะคล้ายสิว ส่วนใหญ่พบได้ 3 โรค คือ
 steroid acne
 รูขุมขนอักเสบรอบปาก (perioral dermatitis)
 steroid rosacea
Steroid acne
steroid rosacea
perioral dermatitis
Side Effect local adverse effects
ผื่นคล้ายสิว (acneiform reactions)
• perioral dermatitis & steroid rosacea
 เกิดจากการทายาบริเวณใบหน้า
 ช่วงแรกที่ทายาผื่นยุบ แต่หลังจากหยุดยาผื่นเห่อขึ้น
(rebound phenomenon)
 ทําให้ต้องใช้ยาต่อเนื่อง จนเกิดการทนยา (tachyphylaxis)
ต้องเพิ่มความแรงของยาไปเรื่อยๆ
Side Effect local adverse effects
ผื่นคล้ายสิว (acneiform reactions)
• steroid acne
 แยกจากสิวทั่วไป (acne vulgaris) ดังนี้
 ตุ่มนูนแดง มีตุ่มหนองด้านบนที่ตําแหน่งทายา ส่วนใหญ่เกิดที่
ใบหน้า หน้าอก หลัง หัวไหล่ ต้นแขน
 เมื่อผื่นหายเกิดรอยดํา ไม่มีสิวอุดตัน และรอยแผลเป็น
Side Effect local adverse effects
ผลข้างเคียงต่อตา
• การทา corticosteroid รอบดวงตา มีรายงานการเกิดต้อหิน
(glaucoma)
• การใช้ยาต่อเนื่องทําให้การมองเห็นลดลง (vision loss)
• corticosteroid ซึมผ่านผิวหนังบริเวณรอบตาได้มากกว่าฝ่า
เท้า 300 เท่า
Side Effect Systemic effects
กดการทํางานของต่อมหมวกไต
• เกิดจากการทา corticosteroid :
High potency เช่น ทา clobetasol propionate 0.05%
เพียง 2 g/day ติดต่อ 2 – 3 วัน
Medium potency ทา 7 g/day ติดต่อกัน 2 weeks
Side Effect Systemic effects
กดการทํางานของต่อมหมวกไต
• ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมยาจนทําให้เกิดผลข้างเคียง
 เด็ก/ผู้สูงอายุ
 พื้นที่ทายา : ทาบริเวณกว้าง
 การปิดแผลบริเวณที่ทายา
 potency of corticosteroids
Side Effect Systemic effects
ระดับน้ําตาลในเลือดสูง และเบาหวาน
• เกิดจากการดูดซึมยาผ่านผิวหนังในปริมาณมาก
 ผลเพิ่มการสร้างน้ําตาลในตับ
 ภาวะดื้ออินซูลิน
Topical Corticosteroid
ภก.นพดล จริงจิตร รพ.โรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จังหวัดตรัง 45
Tachyphylaxis
การใช้ยาติดต่อกันเป็นเวลานาน
ประสิทธิภาพของยาลดลง
Tachyphylaxis
• คือ ประสิทธิภาพของยาทา corticosteroids ลดลงหลังทายา
อย่างต่อเนื่อง ทําให้ผลการรักษาไม่ได้ผล หรือได้ผลน้อยกว่า
ปกติ
Steroid addition
• คือ การติดยาทา corticosteroids
• ส่วนใหญ่เกิดจากการทายา high potenty บริเวณใบหน้า
• หลังหยุดทายา จะเกิดผื่น เช่น rosacea telangiectasis เห่อ
ขึ้น ทําให้ผู้ป่วยไม่กล้าหยุดยา
ผื่นแพ้สัมผัสจาก corticosteroids
• สังเกตจากหลังทายาแล้วผื่นเหมือนเดิม หรืออาการแย่ลง
• จากรายงานพบความชุกของการเกิดผื่นระหว่างทายา ร้อยละ
0.2 – 6
• ส า เ ห ตุ อ า จ เ กิ ด จ า ก ก า ร แ พ้ corticosteroid ห รื อ
