SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  4
Télécharger pour lire hors ligne
วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2559
คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติให้ปรับเพิ่ม
งบประมาณก่อสร้างรถไฟสายสีแดงช่วง
บางซื่อ - รังสิต และช่วงบางซื่อ - ตลิ่งชัน
การอนุมัติครั้งนี้เป็นการอนุมัติงวดสุดท้าย
ซึ่งจะทาให้ค่าก่อสร้างของโครงการเพิ่มขึ้น
เป็น 93,950 ล้านบาท จากเดิม 75,548
ล้านบาท โดยครอบคลุมงานสัญญาที่ 1 งานโยธาสาหรับสถานีกลางบางซื่อ และ
ศูนย์ซ่อมบารุง สัญญาที่ 2 งานก่อสร้างทางรถไฟช่วง บางซื่อ-รังสิต และงานสัญญา
ที่ 3 งานระบบไฟฟ้าและเครื่องกล รวมตู้รถไฟฟ้า ซึ่งรวมเอางานส่วนนี้ของช่วง
บางซื่อ - ตลิ่งชัน ไว้ด้วย
สายสีแดงเป็นความหวังสูงสุดที่จะช่วยพลิกฟื้นกิจการของการรถไฟแห่ง
ประเทศไทย (รฟท.) ในหลายๆด้าน เช่น จะเป็นครั้งแรกที่เดินรถไฟฟ้าความเร็ว
สูงสุด 160 กม./ชม. บนทางกว้าง 1 เมตร จะเป็นเส้นทางรถไฟที่ไม่ตัดเสมอระดับ
กับถนนและสามารถเดินขบวนรถไฟได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นเส้นทางที่เชื่อมต่อ
กับการเดินขบวนรถทางไกล ประกอบด้วย ทางวิ่ง สถานีรายทาง ระบบอาณัติ
สัญญาณควบคุมการเดินรถที่ทันสมัย หลังจากโครงการนี้ก่อสร้างเสร็จและพิสูจน์ให้
เห็นว่าการเดินรถไฟที่ทันสมัยบนทางกว้าง 1 เมตร เป็นสิ่งที่เป็นไปได้แล้ว ก็หวังว่า
การปรับปรุงเส้นทางส่วนที่เหลือจะไม่เป็นที่สงสัยของสังคม และผู้กาหนดนโยบาย
อีกต่อไป
สิงหาคม 2545 วันหยุดเข้าพรรษา หน้าระเบียงบ้านพักรถไฟจิตรลดา
นั่งเขียน TOR ให้ สานักนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ว่าจ้างที่
ปรึกษาทาการศึกษาออกแบบสายสีแดง ครั้งที่ 1 ซึ่งผลการศึกษาจะสร้างเป็นทาง
ยกระดับ ทางวิ่งช่วงในเมืองอยู่ที่ระดับ 3 (ประมาณยอดต้นโพธิ์ที่หัวมุมบ้าน)
หลังจากศึกษาเสร็จก็ถูกวิพากษ์วิจารณ์มาก กลุ่มที่ไม่ชอบทางรถไฟมิเตอร์เกจ
เคลื่อนไหวคัดค้าน และการเมืองในช่วงเวลานั้นสั่งให้ทบทวนว่าจะสมควรสร้างเป็น
สแตนดาร์ดเกจดีหรือไม่ ทั้งหลายทั้งปวงนี้ ตามมาด้วยการศึกษาครั้งที่ 2 ครั้งนี้ทาง
วิ่งในเมืองจะเป็นคลองแห้ง (Open cut) เพื่อรูปลักษณ์ที่สวยงามกว่าของเมือง
แต่กลุ่มคนที่ไม่ชอบทางรถไฟมิเตอร์เกจก็เคลื่อนไหวคัดค้านเหมือนเดิม
นอกจากนั้นการเมืองที่บริหารประเทศขณะนั้นมีนโยบายให้เปลี่ยนสายสีแดงในเมือง
เป็นสแตนดาร์ดเกจทั้งหมด ส่วนรถไฟมิเตอร์เกจให้ออกไปอยู่นอกเมือง มีต้นทางที่
นครปฐมในทางสายใต้ บ้านภาชีในสายเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ และ
ฉะเชิงเทราในทางสายตะวันออก โดยเร่งออกแบบเพื่อประกวดราคาให้ทันในสมัย
บริหารนั้น แต่นโยบายนี้ล้มเลิกไปเมื่อเกิดยึดอานาจการปกครอง เมื่อวันที่ 19
กันยายน พ.ศ. 2549
EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 212121 ประจำเดือน กุมภำพันธ์ 255ประจำเดือน กุมภำพันธ์ 255ประจำเดือน กุมภำพันธ์ 255999
โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ
สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
Page | 1สายสีแดงกับบันทึกความทรงจาคนแก่บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :
กองบรรณาธิการ
2550 รัฐบาลมีนโยบายที่จะก่อสร้างรถไฟสายดีแดงตามแนวทางที่
สนข. ศึกษาออกแบบไว้ แต่เช่นเดียวกับครั้งก่อนๆที่กลุ่มคนซึ่งไม่เห็นด้วย
ออกมาเคลื่อนไหวคัดค้าน รัฐบาลจึงให้ รฟท. จัดแถลงข้อเท็จจริงและนาคณะ
สื่อมวลชนกว่า 40 คนไปดูงานก่อสร้างทางคู่และติดตั้งระบบรถไฟฟ้าบนทาง
กว้าง 1 เมตร ที่ประเทศมาเลเซีย ต่อกระแสคัดค้านเรื่องการก่อสร้างสายสีแดง
ที่จะเข้า ครม. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมขณะนั้น คือ พลเรือเอก ธีระ
ห้าวเจริญ กล่าวว่า “ผมจะดาเนินการตามความเห็นของเจ้าหน้าที่ซึ่งได้พิจารณา
เรื่องนี้มาอย่างรอบคอบแล้ว” การก่อสร้างสายสีแดงช่วง บางซื่อ - ตลิ่งชัน จึง
ผ่านการอนุมัติจากที่ประชุม ครม.
ในฐานะรักษาการผู้ว่าการรถไฟฯ ในขณะนั้น ผมได้ดาเนินการอย่าง
ตั้งใจที่จะให้การก่อสร้างสายสีแดง บางซื่อ - ตลิ่งชัน เกิดขึ้นเพื่อยุติความรวนเร
เรื่องนโยบายทางกว้างทางแคบที่ทาให้ รฟท. เดินหน้าไปต่อไม่ได้มานานแล้ว
แม้กระนั้น ในโอกาสที่จะอนุมัติให้ลงนามสัญญาก่อสร้าง คณะกรรมการรถไฟฯ
ให้เจ้าหน้าที่มาตามไปชี้แจงว่า “ที่จะลงนามสัญญานี้ ทาเป็นสแตนดาร์ดเกจได้
หรือไม่”
การก่อสร้างดาเนินการมากว่าสามปี ผมเกษียณอายุจากการถไฟฯ
มากว่าสองปี ศาลปกครองกลางตัดสินคดีที่ผู้เข้าประกวดราคารายหนึ่งฟ้องให้
รฟท. เป็นฝ่ายแพ้ คู่กรณีจึงฟ้องคณะกรรมการเปิดซองซึ่งผมเป็นประธาน
นับเป็นครั้งแรกและครั้งเดียวในชีวิตการทางานเกือบสี่สิบปีที่ถูกฟ้องดาเนินคดี
เนื้องานการก่อสร้างสายสีแดงช่วง บางซื่อ - ตลิ่งชัน มีเฉพาะทางวิ่ง
ส่วนงานติดตั้งระบบและการจัดหาขบวนรถจะไปรวมอยู่ในงานสายสีแดง
บางซื่อ – รังสิต เพราะต้องการให้ใช้ระบบการเดินรถเดียวกัน
ก่อนการอนุมัติลงนามสัญญาก่อสร้างสายสีแดงช่วง บางซื่อ – รังสิต
ซึ่งล่าช้ามานานมาก ผมถูกเรียกไปชี้แจงที่กระทรวงคมนาคม “พวกรถไฟเขา
บอกว่าไม่มีใครรู้เรื่อง มีพี่รู้เรื่องอยู่คนเดียว” นึกว่าจะจบแล้วแต่ก็ยังมีคาถามอีก
ว่า “เป็นสี่ทางวิ่งดีกว่าไหม” ผมจึงเรียนไปว่า “สี่ทางวิ่งย่อมต้องดีกว่าสามทาง
วิ่ง” ที่ทาไว้เดิมแค่สามก็เพราะให้สอดคล้องกับโครงการโฮปเวลล์เดิมและ
กระแสสนับสนุนรถไฟในขณะนั้นไม่ใช่อย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ข้อสาคัญที่ต้อง
รอบคอบคือสัญญาลงนามไปแล้ว หากคนที่มารับช่วงบริหารต่อไม่เห็นด้วยก็จะ
ทาให้การบริหารโครงการมีปัญหา
14 ปี นับแต่เริ่มจับปากกาเขียน TOR ผ่านไป บัดนี้จึงเป็นที่น่ายินดี
ที่อุปสรรคขัดขวางทั้งหลายได้ลุล่วงไปหมดแล้ว ในเส้นทางการเฝ้าดูความสาเร็จ
ที่ยาวนาน เสียธูปไปหลายกา อธิษฐานต่อพระรูปสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่
5 ขอให้เรื่องสายสีแดงสาเร็จเพื่อขยายผลของความสาเร็จไปสู่ส่วนอื่นๆที่ทรง
วางรากฐานไว้
ว่ำแต่ รฟท. อย่ำทำเสียของ!!
