SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  386
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6
่

1

คู่ม ือ ครู แผนการจัด การเรีย นรู้

สารและสมบัต ิข องสาร

ม. 4− 6

ชัน มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 4− 6
้

กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ว ิท ยาศาสตร์
ตามหลัก สูต รแกนกลางการศึก ษาขั้น พื้น ฐาน พุท ธศัก ราช
2551
คู่ม ือ ครู แผนการจัด การเรีย นรู้
ออกแบบการจัด การเรีย นรู้ม ุ่ง เน้น

คณะผู้เ ขีย น

ดร.บัญชา แสนทวี กศ.บ., ค.ม., กศ.ด.

• ยึด หลัก ว่า ผู้เ รีย นมีค วามสำา คัญ ที่ส ุด
ชนิกานต์ นุ่มมีชัย กศ.บ., กศ.ม.
• ใช้แ นวคิด Backward Design ผสม
ภาวิณี รัตนคอน วท.บ., วท.ม.
ผสานกับ แนวคิด ทฤษฎีก ารเรีย นรูต ่า ง
้
นริสรา ศรีเคลือบ วท.บ., วท.ม.
ๆ อย่า งหลากหลาย
คณะบรรณาธิก าร
• ใช้ม าตรฐานการเรีย นรู้ และตัว ชี้ว ัด
สุระ ดามาพงษ์ กศ.บ., กศ.ม.
ชั้น ปีเ ป็น เป้า หมาย
ลัดดา อินทร์พิมพ์ ค.บ. (เกียรตินิยม), ศษ.ม.
• สร้า งเสริม สมรรถนะสำา คัญ ของผู้เ รีย น
ในการสือ สาร การคิด
่
การแก้ป ัญ หา การใช้ท ัก ษะชีว ิต และ
การใช้เ ทคโนโลยี
• สร้า งเสริม พหุป ัญ ญา และความเข้า ใจที่
คงทนของผู้เ รีย น
• สร้า งเสริม ทัก ษะกระบวนการทาง
วิท ยาศาสตร์
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6
่

2

คู่ม ือ ครู แผนการจัด การเรีย นรู้

สารและสมบัต ิข องสาร ม. 4− 6

ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 4−6
กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ว ท ยาศาสตร์
ิ
ตามหลัก สูต รแกนกลางการศึก ษาขั้น พื้น ฐาน พุท ธศัก ราช 2551

คณะผู้เ ขีย น

ดร.บัญชา แสนทวี ชนิกานต์ นุ่มมีชัย ภาวิณี รัตนคอน นริสรา ศรีเคลือบ

คณะบรรณาธิก าร

สุระ ดามาพงษ์ ลัดดา อินทร์พิมพ์
สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย
ISBN 978–974–0000–00–0

สือ การเรีย นรู้ ช่ว งชั้น ที่ 4 ตามหลัก สูต รแกนกลางการศึก ษาขัน พื้น
่
้
ฐาน พุท ธศัก ราช 2551
หนัง สือ เรีย น-แบบฝึก ทัก ษะ-แผนการจัด การเรีย นรู้ ฉบับ ศธ.อนุญ าต

หนัง สือ เรีย นสาระการเรีย นรู้พ ื้น ฐาน ฉบับ ศธ. อนุญ าตให้ใ ช้ใ นสถาน
ศึก ษา
หนังสือเรียน-ปฏิบัติการ-คูมือครูฯ วิท ยาศาสตร์พ ื้น ฐาน เล่ม
่
ดำา รงชีว ิต ม. 4-6 ........ดร.บัญชา แสนทวี และคณะ
หนังสือเรียน-ปฏิบัติการ-คูมือครูฯ วิท ยาศาสตร์พ ื้น ฐาน เล่ม
่
6 .............................ดร.บัญชา แสนทวี และคณะ
หนังสือเรียน-ปฏิบัติการ-คูมือครูฯ วิท ยาศาสตร์พ ื้น ฐาน เล่ม
่
.........................ดร.บัญชา แสนทวี และคณะ
หนังสือเรียน-ปฏิบัติการ-คูมือครูฯ วิท ยาศาสตร์พ ื้น ฐาน เล่ม
่
6 ..........................ดร.บัญชา แสนทวี และคณะ
หนังสือเรียน-ปฏิบัติการ-คูมือครูฯ วิท ยาศาสตร์พ ื้น ฐาน เล่ม
่
6 .............................................ดร.บัญชา แสนทวี และคณะ
หนังสือเรียน-ปฏิบัติการ-คูมือครูฯ วิท ยาศาสตร์พ ื้น ฐาน เล่ม
่
อวกาศ ม. 4-6 ...............ดร.บัญชา แสนทวี และคณะ

1 สิง มีช ีว ิต กับ กระบวนการ
่
2 ชีว ิต กับ สิ่ง แวดล้อ ม ม. 43 สารและสมบัต ิข องสาร ม. 4-6
4 แรงและการเคลื่อ นที่ ม. 45 พลัง งาน ม.46 โลก ดาราศาสตร์ และ

แบบฝึก หัด ตรงตามหนัง สือ เรีย นสาระการเรีย นรู้พ ื้น ฐาน ของ สสวท.

แบบฝึกหัด สารและสมบัต ิข องสาร ม.
4.........................................................................................................ดร.บัญชา แสนทวี และคณะ
แบบฝึกหัด การเคลื่อ นที่แ ละพลัง งาน ม.
4 ...................................................................................................ดร.บัญชา แสนทวี และคณะ
แบบฝึกหัด โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ม.
5 .............................................................................................ดร.บัญชา แสนทวี และคณะ
แบบฝึกหัด ชีว ิต กับ สิ่ง แวดล้อ ม สิง มีช ีว ิต และกระบวนการดำา รงชีว ิต ม.
่
คำา นำา
6 .........................................................ดร.บัญชา แสนทวี และณะ

สื่อ การเรีย นรู้ส มบูร ณ์แ บบรวมเนื้อ หา -กระบวนการเรีย นรู้ สมบูร ณ์ใ นเล่ม
เดีย ว
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6
่

3

คู่มือครู แผนการจัด การเรีย นรู้ สารและสมบัต ิข องสาร
ม. 4 − 6 นี้เป็นสื่อการเรียนรู้ที่จัดทำาขึ้นโดยยึดแนวการจัดการเรียนรู้
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดย
ออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลางผสมผสานกับ
แนวคิดของ Backward Design(BwD) โดยถือว่าผู้เรียนสำาคัญที่สุด
คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร เล่มนี้ส่งเสริม
นักเรียนให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งเป็นรายบุคคลและราย
กลุ่ม เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสามารถสร้างองค์
ความรู้ได้ด้วยตนเอง ส่งเสริมนักเรียนให้เชื่อมโยงความรู้ทั้งในและ
ต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ในเชิงบูรณาการด้วยวิธีการที่หลากหลาย
สร้างสถานการณ์การเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน โดยครูมีบทบาท
หน้าที่ในการเอื้ออำานวยความสะดวกให้แก่นักเรียน เพื่อให้นักเรียนมี
คุณภาพตามสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดชั้นปี รวมทั้ง
พัฒนานักเรียนให้มีสมรรถนะสำาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตาม
ที่หลักสูตรกำาหนด เพื่อให้นักเรียนสามารถดำารงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นใน
สังคมไทยและสังคมโลกได้อย่างมีความสุข
การจัดทำาคู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์เล่มนี้ได้
จัดทำาตรงตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 ซึ่งครอบคลุมทุกสาระการเรียนรู้ ภายในเล่มได้นำาเสนอ
แผนการจัดการเรียนรู้เป็นรายชั่วโมงตามหน่วยการเรียนรู้ เพื่อครูนำา
ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ได้สะดวก นอกจากนี้แต่ละหน่วยการเรียนรู้
ยังมีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้
ด้านคุณธรรม จริยธรรม และจิตวิทยาศาสตร์ และด้านทักษะ/
กระบวนการ ทำาให้ทราบผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนแต่ละหน่วยการเรียน
รู้ได้ทันที
คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6 นี้นำา
เสนอเนื้อหาแบ่งเป็น 3 ตอน คือ
ตอนที่ 1 แนวทางการจัด แผนการจัด การเรีย นรู้ กลุ่ม สาระ
การเรีย นรูว ิท ยาศาสตร์ สารและสมบัต ข องสาร ประกอบด้วย
้
ิ
แนวทางการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ แนวคิด หลักการออกแบบการ
จัดการเรียนรู้แบบ Backward Design แนวทางการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของ
เนื้อหาในหน่วยการเรียนรู้กับสาระ มาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
และตัวชี้วัดชั้นปี และโครงสร้างการแบ่งเวลารายชั่วโมงในการจัดการ
เรียนรู้
ตอนที่ 2 แผนการจัด การเรีย นรู้ สารและสมบัต ข องสาร
ิ
ชัน มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 4− 6 ได้เสนอแนะแนวทางการจัดการเรียนรู้แต่ละ
้
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6
่

4

หน่วยการเรียนรู้ในสื่อการเรียนรู้ สมบูรณ์แบบ และหนังสือเรียนสาระ
การเรียนรู้พื้นฐาน ซึ่งแบ่งเป็นแผนย่อยรายชั่วโมง แผนการจัดการ
เรียนรู้แต่ละแผนมีองค์ประกอบครบถ้วนตามแนวทางการจัดทำา
แผนการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา
ต อ น ที่ 3 เ อ ก ส า ร /ค ว า ม รู้เ ส ริม สำา ห รั บ ค รู ประกอบด้ วยแบบ
ทดสอบต่าง ๆ และความรู้เสริมสำาหรับครูซึ่งบันทึกลงใน ซีดีรอม (CDROM)
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติ
ของสาร ม. 4−6 นี้จะเป็นประโยชน์ต่อการนำาไปประยุกต์ใช้ในการ
จัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของผู้เรียนต่อไป

คณะผู้จ ัด
ทำา
ตอนที่ 1 แนวทางการจัด แผนการจัด การเรีย นรู้ กลุ่ม สาระ
การเรีย นรู้ว ิท ยาศาสตร์
สารและสมบัต ิข อง
สาร...........................................................................

