SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  8
การพัฒ นาเทคโนโลยีส ารสนเทศเพื่อ ระบบการส่ง ต่อ โดย
             ใช้โ ปรแกรม ThaiRefer


 1. ความสำา คัญ และที่ม าของปัญ หาการดำา เนิน งาน
           หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า มีเป้าหมายสำาคัญคือการให้
บริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพ          และกระจายไปยังประชาชนในส่วน
ภูมิภาคอย่างทั่วถึง สามารถให้บริการสุขภาพแก่ประชาชนได้ตามขีด
ความสามารถในสถานพยาบาลแต่ละระดับ หากเป็นโรคที่ซับซ้อน ซึ่งเกิน
ขีดความสามารถของสถานพยาบาล จะต้องมีการส่งต่อผู้ป่วยไปยังสถาน
พยาบาลที่มีศักยภาพสูงกว่าตามขั้นตอน ด้วยระบบการส่งต่อ (Referral
System) ทีมประสิทธิภาพซึ่งเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายทั้งภายในจังหวัด
           ่ ี
ภายในเขตตรวจราชการ นอกเขตตรวจราชการ รวมไปถึงเครือข่ายระดับ
ประเทศ เน้นการทำางานแบบใช้หลักการ “เครือข่ายบริการที่ไร้รอยต่อ
(Seamless Health Service Network)” ที่สามารถเชื่อมโยงบริการ
สาธารณสุขทุกระดับเข้าด้วยกัน โดยไม่มีเส้นแบ่งของการปกครองหรือ
การแบ่งเขตตรวจราชการเป็นตัวขวางกั้น หากการส่งต่อผู้ป่วยมี
ประสิทธิภาพจะส่งผลให้ประชาชนได้รับบริการสุขภาพอย่างทั่วถึงตาม
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
           จังหวัดลำาปางมีสถานพยาบาลประกอบด้วยโรงพยาบาลศูนย์ ๑
แห่ง โรงพยาบาลชุมชน ๑๒ แห่ง โรงพยาบาลสังกัดกรมแพทย์ทหารบก
๑ แห่ง โรงพยาบาลมะเร็งสังกัดกรมการแพทย์ ๑ แห่ง และโรงพยาบาล
เอกชน ๑ แห่ง เดิมมีปัญหาและอุปสรรคการทำางานในระบบส่งต่อหลาย
ประการ ได้แก่
  1. ไม่มีการเชื่อมโยงข้อมูลที่สำาคัญของผู้ป่วยในการส่งต่อ เช่น
     ประวัติการรักษา การแพ้ยา การได้รับยาในปัจจุบัน รวมไปถึงผล
     ตรวจทางห้องปฏิบัติการของแต่ละสถานพยาบาล
  2. ขาดการสื่อสารและการประสานงาน เช่น ไม่มีศูนย์ประสานงานเป็น
     ศูนย์กลางการเชื่อมโยงระหว่างสถานพยาบาลที่เกี่ยวข้อง การติดต่อ
     ประสานงานซับซ้อน หลายขันตอน ทำาให้การรักษาล่าช้า
                                   ้
  3. สถานพยาบาลปลายทางขาดการเตรียมพร้อมรับเมื่อผู้ป่วยมาถึง
     เนื่องจากไม่มีข้อมูลสำาคัญจากต้นทาง ทำาให้ผู้ป่วยวิกฤตบางรายมี
     อาการทรุดลงและได้รับการรักษาล่าช้า
4. แบบบันทึกการส่งต่อผู้ป่วยทั่วไป มีเนื้อหาข้อมูลไม่ครบ เขียนไม่ชัด
     อ่านไม่ออก ขาดความสมบูรณ์ ทั้งที่มีขอมูลของผู้ป่วยแล้ว แต่
                                             ้
     แพทย์ไม่ได้เขียนลงในแบบบันทึกการส่งต่อ นอกจากนี้ยังไม่มีใบ
     ตอบกลับเมื่อให้การรักษาแล้วและส่งกลับ โรงพยาบาลต้นทางไม่
     สามารถวางแผนการรักษาต่อได้ หรือให้การรักษาที่ซำ้าซ้อน ทำาให้
     ผู้ป่วยได้รับการรักษาที่ไม่ต่อเนื่อง
  5. ไม่มีการเก็บข้อมูลเข้าในระบบฐานข้อมูลรวม ข้อมูลผู้ป่วย
     กระจัดกระจายหลากหลาย ไม่ทันสมัย การรวบรวมข้อมูลเพื่อ
     วิเคราะห์ทำาได้ยาก และไม่สามารถนำามาใช้ประโยชน์ในการ
     วางแผนพัฒนาได้
  6. ไม่มีแบบประเมินคุณภาพการรักษาผู้ป่วยเมื่อส่งต่อ กรณีที่โรง
     พยาบาลต้นทางให้การรักษาผู้ป่วยไม่เหมาะสม จึงไม่สามารถ
     วิเคราะห์คุณภาพการดูแลรักษาในภาพรวมได้
  7. ภาวะแออัดของผู้ป่วยนอกที่โรงพยาบาลศูนย์ลำาปาง เนื่องจากไม่มี
     ระบบนัดหมายที่มีประสิทธิภาพ
  8. สูญเสียค่าใช้จ่าย เช่น ค่าเดินทางกรณีส่งต่อผู้ป่วยที่ไม่จำาเป็น ค่า
     โทรศัพท์ โทรสาร กระดาษ เป็นต้น
      จากปัญหาดังกล่าวจึงเกิดแนวคิดพัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วยโดยการนำา
เทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยแก้ไข เริ่มแรกได้นำาร่องโดยใช้โปรแกรม
Refer Link ของจังหวัดร้อยเอ็ด และต่อมาได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
โดยทีมนักพัฒนาโปรแกรมของโรงพยาบาลลำาปาง ซึ่งลงมือปฏิบัติจริงใน
การส่งต่อผู้ป่วยด้วยตนเอง ร่วมกับมีเครือข่ายจากโรงพยาบาลเกือบทุก
จังหวัดในประเทศไทย ได้ร่วมกันให้ข้อมูลเพื่อปรับปรุงแก้ไข และ
ประยุกต์ให้เป็นประโยชน์แก่ผู้ป่วยอย่างเต็มที่ จนเข้าสู่การพัฒนามาเป็น
โปรแกรม ThaiRefer ในปัจจุบัน

