SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  66
Télécharger pour lire hors ligne
กฎหมายการท่องเที่ยว
(Tourism Laws)
-9-
อาจารย์ นุรัตน์ ปวนคามา
สานักวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
ขอบเขตการบรรยาย
กฎหมายเกี่ยวกับนักท่องเที่ยว: การเข้าเมืองและหนังสือเดินทาง
ลักษณะของนักท่องเที่ยว
จาแนกตามสัญชาติ จาแนกตามเขตแดน
นักท่องเที่ยวไม่มีสัญชาติไทย
นักท่องเที่ยวที่เป็นคนสัญชาติไทย
นักท่องเที่ยวที่เดินทางท่องเที่ยวภายใน
ราชอาณาจักร(Domestic)
นักท่องเที่ยวที่เดินทางท่องเที่ยวออกไป
นอกราชอาณาจักร (Outbound)
นักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาใน
ราชอาณาจักร (Inbound)
การกากับดูแลนักท่องเที่ยว
นักท่องเที่ยวที่เดินทางท่องเที่ยวออกไป
นอกราชอาณาจักร (Outbound)
นักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาใน
ราชอาณาจักร (Inbound)
พระราชบัญญัติ
คนเข้าเมือง
พ.ศ. 2522
นักท่องเที่ยวที่อยู่ภายใต้ขอบเขตกฎหมาย
พระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 มาตรา 4
คนเข้าเมือง คนต่างด้าว
นักท่องเที่ยว ?
นักท่องเที่ยวที่อยู่ภายใต้ขอบเขตกฎหมาย
พระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 มาตรา 4
นักท่องเที่ยว ?
นักท่องเที่ยวต่างชาติ นักท่องเที่ยวผู้มีสัญชาติไทย
การเข้าและออกนอกราชอาณาจักร
มาตรา 11 บุคคลซึ่งเดินทางเข้ามาในหรือออกไปนอกราชอาณาจักร
จะต้องเดินทางเข้ามาหรือออกไปตามช่องทาง ด่านตรวจคนเข้าเมือง เขต
ท่า สถานี หรือท้องที่และตามกาหนดเวลา ทั้งนี้ ตามที่รัฐมนตรีจะได้
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 2 ปี และปรับไม่เกิน 20,000
บาท แต่ถ้าผู้กระทาความผิดดังกล่าวมีสัญชาติไทย ต้อง
ระวางโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท
ฝ่าฝืน: มาตรา 62
การเข้าและออกนอกราชอาณาจักร
นักท่องเที่ยว แบบ Outbound
ไม่ว่าจะเป็นนักท่องเที่ยวสัญชาติไทยหรือ
นักท่องเที่ยวต่างด้าว
นักท่องเที่ยว แบบ Inbound
ไม่ว่าจะเป็นนักท่องเที่ยวสัญชาติไทยหรือ
นักท่องเที่ยวต่างด้าว
มาตรา 11
เงื่อนไขการเข้าราชอาณาจักร
หนังสือเดินทาง
การตรวจลงตรา
อานาจรัฐมนตรีในการอนุญาต
มาตรา 17
หนังสือเดินทาง
คนต่างด้าวที่จะเข้ามาในราชอาณาจักรจะต้องมี
หนังสือเดินทาง (Passport) หรือ เอกสารใช้แทน
หนังสือเดินทางและต้องมีการตรวจลงตราในหนังสือ
เดินทางนั้น
หลัก
มาตรา 12 (1)
หนังสือเดินทาง (Passport) คืออะไร ?
เอกสารที่รัฐบาลของประเทศใดประเทศหนึ่ง
ออกให้ประชาชนเพื่อแสดงสัญชาติตัวบุคคลผู้
ถือหนังสือเดินทางนั้น
หนังสือเดินทางไทย (Thai Passport)
เป็นหนังสือเดินทางที่ออกให้เฉพาะประชาชนไทย โดยกอง
หนังสือเดินทางกระทรวงการต่างประเทศ สามารถออกใน
ประเทศไทย ได้แก่ กองหนังสือเดินทาง กระทรวงการ
ต่างประเทศ หรือบางกรณีสถานเอกอัครราชทูตใน
ต่างประเทศ หรือ สถานกงสุลไทย เป็นผู้ออก
ลักษณะของหนังสือเดินทางไทย (Thai Passport)
มีตราครุฑอยู่ตรงกลางที่ปกด้านหน้า
และคาว่า “หนังสือเดินทาง ประเทศ
ไทย” (อยู่ต่างบรรทัดกัน) อยู่ด้านบนสุด
ส่วนคาว่า “THAILAND PASSPORT”
(อยู่ต่างบรรทัด) อยู่ใต้ตราครุฑ ด้าน
ล่างสุด จะเป็นสัญลักษณ์ของหนังสือ
เดินทางที่มีข้อมูลทางชีวภาพ
(biometric passport) อักษรและ
สัญลักษณ์ที่หน้าปกเป็นสีทอง
ประเภทของหนังสือเดินทางไทย (Thai Passport)
1. หนังสือเดินทางธรรมดา (หน้าปกสีแดงเลือดหมู) ออกให้
สาหรับประชาชนทั่วไป หนังสือเดินทางมีอายุไม่เกิน 5 ปี
2. หนังสือเดินทางราชการ (หน้าปกสีนาเงินเข้ม)
หนังสือเดินทางมีอายุไม่เกิน 5 ปี ผู้ถือต้องใช้ในราชการ
เท่านัน ไม่สามารถนาไปใช้ในการเดินทางส่วนตัว โดยมี
ข้อกาหนดออกเฉพาะข้าราชการ เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่
จัดตังตามรัฐธรรมนูญ สมาชิกรัฐสภาซึ่งเดินทางไปราชการ
ในต่างประเทศ และบุคคลอื่นใดที่เดินทางเพื่อทาประโยชน์
แก่ทางราชการตามที่กระทรวงการต่างประเทศอนุมัติ