บทเรียนจากการถ่ายทอดเทคโนโลยีผลิตรถไฟฟ้ า โดยสาธารณรัฐเกาหลี
บทความโดย นายทศวัชร์ ชีวะธนาเลิศกุล (วศร.5)
วิศวกร โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
จากการประชุมคณะอนุกรรมการ
เตรียมการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่ง
ทางรางแห่งชาติ ครั้งที่ 1/2558 เมื่อวันที่ 24
มิถุนายน 2558 ในระหว่างที่ ศาสตราจารย์ ยงยุทธ
ยุทธวงศ์ เป็นประธาน ได้มีมติให้ฝ่ายเลขานุการฯ คือ
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
(สวทช.) ดาเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อทราบ
แนวทางการถ่ายทอดเทคโนโลยีของต่างประเทศ และ
เพื่อพิจารณาแนวทางการถ่ายทอดเทคโนโลยีของ
ประเทศที่ต้องการลงทุนโครงการระบบขนส่งทางราง
ในประเทศไทย ฝ่ายเลขานุการฯ โดยโครงการจัดตั้ง
สถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ
จึงได้ร่วมมือกับคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย และกระทรวงคมนาคม จัดงานสัมมนา
เชิงปฏิบัติการเรื่อง “แนวทางการถ่ายทอดเทคโนโลยี
การผลิตรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนและอุตสาหกรรม
เกี่ยวเนื่อง ครั้งที่ 1” เมื่อวันศุกร์ที่ 22 มกราคม 2559
เวลา 08.00-16.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคาร
เจริญวิศวกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นการเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้
ความสามารถ และมีประสบการณ์ด้านการถ่ายทอด
เทคโนโลยีระบบรางในประเทศของตน มาถ่ายทอด
ประสบการณ์ให้กับผู้เข้าฟังบรรยายได้รับรู้ โดยครั้งที่
1 นี้เป็นตัวแทนจากสาธารณรัฐเกาหลี มาแลกเปลี่ยน
ปกิณกะ :ปกิณกะ :ปกิณกะ :
3 มี.ค. 59 เวลา 13.30 – 15.30 น. ขอเชิญเข้าร่วมงานแถลงข่าว การประชุม
วิชาการและแสดงนิทรรศการอุตสาหกรรมระบบขนส่งทางรางไทย ครั้งที่ 2 เรื่อง
“ผลิตชิ้นส่วนระบบรางอย่างไรให้ได้มาตรฐาน” The Second Thai Rail
Industry Symposium and Exhibition (RISE 2) Main Theme
"Railway Standard and Thai Railway Parts Manufacturing" พร้อม
ชมตัวอย่างงานวิจัยด้านระบบราง ณ ห้องโถง ชั้น 1 อาคารพระจอมเกล้า
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ติดต่อสอบถามที่ rail@nstda.or.th
วันนี้ – 11 มี.ค. 59 เปิดรับสมัครผู้เข้าอบรมหลักสูตร
“การพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรมระบบขนส่งทางราง รุ่น
ที่ 6 (วศร.6)” ดาเนินการโดย โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบ
ขนส่งทางรางแห่งชาติ สวทช. ดูรายละเอียดและวิธีการสมัครได้ที่
www.thairailtech.or.th ติดต่อสอบถามที่ E-mail : rail@nstda.or.th หรือ โทร
0-2644-8150 ต่อ 81860
ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :
Page | 2
16 – 17 มี.ค. 59 เวลา 9.00 – 17.00 น. ขอเชิญเข้า
ร่วมงาน การประชุมวิชาการและแสดงนิทรรศการ
อุตสาหกรรมระบบขนส่งทางรางไทย ครั้งที่ 2 เรื่อง “ผลิตชิ้นส่วนระบบราง
อย่างไรให้ได้มาตรฐาน” The Second Thai Rail Industry Symposium and
Exhibition (RISE 2) Main Theme "Railway Standard and Thai Railway
Parts Manufacturing" ณ ชั้น 2 สถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงค์ มักกะสัน ดู
รายละเอียดเพิ่มเติมและลงทะเบียนเข้าร่วมงานได้ที่ www.thairailtech.or.th
ติดต่อสอบถามที่ E-mail : rail@nstda.or.th หรือโทร 0-2644-8150 ต่อ 81860
ความรู้และประสบการณ์ในบทบาทของหน่วยงานที่
แตกต่างกัน อันประกอบไปด้วย หน่วยงานภาครัฐ
สถาบันวิจัย และหน่วยงานด้านอุตสาหกรรมใน
ประเทศ โดยทางเกาหลีได้พูดถึงการถ่ายทอด
เทคโนโลยีใน 3 อย่าง คือ
1. Model ของการถ่ายทอดเทคโนโลยี
2. ลักษณะของการถ่ายทอดเทคโนโลยี
3. วิธีการดาเนินการถ่ายทอดเทคโนโลยี
โดยที่น่าสนใจคือ Model ของการ
ถ่ายทอดเทคโนโลยีนั้น ทางผู้เชี่ยวชาญจากเกาหลีได้
กล่าวว่า “ไม่มี Model ของการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่
แน่นอน แต่ Model นั้นจะขึ้นอยู่กับขอบเขตของผู้ถูก
ถ่ายทอดจาก Industry Scale ที่แตกต่างกันออกไป”
และลักษณะการถ่ายทอดเทคโนโลยี แบ่งเป็น
1. Total ซึ่งก็คือ การถ่ายทอดแบบทั้งหมด ใน
กรณีที่ผู้รับการถ่ายทอดไม่มีความรู้และ
ประสบการณ์เลย
2. Core คือการถ่ายทอดเฉพาะจุดสาคัญที่ต้องการ
ทราบ ในกรณีที่ผู้รับการถ่ายทอดมีความรู้และ
ประสบการณ์อยู่บ้าง
ซึ่งในส่วนนี้ผู้บรรยายเกาหลีได้ให้
ความเห็นว่าลักษณะการถ่ายทอดเทคโนโลยีนั้น
ข้อจากัดอยู่ที่ความรู้ของผู้รับการถ่ายทอดกับเรื่องของ
งบประมาณ เพราะการรับการถ่ายทอด แบบ Total
หรือทั้งหมดนั้น ถ้าผู้รับการถ่ายทอดไม่มีความรู้อะไร
เลยก็ต้องใช้งบประมาณที่สูง แต่การรับการถ่ายทอด
แบบ Core นั้น ผู้รับการถ่ายทอดก็ต้องมีความรู้ในจุด
อื่นที่ไม่ต้องได้รับการถ่ายทอดอยู่บ้าง ก็จะลดการใช้
จ่ายงบประมาณลงได้ ซึ่งในส่วนกรณีของเกาหลีเอง
ได้เลือกลักษณะการถ่ายทอดเทคโนโลยีแบบ Core
ด้วยข้อจากัดของงบประมาณ โดยประกอบไปด้วย
หัวข้อดังนี้ Rolling stock, Signaling & Telecom-
munication, Catenary และเมื่อได้เลือกลักษณะ
การถ่ายทอดเทคโนโลยีแล้ว ส่วนต่อมาที่สาคัญก็คือ
วิธีการดาเนินการถ่ายทอดเทคโนโลยี ซึ่งแบ่งเป็น 3
วิธีดังนี้
Case 1 : TT without R&D คือก ารรับ กา ร
ถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยไม่ต้องทา R&D ต่อ
Case 2 : TT Separate R&D คือการรับการ
ถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยทา R&D ภายหลัง
Case 3 : TT with parallel R&D คือการรับการ
ถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยทา R&D ควบคู่กันไป
19 ก.พ. 59 เวลา 9.00 – 16.00 น.