       ลัก ษณะและคุณ สมบัต ิข องโปรแกรม ThaiRefer

  1.   เป็นโปรแกรมที่ใช้งานออนไลน์ผ่าน Internet ซึ่งสามารถเชื่อมต่อกับ
       ฐานข้อมูลระหว่างสถานพยาบาลได้หลากหลายโปรแกรม มีการ
       กำาหนดสิทธิ์การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้รหัสผ่าน มีระบบความปลอดภัย
       ในการป้องกันข้อมูลของผู้ป่วย
  2.   เมื่อติดตั้งโปรแกรมแล้วและต้องการส่งต่อผู้ป่วย โรงพยาบาลต้นทาง
       เพียงป้อนหมายเลขประจำาตัวผู้ป่วยของโรงพยาบาล (Hospital
       Number) หลังจากนั้นข้อมูลพื้นฐานและข้อมูลด้านคลินิกที่อยู่ใน
ฐานข้อมูลของโรงพยาบาลต้นทาง จะแนบมายังโรงพยาบาลปลาย
    ทางโดยอัตโนมัติ
 3. สามารถวางแผนบริหารการเตรียมรับผู้ป่วยส่งต่อ เพื่อให้การดูแล
    รักษาผู้ป่วยแบบไร้รอยต่อ เนื่องจากระบบจะทำาการคำานวณเวลาที่ผู้
    ป่วยจะมาถึงโรงพยาบาลปลายทางโดยอัตโนมัติ ทำาให้สามารถ
    เตรียมพร้อมรับผู้ป่วยล่วงหน้าได้ เช่น การทำาบัตร เตรียมสถานที่
    เครื่องมือ และบุคลากรที่เหมาะสมในการดูแลผู้ป่วยโดยเฉพาะผู้ป่วย
    วิกฤติ
 4. สั่งพิมพ์ใบส่งต่อ จากโปรแกรมได้ทันที ซึ่งอ่านง่าย มีข้อมูลครบ
    ถ้วน และไม่ต้องทำางานซำ้าซ้อน
 5. สั่งพิมพ์แบบบันทึกสัญญาณชีพระหว่างส่งต่อผู้ป่วย และแบบประเมิน
    คุณภาพการส่งต่อผู้ป่วยได้
 6. สามารถแนบรูปถ่าย ภาพเอ็กซเรย์ ภาพคลื่นไฟฟ้าหัวใจ มาพร้อม
    กับประวัติผู้ป่วย หรือขอปรึกษาทางไกลกับแพทย์เฉพาะทางเพื่อ
    ให้การรักษาที่โรงพยาบาลต้นทางได้
 7. สามารถดูรายงานผลตรวจทางห้องปฏิบัติการของทั้งโรงพยาบาล
    ต้นทางและปลายทางได้ และสามารถตรวจสอบประวัติการรักษาใน
    อดีต รวมไปถึงประวัติการใช้ยา ประวัติการแพ้ยา เป็นต้น
 8. สามารถตรวจสอบข้อมูลย้อนหลัง และมีระบบรายงานผลสามารถนำา
    ข้อมูลมาวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อวางแผนพัฒนางานได้
 9. ลักษณะการใช้งานโปรแกรมง่าย สามารถเรียนรู้ได้ไว
 10.       สามารถพัฒนาต่อยอดโปรแกรมได้ตลอดเวลา โดยไม่มีค่า
    ลิขสิทธิ์


2. วัต ถุป ระสงค์
 1. เพือพัฒนาระบบฐานข้อมูลการส่งต่อผูปวยทีมการเชือมโยงประสานกัน
       ่                             ้ ่  ่ ี    ่
    ภายในและภายนอกเครือข่าย ให้เป็นระบบส่งต่อผูปวยทีมคณภาพ
                                               ้ ่  ่ ี ุ
 2. เพือบริหารจัดการให้เกิดการส่งต่อทีรวดเร็ว เหมาะสม เกิดความราบรืน
       ่                              ่                            ่
    ในการทำางาน
 3. เพือสามารถวิเคราะห์ขอมูลสารสนเทศในระบบส่งต่อแบบองค์รวม ซึงนำา
         ่               ้                                       ่
    ไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพบริการได้


3. ขั้น ตอนการดำา เนิน งาน
1. แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบส่งต่อระดับจังหวัด โดยมีนาย
     แพทย์สาธารณสุขจังหวัดลำาปางเป็นประธาน คณะกรรมการประกอบ
     ด้วยตัวแทนจากโรงพยาบาลในเครือข่ายทุกแห่งรวมทั้งโรงพยาบาล
     นอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
  2. จัดตั้งศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วยจังหวัดลำาปางที่โรง
     พยาบาลลำาปาง โดยมีทีมสหสาขาวิชาชีพ และแพทย์เวชศาสตร์
     ฉุกเฉินอยู่ประจำาศูนย์
  3. แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อพัฒนาโปรแกรม
     ระบบส่งต่อ ThaiRefer โดยมีรองผู้อำานวยการฝ่ายการแพทย์โรง
     พยาบาลลำาปางเป็นประธาน ทีมประกอบด้วยแพทย์ พยาบาล นัก
     วิชาการคอมพิวเตอร์และผู้เกี่ยวข้องในกระบวนการส่งต่อผู้ป่วย


     ขั้น ตอนการพัฒ นาระบบฐานข้อ มูล และการจัด เก็บ
     (Database Management System) โดยใช้โ ปรแกรม
     ThaiRefer
ระยะที่ ๑ : วิเ คราะห์ส ถานการณ์ป ัจ จุบ ัน
           พบว่าการจัดเก็บข้อมูลแบบวิธีดั้งเดิม มีขั้นตอนยุ่งยาก ไม่มีการ
เชื่อมโยงข้อมูลพื้นฐานของผู้ป่วย ข้อมูลทางคลินิก และผลตรวจทางห้อง
ปฎิบัติการ ทำาให้มีการทำางานที่ซำ้าซ้อน เกิดข้อผิดพลาดได้ง่าย สิ้นเปลือง
ไม่มีการนำาข้อมูลมารวบรวมและประมวลผล เพื่อวิเคราะห์และพัฒนาเชิง
ระบบ


ระยะที่ ๒ : โครงการนำา ร่อ งโดยใช้โ ปรแกรม Refer Link
           ในเดือน มิถุนายน ๒๕๕๓ มีการทดสอบโดยใช้โปรแกรม
Refer Link จังหวัดร้อยเอ็ดเป็นต้นแบบ ในระยะแรกพบปัญหาในเรื่อง
ความไม่คุ้นเคยในการใช้งาน ความยากในการเข้าถึงข้อมูลและการใช้
งาน ความไม่เสถียรของระบบโปรแกรม ทำาให้ผู้ใช้บริการตอบรับไม่ค่อย
ดี ต่อมาได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบสารสนเทศขึ้น จึงมี
การพัฒนาโปรแกรมขึ้นเองอย่างต่อเนื่องเป็นระยะๆ หากผู้ใช้บริการพบ
ปัญหาในการใช้งาน นักวิชาการคอมพิวเตอร์จะพร้อมแก้ไขปัญหาอย่าง
ทันท่วงที และได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี


ระยะที่ ๓ : ใช้ง านจริง ในการส่ง ต่อ ผู้ป ่ว ยในเครือ ข่า ยจัง หวัด
ลำา ปาง
           ในเดือนกันยายน ๒๕๕๓ เริ่มมีการขยายผลไปยังโรงพยาบาล
ชุมชนครบทุกแห่งในจังหวัดลำาปาง มีการป้อนข้อมูลในการส่งต่อผู้ป่วย
จริงทุกราย พัฒนาระบบการเตรียมความพร้อมของสถานพยาบาลปลาย
ทาง โดยการใช้ระบบการแจ้งเตือนแบบหน้าจอแสดงเที่ยวบินของท่า
อากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งติดตั้งไว้ในห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลลำาปาง
หน้าจอจะแสดงรายชื่อผู้ป่วยเรียงลำาดับตามเวลาที่คาดว่าผู้ป่วยจะมาถึง
โรงพยาบาลลำาปาง มีการแบ่งระดับความรุนแรง แสดงการวินิจฉัยของผู้
ป่วย เพื่อให้โรงพยาบาลลำาปางเตรียมบุคลากร เครื่องมือ และสถานที่ไว้
ล่วงหน้า ทำาให้การรักษาผู้ป่วยเป็นไปอย่างต่อเนื่องไร้รอยต่อ (Seamless
Referral System)


ระยะที่ ๔ : ขยายเครือ ข่า ย

        ภายในจัง หวัด : หลังจากที่โปรแกรมมีความเสถียรมากขึ้น
และสามารถเชื่อมโยงฐานข้อมูลจากแต่ละระบบได้หลากหลาย จึงได้
ขยายผลไปยังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำาบล (รพ.สต.) ในเดือน
มกราคม ๒๕๕๔ เริ่มจากในเขตอำาเภอเมือง และอำาเภอข้างเคียง
            ต่า งจัง หวัด : โรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปจาก
หลายจังหวัดจำานวนมาก ขอติดตั้งโปรแกรมเพื่อใช้งานจริง ในระยะแรก
ได้แก่ เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน อุตรดิตถ์ กาญจนบุรี เลย และจังหวัดใน
เขตภาคใต้เกือบทั้งหมด


ระยะที่ ๕ : พัฒ นาอย่า งต่อ เนื่อ ง
             มีการพัฒนาคุุณภาพโปรแกรมอย่างต่อเนื่องไม่ตำ่ากว่า ๒๕
ครั้ง เพื่อให้โปรแกรมสะดวกต่อการใช้งานของผู้ใช้บริการมากที่สุด ซึ่ง
ต่อมาได้พัฒนามาเป็นโปรแกรม ThaiRefer Version ๑.๒ ในปัจจุบัน
โดยเพิ่มช่องทางด่วนสำาหรับส่งต่อผู้ป่วยโรคสำาคัญ เช่น โรคหลอดเลือด
สมองตีบหรืออุดตันในระยะเฉียบพลัน (Stroke fast track) โรคหลอดเลือด
หัวใจอุดตันในระยะเฉียบพลัน (STEMI fast track) มีระบบการค้นหา
ทะเบียนส่งต่อย้อนหลัง (Search Engine) ระบบตอบกลับการรักษาจาก
สถานพยาบาลปลายทาง (Refer Back) ระบบปฏิเสธการส่งต่อพร้อม
รายงาน การประเมินคุณภาพการส่งต่อ และระบบประมวลผลเพื่อสะดวก
ในการดึงข้อมูลไปใช้ในการวางแผนพัฒนาได้อีกด้วย
         แผนดำา เนิน งานของ ThaiRefer
   ต.ค.๕๕ - ธ.ค.๕๕ : ThaiRefer OPD มีระบบนัดหมายแพทย์เฉพาะ
                 ทางล่วงหน้าสำาหรับผู้ป่วยนอก เพื่อ ลดปัญหาแออัดใน
                 สถานพยาบาลปลายทาง
                     : ThaiRefer Chat สามารถโต้ตอบบทสนทนา
                 ระหว่างสถานพยาบาลต้นทาง และปลายทางได้เพื่อ
                 ปรึกษาทางไกล
                 : ThaiRefer Trauma สำาหรับผู้ป่วยอุบัติเหตุ
   ธ.ค.๕๕ - ม.ค.๕๖ : ThaiRefer GPS Tracking System ระบบ
                 ติดตามตำาแหน่งรถพยาบาลแบบ real time
   ก.พ.๕๖ - มิ.ย.๕๖ : ThaiRefer Disaster ระบบบริหารจัดการ
สารสนเทศผู้ป่วยอุบัติภัยกลุ่มชน


 4. ผลการดำา เนิน งาน /ประโยชน์ท ี่ไ ด้ร ับ
  1.   มีการเชื่อมโยงข้อมูลของผู้ป่วยเป็นระบบเดียวกัน ส่งผลให้ผู้ป่วยได้
       รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ทั้งการส่งไปรับการรักษายังสถาน
       พยาบาลที่มีศักยภาพสูงกว่า และการส่งกลับไปฟื้นฟู รักษาต่อเนื่องที่
       สถานพยาบาลต้นทาง
  2.   มีการเตรียมพร้อมรับผู้ป่วยล่วงหน้า โดยเฉพาะกรณีผู้ป่วยหนัก หรือ
       ผู้ป่วยช่องทางด่วนโรคสำาคัญ
  3.   การประสานงานการส่งต่อผู้ป่วยเป็นไปอย่างราบรื่น ลดข้อขัดแย้ง
       ระหว่างผู้ให้บริการสถานพยาบาลต่างๆ ลดระยะเวลาในการ
       ประสานงานสำาเร็จ ทำาให้ระยะเวลาการประสานงานสำาเร็จภายใน
       ๓๐ นาที เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ ๙๙.๕๙ และการประสานงานระหว่าง
แพทย์ในผู้ป่วยวิกฤต เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ ๙๒.๕๑ (เพิ่มขึ้นจากร้อยละ
      ๖๙.๔ ในปี ๒๕๕๔)
 4.   มีระบบรายงานผลที่สามารถดึงข้อมูลได้อย่างง่ายๆ เพื่อนำาไปใช้ใน
      การวางแผนพัฒนางาน
 5.   ลดการทำางานที่ซำ้าซ้อน โดยข้อมูลที่ป้อนเข้าสู่ระบบ สามารถเก็บใน
      ฐานข้อมูล และพิมพ์เป็นใบส่งต่อได้อย่างรวดเร็ว
 6.   ลดความผิดพลาดในการส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยที่สำาคัญ เช่น ข้อมูลพื้น
      ฐาน อาการสำาคัญ ผลตรวจทางห้องปฎิบัติการ และการวินิจฉัย
      เป็นต้น
 7.   ลดความแออัดในสถานพยาบาลระดับตติยภูมิ เนื่องจากมีการ
      ประสานงานล่วงหน้าผ่านโปรแกรม หากไม่จำาเป็นต้องทำาการส่งต่อผู้
      ป่วย จะให้คำาแนะนำาแก่แพทย์โรงพยาบาลต้นทางเพิ่มเติม