ประเภทของหนังสือเดินทางไทย (Thai Passport)
3. หนังสือเดินทางทูต (หน้าปกสีแดงสด) ประเภทนีจะมีอายุ
ไม่เกิน 5 ปี ไม่สามารถต่ออายุเพิ่มได้ มีข้อกาหนดออกให้
เฉพาะบุคคลดังต่อไปนี
1.พระบรมวงศ์และพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
2.พระอนุวงศ์ชันพระองค์เจ้าและคู่สมรส
3.พระราชวงศ์และบุคคลสาคัญที่ราชเลขาธิการขอไปเป็นกรณีพิเศษ
4.ประธานองคมนตรี และองคมนตรี
5.นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี
6.ประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานและรองประธานวุฒิสภา
7.ประธานศาลฎีกา รองประธานศาลฎีกา และประธานศาลอุทธรณ์
8.ประธานศาลรัฐธรรมนูญ และประธานศาลปกครองสูงสุด
9.อดีตนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศ
10.ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และ ผู้บัญชาการเหล่าทัพ
11.ข้าราชการที่มีตาแหน่งทางการทูต ซึ่งเดินทางไปราชการในต่างประเทศ
12.ข้าราชการที่มีตาแหน่งทางการทูต ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ประจาอยู่ ณ ส่วนราชการในต่างประเทศ คู่สมรส และบุตรในประเทศที่ประจาอยู่หรือทาการศึกษาอยู่ใน1
ประเทศอื่น แต่บุตรจะต้องอายุไม่เกิน 25 ปี
13.คู่สมรสที่ร่วมเดินทางไปกับบุคคลดังกล่าวในข้อ 2-8
14.บุคคลอื่นใดเพื่อประโยชน์แก่ทางราชการหรือภายใต้พันธกรณีระหว่างประเทศ หรือภายใต้สถานการณ์พิเศษที่มีความจาเป็น หรือเผยแพร่ชื่อเสียงเกียรติคุณ
ของประเทศไทย
ประเภทของหนังสือเดินทางไทย (Thai Passport)
4. หนังสือเดินทางชั่วคราว
(หน้าปกสีเขียว)
นอกจากนี ยังมีอีก 2 ประเภทพิเศษ คือ
4.1 หนังสือเดินทางพระ ออกให้สาหรับพระภิกษุและ
สามเณรที่ได้รับอนุญาตให้เดินทางไปต่างประเทศตามนัย
ระเบียบมหาเถรสมาคม
4.2 หนังสือเดินทางเพื่อไปประกอบพิธีฮัจญ์ ออกให้ชาว
มุสลิมที่เพื่อเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์
หนังสือเดินทางประเภทนีจะมีอายุ 2 ปีเท่านัน
เป็นเอกสารที่ใช้แทนหนังสือเดินทาง
ตามพระราชบัญญัติคนเข้าเมือง
หรือไม่
?
บัตรผ่านแดน Border Pass
ใบสุทธิประจาตัวเด็กเยอรมัน
(Kinderausweis) เป็นเอกสารที่ใช้
แทนหนังสือเดินทางได้หรือไม่ ?
ข้อยกเว้นการมีหนังสือเดินทาง
มาตรา 13
ผู้ควบคุมพาหนะและคนประจาพาหนะ
ทางน้าหรือทางอากาศ ซึ่งเพียงแต่แวะ
เข้ามายังท่า สถานี หรือท้องที่ ใน
ราชอาณาจักรแล้วกลับออกไป
คนสัญชาติของประเทศที่มีอาณาเขต
ติดต่อกับประเทศไทยเดินทางข้าม
พรมแดนไปมาชั่วคราว
คนโดยสารรถไฟผ่านแดน
ซึ่งถือตั๋วโดยสารทอดเดียวตลอด
เพียงแต่ผ่านอาณาเขตประเทศไทย
ไปนอกราชอาณาจักร
+ ผู้ควบคุมพาหนะและคนประจา
พาหนะแห่งรถไฟด้วย
โดยปฏิบัติตามข้อตกลงระหว่าง
รัฐบาลไทยกับรัฐบาลแห่งประเทศนั้น
ตามข้อตกลงระหว่างรัฐบาลไทยกับ
รัฐบาลแห่งประเทศนั้น ๆ
การตรวจลงตรา (VISA)
มาตรา 12 (1) ไม่มีหนังสือเดินทางหรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทาง
อันถูกต้องและยังสมบูรณ์อยู่หรือมีแต่ไม่ได้รับการตรวจตราในหนังสือ
เดินทางหรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทางเช่นว่านั้น จากสถานทูต
หรือสถานกงสุลไทยในต่างประเทศหรือจากกระทรวงการต่างประเทศ
เว้นแต่กรณีที่ไม่ต้องมีการตรวจลงตราสาหรับคนต่างด้าวบางประเภท
เป็นกรณีพิเศษ การตรวจลงตราและการยกเว้นการตรวจลงตราให้
เป็นไปตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่กาหนดในกฎกระทรวง
การตรวจลงตรา
ความหมาย
การตรวจลงตรา (วีซ่า “VISA”) คือ การอนุญาตให้
คนต่างด้าวเข้ามาในราชอาณาจักรไทย
การตรวจลงตรา (VISA)
พระราชบัญญัติคนเข้าเมือง พ.ศ. 2522 มาตรา 5 ,12 (1)
และมาตรา 34 (15)
กฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการตรวจ
การยกเว้นและการเปลี่ยนแปลงประเภทของการตรวจลงตรา พ.ศ.
2545
หลัก: คนต่างด้าวต้องได้รับการตรวจลงตราก่อนเข้าราชอาณาจักร
การทาเครื่องหมายแสดงการตรวจลงตราของไทยบนหนังสือเดินทางของ