สารบัญ

แนวทางการใช้แผนการจัดการเรียนรู้
...............................................................................
แนวคิด หลักการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Backward
Design (BwD).....................
แนวทางการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551...........................................................................
ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของเนื้อหาในหน่วยการเรียนรู้
กับสาระ
มาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และตัวชี้วดชั้นปี กลุ่มสาระ
ั
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สารและสมบัติของสาร ชันมัธยมศึกษาปีที่
้
4−6.............................................................
 โครงสร้างการแบ่งเวลารายชั่วโมงในการจัดการเรียนรู้ กลุ่ม
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สารและสมบัติของสาร ชันมัธยมศึกษาปีที่
้
4−6 ......................................................
ตอนที่ 2 แผนการจัด การเรีย นรู้ สารและสมบัต ิข องสาร ชัน
้
มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 4− 6.........................
หน่ว ยการเรีย นรูท ี่ 1 โครงสร้า งของ
้
สาร.........................................................................
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6
่

5

ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบข่ายภาระ
งาน................................................
ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Backward
Design…………………………………………
ตอนที่ 1 โครงสร้า ง
อะตอม..............................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แบบจำาลองและอนุภาคมูลฐานของ
อะตอม................................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใน
อะตอม...........................................
ตอนที่ 2 ตาราง
ธาตุ..................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ตาราง
ธาตุ....................................................................
ตอนที่ 3 พัน ธะ
เคมี....................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 พันธะไอออนิกและพันธะโคเว
เลนซ์......................................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 พันธะโลหะและสถานะของ
สาร...........................................
หน่ว ยการเรีย นรูท ี่ 2 ปฏิก ิร ิย า
้
เคมี........................................................................
ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบข่ายภาระ
งาน.................................................
ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Backward
Design…………………………………………
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สมการเคมีและอัตราการเกิดปฏิกิริยา
เคมี.......................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 ความเข้มข้นและพื้นที่ผิวของสารเริ่ม
ต้น………………
ที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
เคมี................................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 อุณหภูมิที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยา
เคมี...............................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 ตัวเร่งปฏิกิริยาและธรรมชาติของสาร
ที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
เคมี.................................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 ปฏิกิริยาเคมีที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6
่

6

และสิ่ง
แวดล้อม..........................................................
หน่ว ยการเรีย นรูท ี่ 3
้
ปิโ ตรเลีย ม..............................................................................
ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบข่ายภาระ
งาน.................................................
ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Backward
Design…………………………………………
ตอนที่ 1 ปิโ ตรเลีย มและนำ้า มัน
ดิบ ..............................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 ปิโตรเลียมและนำ้ามัน
ดิบ............................................
ตอนที่ 2 แก๊ส
ธรรมชาติ..........................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 แก๊ส
ธรรมชาติ..........................................................
หน่ว ยการเรีย นรูท ี่ 4 พอลิเ ม
้
อร์.........................................................................
ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบข่ายภาระ
งาน.................................................
ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Backward
Design…………………………………………
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 ประเภทและสมบัติของพอลิเม
อร์...........................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 การสังเคราะห์พอลิเม
อร์.............................................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 พลาสติกและยางชนิดต่าง
ๆ.....................................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 เส้นใย
สังเคราะห์...........................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17 ปัญหาที่เกิดจากการใช้พอลิเม
อร์.............................................
หน่ว ยการเรีย นรูท ี่ 5 สารชีว
้
โมเลกุล .........................................................................
ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบข่ายภาระ
งาน.................................................
ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Backward
Design…………………………………………
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6
่

7

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18
คาร์โบไฮเดรต.............................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19 สมบัติบางประการของ
คาร์โบไฮเดรต................................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20 ไขมันและนำ้ามัน
...........................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 21
โปรตีน.........................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 22 โปรตีนใน
ร่างกาย........................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 23 กรดนิวคลี
อิก...............................................................
บรรณานุก รม......................................................................................
..................

ตอนที่ 1

แนวทางการจัด แผนการเรีย นรู้
กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ว ิท ยาศาสตร์
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6
่

8

สารและสมบัต ิข องสาร

1. แนวทางการใช้แ ผนการจัด การเรีย นรู้

1.1 องค์ป ระกอบของคู่ม ือ ครู แผนการจัด การเรีย นรู้

คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสารเล่มนี้จัดทำา
ขึ้นเพื่อเป็นแนวทางให้ครูใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4−6 ช่วงชั้นที่ 4 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในคู่มือครู แผนการ
จัดการเรียนรู้เล่มนี้แบ่งเนื้อหา 5 หน่วย ซึ่งแต่ละหน่วยจัดแบ่งการ
จัดการเรียนรู้เป็นรายชั่วโมง สามารถใช้ควบคู่กับสื่อการเรียนรู้ สาร
และสมบัติของสาร สมบูรณ์แบบ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4−6 และหนังสือ
เรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน สารและสมบัติของสาร ชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 4−6 ประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้ ดังนี้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 โครงสร้างของสาร
ตอนที่ 1 โครงสร้างอะตอม
ตอนที่ 2 ตารางธาตุ
ตอนที่ 3 พันธะเคมี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ปิโตรเลียม
ตอนที่ 1 ปิโตรเลียมและนำ้ามันดิบ
ตอนที่ 2 แก๊สธรรมชาติ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พอลิเมอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 สารชีวโมเลกุล
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6
่

9

รูปแบบของคู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสารเล่ม
นี้ แบ่งเนื้อหาเป็น 3 ตอน คือ
ตอนที่ 1 แนวทางการจัด แผนการจัด การเรีย นรู้ กลุ่ม สาระ
การเรีย นรูว ิท ยาศาสตร์ สารและสมบัต ข องสาร
้
ิ
ตอนนี้เป็นส่วนที่นำาเสนอภาพกว้าง ๆ ของคู่มือครู แผนการ
จัดการเรียนรู้ทั้งเล่ม ซึ่งประกอบด้วย
1) แนวทางการใช้แผนการจัดการเรียนรู้
2) แนวคิด หลักการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ
Backward design
3) แนวทางการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
4) ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของเนื้อหาในหน่วยการ
เรียนรู้กับสาระ มาตรฐานการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ และตัวชี้วัดชั้นปี กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ สารและสมบัติ
ของสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4−6
5) โครงสร้างการแบ่งเวลารายชั่วโมงในการจัดการเรียนรู้ กลุ่ม
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4−6
ต อ น ที่ 2 แ ผ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ส า ร แ ล ะ ส ม บั ต ิ ข อ ง ส า ร
ชัน มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 4− 6
้
ตอนนี้เป็นส่วนที่นำาเสนอแผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วยการ
เรียนรู้ ซึ่งเป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้อย่างละเอียดตามเนื้อหาของ
แต่ละหน่วยการเรียนรู้ ซึ่งแผนการจัดการเรียนรู้แต่ละแผน มีองค์
ประกอบครบถ้วนตามแนวทางการจัดทำาแผนการจัดการเรียนรู้ของ
สถานศึกษา
หน่วยการเรียนรู้แต่ละหน่วยมีรายละเอียด ซึ่งประกอบด้วย
1. ผัง มโนทัศ น์เ ป้า หมายการเรีย นรูแ ละขอบข่า ยภาระ
้
งาน
2. ผัง การออกแบบการจัด การเรีย นรูแ บบ Backward
้
Design (Backward Design Template) เป็นกรอบแนวคิดของ
การจัดการเรียนรู้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ แบ่งเป็น 3 ขั้น ได้แก่
ขั้นที่ 1 ผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียน
ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ ซึ่งเป็นหลัก
ฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผลการเรียนรู้ตามที่กำาหนดไว้อย่างแท้จริง
ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้ ซึ่งใช้แนวคิดการจัดการเรียนรู้
แบบ WHERETO ผสมผสานกับการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ
ธรรมชาติของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ทั้งนี้ได้ระบุว่าใน
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6
่

