SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
RADIATION BIOLOGY
Pawitra Masa-ah
Radiation Biology

เป็นการศึกษาถึงผลของรังสีต่อสิ่งมีชีวิต ซึ่งเป็นพื้นฐานของการรักษาผู้ป่วย
โดยการใช้รังสี โดยในที่นี้จะเน้นถึงผลของรังสี ionizing radiation ซึ่ง
แบ่งเป็น 2 พวกใหญ่ๆคือ
    Particulate Radiations รังสีที่เป็นอนุภาค เช่นรังสีอัลฟ่า รังสีเบต้า
     นิวตรอน โปรตอน และอนุภาคที่มีประจุหนักอื่นๆ (heavy charged
     ions)
    Electromagnetic          Radiations        รังสีที่ มีคุณสมบัติแบบคลื่น
     แม่เหล็กไฟฟ้า เช่น รังสีเอกซ์ และรังสีแกมมา
The time-scale of effects in radiation biology

เมื่อรังสีผ่านเข้าไปในระบบของสิ่งมีชีวิตจะทาให้เกิดกระบวนการหลาย
อย่างตามมา ซึ่งสามารถแยกกระบวนการเหล่านี้ออกเป็นหมวดหมู่ได้ตาม
เวลาดังนี้
Physical Phase

Chemical Phase

Biological Phase
Action Pathway of Radiation on DNA
Direct and Indirect Action of Radiation

ผลของรังสีที่สาคัญทางชีววิทยาเกิดขึ้นที่ DNA ซึ่งถือว่าเป็น critical target
     ของเซลล์
    “Direct Effect” : การที่รังสีไปทาให้อะตอมของ target เกิดการ
       แตกตัวหรือไปกระตุ้นอะตอมเหล่า นั้น โดยตรง ซึ่งจะส่งผลทาง
       ชีววิทยาตามมา
     Indirect Effect” : กระทาผ่านอะตอมหรือโมเลกุลอื่นแล้วจึงมีผล
       ต่อ target เนื่องจากน้าเป็นส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์ ซึ่งมี
       อยู่สูงถึงประมาณ 80% โอกาสที่โมเลกุลของน้าจะแตกตัวโดยรังสี
       จึงมีอยู่มาก
Effect on normal Tissues
เนื้อเยื่อปกติแต่ละชนิดจะตอบสนองต่อรังสีไม่ เท่ากัน เนื้อเยื่อบางชนิด
อาจทนปริมาณรังสีได้สูงเป็น 100 เท่าของเนื้อเยื่อชนิดที่ไวต่อรังสีมาก ซึ่ง
สามารถจาแนกการตอบสนองต่อรังสีได้ดังนี้

   Acute response
    เนื้อเยื่อชนิดที่มีการตอบสนองต่อรังสีเร็ว จะสังเกตุเห็นผลของรังสีได้ในเวลา
    สั้น ๆ เป็นชม. หรือเป็นวันได้แก่ เนื้อเยื่อกลุ่ม gastrointestinal mucosa,
    bone marrow, skin และ esophageal mucosa
Effect on normal Tissues

   Subacute response
     ผลของรังสีจะสังเกตุเห็นได้ในเวลาช้าลงคือใช้เวลาเป็นอาทิตย์หรือเป็นเดือน
     เนื้อเยื่อนั้นอาจจะจัดอยู่ในกลุ่มที่ การ turnover ยาวกว่าเช่น lung, liver,
     kidney, heart, spinal cord, brain

   Late response
      จะพบในเซลล์ที่มีการแบ่งตัวน้อยและมีอัตรา loss ของเซลล์ต่าเช่น
     เซลล์ประสาท blood vessels bone(osteoclasts and chondroblast)
Deterministic Effect