คนต่างด้าว
ข้อยกเว้น: คนต่างด้าวที่มีสัญชาติของบางประเทศอาจไม่ต้องมีการตรวจ
ลงตราได้ (การยกเว้นวีซ่า)
ลักษณะการตรวจลงตรา
1. การตรวจลงตรา
ก่อนเดินทางเข้ามาใน
ราชอาณาจักร
2. การตรวจลงตรา ณ
ด่านตรวจคนเข้าเมือง
ของไทย
(VISA ON -ARIVAL)
3. คนต่างด้าวที่สามารถ
เข้ามาในราชอาณาจักร
ได้โดยไม่ต้องตรวจตรา
ประเภทของการตรวจลงตราหนังสือเดินทางหรือเอกสาร
ใช้แทนหนังสือเดินทาง
กฎกระทรวง กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และ
เงื่อนไขในการตรวจ การยกเว้น และการ
เปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา พ.ศ. 2545
8
ประเภท
ให้จากัดเฉพาะการขอรับการตรวจลงตราเข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว
เพื่อปฏิบัติการดังต่อไปนี้
(1) การปฏิบัติหน้าที่ทางทูตหรือกงสุล
(2) การปฏิบัติหน้าที่ทางราชการ
1. การตรวจลงตราประเภททูต
โดยผู้ถือหนังสือเดินทางทูตหรือหนังสือเดินทางสหประชาชาติที่เทียบเท่าหนังสือเดินทางทูต
ยื่นขอรับการตรวจลงตราต่อสถานทูตหรือสถานกงสุลไทย พร้อมกับหนังสือขอรับการตรวจ
ลงตราสาหรับผู้นั้นจากกระทรวงการต่างประเทศ สถานทูตหรือสถานกงสุลของประเทศผู้ถือ
หนังสือเดินทางทูต หรือองค์การหรือหน่วยงานสหประชาชาติ
ให้จากัดเฉพาะการขอรับการตรวจลงตราเข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการ
ชั่วคราว เพื่อการปฏิบัติหน้าที่ทางราชการ
2. การตรวจลงตราประเภทราชการ
โดยผู้ถือหนังสือเดินทางราชการหรือหนังสือเดินทางสหประชาชาติที่เทียบเท่าหนังสือเดินทาง
ราชการ มายื่นขอรับการตรวจลงตราต่อสถานทูตรหรือสถานกงสุลไทย พร้อมหนังสือขอรับ
การตรวจลงตราสาหรับผู้นั้นจากกระทรวงการต่างประเทศ สถานทูตหรือสถานกงสุลของ
ประเทศผู้ถือหนังสือเดินทางราชการ หรือองค์การหรือหน่วยงานสหประชาชาติ
ให้จากัดเฉพาะการขอรับการตรวจลงตราเข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวเพื่อ
ปฏิบัติการอย่างหนึ่งอย่างใด เช่น การปฏิบัติหน้าที่ทางราชการ ธุรกิจ การลงทุนที่ได้รับ
ความเห็นชอบจากกระทรวง กรมที่เกี่ยวข้อง การลงทุนหรือการอื่นที่เกี่ยวกับการลงทุน
ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุน การศึกษาหรือดูงาน การปฏิบัติหน้าที่
สื่อมวลชน การเผยแพร่ศาสนาที่ได้รับความเห็นชอบจากกระทรวง กรมที่เกี่ยวข้อง การ
ค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ หรือการฝึกสอนในสถานบันการค้นคว้าหรือสถาบันการศึกษาใน
ราชอาณาจักร การปฏิบัติงานด้านช่างฝีมือหรือผู้เชี่ยวชาญ
3. การตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว
ให้ผู้ถือหนังสือเดินทางหรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทางยื่นขอรับการตรวจลงตราต่อ
สถานทูต สถานกงสุลไทย หรือสานักงานตรวจคนเข้าเมือง
3. การตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว
4. การตราวจลงตราประเภทนักท่องเที่ยว
(Tourist Visa)
ให้จากัดเฉพาะการขอรับการตรวจลงตราเข้ามาในราชอาณาจักรเป็น
การชั่วคราวเพื่อการท่องเที่ยว โดยผู้ถือหนังสือเดินทางหรือเอกสารใช้
แทนหนังสือเดินทางต้องยื่นขอรับการตรวจลงตราต่อสถานทูตหรือสถาน
กงสุลไทย
ในกรณีที่เดินทางมาท่องเที่ยวไม่เกิน 15 วัน อาจ
ยื่นตรวจลงตราต่อพนักงานเจ้าหน้าที่สานักงาน
ตรวจคนเข้าเมือง ณ ช่องทางอนุญาตของด่าน
ตรวจคนเข้าเมืองตามที่รัฐมนตรีกาหนดก็ได้
1. เป็นผู้มีสัญชาติของประเทศที่รัฐมนตรีกาหนดโดยความ
เห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
2. มีสัญชาติของประเทศที่ออกหนังสือเดินทางหรือเอกสารที่ใช้
แทนหนังสือเดินทาง
3. มีตั๋วหรือเอกสารที่ใช้เดินทางซึ่งชาระค่าโดยสารครบถ้วน
สาหรับใช้เดินทางกลับออกไปนอกราชอาณาจักรภายใน ไม่
เกิน 15 วันนับแต่วันที่เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร
4. การตราวจลงตราประเภทนักท่องเที่ยว
(Tourist Visa)
ข้อยกเว้น: นักท่องเที่ยวที่ถือสัญชาติของบางประเทศตามประกาศ