5. ปัจ จัย แห่ง ความสำา เร็จ
           ปัจจัยแห่งความสำาเร็จที่สำาคัญที่สุดคือ บุคลากรทุกระดับที่มี
ส่วนร่วมในระบบส่งต่อของเครือข่ายจังหวัดลำาปาง ได้แก่ ผู้บริหารระดับ
สูงที่ผลักดันนโยบาย และสนับสนุนในด้านงบประมาณ มีแพทย์
เวชศาสตร์ฉุกเฉินเป็นผู้ขับเคลื่อนหลักและประสานงานระหว่างหน่วยงาน
ต่างๆ มีพยาบาลวิชาชีพประจำาศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วยที่
ทำางานตลอด ๒๔ ชั่วโมง มีนักวิชาการคอมพิวเตอร์ที่ยินดีรับคำาแนะนำา
จากผู้ใช้โปรแกรมและนำาไปพัฒนาอย่างต่อเนื่อง มีสำานักงาน
สาธารณสุขจังหวัดลำาปาง เป็นผู้ประสานงานระหว่างโรงพยาบาลและ
หน่วยงานสาธารณสุขส่วนกลาง และมีเครือข่ายจากโรงพยาบาลทั่วทั้ง
ประเทศที่ร่วมใช้และให้คำาแนะนำา โดยมุ่งเป้าหมายที่ประโยชน์ของผู้
ป่วยเป็นหลัก (Patient center) และที่สำาคัญคือผู้ปฏิบัติงานทุกท่าน ที่ให้
ความร่วมมือและช่วยสะท้อนปัญหาการใช้งานของระบบอย่างสมำ่าเสมอ


6. การเผยแพร่
ไทยรีเฟอร์ (ThaiRefer) คือระบบสารสนเทศในการรับส่งต่อผู้
ป่วย มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้การรับส่งต่อผู้ป่วยมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว
สะดวกต่อการใช้งาน เพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้ป่วย ซึ่งพัฒนาโดยทีม
โรงพยาบาลลำาปาง ปัจจุบันมีการติดตั้งและใช้งานจริงในโรงพยาบาล
ศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป ๕๑ แห่ง โรงพยาบาลชุมชน ๒๓๑ แห่ง โรง
พยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำาบล ๔๓๖ แห่ง รวมทั้งสิ้น ๗๑๘ สถาน
พยาบาลทั่วประเทศ (ข้อมูลล่าสุดวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๕๕)




                                             นพ.ณัฐพงศ์ วงศ์วิวัฒน์
                  รองผู้อำานวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลลำาปาง
                     โทร 0 ๕๔-๒๓๗๔๐๐ โทรสาร ๐๕๔-๒๓๗๔๔๓
                             081-6710966 nutortho@gmail.com

Contenu connexe

Tendances

การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายชนิกานต์ บุญชู
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลNawanan Theera-Ampornpunt
 
TAEM10:Nurse-Neurologic emergency
TAEM10:Nurse-Neurologic emergencyTAEM10:Nurse-Neurologic emergency
TAEM10:Nurse-Neurologic emergencytaem
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ โปรตอน บรรณารักษ์
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Tang Thowr
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกPrachaya Sriswang
 
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)Utai Sukviwatsirikul
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)pueniiz
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพUtai Sukviwatsirikul
 
การบันทึกข้อมูลการให้บริการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค Hdc epi 2019
การบันทึกข้อมูลการให้บริการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค Hdc epi 2019การบันทึกข้อมูลการให้บริการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค Hdc epi 2019
การบันทึกข้อมูลการให้บริการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค Hdc epi 2019Sakarin Habusaya
 
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา Utai Sukviwatsirikul
 

Tendances (20)

การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
 
TAEM10:Nurse-Neurologic emergency
TAEM10:Nurse-Neurologic emergencyTAEM10:Nurse-Neurologic emergency
TAEM10:Nurse-Neurologic emergency
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
 
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
Six Plus Building Block สาขาสุขภาพช่องปาก 2014
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย  นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
มาตรฐานร้านยา (Standard of Drugstores) โดย นส.ภ.ทวินันท์ วงษ์ต้น
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 
Ncd nhes v_2016
Ncd nhes v_2016Ncd nhes v_2016
Ncd nhes v_2016
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
 
การบันทึกข้อมูลการให้บริการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค Hdc epi 2019
การบันทึกข้อมูลการให้บริการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค Hdc epi 2019การบันทึกข้อมูลการให้บริการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค Hdc epi 2019
การบันทึกข้อมูลการให้บริการงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค Hdc epi 2019
 
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
Gpp คู่มือการพัฒนาตนเองสู่การมีวิธีปฎิบัติที่ดีทางเภสัชกรรมในร้านยา
 

En vedette

Interhospital transfer
Interhospital transfer Interhospital transfer
Interhospital transfer taem
 
Highlight in thai refer version1.2
Highlight in thai refer version1.2Highlight in thai refer version1.2
Highlight in thai refer version1.2Lampang Hospital
 
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่องแนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่องPPtocky
 
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์งานพัฒนาบุคลากร โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
ACTEP2014: ASCC challenges in EM
ACTEP2014: ASCC challenges in EMACTEP2014: ASCC challenges in EM
ACTEP2014: ASCC challenges in EMtaem
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designtaem
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationtaem
 
(เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 3)
(เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 3)(เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 3)
(เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 3)Sambushi Kritsada
 

En vedette (20)

Interhospital transfer
Interhospital transfer Interhospital transfer
Interhospital transfer
 
Highlight in thai refer version1.2
Highlight in thai refer version1.2Highlight in thai refer version1.2
Highlight in thai refer version1.2
 