10

หน่วยการเรียนรู้นี้แบ่งแผนการจัดการเรียนรู้ไว้กี่แผน และแต่ละแผน
ใช้เวลาในการจัดกิจกรรมกี่ชั่วโมง
3. แผนการจัด การเรีย นรูร ายชัว โมง เป็นแผนการจัดการ
้
่
เรียนรู้แบบเรียงหัวข้อ ซึ่งประกอบด้วย
3.1 ชือ แผนการจัด การเรีย นรู้ ประกอบด้วยลำาดับที่ของแผน
่
ชื่ อ แผน เวลาเรี ย น สาระที่ ชั้ น และหน่ ว ยการเรี ย นรู้ เช่ น แผนการ
จัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แบบจำาลองและอนุภาคมูลฐานของอะตอม เวลา
1 ชั่ ว โมง สาระที่ 3 สารและสมบั ติ ข องสาร ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 4−6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 โครงสร้างของสาร
3.2 ส า ร ะ สำา คัญ เป็นความคิดรวบยอดของเนื้อหาที่นำา มาใช้
จัดการเรียนรู้ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้
3.3 ตัว ชี้ว ัด ชั้น ปี เป็นตัวชี้วัดที่ใช้ตรวจสอบนักเรียนหลังจาก
เรี ย นจบเนื้ อ หาที่ นำา เสนอในแต่ ล ะแผนการจั ด การเรี ย นรู้ นั้ น ๆ ซึ่ ง
สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร
3.4 จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร เ รี ย น รู้ เป็ น ส่ ว นที่ บ อกจุ ด มุ่ ง หมายที่
ต้องการให้เกิดขึ้นแก่นักเรียนภายหลังจากการเรียนจบในแต่ละแผน
ทั้ ง ในด้ า นความรู้ (K) ด้ า นคุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม และเจตคติ ท าง
วิทยาศาสตร์ (A) ด้านทัก ษะ/กระบวนการ (P) ซึ่งสอดคล้ องสัม พัน ธ์
กับตัวชี้วดชั้นปีและเนื้อหาในแผนการจัดการเรียนรู้นั้น ๆ
ั
3.5 ก า ร วัด แ ล ะ ป ร ะ เ มิน ผ ล ก า ร เ รีย น รู้ เป็นการตรวจสอบ
ผลการจัดการเรียนรู้ว่าหลังจากจัดการเรียนรู้ในแต่ละแผนการจัดการ
เรีย นรู้ แ ล้ ว นั กเรีย นมี พั ฒ นาการ มี ผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ย น ตามเป้ า
หมายที่คาดหวังไว้หรือไม่ และมีสิ่งที่จะต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุง
ส่ ง เสริ ม ในด้ า นใดบ้ า ง ดั ง นั้ น ในแต่ ล ะแผนการจั ด การเรี ย นรู้ จึ ง ได้
ออกแบบวิธีการและเครื่องมือในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้าน
ต่าง ๆ ของนักเรียนไว้อย่างหลากหลาย เช่น การทำาแบบทดสอบ การ
ตอบคำา ถามสั้น ๆ การตรวจผลงาน การสังเกตพฤติกรรมทั้งที่เป็นราย
บุคคลและกลุ่ม เป็นต้น โดยเน้นการปฏิบัติให้สอดคล้องและเหมาะสม
กับตัวชี้วดและมาตรฐานการเรียนรู้
ั
วิธีการและเครื่องมือในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เหล่านี้
ครูสามารถนำาไปใช้ประเมินนักเรียนได้ ทั้งในระหว่างการจัดการเรียน
รู้และการทำากิจกรรมต่าง ๆ ตลอดจนการนำาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำา
วัน
3.6 ส า ระ ก าร เ รีย น รู้ เป็นหัวข้อย่อยที่นำา มาจัดการเรียนรู้ใน
แต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ ซึ่งสอดคล้องกับสาระการเรียนรู้แกนกลาง
3.7 แ น ว ท า ง บู ร ณ า ก า ร เป็ น การเสนอแนะแนวทางการจั ด
กิจกรรมการเรียนรู้ในเรื่องที่เรียนรู้ขอแต่ละแผนให้เชื่อมโยงสัมพันธ์
กับสาระการเรียนรู้อื่น ๆ ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษา
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6
่

11

ต่างประเทศ ทั้งนี้เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าอย่างกว้างขวาง และ
สร้างองค์ความรู้ได้เต็มตามศักยภาพของแต่ละคน
3.8 กระบวนการจัด การเรีย นรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้
เป็นการเสนอแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แต่ละเรื่อง มีขั้นตอน
หลัก 3 ขั้น ได้แก่ 1. ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน 2. ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้
และ 3. ขั้นสรุป โดยขั้นการจัดการเรียนรู้ เน้นการจัดการเรียนรู้โดย
การสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ที่ประกอบด้วยขั้นตอนหลัก
5 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นสร้างความสนใจ ขั้นสำารวจและค้นหา ขั้นอธิบาย
และลงข้อสรุป ขั้นขยายความรู้และขั้นประเมิน ซึ่งรายละเอียดของการ
จัดกระบวนการเรียนรู้ดังกล่าวครูสามารถศึกษาได้จากแนวทางการจัด
กระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในตอนต่อไป
3.9 กิจ กรรมเสนอแนะเพิม เติม สำา หรับ กลุ่ม สนใจพิเ ศษ
่
เป็นกิจกรรมเสนอแนะสำาหรับให้นักเรียนได้พัฒนาเพิ่มเติมในด้านต่าง
ๆ นอกเหนือจากที่ได้จัดการเรียนรู้มาแล้วในชั่วโมงเรียน กิจกรรม
เสนอแนะมี 2 ลักษณะ คือ กิจกรรมสำาหรับผู้ที่มีความสามารถพิเศษและ
ต้องการศึกษาค้นคว้าในเนื้อหานั้น ๆ ให้ลึกซึ้งกว้างขวางยิ่งขึ้น และ
กิจกรรมสำาหรับผู้ที่ยังไม่เข้าใจเนื้อหาหรือยังไม่เกิดการเรียนรู้ตามเป้า
หมาย ซึ่งมีลักษณะเป็นการเรียนซำ้าหรือซ่อมเสริม
3.10 สื่ อ /แ ห ล่ ง ก า ร เ รี ย น รู้ เป็ น รายชื่ อ สื่ อ การเรี ย นรู้ ทุ ก
ประเภทที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ซึ่งมีทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อ
เทคโนโลยี และสื่อ บุค คล เช่น หนังสื อ เอกสารความรู้ รูป ภาพ เครื อ
ข่ายอินเทอร์เน็ต วีดิทัศน์ ปราชญ์ชาวบ้าน เป็นต้น
3.11 บัน ทึก หลัง การจัด การเรีย นรู้ เป็นส่วนที่ให้ครูบันทึก
ผลการจัดการเรียนรู้ว่าประสบความสำาเร็จหรือไม่ มีปัญหาหรือ
อุปสรรคอะไรเกิดขึ้นบ้าง ได้แก้ไขปัญหาและอุปสรรคนั้นอย่างไร และ
ข้อเสนอแนะสำาหรับการจัดการเรียนรู้ครั้งต่อไป
ตอนที่ 3 เอกสาร/ความรู้เ สริม สำา หรับ ครู
ประกอบด้วยแบบทดสอบต่างๆ และความรู้เสริมสำาหรับครู ได้
บันทึกลงในซีดีรอม โดยมิได้พิมพ์ไว้ในเล่มคู่มือครู เพื่อความสะดวก
ของครูในการนำาไปใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งประกอบ
ด้วย
1) มาตรฐานการเรีย นรู้ ตัว ชีว ด ชัน ปี และสาระการ
้ ั ้
เรีย นรู้แ กนกลาง กลุ่ม สาระการเรีย นรูว ิท ยาศาสตร์ สารและ
้
สมบัต ข องสาร ประกอบด้วย
ิ
(1) มาตรฐานการเรียนรู้ เป็นข้อกำาหนดคุณภาพของนักเรียน
ด้านความรู้ ความคิด ทักษะ/กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรม และ
เจตคติทางวิทยาศาสตร์ เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6
่