กระทรวงมหาดไทย ซึ่งสามารถขอรับการตรวจลงตรา ณ ช่องทางด่าน
ตรวจคนเข้าเมืองตามที่กาหนดได้ (VISA ON ARRIVAL) แต่สามารถ
พานักในราชอาณาจักรไทยได้ไม่เกิน 15 วัน
หลัก : ต้องตรวจลงตราก่อนเข้ามาในราชอาณาจักร โดยจะมีอายุการ
ตรวจลงตรา 3 เดือน หรือ 6 เดือน และสามารถพานักในราชอาณาจักร
ไทยได้ครั้งละ 60 วัน
กรณีคนต่างด้าวที่ประสงค์เข้ามาในราชอาณาจักรในฐานะ
นักท่องเที่ยว อาจได้รับยกเว้นไม่ต้องตรวจลงตราและสามารถ
พานักอยู่ในราชอาณาจักรไม่เกิน 30 วัน
4. การตราวจลงตราประเภทนักท่องเที่ยว
(Tourist Visa)
ให้จากัดเฉพาะการขอรับการตรวจลงตราเข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวเพื่อปฏิบัติการ
อย่างใดอย่างหนึ่ง ได้แก่ การเล่นกีฬา การเดินทางผ่านราชอาณาจักร และการเป็นผู้ควบคุมพาหนะ
หรือคนประจาพาหนะที่เข้ามายังท่า สถานี หรือท้องที่ในราชอาณาจักร
5. การตรวจลงตราประเภทคนเดินทางผ่าน
ราชอาณาจักร (Transit Visa)
ให้ผู้ถือหนังสือเดินทางหรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทางยื่นขอรับการตรวจลงตรา
ต่อสถานทูตหรือสถานกงสุลไทย โดยมีอายุ 3 เดือน และมีระยะเวลาในการพานักใน
ราชอาณาจักรครั้งละไม่เกิน 30 วัน
ให้จากัดเฉพาะการขอรับการตรวจลงตราเข้ามาในราชอาณาจักรเพื่อการเข้ามามีถิ่นที่อยู่
ในราชอาณาจักร ตามมาตรา 41
6. ประเภทคนเข้ามามีถิ่นที่อยู่ใน
ราชอาณาจักร
ให้ผู้ถือหนังสือเดินทางหรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทางต้องยื่นขอรับการตรวจลง
ตราต่อสถานทูตหรือสถานกงสุลไทย
ให้จากัดเฉพาะการขอรับการตรวจลงตราเพื่อกลับเข้ามามีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักร
7. ประเภทคนเข้าเมืองนอกกาหนดจานวนคนต่างด้าวซึ่ง
จะเข้ามามีถิ่นที่อยู่ในราชอาณาจักรเป็นรายปี
ให้ผู้ถือหนังสือเดินทางต้องยื่นขอรับการตรวจลงตราต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ
สานักงานตรวจคนเข้าเมืองพร้อมกับใบสาคัญถิ่นที่อยู่ที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้ทา
หลักฐานการแจ้งออกไปนอกราชอาณาจักรเพื่อกลับเข้ามาอีกตามมาตรา 50
ให้จากัดเฉพาะการขอรับการตรวจลงตราเข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวเพื่อ
ปฏิบัติการ เช่น การขอรับการตรวจลงตราของผู้ถือหนังสือเดินทางทูต หนังสือเดินทาง
ราชการ หนังสือเดินทางสหประชาชาติที่เทียบเท่าหนังสือเดินทางทูต หรือหนังสือ
เดินทางราชการ เพื่อการอื่นนอกจากการตรวจลงตราประเภททูตและการตรวจลงตรา
ประเภทราชการ
8. ประเภทอัธยาศัยไมตรี
ข้อยกเว้นการตรวจลงตรา
กฎกระทรวง กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการตรวจ การ
ยกเว้น และการเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา พ.ศ. 2545
1. ผู้ถือหนังสือเดินทางของประเทศที่รัฐบาลของประเทศนั้นได้ทาความตกลงไว้กับรัฐบาลไทย
2. ผู้ถือหนังสือเดินทางซึ่งเดินทางมาจากประเทศที่ไม่มีสถานทูตหรือสถานกงสุลไทยตั้งอยู่ตามที่รัฐมนตรี
กาหนดโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี
3. ผู้ถือหนังสือเดินทางหรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทางซึ่งเข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวเพื่อ
การท่องเที่ยว
ข้อยกเว้นการตรวจลงตรา
กฎกระทรวง กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการตรวจ การ
ยกเว้น และการเปลี่ยนประเภทการตรวจลงตรา พ.ศ. 2545
4. ผู้ถือหนังสือเดินทางหรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทางซึ่งเข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวเพื่อ
การประชุมหรือการแข่งขันกีฬาระหว่างประเทศ ซึ่งรัฐบาลไทยเป็นเจ้าภาพ หรือที่ได้รับความเห็นชอบ
จากกระทรวง กรมที่เกี่ยวข้อง
5. ผู้ถือหนังสือเดินทางหรือเอกสารใช้แทนหนังสือเดินทางของประเทศสมาชิกกลุ่มความร่วมมือทาง
เศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (ABTC) ซึ่งเข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวเพื่อประกอบธุรกิจ