   ผลของรังสีต่อระบบร่างกาย เมื่อได้รังสีแบบเฉียบพลันแบบทั่วร่างกาย สามารถแยก
   ตามความรุนแรงจากน้อยไปหามาก ดังนี้
 ปริมาณรังสีที่ได้รับ         ส่งผลต่อ                                    อาการ
• 300-800 cGy         ระบบเลือด                    เซลล์ไขกระดูกจะถูกทาลาย สร้างเซลล์ใหม่ไม่ได้ ทาให้เซลล์
                    (hematopoietic or bone marrow   เลือดทุกชนิดในร่างกายลดจานวนลงผู้ป่วย
                    syndrome)                      เสียชีวิตภายใน 3 สัปดาห์ สาเหตุใหญ่เนื่องมาจากการติดเชื้อ
• เกิน 1000 cGy     ระบบทางเดินอาหาร               เซลล์ของผนังบุลาไส้จะเสียหายและหลุดลอก
                    (gastrointestinal syndrome)    ผู้ป่วยจะมีอาการคลื่นไส้อาเจียนอย่างรุนแรง และท้องร่วง
                                                   เสียชีวิตภายในเวลา 9 วัน
• เกิน 10000 cGy    ระบบประสาทส่วนกลาง             หมดสติ
                    (cerebrovascular syndrome)     ระบบเลือดและระบบทางเดินอาหารจะเสียหายอย่างรุนแรง
                                                   เสียชีวิตภายในเวลา 30-50 ชม
Late effect
ผลระยะยาวหลังจากรับรังสีซึ่งแบ่งได้เป็น
 Somatic effects
     ได้แก่การทาให้เกิดมะเร็ง และการทาให้อายุสั้นลง
 Genetic effects

     รังสีทาให้เกิดการผ่าเหล่า (mutation) ซึ่งไม่ได้ต่างไปจาก
     mutation ที่เกิดขึ้นเองในธรรมชาติ แต่ mutation frequency
     ขึ้นอยู่กับปริมาณรังสีที่ได้รับ
Thyroid :
Hair :
Brain :
Heart :
Blood System :
Digestive System :
Skin :
Reproductive system :
Bone marrow :
Thank You
อ.ปวิตรา หมะสะอะ

Contenu connexe

Tendances

Interactions of radiation_with_matter
Interactions of radiation_with_matterInteractions of radiation_with_matter
Interactions of radiation_with_matter
Fernando Nainggolan
 
challenges of small field dosimetry
challenges of small field dosimetrychallenges of small field dosimetry
challenges of small field dosimetry
Layal Jambi
 
Basic radiation 061706
Basic radiation 061706Basic radiation 061706
Basic radiation 061706
Paul Tarter
 
4 rs of radiobiology
4 rs of radiobiology4 rs of radiobiology
4 rs of radiobiology
DeepaGautam
 

Tendances (20)

Internal radiation dosimetry
Internal radiation dosimetryInternal radiation dosimetry
Internal radiation dosimetry
 
2022 Radiation for Common Cancers
2022 Radiation for Common Cancers2022 Radiation for Common Cancers
2022 Radiation for Common Cancers
 
TRS 398 (Technical Report Series)
TRS 398 (Technical Report Series)TRS 398 (Technical Report Series)
TRS 398 (Technical Report Series)
 
Interactions of radiation_with_matter
Interactions of radiation_with_matterInteractions of radiation_with_matter
Interactions of radiation_with_matter
 
Carbon ion therapy
Carbon ion therapyCarbon ion therapy
Carbon ion therapy
 
Brachytherapy dosimetry systems .R
Brachytherapy dosimetry systems .RBrachytherapy dosimetry systems .R
Brachytherapy dosimetry systems .R
 
challenges of small field dosimetry
challenges of small field dosimetrychallenges of small field dosimetry
challenges of small field dosimetry
 
Work place monitoring haydar
Work place monitoring haydarWork place monitoring haydar
Work place monitoring haydar
 
Evolution of radiation 2012
Evolution of radiation 2012Evolution of radiation 2012
Evolution of radiation 2012
 
Rrecent advances in linear accelerators [MR linac]
Rrecent advances in linear accelerators [MR linac]Rrecent advances in linear accelerators [MR linac]
Rrecent advances in linear accelerators [MR linac]
 
L 15 radiation shielding principles. ppt
L 15  radiation shielding principles. pptL 15  radiation shielding principles. ppt
L 15 radiation shielding principles. ppt
 
Brachytherapy dosimetry
Brachytherapy dosimetryBrachytherapy dosimetry
Brachytherapy dosimetry
 