12

(2) ตัวชี้วัดชั้นปี เป็นตัวระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรู้และสามารถปฏิบัติ
ได้ รวมถึงคุณลักษณะของนักเรียนในแต่ละระดับชัน ซึ่งสอดคล้องกับ
้
มาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร
(3) สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย องค์ความรู้ ทักษะ/
กระบวนการเรียนรู้และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ซึ่งกำาหนดให้
นักเรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจำาเป็นต้องเรียนรู้ ซึ่งกลุ่ม
สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบ่งเป็น 8 สาระ
2) กระบวนการจัด การเรีย นรู้ท ใ ช้ใ นกลุ่ม สาระการ
ี่
เรีย นรู้ว ิท ยาศาสตร์ เป็นวิธีการหรือเทคนิคที่นำามาใช้ใน
กระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
3) แฟ้ม สะสมผลงาน (Portfolio) เป็นการเก็บรวบรวมผล
งานของนักเรียน โดยแสดงขันตอนในการจัดทำาแฟ้มสะสมผลงานและ
้
วิธีการคัดเลือกผลงานเพื่อเก็บในแฟ้มสะสมผลงาน
4) ผัง การออกแบบการจัด การเรีย นรูแ บบ Backward
้
Design เป็นแบบฟอร์มเพื่อให้ครูสามารถปรับปรุงแผนการจัดการ
เรียนรู้ให้สอดคล้องกับสภาพความพร้อมของนักเรียนและสถานการณ์
เฉพาะหน้า รวมทั้งใช้เป็นผลงานเพื่อเลื่อนวิทยฐานะได้ แผนการ
จัดการเรียนรู้นี้ได้อำานวยความสะดวกให้ครู โดยได้พิมพ์โครงสร้าง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ออกแบบการเรียนรู้แบบ Backward Design
ให้ครูเพิ่มเติมเฉพาะส่วนที่ครูปรับปรุงเองไว้ด้วยแล้ว
5) รูป แบบแผนการจัด การเรีย นรู้ร ายชัว โมง เป็นรูปแบบ
่
การเขียนการจัดการเรียนรู้ที่บอกรายละเอียดในแต่ละหัวข้อที่ปรากฏ
อยู่ในแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง
6) ใบงาน สารและสมบัต ิข องสาร ม. 4− 6 เป็นกิจกรรมที่
ฝึกให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริง เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ซึ่งแบ่ง
เป็นกิจกรรมการทดลอง กิจกรรมสังเกต กิจกรรมสำารวจ กิจกรรม
สืบค้นข้อมูล
7) แบบทดสอบก่อ นเรีย นและหลัง เรีย น เป็นแบบทดสอบ
แบบปรนัยและอัตนัย เพื่อใช้วัดความรู้ของนักเรียนก่อนและหลังเรียน
8) เครื่อ งมือ ประเมิน ผลด้า นคุณ ธรรม จริย ธรรม และ
เจตคติท างวิท ยาศาสตร์ เป็นเครื่องมือที่มีลักษณะเป็นแบบตรวจ
สอบรายการและมาตรประมาณค่า โดยใช้วิธีการสังเกต สอบถาม หรือ
สัมภาษณ์ ซึ่งครูสามารถนำาไปใช้ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของนักเรียนได้ ทั้งในระหว่างการจัดการเรียนรู้และการปฏิบัติกิจกรรม
ต่าง ๆ ซึ่งได้ใช้ตัวบ่งชี้คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของจิตวิทยาศาสตร์
9) เครื่อ งมือ ประเมิน ด้า นทัก ษะ/กระบวนการ เป็นเครื่อง
มือที่มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการและแบบมาตรประมาณค่า โดย
ใช้วิธีการสังเกต สอบถาม หรือสัมภาษณ์ ซึ่งครูสามารถนำาไปใช้
ประเมินทักษะ/กระบวนการของนักเรียนได้ ทั้งในระหว่างการจัดการ
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6
่

13

เรียนรู้และการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งได้ใช้ตัวบ่งชี้คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของจิตวิทยาศาสตร์
10) เครื่อ งมือ ประเมิน สมรรถนะทางวิท ยาศาสตร์แ ละ
ภาระงานของนัก เรีย นโดยใช้ม ิต ค ุณ ภาพ (Rubrics) เป็นเครื่อง
ิ
มือสำาหรับการประเมินตามสภาพจริง ที่ประกอบด้วยรายการที่ใช้
ประเมินหรือเกณฑ์ในการพิจารณาและคำาอธิบายระดับคุณภาพ มี
ตัวอย่างเครื่องมือหลายประเภท เช่น แบบสังเกต แบบสำารวจ แบบ
ประเมินการทดลอง แบบประเมินการศึกษาค้นคว้า แบบประเมินโครง
งานวิทยาศาสตร์ โครงงานทั่วไป และแบบประเมินแฟ้มสะสมผลงาน

1.2 วิธ ีก ารใช้แ ผนการจัด การเรีย นรู้

การจัดการเรียนรู้ครูควรศึกษาคู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สาร
และสมบัติของสาร ม. 4−6 และศึกษาสื่อการเรียนรู้ที่จะใช้ประกอบ
การจัดการเรียนรู้ หลังจากนั้นจึงวางแผนเตรียมจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ก็จะช่วยให้การจัดการเรียนรู้ของครูเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางของคู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้
สารและสมบัติของสาร ม. 4−6 เล่มนี้จะมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
อย่างสูงสุดก็ต่อเมื่อครูได้เตรียมการล่วงหน้า และเลือกวิธีการจัดการ
เรียนรู้ให้เหมาะสมกับนักเรียน ที่สำาคัญสถานศึกษาแต่ละแห่งมีสภาพ
แวดล้อมการเรียนรู้และสภาพนักเรียนที่แตกต่างกัน จึงเป็นไปไม่ได้ที่
คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้เล่มใด ๆ จะเหมาะสมและดีเยี่ยมสำาหรับ
สถานศึกษา ครู และนักเรียนทุกคน ดังนัน จึงเป็นหน้าทีของครูทจะ
้
่
ี่
ต้องเตรียมการจัดการเรียนรู้ พิจารณาปรับและเลือกสรรแผนการจัดการ
เรียนรู้ให้เหมาะสมกับสภาพการเรียนรู้จริงของนักเรียนและสถาน
ศึกษา

1.3 สัญ ลัก ษณ์ก ระบวนการเรีย นรู้

สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่กำาหนดไว้ที่กิจกรรมนั้นมีจุดมุ่งหมายและจุด
เน้นที่แตกต่างกันตามลักษณะของกระบวนการเรียนรู้ที่ต้องการให้
นักเรียนได้เรียนรู้ ซึ่งมีความสอดคล้องกับธรรมชาติของกลุ่มสาระการ
เรียนรู้และจุดเน้นของหลักสูตร ดังนั้นสัญลักษณ์จึงเป็นแนวทางที่เอื้อ
ประโยชน์ต่อนักเรียนที่จะศึกษาหาความรู้ตามรายละเอียดของกิจกรรม
ในสื่อการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์สมบูรณ์แบบชุดนี้ได้กำาหนดสัญลักษณ์
ไว้เป็น 2 กลุ่ม ดังนี้

สัญ ลัก ษณ์ห ลัก ของกลุ่ม สาระการเรีย นรู้ว ิท ยาศาสตร์

การสืบ ค้น ข้อ มูล
เป็นกิจกรรมที่กำาหนดให้นักเรียน
สืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ แล้วใช้ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ เช่น การลงสรุปข้อมูล เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ด้วยตนเอง
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6
่

14

การสำา รวจ เป็นกิจกรรมที่กำาหนดให้นักเรียนสำารวจ
ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ตามความคิดรวบยอดของแต่ละหัวเรื่อง แล้วใช้
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เช่น การสังเกต การจัดกระทำาและ
สื่อความหมายข้อมูล การลงสรุปข้อมูล เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ด้วย
ตนเอง
การทดลอง เป็นกิจกรรมที่กำาหนดให้นักเรียนได้ปฏิบัติ
การทดลองเพื่อพิสูจน์มโนทัศน์ที่เรียนรู้ โดยการออกแบบการทดลอง
ดำาเนินการทดลอง และสรุปผลการทดลอง แล้วใช้ทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ เช่น การสังเกต การพยากรณ์ การจัดกระทำาและสื่อ
ความหมายข้อมูล การลงสรุปข้อมูล เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ด้วยตนเอง
การสัง เกต เป็นกิจกรรมที่กำาหนดให้นักเรียนสังเกต
ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ตามความคิดรวบยอดของแต่ละหัวเรื่อง แล้วใช้
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เช่น การจำาแนกการลงสรุปข้อมูล
เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ด้วยตนเอง

สัญ ลัก ษณ์เ สริม ของกลุ่ม สาระการเรีย นรู้
วิท ยาศาสตร์

โครงงาน เป็นกิจกรรมโครงงานคัดสรรที่นำาหลักการ
แนวคิดของมโนทัศน์ในหัวเรื่องที่เรียนรู้มาใช้แก้ปัญหา
การพัฒ นากระบวนการคิด เป็นกิจกรรมที่กำาหนดให้
นักเรียนได้ใช้กระบวนการคิดเพื่อเพิ่มพูนทักษะการคิดของตนเอง
การประยุก ต์ใ ช้ใ นชีว ต ประจำา วัน เป็นกิจกรรมที่
ิ
กำาหนดให้นักเรียนต้องนำาหลักการ แนวคิดของมโนทัศน์ในหัวเรื่องที่
เรียนรู้มาใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์จริงของชีวิตประจำาวัน
การทำา ประโยชน์ใ ห้ส ัง คม เป็นกิจกรรมที่กำาหนดให้
นักเรียนนำาความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ไปปฏิบัติเพื่อให้ตระหนักในการ
ทำาประโยชน์ให้สังคม
การปฏิบ ัต ิจ ริง /ฝึก ทัก ษะ เป็นกิจกรรมที่กำาหนดให้
นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติเพื่อให้เกิดและเพิ่มพูนทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6
่