อานาจรัฐมนตรีในการอนุญาตตามาตรา 17
รัฐมนตรีอาจอนุญาตให้คนต่างด้าวเข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรโดย
ได้รับยกเว้นไม่ต้องตรวจลงตราหรือเงื่อนไขอื่น ๆ ได้
ข้อห้ามในการเข้าราชอาณาจักร
1. ไม่มีปัจจัยในการยังชีพตามควรแก่กรณีที่เข้ามาในราชอาณาจักร
2. เข้ามาเพื่อมีอาชีพเป็นกรรมกร หรือเข้ามาเพื่อรับจ้างทางานด้วยกาลังกาย
โดยไม่ได้อาศัยความรู้หรือการฝึกทางวิชาการ หรือเข้ามาเพื่อทางานอื่นอัน
เป็นการฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยการทางานของคนต่างด้าว
3. วิกลจริตหรือมีโรคอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
4. ยังมิได้ปลูกฝีป้องกันไข้ทรพิษ หรือฉีดวัคซีน หรือปฏิบัติการอย่างอื่นตาม
วิชาการแพทย์ เพื่อป้องกันโรคติดต่อตามกฎหมายกาหนด และไม่ยอมให้
แพทย์ตรวจคนเข้าเมืองกระทาการเช่นว่านั้น
ข้อห้ามในการเข้าราชอาณาจักร
5. เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาของศาลไทยหรือคาสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย
หรือคาพิพากษาของศาลต่างประเทศ เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิดลหุโทษหรือ
ความผิดอันได้กระทาโดยประมาท หรือความผิดที่ยกเว้นไว้ในกฎกระทรวง
6. มีพฤติการณ์เป็นที่น่าเชื่อว่าเป็นบุคคลที่เป็นภัยต่อสังคม หรือจะก่อเหตุร้ายให้
เกิดอันตรายต่อความสงบสุขหรือความปลอดภัยของประชาชน หรือความมั่นคง
แห่งราชอาณาจักรหรือบุคคลซึ่งเจ้าหน้าที่รัฐบาลต่างประเทศได้ออกหมายจับ
7. มีพฤติการณ์เป็นที่น่าเชื่อว่าเข้ามาเพื่อการค้าประเวณี การค้าหญิงหรือเด็ก
การค้ายาเสพติดให้โทษ การลักลอบหนีภาษีศุลกากรหรือเพื่อประกอบกิจการอื่นที่
ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
ข้อห้ามในการเข้าราชอาณาจักร
8. ไม่มีเงินติดตัวหรือไม่มีประกันตามที่รัฐมนตรีประกาศ
9. รัฐมนตรีไม่อนุญาตให้เข้ามาในราชอาณาจักร
10. ถูกรัฐบาลไทยหรือรัฐบาลต่างประเทศเนรเทศ หรือถูกเพิกถอนสิทธิการอยู่
อาศัยในราชอาณาจักรหรือในต่างประเทศมาแล้ว หรือถูกพนักงานเจ้าหน้าที่
ส่งกลับออกไปนอกราชอาณาจักร โดยรัฐบาลไทยเสียค่าใช้จ่าย ทั้งนี้ เว้นแต่
รัฐมนตรีได้พิจารณายกเว้นให้เป็นกรณีพิเศษเฉพาะราย
11. การตรวจวินิจฉัยโรค ร่างกายหรือจิต ตลอดจนการปฏิบัติการเพื่อป้องกัน
โรคติดต่อให้ใช้แพทย์ตรวจคนเข้าเมือง
ข้อห้ามในการเข้าราชอาณาจักร
คนต่างด้าวที่ฝ่าฝืนข้อห้าม ตามมาตรา 12 - - > ให้อานาจ
พนักงานเจ้าหน้าที่มีคาสั่งให้คนต่างด้าวนั้นกลับออกไปนอก
ราชอาณาจักรได้ (มาตรา 22)
หลักการเข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว
เหตุแห่งการเข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว
ระยะเวลาที่จะอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักร
หน้าที่ของคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้อยู่ใน
ราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว
เหตุแห่งการเข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว
มาตรา 34 วางหลักว่า คนต่างด้าวซึ่งจะเข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราวได้
จะต้องเข้ามาเพื่อการทั้ง 15 ข้อ เช่น การปฏิบัติหน้าที่ทางทูตหรือกงสุล การปฏิบัติ
หน้าที่ทางราชการ การท่องเที่ยว การเล่นกีฬา ธุรกิจ การลงทุน การเดินทางผ่าน
ราชอาณาจักร การเป็นผู้ควบคุมพาหนะหรือคนประจาพาหนะที่เข้ามายังท่าสถานี
หรือท้องที่ในราชอาณาจักร การศึกษาหรือดูงาน การปฏิบัติหน้าที่สื่อมวลชน การ
เผยแพร่ศาสนา การค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ การปฏิบัติงานด้านช่างฝีมือ เป็นต้น
ระยะเวลาที่จะอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักร
มาตรา 35 วางหลักว่า คนต่างด้าวที่เข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว อธิบดี
หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งอธิบดีมอบหมายจะอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรภายใต้
เงื่อนไขใด ๆ ก็ได้
ระยะเวลาที่จะอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักร
ที่ เหตุที่เข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว
(มาตรา 34)
ระยะเวลาที่พานัก
(มาตรา 35)
1 การเล่นกีฬา การเดินทางผ่านราชอาณาจักร
การเป็นผู้ควบคุมพาหนะหรือคนประจาพาหนะ
ที่เข้ามายังท่าสถานี หรือท้องที่ในราชอาณาจักร
ไม่เกิน 30 วัน
2 การท่องเที่ยว ไม่เกิน 90 วัน
ระยะเวลาที่จะอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักร
ที่ เหตุที่เข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว
(มาตรา 34)
ระยะเวลาที่พานัก
(มาตรา 35)
3 ธุรกิจ การศึกษาหรือดูงาน การปฏิบัติหน้าที่
สื่อมวลชน การค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์หรือ
ฝึ ก ส อ น ใ น ส ถ า บั น ก า ร ค้ น ค ว้ า ห รื อ
สถาบันการศึกษาในราชอาณาจักร การ
ปฏิบัติงานด้านช่างฝีมือหรือผู้เชี่ยวชาญ การอื่น
ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
ไม่เกิน 1 ปี
ระยะเวลาที่จะอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักร
ที่ เหตุที่เข้ามาในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว
(มาตรา 34)
ระยะเวลาที่พานัก
(มาตรา 35)
4 การลงทุนที่ได้รับความเห็นชอบจากกระทรวง
ทบวง กรมที่เกี่ยวข้อง
ไม่เกิน 2 ปี
5 การปฏิบัติหน้าที่ทางทูตหรือกงสุล การปฏิบัติ
หน้าที่ทางราชการ
กาหนดระยะเวลาตาม
ความจาเป็น
6 การลงทุนหรือการอื่นที่เกียวกับการลงทุน
ภายใต้บังคับกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการ
ลงทุน
กาหนดระยะเวลาตามที่
คณะกรรมการส่งเสริมการ
ลงทุนพิจารณาเห็นสมควร
หน้าที่ของคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการ
ชั่วคราว
(1) ไม่ประกอบอาชีพหรือรับจ้างทางาน เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากอธิบดีหรือ
พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งอธิบดีมอบหมาย ถ้ากรณีใดมีกฎหมายว่าด้วยการทางานของคน
ต่างด้าวบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นต้องได้รับอนุญาตตามกฎหมายนั้น
(2) พักอาศัย ณ ที่ที่ได้แจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เว้นแต่ในกรณีที่มีเหตุผลสมควรไม่
สามารถพักอาศัย ณ ที่ที่ได้แจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ให้แจ้งการเปลี่ยนที่พักอาศัยต่อ
พนักงานเจ้าหน้าที่ภายในยี่สิบสี่ชั่วโมงนับแต่เวลาที่เข้าพักอาศัย
หน้าที่ของคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการ
ชั่วคราว
(3) แจ้งต่อเจ้าพนักงานตารวจ ณ สถานีตารวจท้องที่ที่คนต่างด้าวผู้นั้นพักอาศัยภายในยี่สิบสี่ชั่วโมง
นับแต่เวลาที่ย้ายไป ในกรณีเปลี่ยนที่พักอาศัย และถ้าที่พักอาศัยใหม่อยู่ต่างท้องที่กับสถานีตารวจ
ท้องที่เดิมคนต่างด้าวผู้นั้นต้องแจ้งต่อเจ้าพนักงานตารวจ ณ สถานีตารวจท้องที่ที่ไปพักอาศัยใหม่
ภายในยี่สิบสี่ชั่วโมงนับแต่เวลาที่ไปถึงด้วย) ไม่ประกอบอาชีพหรือรับจ้างทางาน เว้นแต่จะได้รับ
อนุญาตจากอธิบดีหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งอธิบดีมอบหมาย ถ้ากรณีใดมีกฎหมายว่าด้วยการทางาน
ของคนต่างด้าวบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่นต้องได้รับอนุญาตตามกฎหมายนั้น
หน้าที่ของคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตให้อยู่ในราชอาณาจักรเป็นการ
ชั่วคราว
(4) ถ้าเดินทางไปจังหวัดใดและอยู่ในจังหวัดนั้นเกินยี่สิบสี่ชั่วโมงให้คนต่างด้าวผู้นั้น
แจ้งต่อเจ้าพนักงานตารวจ ณ สถานีตารวจท้องที่ภายในสี่สิบแปดชั่วโมงนับแต่เวลาที่
ไปถึง
(5) ถ้าอยู่ในราชอาณาจักรเกินเก้าสิบวัน คนต่างด้าวผู้นั้นต้องมีหนังสือแจ้งให้
พนักงานเจ้าหน้าที่ ณ กองตรวจคนเข้าเมืองทราบถึงที่พักอาศัยของตนโดยมิชักช้าเมื่อ
ครบระยะเก้าสิบวัน และต่อไปให้กระทาเช่นเดียวกันทุกระยะเก้าสิบวัน ถ้าท้องที่ใดมีที่