ขอเชิญผู้สนใจเข้าร่วมสัมมนา เรื่อง
“แนวทางการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนและอุตสาหกรรม
เกี่ยวเนื่อง” ครั้งที่ 3 ถ่ายทอดประสบการณ์โดยผู้เชี่ยวชาญจาก ประเทศมาเลเซีย ณ
ห้องประชุมชั้น 2 ตึกเจริญวิศวกรรม 4 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย จัดโดย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ และกระทรวงคมนาคม ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
www.eng.chula.ac.th และสารองที่นั่งฟรีได้ที่ ry_s27@hotmail.com ติดต่อ
สอบถามที่ 0-2218-6334
กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
ประชุมคณะกรรมกำรสหกิจศึกษำระบบรำง
19 ม.ค. 59 เวลา 13.30 – 16.00
น. การประชุมคณะกรรมการ
โครงการส่งเสริมการศึกษาและ
วิจัยร่วมระบบขนส่งทางราง (สห
กิจศึกษา) ณ ห้อง 101B อาคาร
สวทช.(โยธี) ถ.พระรามที่ 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ เพื่อติดตาม
ความก้าวหน้าการดาเนินโครงการ
โครงกำรจัดตั้งสถำบันฯ หำรือร่วมกับเลขำธิกำร สมอ.
19 ม.ค. 59 เวลา 13.30 น.
โครงการจัดตั้งสถาบันฯ เข้าพบ
คุณธวัช ผลความดี เลขาธิการ
ส า นั ก ง า น ม า ต ร ฐ า น
ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.)
ณ สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวง
อุตสาหกรรม เพื่อหารือแนวทางความร่วมมือด้านการพัฒนา
มาตรฐานระบบรางของไทย
พบผู้บริหำร BTS
21 ม.ค. 59 เวลา 14.30 น. โครงการจัดตั้งสถาบันฯ เข้าพบ คุณสุรพงษ์
เลาหะอัญญา กรรมการผู้อานวยการใหญ่ บริษัท ระบบขนส่งมวลชน
กรุงเทพ จากัด (มหาชน) ณ สานักงานใหญ่ BTS ถ.พหลโยธิน เขต
จตุจักร พร้อมทั้งหารือความร่วมมือด้านงานวิจัยระบบราง
ทางเกาหลีได้เลือก Case 2 : TT Sepa-
rate R&D โดยให้เหตุผลด้านเวลาและงบประมาณ
และคิดว่าทางเกาหลีมีโครงสร้างพื้นฐานอยู่หลาย
อย่างแล้ว แค่รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการ
ประกอบและสร้างรถไฟบางอย่างก็เพียงพอ จึงยังไม่
เห็นความจาเป็นที่จะต้องทา R&D ควบคู่กันไป ซึ่งทาง
เกาหลีได้ยืนยันว่าเป็นแนวคิดที่ผิดพลาด แท้จริงแล้ว
ถ้าเลือกใหม่ได้เขาจะเลือก Case 3 : TT with paral-
lel R&D โดยให้ความเห็นว่าถ้าเขาเลือกวิธีการนี้คงไม่
ต้องใช้เวลานานถึง 6 ปี ในการพัฒนารถไฟความเร็ว
สูงรุ่น HSR-350X
สิ่งที่น่าสนใจอีกหนึ่งอย่างในตัวอย่างการ
ถ่ายทอดเทคโนโลยีของเกาหลีคือ ภายใต้ข้อตกลงนั้น
ทางเกาหลีได้กาหนดว่าทางฝรั่งเศสหรือผู้ที่เป็น
ผู้ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้เกาหลีนั้น ต้องทาให้เกิดการ
ใช้ Local Content ภายในประเทศเกาหลีมากกว่า
50% ของ Production Cost และถ้าทาไม่ได้ดังเป้า
ที่ตั้งไว้ก็จะมีค่าปรับด้วย ซึ่งจะเห็นได้ว่าการถ่ายทอด
เทคโนโลยีนั้นไม่ได้เป็นแค่การซื้อเทคโนโลยีแต่รวมถึง
การเตรียมตัวพัฒนาอุตสาหกรรมภายในประเทศอีก
ด้วย
ซึ่งสามารถสรุปภาพรวมของการถ่ายทอด
จากประเทศเกาหลีได้ดังนี้
 ควรเลือกวิธีการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่มีการทา
R&D ควบคู่กันไปด้วยเพื่อความยั่งยืนและ
รวดเร็วในการพัฒนา
 ควรมีความเข้าใจใน System Engineering
เพราะงานระบบเป็นสิ่งที่ยากในการจะ Inte-
grate เทคโนโลยีของสองชาติที่อาจจะแตกต่าง
กัน
สมำคม วศรท. หำรือร่วม KORASS
21 ม.ค. 59 เวลา 13.30 – 16.00 น. สมาคมวิศวกรรมระบบขนส่งทาง
รางไทย (วศรท.) ประชุมร่วมกับ The Korea Railway Association
(KORASS) ณ ห้องประชุม 201 สถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงค์
มักกะสัน เพื่อหารือแลกเปลี่ยนถึงบทบาทต่อการพัฒนาระบบขนส่งทาง
รางในประเทศของทั้ง 2 สมาคม ในโอกาสที่ KORASS เดินทางมา
ประเทศไทยเพื่อเข้าร่วมการสัมมนา เรื่อง แนวทางการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตรถไฟฟ้าขนส่ง
มวลชนและอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่อง ครั้งที่ 1
กำรถ่ำยทอดเทคโนโลยีกำรผลิตรถไฟฟ้ำ โดย สำธำรณรัฐเกำหลี
22 ม.ค. 59 เวลา 8.30 – 16.30 น. การสัมมนา เรื่อง แนวทางการ
ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนและอุตสาหกรรม
เกี่ยวเนื่อง ครั้งที่ 1 ถ่ายทอดประสบการณ์ โดย ผู้เชี่ยวชาญจาก
สาธารณรัฐเกาหลี ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคารเจริญวิศวกรรม คณะ
วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในโครงการอาศรมความคิด
อรุณ สรเทศน์ ณ ลานเกียร์ (เปิดโลกลานเกียร์) ภายใต้ความร่วมมือระหว่างกระทรวงคมนาคม และ
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
 ควรมีความเข้าใจในด้านการออกแบบผลิตรถไฟ
อยู่ในระดับที่สามารถเรียนรู้จากผู้ถ่ายทอด
เทคโนโลยีได้อย่างเข้าใจ
 การบริหารจัดการการซ่อมบารุงนั้นมี
ความสาคัญไม่แพ้การประกอบหรือสร้างรถไฟ
 การทา R&D เป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายใน
อนาคตไม่ใช่การสิ้นเปลืองแต่อย่างใด
 การเป็นเจ้าของเทคโนโลยี มีความสาคัญ