15

ความคิดสร้างสรรค์ เป็นกิจกรรมที่กำาหนดให้นักเรียนได้
ใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างสรรค์ภาระงานเพิ่มพูนทักษะการคิด
ของตนเอง

2. แนวคิด หลัก การออกแบบการจัด การเรีย นรู้แ บบ
Backward Design (BwD)

การจัดการเรียนรู้หรือการสอนเป็นงานที่ครูทุกคนต้องใช้กลวิธี
ต่าง ๆ มากมายเพื่อให้นักเรียนสนใจที่จะเรียนรู้และเกิดผลตามที่ครู
คาดหวัง การจัดการเรียนรู้จัดเป็นศาสตร์ที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถ
ตลอดจนประสบการณ์อย่างมาก ครูบางคนอาจจะละเลยเรื่องของการ
ออกแบบการจัดการเรียนรู้หรือการออกแบบการสอน ซึ่งเป็นงานที่ครู
จะต้องทำาก่อนการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้
การออกแบบการจัด การเรีย นรูท ำา อย่า งไร ทำา ไมจึง ต้อ ง
้
ออกแบบการจัด การเรีย นรู้
ครูทุกคนผ่านการศึกษาและได้เรียนรู้เกี่ยวกับการออกแบบการ
เรียนรู้มาแล้ว ในอดีตการออกแบบการเรียนรู้จะเริ่มต้นจากการกำาหนด
จุดประสงค์การเรียนรู้ การวางแผนการจัดการเรียนรู้ การดำาเนินการ
จัดการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ปัจจุบันการเรียนรู้
ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม รวม
ทั้งการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เข้ามามีบทบาท
ต่อการเรียนรู้ของนักเรียน ซึ่งนักเรียนสามารถเรียนรู้ได้จากสื่อและ
แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ที่มีอยู่รอบตัว ดังนั้นการออกแบบการจัดการเรียนรู้
จึงเป็นกระบวนการสำาคัญที่ครูจำาเป็นต้องดำาเนินการให้เหมาะสมกับ
ศักยภาพของนักเรียนแต่ละบุคคล
วิกกินส์และแม็คไท นักการศึกษาชาวอเมริกันได้เสนอแนวคิด
เกี่ยวกับการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ซึ่งเขาเรียกว่า Backward
Design ซึ่งเป็นการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ครูจะต้องกำาหนด
ผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียนก่อน โดยเขาทั้งสอง
ให้ชื่อว่า ความเข้าใจที่คงทน (Enduring Understandings) เมื่อ
กำาหนดความเข้าใจที่คงทนได้แล้ว ครูจะต้องบอกให้ได้ว่าความเข้าใจ
ที่คงทนของนักเรียนนี้เกิดจากอะไร นักเรียนจะต้องมีหรือแสดง
พฤติกรรมอะไรบ้าง ครูมีหรือใช้วิธีการวัดอะไรบ้างที่จะบอกว่านักเรียน
มีหรือแสดงพฤติกรรมเหล่านั้นแล้ว จากนั้นครูจึงนึกถึงวิธีการจัดการ
เรียนรู้ที่จะทำาให้นักเรียนเกิดความเข้าใจที่คงทนต่อไป

แนวคิด ของ Backward Design
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6
่

16

Backward Design เป็นการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ใช้
ผลลัพธ์ปลายทางเป็นหลัก ซึ่งผลลัพธ์ปลายทางนี้จะเกิดขึ้นกับ
นักเรียนก็ต่อเมื่อจบหน่วยการเรียนรู้ ทั้งนี้ครูจะต้องออกแบบการ
จัดการเรียนรู้ โดยใช้กรอบความคิดที่เป็นเหตุเป็นผลมีความสัมพันธ์
กัน จากนั้นจึงจะลงมือเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ขยายรายละเอียด
เพิ่มเติมให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพต่อไป
กรอบความคิดหลักของการออกแบบการจัดการเรียนรู้โดย
Backward Design มีขั้นตอนหลักที่สำาคัญ 3 ขั้นตอน คือ
ขั้นที่ 1 กำาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับ
นักเรียน
ขั้นที่ 2 กำาหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ ซึ่งเป็น
หลักฐานที่แสดงว่านักเรียน
มีผลการเรียนรู้ตามที่กำาหนดไว้อย่างแท้จริง
ขั้นที่ 3 วางแผนการจัดการเรียนรู้

ขั้น ที่ 1 กำา หนดผลลัพ ธ์ป ลายทางที่ต ้อ งการให้เ กิด
ขึ้น กับ นัก เรีย น

ก่อนที่จะกำาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับ
นักเรียนนั้น ครูควรตอบคำาถามสำาคัญต่อไปนี้
− นักเรียนควรจะมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถทำาสิ่งใดได้
บ้าง
− เนื้อหาสาระใดบ้างที่มีความสำาคัญต่อการสร้างความเข้าใจ
ของนักเรียนและความเข้าใจที่คงทน (Enduring Understanding)
ที่ครูต้องการจัดการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนมีอะไรบ้าง
เมื่อจะตอบคำาถามสำาคัญดังกล่าวข้างต้น ให้ครูนึกถึงเป้าหมาย
ของการศึกษา มาตรฐานการเรียนรู้ด้านเนื้อหาระดับชาติที่ปรากฏอยู่
ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 รวมทั้ง
มาตรฐานการเรียนรู้ระดับเขตพื้นที่การศึกษา หรือท้องถิ่น
การทบทวนความคาดหวังของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เนื่องจากมาตรฐานแต่ละระดับจะมีความสัมพันธ์กับเนื้อหาสาระต่าง ๆ
ซึ่งมีความแตกต่างลดหลั่นกันไป ด้วยเหตุนี้ขั้นที่ 1 ของ Backward
Design ครูจึงต้องจัดลำาดับความสำาคัญและเลือกผลลัพธ์ปลายทาง
ของนักเรียน ซึ่งเป็นผลการเรียนรู้ที่เกิดจากความเข้าใจที่คงทนต่อไป

ความเข้า ใจที่ค งทนของนัก เรีย น

ความเข้าใจที่คงทนคืออะไร ความเข้าใจที่คงทนเป็นความรู้ที่ลึก
ซึ้ง ได้แก่ ความคิดรวบยอด ความสัมพันธ์ และหลักการของเนื้อหาและ
วิชาที่นักเรียนเรียนรู้ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งเป็นความรู้ที่อิงเนื้อหา
ความรู้นี้เกิดจากการสะสมข้อมูลต่าง ๆ ของนักเรียนและเป็นองค์ความ
รู้ที่นักเรียนสร้างขึ้นด้วยตนเอง
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6
่

17

การเขีย นความเข้า ใจทีค งทนในการออกแบบการ
่
จัด การเรีย นรู้
ถ้าความเข้าใจที่คงทนหมายถึง สาระสำาคัญของสิ่งที่จะเรียนรู้
แล้ว ครูควรจะรู้ว่าสาระสำาคัญหมายถึงอะไร คำาว่า สาระสำาคัญ มาจาก
คำาว่า Concept ซึ่งนักการศึกษาของไทยแปลเป็นภาษาไทยว่า สาระ
สำาคัญ ความคิดรวบยอด มโนทัศน์ มโนมติ และสังกัป ซึ่งการเขียน
แผนการจัดการเรียนรู้นิยมใช้คำาว่า สาระสำาคัญ
สาระสำาคัญเป็นข้อความที่แสดงแก่นหรือเป้าหมายเกี่ยวกับเรื่อง
ใดเรื่องหนึ่ง เพื่อให้ได้ข้อสรุปรวมและข้อแตกต่างเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่อง
หนึ่ง โดยอาจครอบคลุมข้อเท็จจริง กฎ ทฤษฎี ประเด็น และการสรุป
สาระสำาคัญและข้อความที่มีลักษณะรวบยอดอย่างอื่น
ประเภทของสาระสำาคัญ
1. ระดับกว้าง (Broad Concept)
2. ระดับการนำาไปใช้ (Operative Concept หรือ Functional
Concept)
ตัวอย่างสาระสำาคัญระดับกว้าง
− สุขภาพของตัวอ่อนในครรภ์ขึ้นอยู่กับการปฏิบัติตนของมารดา
− พืชมีหลายชนิด มีประโยชน์ต่างกัน
ตัวอย่างสาระสำาคัญระดับนำาไปใช้
− สุขภาพของตัวอ่อนในครรภ์ขึ้นอยู่กับการปฏิบัติตนของมารดา
ในด้านการรับประทานอาหาร การเคลื่อนไหว และการรักษาสุขภาพ
จิต
− พืชมี 2 ประเภท คือ พืชล้มลุก และพืชยืนต้น พืชมีประโยชน์
ในการทำาให้มีสมดุลทางธรรมชาติ เป็นที่อยู่อาศัย เป็นยารักษาโรค
เป็นเครื่องนุ่งห่ม และทำาให้โลกสวยงาม
แนวทางการเขียนสาระสำาคัญ
1. ให้เขียนสาระสำาคัญของทุกเรื่อง โดยแยกเป็นข้อ ๆ (จำานวน
ข้อของสาระสำาคัญจะเท่ากับจำานวนเรื่อง)
2. การเขียนสาระสำาคัญที่ดีควรเป็นสาระสำาคัญระดับการนำาไป
ใช้
3. สาระสำาคัญต้องครอบคลุมประเด็นสำาคัญครบถ้วน เพราะหาก
ขาดส่วนใดไปแล้วจะทำาให้นักเรียนรับสาระสำาคัญที่ผิดไปทันที
4. การเขียนสาระสำาคัญที่จะให้ครอบคลุมประเด็นสำาคัญวิธีการ
หนึ่งคือ การเขียนแผนผังสาระสำาคัญ
ตัวอย่างการเขียนแผนผังสาระสำาคัญ