ส่วนประกอบในเนื้อยา
สารในยาทา corticosteroids ที่ทําให้เกิดผื่นแพ้สัมผัส
สาร สาร
Propylene glycol Polysorbate 60
Benzyl alcohol Stearyl alcohol
Chlorocresol Corticosteroid
Ethylenediamine HCl Antibiotics
Paraben Isopropyl palmitate
วิธีการทายา
ปริมาณยาที่เหมาะสม
 บีบยาตามความยาว 1 ข้อนิ้วชี้ส่วนปลาย (fingertip units)
 1 fingertip units : male = 0.49 g female = 0.43 g
1 fingertip units
วิธีการทายา
ปริมาณยาที่เหมาะสม
 การประเมินปริมาณยาตามพื้นที่ผิวใช้วิธี Rule of hand
 คือ 1 ฝ่ามือผู้ใหญ่ใช้ยาประมาณ 1 g
 ตัวอย่าง ต้องการทายาพื้นที่ผิวเท่ากับ 1 ฝ่ามือ ดังนั้นต้อง
บีบยาประมาณ 2 ข้อนิ้ว จึงจะทายาได้ทั่วถึง
วิธีการทายา
ความถี่ในการทายา
 corticosteroids class 1 – 3 ทาวันละ 1 หรือ 2 ครั้ง ให้
ผลการรักษาไม่แตกต่างกัน : แนะนําให้ทาวันละ 1 ครั้ง เพื่อลด
การเกิด tachyphylaxis
 corticosteroids class 4 – 7 ขึ้นกับชนิดของยา ส่วนใหญ่
แนะนําให้ทาวันละ 2 ครั้ง
วิธีการทายา
ระยะเวลาในการทายา
 corticosteroids High potency : ไม่ควรทาต่อเนื่องนาน
เกิน 2 weeks
 corticosteroids Medium/Low potency : ไม่ควรทา
ต่อเนื่องนานเกิน 3 months
การใช้ยาในผู้ป่วย
เด็ก
 ใช้ corticosteroids Low potency : ไม่ควรทาต่อเนื่องนาน
เกิน 2 weeks
 เด็กอายุต่ํากว่า 1 ปี มีโอกาสเกิด side effects จากการดูด
ซึมยาเข้าสู่กระแสเลือด เนื่องจากเด็กมีพื้นที่ผิวกายต่อน้ําหนัก
ตัวมากกว่าผู้ใหญ่ 2.5 – 3 เท่า & drug metabolism เกิด
น้อยกว่าผู้ใหญ่
การใช้ยาในผู้ป่วย
เด็ก
 Systemic side effects ที่เกิดขึ้น ได้แก่
 กดการทํางานของต่อมหมวกไต
 มีรายงานการเสียชีวิต เนื่องจากเกิด Adrenal crisis
 กดการเจริญเติบโต
การใช้ยาในผู้ป่วย
เด็ก
 จากรายงานการศึกษาของ FDA USA พ.ศ. 2530 – 2540
 พบว่าเกิดจาก กลุ่ม Betamethasone ร้อยละ 79.4 (ร้อยละ
25.7 เป็นยา Betamethasone dipropionate +
Clotrimazole)
การใช้ยาในผู้ป่วย
หญิงตั้งครรภ์
 จาก Conchrane database พบว่า ยังไม่มีข้อมูลเพียงพอที่
สรุปได้ว่า ปลอดภัยหรือไม่
 จากข้อมูลที่มี ยังไม่พบความสัมพันธ์กับความผิดปกติแรก
คลอด/คลอดก่อนกําหนด/ตายคลอด
 มีรายงานการใช้ยาความแรงสูงสุด class 1 สัมพันธ์กับทารก
แรกคลอด ตัวเล็กกว่าเกณฑ์
การใช้ยาในผู้ป่วย
หญิงตั้งครรภ์
 จัดอยู่ในยากลุ่ม C ของการใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์
 pregnancy category C
 ควรระมัดระวังการใช้ยาในหญิงให้นมบุตร : ห้ามทายาบริเวณ
เต้านมก่อนให้นม
ภก.นพดล จริงจิตร รพ.โรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จังหวัดตรัง 60