มากในการบารุงรักษาในอนาคต
 ต้องมีหน่วยงานกลางที่ทาหน้าที่ในการ
อนุมัติดาเนินการ สาหรับการถ่ายทอด
เทคโนโลยีแต่ละขั้นตอน และทาหน้าที่เป็น
หน่วยงานที่คัดเลือกบริษัทเพื่อรับการถ่ายทอด
เทคโนโลยี โดยหน่วยงานนั้นในเกาหลีใช้ชื่อว่า
Korea High Speed Rail Construction
Agency (KHSRCA)
Page | 3
ปกิณกะ : (ต่อ)ปกิณกะ : (ต่อ)ปกิณกะ : (ต่อ)
กำรประชุมคณะทำงำนจัดกิจกรรมวิชำกำร ครั้งที่ 1/2559
25 ม.ค. 59 เวลา 14.00 น. การประชุมคณะทางานจัดกิจกรรมวิชาการ
การจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ครั้งที่
1/2559 ณ ห้องประชุม 413 อาคาร สวทช.โยธี ถ.พระรามที่ 6 เพื่อ
พิจารณาสรุปแนวทางการจัดงานสัมมนาวิชาการและนิทรรศการเรื่อง
“The Second Thai Rail Industry Symposium and Exhibition
(RISE 2)” ที่จะมีขึ้นใน วันที่ 16 – 17 มี.ค. 59 ณ ชั้น 2 สถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงค์ มักกะสัน
MOU ด้ำนวิศวกรรมระบบรำงกับต่ำงประเทศ
18 ม.ค. 59 พิธีลงนามความ
ร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยเบอร์
มิ ง แ ฮ ม แ ล ะ ม ห า วิ ท ย า ลั ย
เทคโนโลยีสุรนารี ในความร่วมมือ
เพื่อส่งเสริม สนับสนุนงานวิจัย และการศึกษาด้านวิศวกรรม
ระบบราง วิศวกรรมยานยนต์ และพัฒนาอุตสาหกรรมด้านการ
ขนส่ง ณ Birmingham Centre for Railway Research and
Education (BCRRE) มหาวิทยาลัยเบอร์มิ่งแฮม ประเทศอังกฤษ
ที่ปรึกษำ : คุณชำตรี ศรีไพพรรณ คุณนคร จันทศร คุณนัยรัตน์ อมำตยกุล คุณวัฒนำ สมำนจิตร คุณชยำกร ปิยะบัณฑิตกุล คุณสมฤทธิ์ พุทธันบุตร คุณนพมล จันทรวิมล
กองบรรณำธิกำร : คุณทปกร เหมือนเตย คุณกุลเชษฐ์ กอพัฒนำชัยเจริญ คุณสฤษฏ์โรจ จันทร์เพิ่มพูนผล คุณทศวัชร์ ชีวะธนำเลิศกุล
ผู้ดำเนินกำร : โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ
ติดต่อสอบถำม : โทร. 02-644-8150 ต่อ 81860 81861 81879 81880 อีเมล์ : rail@nstda.or.th website : www.thairailtech.or.th และ www.facebook.com/thairailtech
กำหนดออกทุก วันที่ 15 ของทุกเดือน ขอเชิญชวนร่วมส่งบทควำม หรือ ข่ำวสำรเพื่อกำรประชำสัมพันธ์
เกี่ยวกับระบบขนส่งทำงรำง ได้ที่อีเมล์ rail@nstda.or.th
Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project
National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency
สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :
พบผู้บริหำร BEM
26 ม.ค. 59 โครงการจัดตั้งสถาบัน
ฯ เข้าพบ ดร.สมบัติ กิจจาลักษณ์
กรรมการผู้จัดการ และ คุณวิทูรย์
หทัยรัตนา รองกรรมการผู้จัดการ
บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้า
กรุงเทพ จากัด (มหาชน) (BEM) ณ สานักงานใหญ่ BEM
เมื่อวันที่ 23 - 24 ม.ค. 59 ชาวคณะ วศร.
สมาคม วศรท. และโครงการจัดตั้งสถาบันฯ ได้จัดกิจกรรม
การประชุมเครือข่าย วศร.สัญจร ไปยังจังหวัดขอนแก่น โดย
ได้เข้าเยี่ยมชมและรับฟังการบรรยาย ณ คณะ
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยมี รศ.ดร.รัชพล
สันติวรากร (วศร.5) ให้การต้อนรับและเป็นผู้บรรยาย และ
บริษัท ช.ทวี ดอลลาเซียน จากัด (มหาชน) โดยมี คุณสุรเดช
ทวีแสงสกุลไทย (วศร.1) ให้การต้อนรับและเป็นผู้บรรยาย
ทั้งนี้ได้มีการประชุมเครือข่าย วศร. ประจาเดือน ในช่วงเวลา
หลังอาหารเย็น และชาวคณะ วศร. ยังได้เยี่ยมชมภายใน
บริเวณสถานีรถไฟขอนแก่นอีกด้วย กิจกรรมนี้สร้างความ
ประทับใจให้กับผู้เข้าร่วมกว่า 40 ท่านเป็นอย่างมาก โดยทุก
คนหวังเป็นยิ่งว่าจะให้มีกิจกรรมเช่นนี้เกิดขึ้นอีก
สมำคมวิศวกรรมระบบขนส่งทำงรำงไทย (วศรท.)
เข้าสวัสดีปีใหม่ ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ผู้อานวยการ
สวทช. เมื่อวันที่ 15 ม.ค. 59 ณ อาคาร สวทช.(โยธี)
หำรือควำมร่วมมือกับ BOI
27 ม.ค. 59 โครงการจัดตั้ง
สถาบันฯ เข้าพบ คุณอัจฉรินทร์
พัฒนพันธ์ชัย รองเลขาธิการ
คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
(BOI) ณ สานักงานคณะกรรมการ
ส่งเสริมการลงทุน ถ.วิภาวดีรังสิต เขตจตุจักร กรุงเทพฯ เพื่อ
หารือเรื่องแนวทางส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิต
รถไฟฟ้าและรางรถไฟภายในประเทศให้มีศักยภาพ
กำรประชุมเครือข่ำย วศร. สัญจร ณ จังหวัดขอนแก่น
กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : (ต่อ)กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : (ต่อ)กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : (ต่อ)
มทร. อีสำน วิทยำเขตขอนแก่น เปิดศูนย์วิจัยและฝึกอบรม
ระบบขนส่งทำงรำง
29 ม.ค. 59 เวลา 13.00 พิธีเปิด
ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมระบบการ
ขนส่งทางราง วิทยาเขตขอนแก่น
และ การสัมมนาและเสวนา
วิชาการความรู้ในด้านทิศทางการ
พัฒนากาลังคนเพื่อรองรับการพัฒนาและขยายตัวระบบขนส่งทาง
รางในประเทศไทย ณ ห้องประชุมอาคารปฏิบัติการคณะ
วิศวกรรมศาสตร์ ชั้น 3 โดยคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น
ประชุมร่วม สวทน. – สวทช.