Ionization Chambers
Ionization ChambersIonization Chambers
Ionization Chambers
 
Brachytherapy msc lecture sam copy
Brachytherapy msc lecture sam copyBrachytherapy msc lecture sam copy
Brachytherapy msc lecture sam copy
 
Trs 398 code of practice for heavy ion
Trs 398 code of practice for heavy ionTrs 398 code of practice for heavy ion
Trs 398 code of practice for heavy ion
 
Cavity theory-Radiation physics
Cavity theory-Radiation physicsCavity theory-Radiation physics
Cavity theory-Radiation physics
 
Basic radiation 061706
Basic radiation 061706Basic radiation 061706
Basic radiation 061706
 
Tseb
TsebTseb
Tseb
 
4 rs of radiobiology
4 rs of radiobiology4 rs of radiobiology
4 rs of radiobiology
 
Multileaf Collimator
Multileaf CollimatorMultileaf Collimator
Multileaf Collimator
 

En vedette

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสี (Radiation Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสี (Radiation Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสี (Radiation Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสี (Radiation Fundamental)
Office of Atoms for Peace
 
เครื่องวัดรังสีสำหรับการป้องกันอันตรายจากรังสี
เครื่องวัดรังสีสำหรับการป้องกันอันตรายจากรังสีเครื่องวัดรังสีสำหรับการป้องกันอันตรายจากรังสี
เครื่องวัดรังสีสำหรับการป้องกันอันตรายจากรังสี
Office of Atoms for Peace
 
ปริมาณ หน่วยวัดทางรังสี และการประเมินการได้รับรังสี
ปริมาณ หน่วยวัดทางรังสี และการประเมินการได้รับรังสีปริมาณ หน่วยวัดทางรังสี และการประเมินการได้รับรังสี
ปริมาณ หน่วยวัดทางรังสี และการประเมินการได้รับรังสี
Office of Atoms for Peace
 
Radiation protection Standard
Radiation protection Standard Radiation protection Standard
Radiation protection Standard
Pawitra Masa-ah
 
Radioactive Contamination Research
Radioactive Contamination ResearchRadioactive Contamination Research
Radioactive Contamination Research
Pawitra Masa-ah
 
Radiation Safety Instruments
Radiation Safety InstrumentsRadiation Safety Instruments
Radiation Safety Instruments
Pawitra Masa-ah
 
Practical Application of Atomic Energy nutritional research
Practical Application of Atomic Energy nutritional researchPractical Application of Atomic Energy nutritional research
Practical Application of Atomic Energy nutritional research
Pawitra Masa-ah
 

En vedette (20)

Radiation Protection
Radiation ProtectionRadiation Protection
Radiation Protection
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสี (Radiation Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสี (Radiation Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสี (Radiation Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรังสี (Radiation Fundamental)
 
Radiation Safety Instrument
Radiation Safety InstrumentRadiation Safety Instrument
Radiation Safety Instrument
 
การวัดปริมารรังสี
การวัดปริมารรังสีการวัดปริมารรังสี
การวัดปริมารรังสี
 
เครื่องวัดรังสีสำหรับการป้องกันอันตรายจากรังสี
เครื่องวัดรังสีสำหรับการป้องกันอันตรายจากรังสีเครื่องวัดรังสีสำหรับการป้องกันอันตรายจากรังสี
เครื่องวัดรังสีสำหรับการป้องกันอันตรายจากรังสี
 
รังสีกับมนุษ์
รังสีกับมนุษ์รังสีกับมนุษ์
รังสีกับมนุษ์
 
Radiation Unit
Radiation UnitRadiation Unit
Radiation Unit
 
Xray 2015
Xray 2015Xray 2015
Xray 2015
 
ปริมาณ หน่วยวัดทางรังสี และการประเมินการได้รับรังสี
ปริมาณ หน่วยวัดทางรังสี และการประเมินการได้รับรังสีปริมาณ หน่วยวัดทางรังสี และการประเมินการได้รับรังสี
ปริมาณ หน่วยวัดทางรังสี และการประเมินการได้รับรังสี
 
Radiation protection Standard
Radiation protection Standard Radiation protection Standard
Radiation protection Standard
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
Radioactive Contamination Research
Radioactive Contamination ResearchRadioactive Contamination Research
Radioactive Contamination Research
 
N Health | Your TB lab solution
N Health | Your TB lab solutionN Health | Your TB lab solution
N Health | Your TB lab solution
 