Refer link loei
Refer link loeiRefer link loei
Refer link loei
 
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่องแนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
แนวทางการพัฒนาศูนย์ดูแลต่อเนื่อง
 
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
4.10 ระเบียบปฏิบัติงานพิทักษ์และคุ้มครองสิทธิผู้ป่วย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
Social Networking in Healthcare
Social Networking in HealthcareSocial Networking in Healthcare
Social Networking in Healthcare
 
Intro kan57
Intro kan57Intro kan57
Intro kan57
 
Research Format
Research FormatResearch Format
Research Format
 
Act411 3งบดุล
Act411 3งบดุลAct411 3งบดุล
Act411 3งบดุล
 
ACTEP2014: ASCC challenges in EM
ACTEP2014: ASCC challenges in EMACTEP2014: ASCC challenges in EM
ACTEP2014: ASCC challenges in EM
 
Research Trends in Health IT
Research Trends in Health ITResearch Trends in Health IT
Research Trends in Health IT
 
Ch103 part periodic table
Ch103 part periodic tableCh103 part periodic table
Ch103 part periodic table
 
บทนำและเวกเตอร์
บทนำและเวกเตอร์บทนำและเวกเตอร์
บทนำและเวกเตอร์
 
การเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรงการเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรง
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED design
 
1ธรรมชาติของฟิสิกส์
1ธรรมชาติของฟิสิกส์1ธรรมชาติของฟิสิกส์
1ธรรมชาติของฟิสิกส์
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulation
 
(เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 3)
(เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 3)(เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 3)
(เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 3)
 
Wound management
Wound  managementWound  management
Wound management
 
Present ward muk1
Present ward muk1Present ward muk1
Present ward muk1
 

Similaire à การพัฒนาสารสนเทศ Thai refer

การบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียนการบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียนSuradet Sriangkoon
 
คอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาลคอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาลNongpla Narak
 
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009DMS Library
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554RMUTT
 
01 บทที่ 1-บทนำ แก้
01 บทที่ 1-บทนำ แก้01 บทที่ 1-บทนำ แก้
01 บทที่ 1-บทนำ แก้Jariya Kommanee
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินtaem
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลNawanan Theera-Ampornpunt
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.Pongsa Pongsathorn
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.Pongsa Pongsathorn
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง spสปสช นครสวรรค์
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2
Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2
Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Nawanan Theera-Ampornpunt
 

Similaire à การพัฒนาสารสนเทศ Thai refer (20)

EX
EXEX
EX
 
IT and Data Management in ER
IT and Data Management in ERIT and Data Management in ER
IT and Data Management in ER
 
การบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียนการบริหารจัดการข้อร้องเรียน
การบริหารจัดการข้อร้องเรียน
 
คอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาลคอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาล
 
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
 
01 บทที่ 1-บทนำ แก้
01 บทที่ 1-บทนำ แก้01 บทที่ 1-บทนำ แก้
01 บทที่ 1-บทนำ แก้
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
 
006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
 
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
รายชื่อสมาชิกกลุ่มรายชื่อสมาชิกกลุ่ม
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
006 2-2สังเคราะห์บทเรียนcupเมือง sp
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2
Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2
Overview of Information Systems in Healthcare: Part 2
 
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
Electronic Health Records: What Does The HITECH Act Teach Thailand?
 