1 ก.พ. 59 เวลา 14:00 การ
ประชุมร่วมระหว่าง สานักงาน
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร น โ ย บ า ย
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) และ
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
ด้านระบบราง ณ ห้องประชุมหว้ากอ 2 สวทน. ชั้น 14 อาคาร
จัตุรัสจามจุรี เพื่อรับทราบและวางแผนร่วมกันถึงการดาเนินงาน
ของ สวทช. และ สวทน. ในการพัฒนาบุคลากรด้านระบบราง
GNSS กับกำรขนส่งระบบรำง
4 ก.พ. 59 เวลา 13.00 - 14.30 น. อ.นคร จันทศร บรรยายพิเศษหัวข้อ
การพัฒนาระบบรางในประเทศไทย และ GNSS กับการขนส่งระบบราง
ในการประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศแห่งชาติ :
geoinfotech 2016 จัดโดยสานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ
และภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) ณ Meeting Room 2
ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุงเทพฯ
Page | 4
กำรถ่ำยทอดเทคโนโลยีกำรผลิตรถไฟฟ้ำ โดย ประเทศญี่ปุ่น
11 ก.พ. 59 เวลา 08.30 – 16.00 น. การสัมมนา เรื่อง “แนวทางการ
ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนและอุตสาหกรรม
เกี่ยวเนื่อง” ครั้งที่ 2 ถ่ายทอดประสบการณ์ โดย ผู้เชี่ยวชาญจาก
ประเทศญี่ปุ่น ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคารเจริญวิศวกรรม คณะ
วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อีกหนึ่งงานในโครงการ
อาศรมความคิด อรุณ สรเทศน์ ณ ลานเกียร์ (เปิดโลกลานเกียร์) ภายใต้ความร่วมมือระหว่างกระทรวง
คมนาคม และสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

Contenu connexe

Plus de National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand

NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 

Plus de National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand (20)

NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนมิถุนายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 12 ประจำเดือนมีนาคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2565
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 8 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 ประจำเดือนมิถุนายน 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2564
 
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
คู่มือบริหารความเสี่ยงของ สวทช. ปี 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 10 ประจำเดือนมกราคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 9 ประจำเดือนธันวาคม 2563
 

Newsletter โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ฉบับที่ 21

  • 1. วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2559 คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติให้ปรับเพิ่ม งบประมาณก่อสร้างรถไฟสายสีแดงช่วง บางซื่อ - รังสิต และช่วงบางซื่อ - ตลิ่งชัน การอนุมัติครั้งนี้เป็นการอนุมัติงวดสุดท้าย ซึ่งจะทาให้ค่าก่อสร้างของโครงการเพิ่มขึ้น เป็น 93,950 ล้านบาท จากเดิม 75,548 ล้านบาท โดยครอบคลุมงานสัญญาที่ 1 งานโยธาสาหรับสถานีกลางบางซื่อ และ ศูนย์ซ่อมบารุง สัญญาที่ 2 งานก่อสร้างทางรถไฟช่วง บางซื่อ-รังสิต และงานสัญญา ที่ 3 งานระบบไฟฟ้าและเครื่องกล รวมตู้รถไฟฟ้า ซึ่งรวมเอางานส่วนนี้ของช่วง บางซื่อ - ตลิ่งชัน ไว้ด้วย สายสีแดงเป็นความหวังสูงสุดที่จะช่วยพลิกฟื้นกิจการของการรถไฟแห่ง ประเทศไทย (รฟท.) ในหลายๆด้าน เช่น จะเป็นครั้งแรกที่เดินรถไฟฟ้าความเร็ว สูงสุด 160 กม./ชม. บนทางกว้าง 1 เมตร จะเป็นเส้นทางรถไฟที่ไม่ตัดเสมอระดับ กับถนนและสามารถเดินขบวนรถไฟได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นเส้นทางที่เชื่อมต่อ กับการเดินขบวนรถทางไกล ประกอบด้วย ทางวิ่ง สถานีรายทาง ระบบอาณัติ สัญญาณควบคุมการเดินรถที่ทันสมัย หลังจากโครงการนี้ก่อสร้างเสร็จและพิสูจน์ให้ เห็นว่าการเดินรถไฟที่ทันสมัยบนทางกว้าง 1 เมตร เป็นสิ่งที่เป็นไปได้แล้ว ก็หวังว่า การปรับปรุงเส้นทางส่วนที่เหลือจะไม่เป็นที่สงสัยของสังคม และผู้กาหนดนโยบาย อีกต่อไป สิงหาคม 2545 วันหยุดเข้าพรรษา หน้าระเบียงบ้านพักรถไฟจิตรลดา นั่งเขียน TOR ให้ สานักนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ว่าจ้างที่ ปรึกษาทาการศึกษาออกแบบสายสีแดง ครั้งที่ 1 ซึ่งผลการศึกษาจะสร้างเป็นทาง ยกระดับ ทางวิ่งช่วงในเมืองอยู่ที่ระดับ 3 (ประมาณยอดต้นโพธิ์ที่หัวมุมบ้าน) หลังจากศึกษาเสร็จก็ถูกวิพากษ์วิจารณ์มาก กลุ่มที่ไม่ชอบทางรถไฟมิเตอร์เกจ เคลื่อนไหวคัดค้าน และการเมืองในช่วงเวลานั้นสั่งให้ทบทวนว่าจะสมควรสร้างเป็น สแตนดาร์ดเกจดีหรือไม่ ทั้งหลายทั้งปวงนี้ ตามมาด้วยการศึกษาครั้งที่ 2 ครั้งนี้ทาง วิ่งในเมืองจะเป็นคลองแห้ง (Open cut) เพื่อรูปลักษณ์ที่สวยงามกว่าของเมือง แต่กลุ่มคนที่ไม่ชอบทางรถไฟมิเตอร์เกจก็เคลื่อนไหวคัดค้านเหมือนเดิม นอกจากนั้นการเมืองที่บริหารประเทศขณะนั้นมีนโยบายให้เปลี่ยนสายสีแดงในเมือง เป็นสแตนดาร์ดเกจทั้งหมด ส่วนรถไฟมิเตอร์เกจให้ออกไปอยู่นอกเมือง มีต้นทางที่ นครปฐมในทางสายใต้ บ้านภาชีในสายเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือ และ ฉะเชิงเทราในทางสายตะวันออก โดยเร่งออกแบบเพื่อประกวดราคาให้ทันในสมัย บริหารนั้น แต่นโยบายนี้ล้มเลิกไปเมื่อเกิดยึดอานาจการปกครอง เมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 EEE---NewsletterNewsletterNewsletter ฉบับที่ฉบับที่ฉบับที่ 212121 ประจำเดือน กุมภำพันธ์ 255ประจำเดือน กุมภำพันธ์ 255ประจำเดือน กุมภำพันธ์ 255999 โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติโครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.)สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ (สวทช.) Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency Page | 1สายสีแดงกับบันทึกความทรงจาคนแก่บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ :บทบรรณาธิการ : กองบรรณาธิการ 2550 รัฐบาลมีนโยบายที่จะก่อสร้างรถไฟสายดีแดงตามแนวทางที่ สนข. ศึกษาออกแบบไว้ แต่เช่นเดียวกับครั้งก่อนๆที่กลุ่มคนซึ่งไม่เห็นด้วย ออกมาเคลื่อนไหวคัดค้าน รัฐบาลจึงให้ รฟท. จัดแถลงข้อเท็จจริงและนาคณะ สื่อมวลชนกว่า 40 คนไปดูงานก่อสร้างทางคู่และติดตั้งระบบรถไฟฟ้าบนทาง กว้าง 1 เมตร ที่ประเทศมาเลเซีย ต่อกระแสคัดค้านเรื่องการก่อสร้างสายสีแดง ที่จะเข้า ครม. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมขณะนั้น คือ พลเรือเอก ธีระ ห้าวเจริญ กล่าวว่า “ผมจะดาเนินการตามความเห็นของเจ้าหน้าที่ซึ่งได้พิจารณา เรื่องนี้มาอย่างรอบคอบแล้ว” การก่อสร้างสายสีแดงช่วง บางซื่อ - ตลิ่งชัน จึง ผ่านการอนุมัติจากที่ประชุม ครม. ในฐานะรักษาการผู้ว่าการรถไฟฯ ในขณะนั้น ผมได้ดาเนินการอย่าง ตั้งใจที่จะให้การก่อสร้างสายสีแดง บางซื่อ - ตลิ่งชัน เกิดขึ้นเพื่อยุติความรวนเร เรื่องนโยบายทางกว้างทางแคบที่ทาให้ รฟท. เดินหน้าไปต่อไม่ได้มานานแล้ว แม้กระนั้น ในโอกาสที่จะอนุมัติให้ลงนามสัญญาก่อสร้าง คณะกรรมการรถไฟฯ ให้เจ้าหน้าที่มาตามไปชี้แจงว่า “ที่จะลงนามสัญญานี้ ทาเป็นสแตนดาร์ดเกจได้ หรือไม่” การก่อสร้างดาเนินการมากว่าสามปี ผมเกษียณอายุจากการถไฟฯ มากว่าสองปี ศาลปกครองกลางตัดสินคดีที่ผู้เข้าประกวดราคารายหนึ่งฟ้องให้ รฟท. เป็นฝ่ายแพ้ คู่กรณีจึงฟ้องคณะกรรมการเปิดซองซึ่งผมเป็นประธาน นับเป็นครั้งแรกและครั้งเดียวในชีวิตการทางานเกือบสี่สิบปีที่ถูกฟ้องดาเนินคดี เนื้องานการก่อสร้างสายสีแดงช่วง บางซื่อ - ตลิ่งชัน มีเฉพาะทางวิ่ง ส่วนงานติดตั้งระบบและการจัดหาขบวนรถจะไปรวมอยู่ในงานสายสีแดง บางซื่อ – รังสิต เพราะต้องการให้ใช้ระบบการเดินรถเดียวกัน ก่อนการอนุมัติลงนามสัญญาก่อสร้างสายสีแดงช่วง บางซื่อ – รังสิต ซึ่งล่าช้ามานานมาก ผมถูกเรียกไปชี้แจงที่กระทรวงคมนาคม “พวกรถไฟเขา บอกว่าไม่มีใครรู้เรื่อง มีพี่รู้เรื่องอยู่คนเดียว” นึกว่าจะจบแล้วแต่ก็ยังมีคาถามอีก ว่า “เป็นสี่ทางวิ่งดีกว่าไหม” ผมจึงเรียนไปว่า “สี่ทางวิ่งย่อมต้องดีกว่าสามทาง วิ่ง” ที่ทาไว้เดิมแค่สามก็เพราะให้สอดคล้องกับโครงการโฮปเวลล์เดิมและ กระแสสนับสนุนรถไฟในขณะนั้นไม่ใช่อย่างที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ข้อสาคัญที่ต้อง รอบคอบคือสัญญาลงนามไปแล้ว หากคนที่มารับช่วงบริหารต่อไม่เห็นด้วยก็จะ ทาให้การบริหารโครงการมีปัญหา 14 ปี นับแต่เริ่มจับปากกาเขียน TOR ผ่านไป บัดนี้จึงเป็นที่น่ายินดี ที่อุปสรรคขัดขวางทั้งหลายได้ลุล่วงไปหมดแล้ว ในเส้นทางการเฝ้าดูความสาเร็จ ที่ยาวนาน เสียธูปไปหลายกา อธิษฐานต่อพระรูปสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ขอให้เรื่องสายสีแดงสาเร็จเพื่อขยายผลของความสาเร็จไปสู่ส่วนอื่นๆที่ทรง วางรากฐานไว้ ว่ำแต่ รฟท. อย่ำทำเสียของ!!