ลักษณะของสัตว์ที่
นำามา
ใช้แรงงาน
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6
่

18

ด้านการใช้
แรงงาน

ประโยชน์

ด้านการใช้เป็น
อาหาร

ด้านการเลี้ยง
ไว้ดูเล่น

ตัวอย่างสัตว์ที่นำา
มาใช้
แรงงานแต่ละด้าน
ส่วนต่าง ๆ ของสัตว์
ที่นำามาใช้เป็น
อาหาร
ส่วนต่าง ๆ ของสัตว์
แต่ละชนิดที่นำามา
ใช้
เป็นอาหาร
ลักษณะของสัตว์ที่
เลี้ยง
ไว้ดูเล่น
ตัวอย่างของสัตว์ที่
เลี้ยงไว้ดูเล่น

สาระสำาคัญของประโยชน์ของสัตว์: ประโยชน์ของสัตว์แบ่งเป็น 3 ด้าน
ได้แก่ ด้านการใช้แรงงาน ด้านการใช้เป็นอาหาร และด้านการเลี้ยงไว้
ดูเล่น
5. การเขียนสาระสำาคัญเกี่ยวกับเรื่องใดควรเขียนลักษณะเด่นที่
มองเห็นได้หรือนึกได้ออกมาเป็นข้อ ๆ แล้วจำาแนกลักษณะเหล่านั้น
เป็นลักษณะจำาเพาะและลักษณะประกอบ
6. การเขียนข้อความที่เป็นสาระสำาคัญ ควรใช้ภาษาที่มีการ
ขัดเกลาอย่างดี เลี่ยงคำาที่มีความหมายกำากวมหรือฟุ่มเฟือย

ตัว อย่า งการเขีย นสาระสำา คัญ เรื่อ ง แมลง
แมลง
ลัก ษณะ
ลัก ษณะ
จำา เพาะ
ประกอบ
มีสี
−
ü
มี 6 ขา
−
ü
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6
่

19

มีพิษ
ร้องได้
มีปีก
ลำาตัวเป็นปล้อง
มีหนวดคลำาทาง 2
เส้น
เป็นอาหารได้
ไม่มีกระดูกสัน
หลัง

−
−
ü
ü
ü

ü
ü
−
−
−

−
ü

ü
−

สาระสำาคัญของแมลง: แมลงเป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ลำาตัว
เป็น 3 ปล้อง มี 6 ขา มีหนวดคลำาทาง 2 เส้น มีปีก 2 ปีก ตัวมีสีต่างกัน
บางชนิดร้องได้ บางชนิดมีพิษ และบางชนิดเป็น
อาหารได้

ขั้น ที่ 2 กำา หนดภาระงานและการประเมิน ผลการ
เรีย นรู้ซ ึ่ง เป็น หลัก ฐานที่แ สดงว่า
นัก เรีย นมีผ ลการเรีย นรู้ต ามที่ก ำา หนดไว้อ ย่า งแท้จ ริง

เมื่อครูกำาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียน
แล้ว ก่อนที่จะดำาเนินการขั้นต่อไปขอให้ครูตอบคำาถามสำาคัญ ต่อไปนี้
− นักเรียนมีพฤติกรรมหรือแสดงออกในลักษณะใด จึงทำาให้ครู
ทราบว่า นักเรียนบรรลุผลลัพธ์ปลายทางตามที่กำาหนดไว้แล้ว
− ครูมีหลักฐานหรือใช้วิธีการใดที่สามารถระบุได้ว่า นักเรียนมี
พฤติกรรมหรือแสดงออกตามผลลัพธ์ปลายทางที่กำาหนดไว้
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามหลักการของ Backward
Design เน้นให้ครูรวบรวมหลักฐานการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่
จำาเป็นและมีหลักฐานเพียงพอที่จะกล่าวได้ว่า การจัดการเรียนรู้ทำาให้
นักเรียนเกิดผลสัมฤทธิ์แล้วไม่ใช่เรียนแค่ให้จบตามหลักสูตรหรือเรียน
ตามชุดของกิจกรรมการเรียนรู้ที่ครูกำาหนดไว้เท่านั้น วิธีการของ
Backward Design ต้องการกระตุ้นให้ครูคิดล่วงหน้าว่า ครูควรจะ
กำาหนดและรวบรวมหลักฐานเชิงประจักษ์อะไรบ้างก่อนที่จะออกแบบ
หน่วยการเรียนรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลักฐานดังกล่าวควรจะเป็นหลัก
ฐานที่สามารถใช้เป็นข้อมูลย้อนกลับ ที่มีประโยชน์สำาหรับผู้เรียนและ
ครูได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ ครูควรใช้วิธีการวัดและประเมินแบบต่อ
เนื่องอย่างไม่เป็นทางการและเป็นทางการ ตลอดระยะเวลาที่ครูจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ให้แก่นักเรียน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดที่ต้องการ
ให้ครูทำาการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ที่เรียกว่า สอนไปวัด ผลไป
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6
่

20

จึงกล่าวได้ว่าขั้นนี้ ครูควรนึกถึงพฤติกรรมหรือการแสดงออก
ของนักเรียน โดยพิจารณาจากผลงานหรือชิ้นงานที่เป็นหลักฐานเชิง
ประจักษ์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่านักเรียนเกิดผลลัพธ์ปลายทางตามเกณฑ์ที่
กำาหนดไว้แล้วและเกณฑ์ที่ใช้ประเมินควรเป็นเกณฑ์คุณภาพในรูป
ของมิติคุณภาพ (Rubrics) อย่างไรก็ตามครูอาจจะมีหลักฐานหรือใช้
วิธีการอื่น ๆ เช่น การทดสอบก่อนและหลังเรียน การสัมภาษณ์ การ
ศึกษาค้นคว้า การฝึกปฏิบัติขณะเรียนรู้ประกอบด้วยก็ได้
การกำา หนดภาระงานและการประเมิน ผลการเรีย นรู้ซ ง
ึ่
เป็น หลัก ฐานทีแ สดงว่า นัก เรีย นมีผ ล
่
การเรีย นรูต ามผลลัพ ธ์ป ลายทางทีก ำา หนดไว้แ ล้ว
้
่
หลังจากที่ครูได้กำาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับ
นักเรียนแล้ว ครูควรกำาหนดภาระงานและวิธีการประเมินผลการเรียนรู้
ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผลการเรียนรู้ตามผลลัพธ์ปลาย
ทางที่กำาหนดไว้แล้ว
ภาระงาน หมายถึง งานหรือกิจกรรมที่กำาหนดให้นักเรียน
ปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุตามจุดประสงค์การเรียนรู้/ตัวชี้วัดชั้นปี/มาตรฐาน
การเรียนรู้ที่กำาหนดไว้ ลักษณะสำาคัญของงานจะต้องเป็นงานที่
สอดคล้องกับชีวิตจริงในชีวิตประจำาวัน เป็นเหตุการณ์จริงมากกว่า
กิจกรรมที่จำาลองขึ้นเพื่อใช้ในการทดสอบ ซึ่งเรียกว่างานที่ปฏิบัติเป็น
งานที่มีความหมายต่อผู้เรียน (Meaningful Task) นอกจากนี้ งาน
และกิจกรรมจะต้องมีขอบเขตที่ชัดเจน สอดคล้องกับจุดประสงค์การ
เรียนรู้/ตัวชี้วัดชันปี/มาตรฐานการเรียนรู้ที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับ
้
นักเรียน
ทั้งนี้เมื่อได้ภาระงานครบถ้วนตามที่ต้องการแล้ว ครูจะต้องนึกถึง
วิธีการและเครื่องมือที่จะใช้วัดและประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน
ซึ่งมีอยู่มากมายหลายประเภท ครูจะต้องเลือกให้เหมาะสมกับภาระงาน
ที่นักเรียนปฏิบัติ
ตัวอย่างภาระงานเรื่อง อาหารหลัก 5 หมู่และสารอาหารใน
อาหารหลัก 5 หมู่ รวมทั้งการกำาหนดวิธีการวัดและประเมินผลการเรียน
รู้ของนักเรียนดังตาราง
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6
่