Scalp Corticosteroid
0.1% Mometasone lotion• 0.02% TA Lotion/milk 0.25% Desoximetasone
61ภก.นพดล จริงจิตร รพ.โรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จังหวัดตรัง
ลองอธิบายหลักการนี้ ?
การประยุกต์ใช้ Topical
Corticosteroids ร่วมกับยากลุ่มอื่นๆ
Antibacterial agent
Topical Corticosteroids
Antibacterial agent + Corticosteroids
• Gentamycin + 0.1% Betamethasone valerate
cream
• Neomycin + 0.1% Betamethasone valerate
cream
Antifungal agent
Topical Corticosteroids
Antifungal agent + Corticosteroids
• Clotrimazole + 0.1% Betamethasone valerate
cream
Salicylic acid
Topical Corticosteroids
Salicylic acid
ภก.นพดล จริงจิตร รพ.โรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จังหวัดตรัง 68
กลไกการออกฤทธิ์
• ทําให้เกิดการหลุดลอกของเซลล์ผิวหนัง
• เป็น Keratolytic agent
Salicylic acid
ภก.นพดล จริงจิตร รพ.โรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จังหวัดตรัง 69
หลักการใช้ยา
• Salicylic acid + Corticosteroids
• ทําให้ผลการรักษาดีขึ้น เนื่องจากทําให้การซึมผ่านของยา
Corticosteroid ดีขึ้น
Salicylic acid
ภก.นพดล จริงจิตร รพ.โรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จังหวัดตรัง 70
รายการยา
• 5% Salicylic acid + 0.02% TA cream
• 10% Salicylic acid + 0.02% TA cream
Salicylic acid
ภก.นพดล จริงจิตร รพ.โรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จังหวัดตรัง 71
ผลข้างเคียง และข้อควรระวัง
• หากทายาปริมาณมากกว่า ร้อยละ 20 ของพื้นที่ผิวร่างกาย
ทําให้ยาดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย เกิดพิษในผู้ป่วยโรคตับ/ไต
• หากทา Salicylic acid ก่อนฉายแสง UVB ทําให้ลด
ประสิทธิภาพการฉายแสง
• ไม่ควรใช้ในเด็ก
Urea
Topical Corticosteroids
Urea + Corticosteroids
• 10% Urea + 0.02% Triamcinolone acetonide
cream
• 10% Urea + 0.05% Betamethasone valerate
cream
• 10% Urea + 0.1% Betamethasone valerate
cream
Emollient
ภก.นพดล จริงจิตร รพ.โรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จังหวัดตรัง 74
ให้ความชุ่มชื้นแก่ผิวหนัง
• Cream Base
• Liquid Paraffin (Mineral oil)
• Petroleum jelly
Emollient
ภก.นพดล จริงจิตร รพ.โรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จังหวัดตรัง 75
ให้ความชุ่มชื้นแก่ผิวหนัง : Cream Base
Emollient
ภก.นพดล จริงจิตร รพ.โรคผิวหนังเขตร้อนภาคใต้ จังหวัดตรัง 76
ให้ความชุ่มชื้นแก่ผิวหนัง : Liquid Paraffin (Mineral oil)
Topical corticosteroids