การพัฒนาสารสนเทศ Thai refer

  • 1. การพัฒ นาเทคโนโลยีส ารสนเทศเพื่อ ระบบการส่ง ต่อ โดย ใช้โ ปรแกรม ThaiRefer 1. ความสำา คัญ และที่ม าของปัญ หาการดำา เนิน งาน หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า มีเป้าหมายสำาคัญคือการให้ บริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพ และกระจายไปยังประชาชนในส่วน ภูมิภาคอย่างทั่วถึง สามารถให้บริการสุขภาพแก่ประชาชนได้ตามขีด ความสามารถในสถานพยาบาลแต่ละระดับ หากเป็นโรคที่ซับซ้อน ซึ่งเกิน ขีดความสามารถของสถานพยาบาล จะต้องมีการส่งต่อผู้ป่วยไปยังสถาน พยาบาลที่มีศักยภาพสูงกว่าตามขั้นตอน ด้วยระบบการส่งต่อ (Referral System) ทีมประสิทธิภาพซึ่งเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายทั้งภายในจังหวัด ่ ี ภายในเขตตรวจราชการ นอกเขตตรวจราชการ รวมไปถึงเครือข่ายระดับ ประเทศ เน้นการทำางานแบบใช้หลักการ “เครือข่ายบริการที่ไร้รอยต่อ (Seamless Health Service Network)” ที่สามารถเชื่อมโยงบริการ สาธารณสุขทุกระดับเข้าด้วยกัน โดยไม่มีเส้นแบ่งของการปกครองหรือ การแบ่งเขตตรวจราชการเป็นตัวขวางกั้น หากการส่งต่อผู้ป่วยมี ประสิทธิภาพจะส่งผลให้ประชาชนได้รับบริการสุขภาพอย่างทั่วถึงตาม หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า จังหวัดลำาปางมีสถานพยาบาลประกอบด้วยโรงพยาบาลศูนย์ ๑ แห่ง โรงพยาบาลชุมชน ๑๒ แห่ง โรงพยาบาลสังกัดกรมแพทย์ทหารบก ๑ แห่ง โรงพยาบาลมะเร็งสังกัดกรมการแพทย์ ๑ แห่ง และโรงพยาบาล เอกชน ๑ แห่ง เดิมมีปัญหาและอุปสรรคการทำางานในระบบส่งต่อหลาย ประการ ได้แก่ 1. ไม่มีการเชื่อมโยงข้อมูลที่สำาคัญของผู้ป่วยในการส่งต่อ เช่น ประวัติการรักษา การแพ้ยา การได้รับยาในปัจจุบัน รวมไปถึงผล ตรวจทางห้องปฏิบัติการของแต่ละสถานพยาบาล 2. ขาดการสื่อสารและการประสานงาน เช่น ไม่มีศูนย์ประสานงานเป็น ศูนย์กลางการเชื่อมโยงระหว่างสถานพยาบาลที่เกี่ยวข้อง การติดต่อ ประสานงานซับซ้อน หลายขันตอน ทำาให้การรักษาล่าช้า ้ 3. สถานพยาบาลปลายทางขาดการเตรียมพร้อมรับเมื่อผู้ป่วยมาถึง เนื่องจากไม่มีข้อมูลสำาคัญจากต้นทาง ทำาให้ผู้ป่วยวิกฤตบางรายมี อาการทรุดลงและได้รับการรักษาล่าช้า
  • 2. 4. แบบบันทึกการส่งต่อผู้ป่วยทั่วไป มีเนื้อหาข้อมูลไม่ครบ เขียนไม่ชัด อ่านไม่ออก ขาดความสมบูรณ์ ทั้งที่มีขอมูลของผู้ป่วยแล้ว แต่ ้ แพทย์ไม่ได้เขียนลงในแบบบันทึกการส่งต่อ นอกจากนี้ยังไม่มีใบ ตอบกลับเมื่อให้การรักษาแล้วและส่งกลับ โรงพยาบาลต้นทางไม่ สามารถวางแผนการรักษาต่อได้ หรือให้การรักษาที่ซำ้าซ้อน ทำาให้ ผู้ป่วยได้รับการรักษาที่ไม่ต่อเนื่อง 5. ไม่มีการเก็บข้อมูลเข้าในระบบฐานข้อมูลรวม ข้อมูลผู้ป่วย กระจัดกระจายหลากหลาย ไม่ทันสมัย การรวบรวมข้อมูลเพื่อ วิเคราะห์ทำาได้ยาก และไม่สามารถนำามาใช้ประโยชน์ในการ วางแผนพัฒนาได้ 6. ไม่มีแบบประเมินคุณภาพการรักษาผู้ป่วยเมื่อส่งต่อ กรณีที่โรง พยาบาลต้นทางให้การรักษาผู้ป่วยไม่เหมาะสม จึงไม่สามารถ วิเคราะห์คุณภาพการดูแลรักษาในภาพรวมได้ 7. ภาวะแออัดของผู้ป่วยนอกที่โรงพยาบาลศูนย์ลำาปาง เนื่องจากไม่มี ระบบนัดหมายที่มีประสิทธิภาพ 8. สูญเสียค่าใช้จ่าย เช่น ค่าเดินทางกรณีส่งต่อผู้ป่วยที่ไม่จำาเป็น ค่า โทรศัพท์ โทรสาร กระดาษ เป็นต้น จากปัญหาดังกล่าวจึงเกิดแนวคิดพัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วยโดยการนำา เทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยแก้ไข เริ่มแรกได้นำาร่องโดยใช้โปรแกรม Refer Link ของจังหวัดร้อยเอ็ด และต่อมาได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยทีมนักพัฒนาโปรแกรมของโรงพยาบาลลำาปาง ซึ่งลงมือปฏิบัติจริงใน การส่งต่อผู้ป่วยด้วยตนเอง ร่วมกับมีเครือข่ายจากโรงพยาบาลเกือบทุก จังหวัดในประเทศไทย ได้ร่วมกันให้ข้อมูลเพื่อปรับปรุงแก้ไข และ ประยุกต์ให้เป็นประโยชน์แก่ผู้ป่วยอย่างเต็มที่ จนเข้าสู่การพัฒนามาเป็น โปรแกรม ThaiRefer ในปัจจุบัน ลัก ษณะและคุณ สมบัต ิข องโปรแกรม ThaiRefer 1. เป็นโปรแกรมที่ใช้งานออนไลน์ผ่าน Internet ซึ่งสามารถเชื่อมต่อกับ ฐานข้อมูลระหว่างสถานพยาบาลได้หลากหลายโปรแกรม มีการ กำาหนดสิทธิ์การเข้าถึงข้อมูลโดยใช้รหัสผ่าน มีระบบความปลอดภัย ในการป้องกันข้อมูลของผู้ป่วย 2. เมื่อติดตั้งโปรแกรมแล้วและต้องการส่งต่อผู้ป่วย โรงพยาบาลต้นทาง เพียงป้อนหมายเลขประจำาตัวผู้ป่วยของโรงพยาบาล (Hospital Number) หลังจากนั้นข้อมูลพื้นฐานและข้อมูลด้านคลินิกที่อยู่ใน