ทาการตรวจคนเข้าเมืองตั้งอยู่ จะแจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ ที่ทาการตรวจคนเข้า
เมืองแห่งนั้นก็ได้
การนาพาหนะเข้ามาหรือออกไปนอกราชอาณาจักร
การเข้ามาและออกไปนอกราชอาณาจักร ณ ช่องทาง
ที่กาหนด
หน้าที่ของเจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะ
การตรวจพาหนะ
การเข้ามาและออกไปนอกราชอาณาจักร ณ ช่องทางที่กาหนด
ต้องผ่านทางช่องทางที่กฎหมายกาหนด ตามมาตรา 23
“เจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะ จะต้องนาพาหนะเข้า
มาในหรือออกไปนอกราชอาณาจักรตามช่องทาง ด่านตรวจ
คนเข้าเมือง เขตท่า สถานี หรือท้องที่และตามกาหนดเวลา
ทั้งนี้ ตามที่รัฐมนตรีจะได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา”
หน้าที่ของเจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะ
แจ้งกาหนดวันและเวลาที่พาหนะจะเข้ามาถึงหรือจะออกจากเขตท่าสถานี หรือท้องที่ต่อ
พนักงานเจ้าหน้าที่ ณ ที่ทาการตรวจคนเข้าเมืองซึ่งควบคุมเขตท่า สถานี หรือท้องที่นั้น
ยื่นรายการตามแบบที่กาหนดในกฎกระทรวงและผ่านการตรวจของพนักงานเจ้าหน้าที่
หน้าที่ของเจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะ
เจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะผู้ใดไม่ปฏิบัติตามหน้าที่ดังกล่าว ต้องระวางโทษ
จาคุกไม่เกิน 2 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
การตรวจพาหนะ
พนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจตรวจพาหนะที่เข้ามาในหรือที่จะออกไปนอกราชอาณาจักร
หรือพาหนะที่มีเหตุอันควรสงสัยว่ารับคนโดยสารเข้ามาในหรือออกไปนอก
ราชอาณาจักร เว้นแต่ในกรณีที่พาหนะนั้นได้ใช้ในราชการโดยเฉพาะของรัฐบาลไทย
หรือของรัฐบาลต่างประเทศที่ได้รับอนุญาตจากรัฐบาลไทยแล้วถานที่
โทษของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับคนต่างด้าวที่เข้าเมืองโดยมิชอบ
มาตรา 63 ผู้ใดนาหรือพาคนต่างด้าวเข้ามาในราชอาณาจักรหรือกระทาการ
ด้วยประการใด ๆ อันเป็นการอุปการะหรือช่วยเหลือ หรือให้ความสะดวกแก่คน
ต่างด้าวให้เข้ามาในราชอาณาจักร โดยฝ่าฝืนพระราชบัญญัตินี้ ต้องระวางโทษ
จาคุกไม่เกินสิบปี และปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท
โทษของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับคนต่างด้าวที่เข้าเมืองโดยมิชอบ
มาตรา 64 ผู้ใดรู้ว่าคนต่างด้าวคนใดเข้ามาในราชอาณาจักรโดยฝ่าฝืน
พระราชบัญญัตินี้ ให้เข้าพักอาศัย ซ่อนเร้น หรือช่วยด้วยประการใด ๆ เพื่อให้คน
ต่างด้าวนั้นพ้นจากการจับกุม ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินห้าปี และปรับไม่เกินห้า
หมื่นบาท
ผู้ใดให้คนต่างด้าวซึ่งเข้ามาในราชอาณาจักร โดยฝ่าฝืนพระราชบัญญัตินี้เข้าพัก
อาศัย ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้นั้นรู้ว่าคนต่างด้าวดังกล่าวเข้ามาในราชอาณาจักร
โดยฝ่าฝืนพระราชบัญญัตินี้ เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ว่า ตนไม่รู้โดยได้ใช้ความระมัดระวัง
ตามสมควรแล้ว
ความผิดทางอาญาเกี่ยวกับหนังสือเดินทางและการตรวจลงตรา
ฐานความผิดเกี่ยวกับหนังสือเดินทาง
ฐานความผิดเกี่ยวกับดวงตรา รอยตรา หรือแผ่นปะ
ตรวจลงตรา
ฐานความผิดเกี่ยวกับหนังสือเดินทาง
1. การปลอมหนังสือเดินทาง
2. การใช้หนังสือเดินทางปลอม
3.การจาหน่ายหนังสือเดินทางปลอม
ฐานความผิดเกี่ยวกับหนังสือเดินทาง
4. การนาเข้าหรือส่งออกหนังสือเดินทางปลอม
5. การใช้หนังสือเดินทางของผู้อื่นโดยมิชอบ
ฐานความผิดเกี่ยวกับดวงตรา รอยตรา หรือแผ่นปะตรวจลงตรา
1. การปลอมดวงตรา รอยตรา หรือแผ่นปะตรวจลงตรา
2. การใช้ดวงตรา รอยตรา หรือแผ่นปะตรวจลงตราที่ทาปลอมขึ้น
ฐานความผิดเกี่ยวกับดวงตรา รอยตรา หรือแผ่นปะตรวจลงตรา
4. การใช้ดวงตรา รอยตรา หรือแผ่นปะตรวจลงตราที่แท้จริงโดยมิชอบ
3. การนาเข้าหรือส่งออกดวงตรา รอยตรา หรือแผ่นปะตรวจลงตราปลอม
ท่องเที่ยว9