Contenu connexe

Tendances

การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
Aiman Sadeeyamu
 

Tendances (20)

สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
 
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
 
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
 
Berodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solutionBerodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solution
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
 
Acne vulgaris treatment & management
Acne vulgaris treatment & managementAcne vulgaris treatment & management
Acne vulgaris treatment & management
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
ตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาท
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
 
Insulin
InsulinInsulin
Insulin
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
Drugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulationDrugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulation
 
Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนังการพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
 
Clinical Practice Guideline for Acne โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะ
Clinical Practice Guideline for Acne  โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะClinical Practice Guideline for Acne  โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะ
Clinical Practice Guideline for Acne โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะ
 
คณาเภสัช
คณาเภสัชคณาเภสัช
คณาเภสัช
 

En vedette

Dermatologic topical corticosteroids Dermatologic topical corticosteroids
Dermatologic topical corticosteroids 	 Dermatologic topical corticosteroidsDermatologic topical corticosteroids 	 Dermatologic topical corticosteroids
Dermatologic topical corticosteroids Dermatologic topical corticosteroids
MedicineAndDermatology
 
Role of corticosteroids in allergic diseases
Role of corticosteroids in allergic diseasesRole of corticosteroids in allergic diseases
Role of corticosteroids in allergic diseases
Ariyanto Harsono
 
Corticosteroids in ophthalmology
Corticosteroids in ophthalmologyCorticosteroids in ophthalmology
Corticosteroids in ophthalmology
Paavan Kalra
 
[Mlp2013 1] migraine
[Mlp2013 1] migraine[Mlp2013 1] migraine
[Mlp2013 1] migraine
Joey Live
 

En vedette (20)

Topical corticosteroids
Topical corticosteroidsTopical corticosteroids
Topical corticosteroids
 
Topical keratolytics & topical steroids
Topical keratolytics & topical steroidsTopical keratolytics & topical steroids
Topical keratolytics & topical steroids
 
Corticosteroids
CorticosteroidsCorticosteroids
Corticosteroids
 
Corticosteroid
CorticosteroidCorticosteroid
Corticosteroid
 
Corticosteroids Pharmacology - drdhriti
Corticosteroids Pharmacology - drdhritiCorticosteroids Pharmacology - drdhriti
Corticosteroids Pharmacology - drdhriti
 
Dermatologic topical corticosteroids Dermatologic topical corticosteroids
Dermatologic topical corticosteroids 	 Dermatologic topical corticosteroidsDermatologic topical corticosteroids 	 Dermatologic topical corticosteroids
Dermatologic topical corticosteroids Dermatologic topical corticosteroids
 
Pharmacology of corticosteroids
Pharmacology of corticosteroidsPharmacology of corticosteroids
Pharmacology of corticosteroids
 
topical therapy in dermatology
topical therapy in dermatologytopical therapy in dermatology
topical therapy in dermatology
 
Pharmacology (Corticosteroids Lecture)
Pharmacology (Corticosteroids Lecture)Pharmacology (Corticosteroids Lecture)
Pharmacology (Corticosteroids Lecture)
 
Corticosteroids(2&3)
Corticosteroids(2&3)Corticosteroids(2&3)
Corticosteroids(2&3)
 
Role of corticosteroids in allergic diseases
Role of corticosteroids in allergic diseasesRole of corticosteroids in allergic diseases
Role of corticosteroids in allergic diseases
 
Corticosteroids satya
Corticosteroids  satyaCorticosteroids  satya
Corticosteroids satya
 
Corticosteroids
CorticosteroidsCorticosteroids
Corticosteroids
 
Corticosteroids
CorticosteroidsCorticosteroids
Corticosteroids
 
Seminar principles of topical therapy
Seminar principles of topical therapySeminar principles of topical therapy
Seminar principles of topical therapy
 
Corticosteroids in ophthalmology
Corticosteroids in ophthalmologyCorticosteroids in ophthalmology
Corticosteroids in ophthalmology
 
Glucocorticoids
GlucocorticoidsGlucocorticoids
Glucocorticoids
 
Steroids ppt
Steroids pptSteroids ppt
Steroids ppt
 
Topical corticosteroids
Topical corticosteroidsTopical corticosteroids
Topical corticosteroids
 
[Mlp2013 1] migraine
[Mlp2013 1] migraine[Mlp2013 1] migraine
[Mlp2013 1] migraine
 

Similaire à Topical corticosteroids (9)

Medication in-psoriasis-2559
Medication in-psoriasis-2559Medication in-psoriasis-2559
Medication in-psoriasis-2559
 
Acne 2010
Acne 2010Acne 2010
Acne 2010
 
Skin part 2
Skin part 2Skin part 2
Skin part 2
 
Skin topic
Skin topicSkin topic
Skin topic
 
Cpg for acne
Cpg for acneCpg for acne
Cpg for acne
 
Cpg psoriasis institue of derm
Cpg psoriasis institue of dermCpg psoriasis institue of derm
Cpg psoriasis institue of derm
 
Cpg psoriasis
Cpg psoriasisCpg psoriasis
Cpg psoriasis
 
Psoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาPsoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษา
 
Adrskin 140101105032-phpapp01
Adrskin 140101105032-phpapp01Adrskin 140101105032-phpapp01
Adrskin 140101105032-phpapp01
 

Topical corticosteroids