  • 3. ฐานข้อมูลของโรงพยาบาลต้นทาง จะแนบมายังโรงพยาบาลปลาย ทางโดยอัตโนมัติ 3. สามารถวางแผนบริหารการเตรียมรับผู้ป่วยส่งต่อ เพื่อให้การดูแล รักษาผู้ป่วยแบบไร้รอยต่อ เนื่องจากระบบจะทำาการคำานวณเวลาที่ผู้ ป่วยจะมาถึงโรงพยาบาลปลายทางโดยอัตโนมัติ ทำาให้สามารถ เตรียมพร้อมรับผู้ป่วยล่วงหน้าได้ เช่น การทำาบัตร เตรียมสถานที่ เครื่องมือ และบุคลากรที่เหมาะสมในการดูแลผู้ป่วยโดยเฉพาะผู้ป่วย วิกฤติ 4. สั่งพิมพ์ใบส่งต่อ จากโปรแกรมได้ทันที ซึ่งอ่านง่าย มีข้อมูลครบ ถ้วน และไม่ต้องทำางานซำ้าซ้อน 5. สั่งพิมพ์แบบบันทึกสัญญาณชีพระหว่างส่งต่อผู้ป่วย และแบบประเมิน คุณภาพการส่งต่อผู้ป่วยได้ 6. สามารถแนบรูปถ่าย ภาพเอ็กซเรย์ ภาพคลื่นไฟฟ้าหัวใจ มาพร้อม กับประวัติผู้ป่วย หรือขอปรึกษาทางไกลกับแพทย์เฉพาะทางเพื่อ ให้การรักษาที่โรงพยาบาลต้นทางได้ 7. สามารถดูรายงานผลตรวจทางห้องปฏิบัติการของทั้งโรงพยาบาล ต้นทางและปลายทางได้ และสามารถตรวจสอบประวัติการรักษาใน อดีต รวมไปถึงประวัติการใช้ยา ประวัติการแพ้ยา เป็นต้น 8. สามารถตรวจสอบข้อมูลย้อนหลัง และมีระบบรายงานผลสามารถนำา ข้อมูลมาวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อวางแผนพัฒนางานได้ 9. ลักษณะการใช้งานโปรแกรมง่าย สามารถเรียนรู้ได้ไว 10. สามารถพัฒนาต่อยอดโปรแกรมได้ตลอดเวลา โดยไม่มีค่า ลิขสิทธิ์ 2. วัต ถุป ระสงค์ 1. เพือพัฒนาระบบฐานข้อมูลการส่งต่อผูปวยทีมการเชือมโยงประสานกัน ่ ้ ่ ่ ี ่ ภายในและภายนอกเครือข่าย ให้เป็นระบบส่งต่อผูปวยทีมคณภาพ ้ ่ ่ ี ุ 2. เพือบริหารจัดการให้เกิดการส่งต่อทีรวดเร็ว เหมาะสม เกิดความราบรืน ่ ่ ่ ในการทำางาน 3. เพือสามารถวิเคราะห์ขอมูลสารสนเทศในระบบส่งต่อแบบองค์รวม ซึงนำา ่ ้ ่ ไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพบริการได้ 3. ขั้น ตอนการดำา เนิน งาน
  • 4. 1. แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบส่งต่อระดับจังหวัด โดยมีนาย แพทย์สาธารณสุขจังหวัดลำาปางเป็นประธาน คณะกรรมการประกอบ ด้วยตัวแทนจากโรงพยาบาลในเครือข่ายทุกแห่งรวมทั้งโรงพยาบาล นอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 2. จัดตั้งศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วยจังหวัดลำาปางที่โรง พยาบาลลำาปาง โดยมีทีมสหสาขาวิชาชีพ และแพทย์เวชศาสตร์ ฉุกเฉินอยู่ประจำาศูนย์ 3. แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อพัฒนาโปรแกรม ระบบส่งต่อ ThaiRefer โดยมีรองผู้อำานวยการฝ่ายการแพทย์โรง พยาบาลลำาปางเป็นประธาน ทีมประกอบด้วยแพทย์ พยาบาล นัก วิชาการคอมพิวเตอร์และผู้เกี่ยวข้องในกระบวนการส่งต่อผู้ป่วย ขั้น ตอนการพัฒ นาระบบฐานข้อ มูล และการจัด เก็บ (Database Management System) โดยใช้โ ปรแกรม ThaiRefer ระยะที่ ๑ : วิเ คราะห์ส ถานการณ์ป ัจ จุบ ัน พบว่าการจัดเก็บข้อมูลแบบวิธีดั้งเดิม มีขั้นตอนยุ่งยาก ไม่มีการ เชื่อมโยงข้อมูลพื้นฐานของผู้ป่วย ข้อมูลทางคลินิก และผลตรวจทางห้อง ปฎิบัติการ ทำาให้มีการทำางานที่ซำ้าซ้อน เกิดข้อผิดพลาดได้ง่าย สิ้นเปลือง ไม่มีการนำาข้อมูลมารวบรวมและประมวลผล เพื่อวิเคราะห์และพัฒนาเชิง ระบบ ระยะที่ ๒ : โครงการนำา ร่อ งโดยใช้โ ปรแกรม Refer Link ในเดือน มิถุนายน ๒๕๕๓ มีการทดสอบโดยใช้โปรแกรม Refer Link จังหวัดร้อยเอ็ดเป็นต้นแบบ ในระยะแรกพบปัญหาในเรื่อง ความไม่คุ้นเคยในการใช้งาน ความยากในการเข้าถึงข้อมูลและการใช้ งาน ความไม่เสถียรของระบบโปรแกรม ทำาให้ผู้ใช้บริการตอบรับไม่ค่อย ดี ต่อมาได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบสารสนเทศขึ้น จึงมี การพัฒนาโปรแกรมขึ้นเองอย่างต่อเนื่องเป็นระยะๆ หากผู้ใช้บริการพบ
  • 5. ปัญหาในการใช้งาน นักวิชาการคอมพิวเตอร์จะพร้อมแก้ไขปัญหาอย่าง ทันท่วงที และได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี ระยะที่ ๓ : ใช้ง านจริง ในการส่ง ต่อ ผู้ป ่ว ยในเครือ ข่า ยจัง หวัด ลำา ปาง ในเดือนกันยายน ๒๕๕๓ เริ่มมีการขยายผลไปยังโรงพยาบาล ชุมชนครบทุกแห่งในจังหวัดลำาปาง มีการป้อนข้อมูลในการส่งต่อผู้ป่วย จริงทุกราย พัฒนาระบบการเตรียมความพร้อมของสถานพยาบาลปลาย ทาง โดยการใช้ระบบการแจ้งเตือนแบบหน้าจอแสดงเที่ยวบินของท่า อากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งติดตั้งไว้ในห้องฉุกเฉินโรงพยาบาลลำาปาง หน้าจอจะแสดงรายชื่อผู้ป่วยเรียงลำาดับตามเวลาที่คาดว่าผู้ป่วยจะมาถึง โรงพยาบาลลำาปาง มีการแบ่งระดับความรุนแรง แสดงการวินิจฉัยของผู้ ป่วย เพื่อให้โรงพยาบาลลำาปางเตรียมบุคลากร เครื่องมือ และสถานที่ไว้ ล่วงหน้า ทำาให้การรักษาผู้ป่วยเป็นไปอย่างต่อเนื่องไร้รอยต่อ (Seamless Referral System) ระยะที่ ๔ : ขยายเครือ ข่า ย ภายในจัง หวัด : หลังจากที่โปรแกรมมีความเสถียรมากขึ้น และสามารถเชื่อมโยงฐานข้อมูลจากแต่ละระบบได้หลากหลาย จึงได้ ขยายผลไปยังโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำาบล (รพ.สต.) ในเดือน มกราคม ๒๕๕๔ เริ่มจากในเขตอำาเภอเมือง และอำาเภอข้างเคียง ต่า งจัง หวัด : โรงพยาบาลศูนย์และโรงพยาบาลทั่วไปจาก หลายจังหวัดจำานวนมาก ขอติดตั้งโปรแกรมเพื่อใช้งานจริง ในระยะแรก ได้แก่ เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน อุตรดิตถ์ กาญจนบุรี เลย และจังหวัดใน เขตภาคใต้เกือบทั้งหมด ระยะที่ ๕ : พัฒ นาอย่า งต่อ เนื่อ ง มีการพัฒนาคุุณภาพโปรแกรมอย่างต่อเนื่องไม่ตำ่ากว่า ๒๕ ครั้ง เพื่อให้โปรแกรมสะดวกต่อการใช้งานของผู้ใช้บริการมากที่สุด ซึ่ง