  • 2. บทเรียนจากการถ่ายทอดเทคโนโลยีผลิตรถไฟฟ้ า โดยสาธารณรัฐเกาหลี บทความโดย นายทศวัชร์ ชีวะธนาเลิศกุล (วศร.5) วิศวกร โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency จากการประชุมคณะอนุกรรมการ เตรียมการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่ง ทางรางแห่งชาติ ครั้งที่ 1/2558 เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2558 ในระหว่างที่ ศาสตราจารย์ ยงยุทธ ยุทธวงศ์ เป็นประธาน ได้มีมติให้ฝ่ายเลขานุการฯ คือ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ดาเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อทราบ แนวทางการถ่ายทอดเทคโนโลยีของต่างประเทศ และ เพื่อพิจารณาแนวทางการถ่ายทอดเทคโนโลยีของ ประเทศที่ต้องการลงทุนโครงการระบบขนส่งทางราง ในประเทศไทย ฝ่ายเลขานุการฯ โดยโครงการจัดตั้ง สถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ จึงได้ร่วมมือกับคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และกระทรวงคมนาคม จัดงานสัมมนา เชิงปฏิบัติการเรื่อง “แนวทางการถ่ายทอดเทคโนโลยี การผลิตรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนและอุตสาหกรรม เกี่ยวเนื่อง ครั้งที่ 1” เมื่อวันศุกร์ที่ 22 มกราคม 2559 เวลา 08.00-16.00 น. ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคาร เจริญวิศวกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ซึ่งเป็นการเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ ความสามารถ และมีประสบการณ์ด้านการถ่ายทอด เทคโนโลยีระบบรางในประเทศของตน มาถ่ายทอด ประสบการณ์ให้กับผู้เข้าฟังบรรยายได้รับรู้ โดยครั้งที่ 1 นี้เป็นตัวแทนจากสาธารณรัฐเกาหลี มาแลกเปลี่ยน ปกิณกะ :ปกิณกะ :ปกิณกะ : 3 มี.ค. 59 เวลา 13.30 – 15.30 น. ขอเชิญเข้าร่วมงานแถลงข่าว การประชุม วิชาการและแสดงนิทรรศการอุตสาหกรรมระบบขนส่งทางรางไทย ครั้งที่ 2 เรื่อง “ผลิตชิ้นส่วนระบบรางอย่างไรให้ได้มาตรฐาน” The Second Thai Rail Industry Symposium and Exhibition (RISE 2) Main Theme "Railway Standard and Thai Railway Parts Manufacturing" พร้อม ชมตัวอย่างงานวิจัยด้านระบบราง ณ ห้องโถง ชั้น 1 อาคารพระจอมเกล้า กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ติดต่อสอบถามที่ rail@nstda.or.th วันนี้ – 11 มี.ค. 59 เปิดรับสมัครผู้เข้าอบรมหลักสูตร “การพัฒนาบุคลากรด้านวิศวกรรมระบบขนส่งทางราง รุ่น ที่ 6 (วศร.6)” ดาเนินการโดย โครงการจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบ ขนส่งทางรางแห่งชาติ สวทช. ดูรายละเอียดและวิธีการสมัครได้ที่ www.thairailtech.or.th ติดต่อสอบถามที่ E-mail : rail@nstda.or.th หรือ โทร 0-2644-8150 ต่อ 81860 ปฏิทินราง :ปฏิทินราง :ปฏิทินราง : Page | 2 16 – 17 มี.ค. 59 เวลา 9.00 – 17.00 น. ขอเชิญเข้า ร่วมงาน การประชุมวิชาการและแสดงนิทรรศการ อุตสาหกรรมระบบขนส่งทางรางไทย ครั้งที่ 2 เรื่อง “ผลิตชิ้นส่วนระบบราง อย่างไรให้ได้มาตรฐาน” The Second Thai Rail Industry Symposium and Exhibition (RISE 2) Main Theme "Railway Standard and Thai Railway Parts Manufacturing" ณ ชั้น 2 สถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงค์ มักกะสัน ดู รายละเอียดเพิ่มเติมและลงทะเบียนเข้าร่วมงานได้ที่ www.thairailtech.or.th ติดต่อสอบถามที่ E-mail : rail@nstda.or.th หรือโทร 0-2644-8150 ต่อ 81860 ความรู้และประสบการณ์ในบทบาทของหน่วยงานที่ แตกต่างกัน อันประกอบไปด้วย หน่วยงานภาครัฐ สถาบันวิจัย และหน่วยงานด้านอุตสาหกรรมใน ประเทศ โดยทางเกาหลีได้พูดถึงการถ่ายทอด เทคโนโลยีใน 3 อย่าง คือ 1. Model ของการถ่ายทอดเทคโนโลยี 2. ลักษณะของการถ่ายทอดเทคโนโลยี 3. วิธีการดาเนินการถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยที่น่าสนใจคือ Model ของการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีนั้น ทางผู้เชี่ยวชาญจากเกาหลีได้ กล่าวว่า “ไม่มี Model ของการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่ แน่นอน แต่ Model นั้นจะขึ้นอยู่กับขอบเขตของผู้ถูก ถ่ายทอดจาก Industry Scale ที่แตกต่างกันออกไป” และลักษณะการถ่ายทอดเทคโนโลยี แบ่งเป็น 1. Total ซึ่งก็คือ การถ่ายทอดแบบทั้งหมด ใน กรณีที่ผู้รับการถ่ายทอดไม่มีความรู้และ ประสบการณ์เลย 2. Core คือการถ่ายทอดเฉพาะจุดสาคัญที่ต้องการ ทราบ ในกรณีที่ผู้รับการถ่ายทอดมีความรู้และ ประสบการณ์อยู่บ้าง ซึ่งในส่วนนี้ผู้บรรยายเกาหลีได้ให้ ความเห็นว่าลักษณะการถ่ายทอดเทคโนโลยีนั้น ข้อจากัดอยู่ที่ความรู้ของผู้รับการถ่ายทอดกับเรื่องของ งบประมาณ เพราะการรับการถ่ายทอด แบบ Total หรือทั้งหมดนั้น ถ้าผู้รับการถ่ายทอดไม่มีความรู้อะไร เลยก็ต้องใช้งบประมาณที่สูง แต่การรับการถ่ายทอด แบบ Core นั้น ผู้รับการถ่ายทอดก็ต้องมีความรู้ในจุด อื่นที่ไม่ต้องได้รับการถ่ายทอดอยู่บ้าง ก็จะลดการใช้ จ่ายงบประมาณลงได้ ซึ่งในส่วนกรณีของเกาหลีเอง ได้เลือกลักษณะการถ่ายทอดเทคโนโลยีแบบ Core ด้วยข้อจากัดของงบประมาณ โดยประกอบไปด้วย หัวข้อดังนี้ Rolling stock, Signaling & Telecom- munication, Catenary และเมื่อได้เลือกลักษณะ การถ่ายทอดเทคโนโลยีแล้ว ส่วนต่อมาที่สาคัญก็คือ วิธีการดาเนินการถ่ายทอดเทคโนโลยี ซึ่งแบ่งเป็น 3 วิธีดังนี้ Case 1 : TT without R&D คือก ารรับ กา ร ถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยไม่ต้องทา R&D ต่อ Case 2 : TT Separate R&D คือการรับการ ถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยทา R&D ภายหลัง Case 3 : TT with parallel R&D คือการรับการ ถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยทา R&D ควบคู่กันไป 19 ก.พ. 59 เวลา 9.00 – 16.00 น. ขอเชิญผู้สนใจเข้าร่วมสัมมนา เรื่อง “แนวทางการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนและอุตสาหกรรม เกี่ยวเนื่อง” ครั้งที่ 3 ถ่ายทอดประสบการณ์โดยผู้เชี่ยวชาญจาก ประเทศมาเลเซีย ณ ห้องประชุมชั้น 2 ตึกเจริญวิศวกรรม 4 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย จัดโดย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ และกระทรวงคมนาคม ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.eng.chula.ac.th และสารองที่นั่งฟรีได้ที่ ry_s27@hotmail.com ติดต่อ สอบถามที่ 0-2218-6334