21

ตัวอย่าง ภาระงาน/ผลงาน แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง อาหารหลัก 5 หมู่และสารอาหารในอาหาร
หลัก 5 หมู่
สาระที่ 1 : สิ่ง มีช ีว ิต กับ กระบวนการดำา รงชีว ิต
มาตรฐาน ว 1.1 : เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของ
ระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทำางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สือสารสิ่งทีเรียนรู้
่
และนำาความรู้ไปใช้ในการดำารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
ตัว ชีว ด
้ ั
ชัน ปี
้
วิเคราะห์
สารอาหาร
และ
อภิปราย
ความ
จำาเป็นที่
ร่างกาย
ต้องได้รับ
สารอาหาร

สาระ
การ
เรีย นรู้
อาหาร
หลัก 5 หมู่
ความ
หมายและ
ประเภท
ของสาร
อาหาร

ภาระ
งาน/
ผล
งาน/
ชิ้น
งาน

รายงาน
เรื่อง
อาหาร
หลัก 5
หมูและ
่
สาร
อาหาร
ใน
อาหาร

การวัด และประเมิน ผล
วิธ ีก าร
เครื่อ งมือ
เกณฑ์

−ซักถาม
ความรู้

−แบบ
สัมภาษณ์

−ตรวจผล
งาน

−แบบตรวจ
สอบ
ผลงาน
−แบบ
สังเกตการณ์

−สังเกตกา
ร

−เกณฑ์
คุณภาพ
4 ระดับ
−เกณฑ์
คุณภาพ
4 ระดับ
−เกณฑ์
คุณภาพ

กิจ กรรม
การเรีย นรู้
การสำารวจสาร
อาหารที่ได้ใน
แต่ละวัน

สื่อ การเรีย นรู้

1. ภาพอาหารต่าง ๆ
2. ภาพเด็กที่มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง
และไม่แข็งแรง
3. แผนภูมิพีระมิดอาหาร
4. แบบบันทึกข้อมูลการสร้างคำาถาม
ของนักเรียนจากประเด็นปัญหาที่ศึกษา
5. แบบบันทึกข้อมูลการอภิปรายจาก
ประเด็นปัญหาที่ศึกษา
6. แบบบันทึกความรู้
คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6
่

22

ในสัดส่วน
ที่เหมาะสม
กับเพศ
และวัย

หลัก
5 หมู่

รายงาน
−สังเกตกา
ร
ทำางาน
กลุ่ม

ทำางานกลุ่ม
−แบบประเมิน
พฤติกรรม
การ
ปฏิบัติ
กิจกรรม
เป็นราย
บุคคล
และเป็นกลุ่ม

4 ระดับ
−เกณฑ์
คุณภาพ
4 ระดับ

7. ใบงานที่ 1 สำารวจสารอาหารที่ได้
ในแต่ละวัน
8. ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สารอาหารใน
อาหารหลัก 5 หมู่
9. ใบกิจกรรมที่ 2 การสำารวจสาร
อาหารในอาหารหลัก 5 หมู่
10. แบบทดสอบ เรื่อง สารอาหารใน
อาหารหลัก 5 หมู่
คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6

23

ความเข้าใจที่คงทนจะเกิดขึ้นได้ นักเรียนจะต้องมีความสามารถ
6 ประการ ได้แก่
1. การอธิบ าย ชีแ จง เป็นความสามารถที่นักเรียนแสดงออก
้
โดยการอธิบายหรือชี้แจงในสิ่งที่เรียนรู้ได้อย่างถูกต้อง สอดคล้อง มี
เหตุมีผล และ เป็นระบบ
2. การแปลความและตีค วาม เป็นความสามารถที่นักเรียน
แสดงออกโดยการแปลความและตีความได้อย่างมีความหมาย ตรง
ประเด็น กระจ่างชัด และทะลุปรุโปร่ง
3. การประยุก ต์ ดัด แปลง และนำา ไปใช้ เป็นความสามารถที่
นักเรียนแสดงออกโดยการนำาสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมี
ประสิทธิผล มีประสิทธิภาพ และคล่องแคล่ว
4. การมีม ุม มองทีห ลากหลาย เป็นความสามารถที่นักเรียน
่
แสดงออกโดยการมีมุมมองที่น่าเชื่อถือ เป็นไปได้ มีความลึกซึ้ง แจ่ม
ชัด และแปลกใหม่
5. การให้ค วามสำา คัญ ใส่ใ จในความรู้ส ก ของผูอ ื่น เป็น
ึ
้
ความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการมีความละเอียดรอบคอบ
เปิดเผย รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ระมัดระวังที่จะไม่ให้เกิดความ
กระทบกระเทือนต่อผู้อื่น
6. การรู้จ ัก ตนเอง เป็นความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดย
การมีความตระหนักรู้ สามารถประมวลผลข้อมูลจากแหล่งที่หลาก
หลาย ปรับตัวได้ รู้จักใคร่ครวญ และมีความเฉลียวฉลาด
นอกจากนี้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 ได้กำาหนดสมรรถนะสำาคัญของนักเรียนหลังจากสำาเร็จการศึกษา
ตามหลักสูตรไว้ 5 ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการสือ สาร เป็นความสามารถของ
่
นักเรียนในการถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และ
ทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์ อัน
จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อ
รองเพื่อประนีประนอม การเลือกที่จะรับและไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วย
หลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มี
ประสิทธิภาพ โดยคำานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถของนักเรียน
ในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การ
คิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดเชิงคุณธรรม และการคิดอย่างเป็นระบบ
เพื่อนำาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจเกี่ยว
กับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6
09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6

Contenu connexe

Tendances

รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้Wichai Likitponrak
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์Wichai Likitponrak
 
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551ดอกหญ้า ธรรมดา
 
ปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรkrutep
 
เล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงาน
เล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงานเล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงาน
เล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงานAusa Suradech
 
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558Anusara Sensai
 
เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์Ausa Suradech
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์Wichai Likitponrak
 
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษานำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษาOommie Banthita
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8Niraporn Pousiri
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2Aroonswat
 
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่เกษรา จุ้งลก
 
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557Anusara Sensai
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงWichai Likitponrak
 

Tendances (20)

รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการสื่อสารอย่างสรา้งสรรค์
 
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
การนำเสนอการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา 2551
 
ปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตร
 
เล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงาน
เล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงานเล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงาน
เล่ม 1 ตอนที่ 2 การสอนวิทยาศาสตร์ด้วยโครงงาน
 
Add m2-2-link
Add m2-2-linkAdd m2-2-link
Add m2-2-link
 
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
 
เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
 
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษานำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
นำเสนอองค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
260112114701
260112114701260112114701
260112114701
 
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ
11 สไลด์ประกอบการบรรยาย โครงการพัฒนาศักยภาพครูฯ
 
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
แผนการสอนปรับพื้นฐานม.4 การเคลื่อนที่
 
กลวิธีการสอน
กลวิธีการสอนกลวิธีการสอน
กลวิธีการสอน
 
Ast.c2560.4t
Ast.c2560.4tAst.c2560.4t
Ast.c2560.4t
 
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูงรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านทักษะการคิดชั้นสูง
 

Similaire à 09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6

แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6sompriaw aums
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพpronprom11
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพpronprom11
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้BiogangWichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)Wichai Likitponrak
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfPattie Pattie
 
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2krupornpana55
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...Weerachat Martluplao
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----Alatreon Deathqz
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานคนสวย ฉัน
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้krupornpana55
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3sompriaw aums
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรmaturos1984
 

Similaire à 09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6 (20)

แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพแผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
แผนการจัดการเรียนรู้การงาน วพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogangแผนการจัดการเรียนรู้Biogang
แผนการจัดการเรียนรู้Biogang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอนวัตกรรม หน้า 2
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 