  • 6. ต่อมาได้พัฒนามาเป็นโปรแกรม ThaiRefer Version ๑.๒ ในปัจจุบัน โดยเพิ่มช่องทางด่วนสำาหรับส่งต่อผู้ป่วยโรคสำาคัญ เช่น โรคหลอดเลือด สมองตีบหรืออุดตันในระยะเฉียบพลัน (Stroke fast track) โรคหลอดเลือด หัวใจอุดตันในระยะเฉียบพลัน (STEMI fast track) มีระบบการค้นหา ทะเบียนส่งต่อย้อนหลัง (Search Engine) ระบบตอบกลับการรักษาจาก สถานพยาบาลปลายทาง (Refer Back) ระบบปฏิเสธการส่งต่อพร้อม รายงาน การประเมินคุณภาพการส่งต่อ และระบบประมวลผลเพื่อสะดวก ในการดึงข้อมูลไปใช้ในการวางแผนพัฒนาได้อีกด้วย แผนดำา เนิน งานของ ThaiRefer ต.ค.๕๕ - ธ.ค.๕๕ : ThaiRefer OPD มีระบบนัดหมายแพทย์เฉพาะ ทางล่วงหน้าสำาหรับผู้ป่วยนอก เพื่อ ลดปัญหาแออัดใน สถานพยาบาลปลายทาง : ThaiRefer Chat สามารถโต้ตอบบทสนทนา ระหว่างสถานพยาบาลต้นทาง และปลายทางได้เพื่อ ปรึกษาทางไกล : ThaiRefer Trauma สำาหรับผู้ป่วยอุบัติเหตุ ธ.ค.๕๕ - ม.ค.๕๖ : ThaiRefer GPS Tracking System ระบบ ติดตามตำาแหน่งรถพยาบาลแบบ real time ก.พ.๕๖ - มิ.ย.๕๖ : ThaiRefer Disaster ระบบบริหารจัดการ สารสนเทศผู้ป่วยอุบัติภัยกลุ่มชน 4. ผลการดำา เนิน งาน /ประโยชน์ท ี่ไ ด้ร ับ 1. มีการเชื่อมโยงข้อมูลของผู้ป่วยเป็นระบบเดียวกัน ส่งผลให้ผู้ป่วยได้ รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ทั้งการส่งไปรับการรักษายังสถาน พยาบาลที่มีศักยภาพสูงกว่า และการส่งกลับไปฟื้นฟู รักษาต่อเนื่องที่ สถานพยาบาลต้นทาง 2. มีการเตรียมพร้อมรับผู้ป่วยล่วงหน้า โดยเฉพาะกรณีผู้ป่วยหนัก หรือ ผู้ป่วยช่องทางด่วนโรคสำาคัญ 3. การประสานงานการส่งต่อผู้ป่วยเป็นไปอย่างราบรื่น ลดข้อขัดแย้ง ระหว่างผู้ให้บริการสถานพยาบาลต่างๆ ลดระยะเวลาในการ ประสานงานสำาเร็จ ทำาให้ระยะเวลาการประสานงานสำาเร็จภายใน ๓๐ นาที เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ ๙๙.๕๙ และการประสานงานระหว่าง
  • 7. แพทย์ในผู้ป่วยวิกฤต เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ ๙๒.๕๑ (เพิ่มขึ้นจากร้อยละ ๖๙.๔ ในปี ๒๕๕๔) 4. มีระบบรายงานผลที่สามารถดึงข้อมูลได้อย่างง่ายๆ เพื่อนำาไปใช้ใน การวางแผนพัฒนางาน 5. ลดการทำางานที่ซำ้าซ้อน โดยข้อมูลที่ป้อนเข้าสู่ระบบ สามารถเก็บใน ฐานข้อมูล และพิมพ์เป็นใบส่งต่อได้อย่างรวดเร็ว 6. ลดความผิดพลาดในการส่งต่อข้อมูลผู้ป่วยที่สำาคัญ เช่น ข้อมูลพื้น ฐาน อาการสำาคัญ ผลตรวจทางห้องปฎิบัติการ และการวินิจฉัย เป็นต้น 7. ลดความแออัดในสถานพยาบาลระดับตติยภูมิ เนื่องจากมีการ ประสานงานล่วงหน้าผ่านโปรแกรม หากไม่จำาเป็นต้องทำาการส่งต่อผู้ ป่วย จะให้คำาแนะนำาแก่แพทย์โรงพยาบาลต้นทางเพิ่มเติม 5. ปัจ จัย แห่ง ความสำา เร็จ ปัจจัยแห่งความสำาเร็จที่สำาคัญที่สุดคือ บุคลากรทุกระดับที่มี ส่วนร่วมในระบบส่งต่อของเครือข่ายจังหวัดลำาปาง ได้แก่ ผู้บริหารระดับ สูงที่ผลักดันนโยบาย และสนับสนุนในด้านงบประมาณ มีแพทย์ เวชศาสตร์ฉุกเฉินเป็นผู้ขับเคลื่อนหลักและประสานงานระหว่างหน่วยงาน ต่างๆ มีพยาบาลวิชาชีพประจำาศูนย์ประสานงานการรับส่งต่อผู้ป่วยที่ ทำางานตลอด ๒๔ ชั่วโมง มีนักวิชาการคอมพิวเตอร์ที่ยินดีรับคำาแนะนำา จากผู้ใช้โปรแกรมและนำาไปพัฒนาอย่างต่อเนื่อง มีสำานักงาน สาธารณสุขจังหวัดลำาปาง เป็นผู้ประสานงานระหว่างโรงพยาบาลและ หน่วยงานสาธารณสุขส่วนกลาง และมีเครือข่ายจากโรงพยาบาลทั่วทั้ง ประเทศที่ร่วมใช้และให้คำาแนะนำา โดยมุ่งเป้าหมายที่ประโยชน์ของผู้ ป่วยเป็นหลัก (Patient center) และที่สำาคัญคือผู้ปฏิบัติงานทุกท่าน ที่ให้ ความร่วมมือและช่วยสะท้อนปัญหาการใช้งานของระบบอย่างสมำ่าเสมอ 6. การเผยแพร่
  • 8. ไทยรีเฟอร์ (ThaiRefer) คือระบบสารสนเทศในการรับส่งต่อผู้ ป่วย มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้การรับส่งต่อผู้ป่วยมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว สะดวกต่อการใช้งาน เพื่อประโยชน์สูงสุดของผู้ป่วย ซึ่งพัฒนาโดยทีม โรงพยาบาลลำาปาง ปัจจุบันมีการติดตั้งและใช้งานจริงในโรงพยาบาล ศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป ๕๑ แห่ง โรงพยาบาลชุมชน ๒๓๑ แห่ง โรง พยาบาลส่งเสริมสุขภาพระดับตำาบล ๔๓๖ แห่ง รวมทั้งสิ้น ๗๑๘ สถาน พยาบาลทั่วประเทศ (ข้อมูลล่าสุดวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๕๕) นพ.ณัฐพงศ์ วงศ์วิวัฒน์ รองผู้อำานวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลลำาปาง โทร 0 ๕๔-๒๓๗๔๐๐ โทรสาร ๐๕๔-๒๓๗๔๔๓ 081-6710966 nutortho@gmail.com