  • 3. กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย :กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency ประชุมคณะกรรมกำรสหกิจศึกษำระบบรำง 19 ม.ค. 59 เวลา 13.30 – 16.00 น. การประชุมคณะกรรมการ โครงการส่งเสริมการศึกษาและ วิจัยร่วมระบบขนส่งทางราง (สห กิจศึกษา) ณ ห้อง 101B อาคาร สวทช.(โยธี) ถ.พระรามที่ 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ เพื่อติดตาม ความก้าวหน้าการดาเนินโครงการ โครงกำรจัดตั้งสถำบันฯ หำรือร่วมกับเลขำธิกำร สมอ. 19 ม.ค. 59 เวลา 13.30 น. โครงการจัดตั้งสถาบันฯ เข้าพบ คุณธวัช ผลความดี เลขาธิการ ส า นั ก ง า น ม า ต ร ฐ า น ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ณ สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวง อุตสาหกรรม เพื่อหารือแนวทางความร่วมมือด้านการพัฒนา มาตรฐานระบบรางของไทย พบผู้บริหำร BTS 21 ม.ค. 59 เวลา 14.30 น. โครงการจัดตั้งสถาบันฯ เข้าพบ คุณสุรพงษ์ เลาหะอัญญา กรรมการผู้อานวยการใหญ่ บริษัท ระบบขนส่งมวลชน กรุงเทพ จากัด (มหาชน) ณ สานักงานใหญ่ BTS ถ.พหลโยธิน เขต จตุจักร พร้อมทั้งหารือความร่วมมือด้านงานวิจัยระบบราง ทางเกาหลีได้เลือก Case 2 : TT Sepa- rate R&D โดยให้เหตุผลด้านเวลาและงบประมาณ และคิดว่าทางเกาหลีมีโครงสร้างพื้นฐานอยู่หลาย อย่างแล้ว แค่รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการ ประกอบและสร้างรถไฟบางอย่างก็เพียงพอ จึงยังไม่ เห็นความจาเป็นที่จะต้องทา R&D ควบคู่กันไป ซึ่งทาง เกาหลีได้ยืนยันว่าเป็นแนวคิดที่ผิดพลาด แท้จริงแล้ว ถ้าเลือกใหม่ได้เขาจะเลือก Case 3 : TT with paral- lel R&D โดยให้ความเห็นว่าถ้าเขาเลือกวิธีการนี้คงไม่ ต้องใช้เวลานานถึง 6 ปี ในการพัฒนารถไฟความเร็ว สูงรุ่น HSR-350X สิ่งที่น่าสนใจอีกหนึ่งอย่างในตัวอย่างการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีของเกาหลีคือ ภายใต้ข้อตกลงนั้น ทางเกาหลีได้กาหนดว่าทางฝรั่งเศสหรือผู้ที่เป็น ผู้ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้เกาหลีนั้น ต้องทาให้เกิดการ ใช้ Local Content ภายในประเทศเกาหลีมากกว่า 50% ของ Production Cost และถ้าทาไม่ได้ดังเป้า ที่ตั้งไว้ก็จะมีค่าปรับด้วย ซึ่งจะเห็นได้ว่าการถ่ายทอด เทคโนโลยีนั้นไม่ได้เป็นแค่การซื้อเทคโนโลยีแต่รวมถึง การเตรียมตัวพัฒนาอุตสาหกรรมภายในประเทศอีก ด้วย ซึ่งสามารถสรุปภาพรวมของการถ่ายทอด จากประเทศเกาหลีได้ดังนี้  ควรเลือกวิธีการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่มีการทา R&D ควบคู่กันไปด้วยเพื่อความยั่งยืนและ รวดเร็วในการพัฒนา  ควรมีความเข้าใจใน System Engineering เพราะงานระบบเป็นสิ่งที่ยากในการจะ Inte- grate เทคโนโลยีของสองชาติที่อาจจะแตกต่าง กัน สมำคม วศรท. หำรือร่วม KORASS 21 ม.ค. 59 เวลา 13.30 – 16.00 น. สมาคมวิศวกรรมระบบขนส่งทาง รางไทย (วศรท.) ประชุมร่วมกับ The Korea Railway Association (KORASS) ณ ห้องประชุม 201 สถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงค์ มักกะสัน เพื่อหารือแลกเปลี่ยนถึงบทบาทต่อการพัฒนาระบบขนส่งทาง รางในประเทศของทั้ง 2 สมาคม ในโอกาสที่ KORASS เดินทางมา ประเทศไทยเพื่อเข้าร่วมการสัมมนา เรื่อง แนวทางการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตรถไฟฟ้าขนส่ง มวลชนและอุตสาหกรรมเกี่ยวเนื่อง ครั้งที่ 1 กำรถ่ำยทอดเทคโนโลยีกำรผลิตรถไฟฟ้ำ โดย สำธำรณรัฐเกำหลี 22 ม.ค. 59 เวลา 8.30 – 16.30 น. การสัมมนา เรื่อง แนวทางการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนและอุตสาหกรรม เกี่ยวเนื่อง ครั้งที่ 1 ถ่ายทอดประสบการณ์ โดย ผู้เชี่ยวชาญจาก สาธารณรัฐเกาหลี ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคารเจริญวิศวกรรม คณะ วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในโครงการอาศรมความคิด อรุณ สรเทศน์ ณ ลานเกียร์ (เปิดโลกลานเกียร์) ภายใต้ความร่วมมือระหว่างกระทรวงคมนาคม และ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)  ควรมีความเข้าใจในด้านการออกแบบผลิตรถไฟ อยู่ในระดับที่สามารถเรียนรู้จากผู้ถ่ายทอด เทคโนโลยีได้อย่างเข้าใจ  การบริหารจัดการการซ่อมบารุงนั้นมี ความสาคัญไม่แพ้การประกอบหรือสร้างรถไฟ  การทา R&D เป็นการประหยัดค่าใช้จ่ายใน อนาคตไม่ใช่การสิ้นเปลืองแต่อย่างใด  การเป็นเจ้าของเทคโนโลยี มีความสาคัญ มากในการบารุงรักษาในอนาคต  ต้องมีหน่วยงานกลางที่ทาหน้าที่ในการ อนุมัติดาเนินการ สาหรับการถ่ายทอด เทคโนโลยีแต่ละขั้นตอน และทาหน้าที่เป็น หน่วยงานที่คัดเลือกบริษัทเพื่อรับการถ่ายทอด เทคโนโลยี โดยหน่วยงานนั้นในเกาหลีใช้ชื่อว่า Korea High Speed Rail Construction Agency (KHSRCA) Page | 3 ปกิณกะ : (ต่อ)ปกิณกะ : (ต่อ)ปกิณกะ : (ต่อ) กำรประชุมคณะทำงำนจัดกิจกรรมวิชำกำร ครั้งที่ 1/2559 25 ม.ค. 59 เวลา 14.00 น. การประชุมคณะทางานจัดกิจกรรมวิชาการ การจัดตั้งสถาบันพัฒนาเทคโนโลยีระบบขนส่งทางรางแห่งชาติ ครั้งที่ 1/2559 ณ ห้องประชุม 413 อาคาร สวทช.โยธี ถ.พระรามที่ 6 เพื่อ พิจารณาสรุปแนวทางการจัดงานสัมมนาวิชาการและนิทรรศการเรื่อง “The Second Thai Rail Industry Symposium and Exhibition (RISE 2)” ที่จะมีขึ้นใน วันที่ 16 – 17 มี.ค. 59 ณ ชั้น 2 สถานีรถไฟฟ้าแอร์พอร์ต เรล ลิงค์ มักกะสัน MOU ด้ำนวิศวกรรมระบบรำงกับต่ำงประเทศ 18 ม.ค. 59 พิธีลงนามความ ร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยเบอร์ มิ ง แ ฮ ม แ ล ะ ม ห า วิ ท ย า ลั ย เทคโนโลยีสุรนารี ในความร่วมมือ เพื่อส่งเสริม สนับสนุนงานวิจัย และการศึกษาด้านวิศวกรรม ระบบราง วิศวกรรมยานยนต์ และพัฒนาอุตสาหกรรมด้านการ ขนส่ง ณ Birmingham Centre for Railway Research and Education (BCRRE) มหาวิทยาลัยเบอร์มิ่งแฮม ประเทศอังกฤษ