Nutritional research
Nutritional researchNutritional research
Nutritional research
 
Radiation Safety Instruments
Radiation Safety InstrumentsRadiation Safety Instruments
Radiation Safety Instruments
 
Infection
InfectionInfection
Infection
 
Practical Application of Atomic Energy nutritional research
Practical Application of Atomic Energy nutritional researchPractical Application of Atomic Energy nutritional research
Practical Application of Atomic Energy nutritional research
 
ยาสำหรับผู้มีบุตรยาก
ยาสำหรับผู้มีบุตรยาก ยาสำหรับผู้มีบุตรยาก
ยาสำหรับผู้มีบุตรยาก
 
Benign Ovarian Tumor
Benign Ovarian TumorBenign Ovarian Tumor
Benign Ovarian Tumor
 
Nuclear Reactor
Nuclear ReactorNuclear Reactor
Nuclear Reactor
 

Plus de Pawitra Masa-ah (11)

Non-Imaging Devices
Non-Imaging DevicesNon-Imaging Devices
Non-Imaging Devices
 
A new Standard Uptake Values (SUV) Calculation based on Pixel Intensity Values
A new Standard Uptake Values (SUV) Calculation based on Pixel Intensity ValuesA new Standard Uptake Values (SUV) Calculation based on Pixel Intensity Values
A new Standard Uptake Values (SUV) Calculation based on Pixel Intensity Values
 
Performance of a Novel SUV Calculation Scheme for PET Study
Performance of a Novel SUV Calculation Scheme for PET StudyPerformance of a Novel SUV Calculation Scheme for PET Study
Performance of a Novel SUV Calculation Scheme for PET Study
 
Demonstration clip of my project
Demonstration clip of my projectDemonstration clip of my project
Demonstration clip of my project
 
19 440 Publication in NAUN journal
19 440 Publication in NAUN journal 19 440 Publication in NAUN journal
19 440 Publication in NAUN journal
 
AIBE 68
AIBE 68AIBE 68
AIBE 68
 
my poster presentation in the jcms2011 conference
my poster presentation in the jcms2011 conferencemy poster presentation in the jcms2011 conference
my poster presentation in the jcms2011 conference
 
Non-Imaging Devices in Nuclear Medicine
Non-Imaging Devices in Nuclear MedicineNon-Imaging Devices in Nuclear Medicine
Non-Imaging Devices in Nuclear Medicine
 
Future Immunoassay
Future Immunoassay Future Immunoassay
Future Immunoassay
 
"Three Mile Island Accident"
"Three Mile Island Accident""Three Mile Island Accident"
"Three Mile Island Accident"
 