Contenu connexe

Tendances

1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.
chickyshare
 
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
Mint NutniCha
 
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยวบทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
재 민 Praew 김
 
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
chickyshare
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบิน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบินความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบิน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบิน
Mint NutniCha
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
Somyot Ongkhluap
 
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
Mint NutniCha
 
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการบทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
praphol
 

Tendances (20)

กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรมกฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
กฎหมายเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
 
1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.
 
T guide1
T guide1T guide1
T guide1
 
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยวบุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
 
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
 
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยวบทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
 
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาคสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น 4 ภาค
 
รายงานโปรแกรมทัวร์จำลอง ชิมแชะชิลล์ (สันทราย สันกำแพง)
รายงานโปรแกรมทัวร์จำลอง ชิมแชะชิลล์ (สันทราย   สันกำแพง)รายงานโปรแกรมทัวร์จำลอง ชิมแชะชิลล์ (สันทราย   สันกำแพง)
รายงานโปรแกรมทัวร์จำลอง ชิมแชะชิลล์ (สันทราย สันกำแพง)
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบิน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบินความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบิน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบิน
 
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
 
Cc 3 ส.ค. 58
Cc 3 ส.ค. 58Cc 3 ส.ค. 58
Cc 3 ส.ค. 58
 
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
 
บุคลิกภาพของผู้นำเสนอ
บุคลิกภาพของผู้นำเสนอบุคลิกภาพของผู้นำเสนอ
บุคลิกภาพของผู้นำเสนอ
 
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
 
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการบทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
ความเป็นไทยและการเป็นเจ้าบ้านที่ดี (อ.มานิศา ผิวจันทร์)
ความเป็นไทยและการเป็นเจ้าบ้านที่ดี (อ.มานิศา ผิวจันทร์)ความเป็นไทยและการเป็นเจ้าบ้านที่ดี (อ.มานิศา ผิวจันทร์)
ความเป็นไทยและการเป็นเจ้าบ้านที่ดี (อ.มานิศา ผิวจันทร์)
 

Plus de Nurat Puankhamma

แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
Nurat Puankhamma
 
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
Nurat Puankhamma
 

Plus de Nurat Puankhamma (13)

อายุความ
อายุความอายุความ
อายุความ
 
ท่องเที่ยว8
ท่องเที่ยว8ท่องเที่ยว8
ท่องเที่ยว8
 
6หลักทั่วไปส่วนท้าย
6หลักทั่วไปส่วนท้าย6หลักทั่วไปส่วนท้าย
6หลักทั่วไปส่วนท้าย
 
4เช็ค
4เช็ค4เช็ค
4เช็ค
 
3ตั๋วสัญญาใช้เงิน
3ตั๋วสัญญาใช้เงิน3ตั๋วสัญญาใช้เงิน
3ตั๋วสัญญาใช้เงิน
 
ความตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปิดเสรีด้านการท่องเที่ยว
ความตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปิดเสรีด้านการท่องเที่ยวความตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปิดเสรีด้านการท่องเที่ยว
ความตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับการเปิดเสรีด้านการท่องเที่ยว
 
5บริษัทมหาชนจำกัด
5บริษัทมหาชนจำกัด5บริษัทมหาชนจำกัด
5บริษัทมหาชนจำกัด
 
ประกันภัยค้ำจุน
ประกันภัยค้ำจุนประกันภัยค้ำจุน
ประกันภัยค้ำจุน
 
ประกันในการรับขน
ประกันในการรับขนประกันในการรับขน
ประกันในการรับขน
 
Time sharing
Time sharingTime sharing
Time sharing
 
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
 
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
 
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อเอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
 

ท่องเที่ยว9