  • 4. ที่ปรึกษำ : คุณชำตรี ศรีไพพรรณ คุณนคร จันทศร คุณนัยรัตน์ อมำตยกุล คุณวัฒนำ สมำนจิตร คุณชยำกร ปิยะบัณฑิตกุล คุณสมฤทธิ์ พุทธันบุตร คุณนพมล จันทรวิมล กองบรรณำธิกำร : คุณทปกร เหมือนเตย คุณกุลเชษฐ์ กอพัฒนำชัยเจริญ คุณสฤษฏ์โรจ จันทร์เพิ่มพูนผล คุณทศวัชร์ ชีวะธนำเลิศกุล ผู้ดำเนินกำร : โครงกำรจัดตั้งสถำบันพัฒนำเทคโนโลยีระบบขนส่งทำงรำงแห่งชำติ สำนักงำนพัฒนำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีแห่งชำติ ติดต่อสอบถำม : โทร. 02-644-8150 ต่อ 81860 81861 81879 81880 อีเมล์ : rail@nstda.or.th website : www.thairailtech.or.th และ www.facebook.com/thairailtech กำหนดออกทุก วันที่ 15 ของทุกเดือน ขอเชิญชวนร่วมส่งบทควำม หรือ ข่ำวสำรเพื่อกำรประชำสัมพันธ์ เกี่ยวกับระบบขนส่งทำงรำง ได้ที่อีเมล์ rail@nstda.or.th Thailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute ProjectThailand Railway Technology Development Institute Project National Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development AgencyNational Science and Technology Development Agency สังคมระบบราง :สังคมระบบราง :สังคมระบบราง : พบผู้บริหำร BEM 26 ม.ค. 59 โครงการจัดตั้งสถาบัน ฯ เข้าพบ ดร.สมบัติ กิจจาลักษณ์ กรรมการผู้จัดการ และ คุณวิทูรย์ หทัยรัตนา รองกรรมการผู้จัดการ บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้า กรุงเทพ จากัด (มหาชน) (BEM) ณ สานักงานใหญ่ BEM เมื่อวันที่ 23 - 24 ม.ค. 59 ชาวคณะ วศร. สมาคม วศรท. และโครงการจัดตั้งสถาบันฯ ได้จัดกิจกรรม การประชุมเครือข่าย วศร.สัญจร ไปยังจังหวัดขอนแก่น โดย ได้เข้าเยี่ยมชมและรับฟังการบรรยาย ณ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยมี รศ.ดร.รัชพล สันติวรากร (วศร.5) ให้การต้อนรับและเป็นผู้บรรยาย และ บริษัท ช.ทวี ดอลลาเซียน จากัด (มหาชน) โดยมี คุณสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย (วศร.1) ให้การต้อนรับและเป็นผู้บรรยาย ทั้งนี้ได้มีการประชุมเครือข่าย วศร. ประจาเดือน ในช่วงเวลา หลังอาหารเย็น และชาวคณะ วศร. ยังได้เยี่ยมชมภายใน บริเวณสถานีรถไฟขอนแก่นอีกด้วย กิจกรรมนี้สร้างความ ประทับใจให้กับผู้เข้าร่วมกว่า 40 ท่านเป็นอย่างมาก โดยทุก คนหวังเป็นยิ่งว่าจะให้มีกิจกรรมเช่นนี้เกิดขึ้นอีก สมำคมวิศวกรรมระบบขนส่งทำงรำงไทย (วศรท.) เข้าสวัสดีปีใหม่ ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ผู้อานวยการ สวทช. เมื่อวันที่ 15 ม.ค. 59 ณ อาคาร สวทช.(โยธี) หำรือควำมร่วมมือกับ BOI 27 ม.ค. 59 โครงการจัดตั้ง สถาบันฯ เข้าพบ คุณอัจฉรินทร์ พัฒนพันธ์ชัย รองเลขาธิการ คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ณ สานักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมการลงทุน ถ.วิภาวดีรังสิต เขตจตุจักร กรุงเทพฯ เพื่อ หารือเรื่องแนวทางส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิต รถไฟฟ้าและรางรถไฟภายในประเทศให้มีศักยภาพ กำรประชุมเครือข่ำย วศร. สัญจร ณ จังหวัดขอนแก่น กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : (ต่อ)กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : (ต่อ)กิจกรรมโครงการและเครือข่าย : (ต่อ) มทร. อีสำน วิทยำเขตขอนแก่น เปิดศูนย์วิจัยและฝึกอบรม ระบบขนส่งทำงรำง 29 ม.ค. 59 เวลา 13.00 พิธีเปิด ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมระบบการ ขนส่งทางราง วิทยาเขตขอนแก่น และ การสัมมนาและเสวนา วิชาการความรู้ในด้านทิศทางการ พัฒนากาลังคนเพื่อรองรับการพัฒนาและขยายตัวระบบขนส่งทาง รางในประเทศไทย ณ ห้องประชุมอาคารปฏิบัติการคณะ วิศวกรรมศาสตร์ ชั้น 3 โดยคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น ประชุมร่วม สวทน. – สวทช. 1 ก.พ. 59 เวลา 14:00 การ ประชุมร่วมระหว่าง สานักงาน ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร น โ ย บ า ย วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ นวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) และ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ด้านระบบราง ณ ห้องประชุมหว้ากอ 2 สวทน. ชั้น 14 อาคาร จัตุรัสจามจุรี เพื่อรับทราบและวางแผนร่วมกันถึงการดาเนินงาน ของ สวทช. และ สวทน. ในการพัฒนาบุคลากรด้านระบบราง GNSS กับกำรขนส่งระบบรำง 4 ก.พ. 59 เวลา 13.00 - 14.30 น. อ.นคร จันทศร บรรยายพิเศษหัวข้อ การพัฒนาระบบรางในประเทศไทย และ GNSS กับการขนส่งระบบราง ในการประชุมวิชาการ เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศแห่งชาติ : geoinfotech 2016 จัดโดยสานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) ณ Meeting Room 2 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุงเทพฯ Page | 4 กำรถ่ำยทอดเทคโนโลยีกำรผลิตรถไฟฟ้ำ โดย ประเทศญี่ปุ่น 11 ก.พ. 59 เวลา 08.30 – 16.00 น. การสัมมนา เรื่อง “แนวทางการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนและอุตสาหกรรม เกี่ยวเนื่อง” ครั้งที่ 2 ถ่ายทอดประสบการณ์ โดย ผู้เชี่ยวชาญจาก ประเทศญี่ปุ่น ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคารเจริญวิศวกรรม คณะ วิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อีกหนึ่งงานในโครงการ อาศรมความคิด อรุณ สรเทศน์ ณ ลานเกียร์ (เปิดโลกลานเกียร์) ภายใต้ความร่วมมือระหว่างกระทรวง คมนาคม และสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)