PET Cyclotron
PET Cyclotron PET Cyclotron
PET Cyclotron
 

Radiation Biology

  • 2. Radiation Biology เป็นการศึกษาถึงผลของรังสีต่อสิ่งมีชีวิต ซึ่งเป็นพื้นฐานของการรักษาผู้ป่วย โดยการใช้รังสี โดยในที่นี้จะเน้นถึงผลของรังสี ionizing radiation ซึ่ง แบ่งเป็น 2 พวกใหญ่ๆคือ  Particulate Radiations รังสีที่เป็นอนุภาค เช่นรังสีอัลฟ่า รังสีเบต้า นิวตรอน โปรตอน และอนุภาคที่มีประจุหนักอื่นๆ (heavy charged ions)  Electromagnetic Radiations รังสีที่ มีคุณสมบัติแบบคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า เช่น รังสีเอกซ์ และรังสีแกมมา
  • 3. The time-scale of effects in radiation biology เมื่อรังสีผ่านเข้าไปในระบบของสิ่งมีชีวิตจะทาให้เกิดกระบวนการหลาย อย่างตามมา ซึ่งสามารถแยกกระบวนการเหล่านี้ออกเป็นหมวดหมู่ได้ตาม เวลาดังนี้ Physical Phase Chemical Phase Biological Phase
  • 4. Action Pathway of Radiation on DNA
  • 5. Direct and Indirect Action of Radiation ผลของรังสีที่สาคัญทางชีววิทยาเกิดขึ้นที่ DNA ซึ่งถือว่าเป็น critical target ของเซลล์ “Direct Effect” : การที่รังสีไปทาให้อะตอมของ target เกิดการ แตกตัวหรือไปกระตุ้นอะตอมเหล่า นั้น โดยตรง ซึ่งจะส่งผลทาง ชีววิทยาตามมา  Indirect Effect” : กระทาผ่านอะตอมหรือโมเลกุลอื่นแล้วจึงมีผล ต่อ target เนื่องจากน้าเป็นส่วนประกอบที่สาคัญของเซลล์ ซึ่งมี อยู่สูงถึงประมาณ 80% โอกาสที่โมเลกุลของน้าจะแตกตัวโดยรังสี จึงมีอยู่มาก
  • 6.
  • 7. Effect on normal Tissues เนื้อเยื่อปกติแต่ละชนิดจะตอบสนองต่อรังสีไม่ เท่ากัน เนื้อเยื่อบางชนิด อาจทนปริมาณรังสีได้สูงเป็น 100 เท่าของเนื้อเยื่อชนิดที่ไวต่อรังสีมาก ซึ่ง สามารถจาแนกการตอบสนองต่อรังสีได้ดังนี้  Acute response เนื้อเยื่อชนิดที่มีการตอบสนองต่อรังสีเร็ว จะสังเกตุเห็นผลของรังสีได้ในเวลา สั้น ๆ เป็นชม. หรือเป็นวันได้แก่ เนื้อเยื่อกลุ่ม gastrointestinal mucosa, bone marrow, skin และ esophageal mucosa
  • 8. Effect on normal Tissues  Subacute response ผลของรังสีจะสังเกตุเห็นได้ในเวลาช้าลงคือใช้เวลาเป็นอาทิตย์หรือเป็นเดือน เนื้อเยื่อนั้นอาจจะจัดอยู่ในกลุ่มที่ การ turnover ยาวกว่าเช่น lung, liver, kidney, heart, spinal cord, brain  Late response จะพบในเซลล์ที่มีการแบ่งตัวน้อยและมีอัตรา loss ของเซลล์ต่าเช่น เซลล์ประสาท blood vessels bone(osteoclasts and chondroblast)
  • 9. Deterministic Effect ผลของรังสีต่อระบบร่างกาย เมื่อได้รังสีแบบเฉียบพลันแบบทั่วร่างกาย สามารถแยก ตามความรุนแรงจากน้อยไปหามาก ดังนี้ ปริมาณรังสีที่ได้รับ ส่งผลต่อ อาการ • 300-800 cGy ระบบเลือด  เซลล์ไขกระดูกจะถูกทาลาย สร้างเซลล์ใหม่ไม่ได้ ทาให้เซลล์ (hematopoietic or bone marrow เลือดทุกชนิดในร่างกายลดจานวนลงผู้ป่วย syndrome)  เสียชีวิตภายใน 3 สัปดาห์ สาเหตุใหญ่เนื่องมาจากการติดเชื้อ • เกิน 1000 cGy ระบบทางเดินอาหาร  เซลล์ของผนังบุลาไส้จะเสียหายและหลุดลอก (gastrointestinal syndrome)  ผู้ป่วยจะมีอาการคลื่นไส้อาเจียนอย่างรุนแรง และท้องร่วง  เสียชีวิตภายในเวลา 9 วัน • เกิน 10000 cGy ระบบประสาทส่วนกลาง  หมดสติ (cerebrovascular syndrome)  ระบบเลือดและระบบทางเดินอาหารจะเสียหายอย่างรุนแรง  เสียชีวิตภายในเวลา 30-50 ชม
  • 10. Late effect ผลระยะยาวหลังจากรับรังสีซึ่งแบ่งได้เป็น  Somatic effects ได้แก่การทาให้เกิดมะเร็ง และการทาให้อายุสั้นลง  Genetic effects รังสีทาให้เกิดการผ่าเหล่า (mutation) ซึ่งไม่ได้ต่างไปจาก mutation ที่เกิดขึ้นเองในธรรมชาติ แต่ mutation frequency ขึ้นอยู่กับปริมาณรังสีที่ได้รับ
  • 11. Thyroid : Hair : Brain : Heart : Blood System : Digestive System : Skin : Reproductive system : Bone marrow :