09 52 01-0084 แผนฯ สารและสมบัติของสาร ม 4-6

  • 1. คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6 ่ 1 คู่ม ือ ครู แผนการจัด การเรีย นรู้ สารและสมบัต ิข องสาร ม. 4− 6 ชัน มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 4− 6 ้ กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ว ิท ยาศาสตร์ ตามหลัก สูต รแกนกลางการศึก ษาขั้น พื้น ฐาน พุท ธศัก ราช 2551 คู่ม ือ ครู แผนการจัด การเรีย นรู้ ออกแบบการจัด การเรีย นรู้ม ุ่ง เน้น คณะผู้เ ขีย น ดร.บัญชา แสนทวี กศ.บ., ค.ม., กศ.ด. • ยึด หลัก ว่า ผู้เ รีย นมีค วามสำา คัญ ที่ส ุด ชนิกานต์ นุ่มมีชัย กศ.บ., กศ.ม. • ใช้แ นวคิด Backward Design ผสม ภาวิณี รัตนคอน วท.บ., วท.ม. ผสานกับ แนวคิด ทฤษฎีก ารเรีย นรูต ่า ง ้ นริสรา ศรีเคลือบ วท.บ., วท.ม. ๆ อย่า งหลากหลาย คณะบรรณาธิก าร • ใช้ม าตรฐานการเรีย นรู้ และตัว ชี้ว ัด สุระ ดามาพงษ์ กศ.บ., กศ.ม. ชั้น ปีเ ป็น เป้า หมาย ลัดดา อินทร์พิมพ์ ค.บ. (เกียรตินิยม), ศษ.ม. • สร้า งเสริม สมรรถนะสำา คัญ ของผู้เ รีย น ในการสือ สาร การคิด ่ การแก้ป ัญ หา การใช้ท ัก ษะชีว ิต และ การใช้เ ทคโนโลยี • สร้า งเสริม พหุป ัญ ญา และความเข้า ใจที่ คงทนของผู้เ รีย น • สร้า งเสริม ทัก ษะกระบวนการทาง วิท ยาศาสตร์
  • 2. คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6 ่ 2 คู่ม ือ ครู แผนการจัด การเรีย นรู้ สารและสมบัต ิข องสาร ม. 4− 6 ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 4−6 กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ว ท ยาศาสตร์ ิ ตามหลัก สูต รแกนกลางการศึก ษาขั้น พื้น ฐาน พุท ธศัก ราช 2551 คณะผู้เ ขีย น ดร.บัญชา แสนทวี ชนิกานต์ นุ่มมีชัย ภาวิณี รัตนคอน นริสรา ศรีเคลือบ คณะบรรณาธิก าร สุระ ดามาพงษ์ ลัดดา อินทร์พิมพ์ สงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย ISBN 978–974–0000–00–0 สือ การเรีย นรู้ ช่ว งชั้น ที่ 4 ตามหลัก สูต รแกนกลางการศึก ษาขัน พื้น ่ ้ ฐาน พุท ธศัก ราช 2551 หนัง สือ เรีย น-แบบฝึก ทัก ษะ-แผนการจัด การเรีย นรู้ ฉบับ ศธ.อนุญ าต หนัง สือ เรีย นสาระการเรีย นรู้พ ื้น ฐาน ฉบับ ศธ. อนุญ าตให้ใ ช้ใ นสถาน ศึก ษา หนังสือเรียน-ปฏิบัติการ-คูมือครูฯ วิท ยาศาสตร์พ ื้น ฐาน เล่ม ่ ดำา รงชีว ิต ม. 4-6 ........ดร.บัญชา แสนทวี และคณะ หนังสือเรียน-ปฏิบัติการ-คูมือครูฯ วิท ยาศาสตร์พ ื้น ฐาน เล่ม ่ 6 .............................ดร.บัญชา แสนทวี และคณะ หนังสือเรียน-ปฏิบัติการ-คูมือครูฯ วิท ยาศาสตร์พ ื้น ฐาน เล่ม ่ .........................ดร.บัญชา แสนทวี และคณะ หนังสือเรียน-ปฏิบัติการ-คูมือครูฯ วิท ยาศาสตร์พ ื้น ฐาน เล่ม ่ 6 ..........................ดร.บัญชา แสนทวี และคณะ หนังสือเรียน-ปฏิบัติการ-คูมือครูฯ วิท ยาศาสตร์พ ื้น ฐาน เล่ม ่ 6 .............................................ดร.บัญชา แสนทวี และคณะ หนังสือเรียน-ปฏิบัติการ-คูมือครูฯ วิท ยาศาสตร์พ ื้น ฐาน เล่ม ่ อวกาศ ม. 4-6 ...............ดร.บัญชา แสนทวี และคณะ 1 สิง มีช ีว ิต กับ กระบวนการ ่ 2 ชีว ิต กับ สิ่ง แวดล้อ ม ม. 43 สารและสมบัต ิข องสาร ม. 4-6 4 แรงและการเคลื่อ นที่ ม. 45 พลัง งาน ม.46 โลก ดาราศาสตร์ และ แบบฝึก หัด ตรงตามหนัง สือ เรีย นสาระการเรีย นรู้พ ื้น ฐาน ของ สสวท. แบบฝึกหัด สารและสมบัต ิข องสาร ม. 4.........................................................................................................ดร.บัญชา แสนทวี และคณะ แบบฝึกหัด การเคลื่อ นที่แ ละพลัง งาน ม. 4 ...................................................................................................ดร.บัญชา แสนทวี และคณะ แบบฝึกหัด โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ม. 5 .............................................................................................ดร.บัญชา แสนทวี และคณะ แบบฝึกหัด ชีว ิต กับ สิ่ง แวดล้อ ม สิง มีช ีว ิต และกระบวนการดำา รงชีว ิต ม. ่ คำา นำา 6 .........................................................ดร.บัญชา แสนทวี และณะ สื่อ การเรีย นรู้ส มบูร ณ์แ บบรวมเนื้อ หา -กระบวนการเรีย นรู้ สมบูร ณ์ใ นเล่ม เดีย ว
  • 3. คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6 ่ 3 คู่มือครู แผนการจัด การเรีย นรู้ สารและสมบัต ิข องสาร ม. 4 − 6 นี้เป็นสื่อการเรียนรู้ที่จัดทำาขึ้นโดยยึดแนวการจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดย ออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลางผสมผสานกับ แนวคิดของ Backward Design(BwD) โดยถือว่าผู้เรียนสำาคัญที่สุด คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร เล่มนี้ส่งเสริม นักเรียนให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งเป็นรายบุคคลและราย กลุ่ม เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสามารถสร้างองค์ ความรู้ได้ด้วยตนเอง ส่งเสริมนักเรียนให้เชื่อมโยงความรู้ทั้งในและ ต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ในเชิงบูรณาการด้วยวิธีการที่หลากหลาย สร้างสถานการณ์การเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน โดยครูมีบทบาท หน้าที่ในการเอื้ออำานวยความสะดวกให้แก่นักเรียน เพื่อให้นักเรียนมี คุณภาพตามสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดชั้นปี รวมทั้ง พัฒนานักเรียนให้มีสมรรถนะสำาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตาม ที่หลักสูตรกำาหนด เพื่อให้นักเรียนสามารถดำารงชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อื่นใน สังคมไทยและสังคมโลกได้อย่างมีความสุข การจัดทำาคู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์เล่มนี้ได้ จัดทำาตรงตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งครอบคลุมทุกสาระการเรียนรู้ ภายในเล่มได้นำาเสนอ แผนการจัดการเรียนรู้เป็นรายชั่วโมงตามหน่วยการเรียนรู้ เพื่อครูนำา ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ได้สะดวก นอกจากนี้แต่ละหน่วยการเรียนรู้ ยังมีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้ ด้านคุณธรรม จริยธรรม และจิตวิทยาศาสตร์ และด้านทักษะ/ กระบวนการ ทำาให้ทราบผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนแต่ละหน่วยการเรียน รู้ได้ทันที คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6 นี้นำา เสนอเนื้อหาแบ่งเป็น 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 แนวทางการจัด แผนการจัด การเรีย นรู้ กลุ่ม สาระ การเรีย นรูว ิท ยาศาสตร์ สารและสมบัต ข องสาร ประกอบด้วย ้ ิ แนวทางการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ แนวคิด หลักการออกแบบการ จัดการเรียนรู้แบบ Backward Design แนวทางการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของ เนื้อหาในหน่วยการเรียนรู้กับสาระ มาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และตัวชี้วัดชั้นปี และโครงสร้างการแบ่งเวลารายชั่วโมงในการจัดการ เรียนรู้ ตอนที่ 2 แผนการจัด การเรีย นรู้ สารและสมบัต ข องสาร ิ ชัน มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 4− 6 ได้เสนอแนะแนวทางการจัดการเรียนรู้แต่ละ ้
  • 4. คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6 ่ 4 หน่วยการเรียนรู้ในสื่อการเรียนรู้ สมบูรณ์แบบ และหนังสือเรียนสาระ การเรียนรู้พื้นฐาน ซึ่งแบ่งเป็นแผนย่อยรายชั่วโมง แผนการจัดการ เรียนรู้แต่ละแผนมีองค์ประกอบครบถ้วนตามแนวทางการจัดทำา แผนการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษา ต อ น ที่ 3 เ อ ก ส า ร /ค ว า ม รู้เ ส ริม สำา ห รั บ ค รู ประกอบด้ วยแบบ ทดสอบต่าง ๆ และความรู้เสริมสำาหรับครูซึ่งบันทึกลงใน ซีดีรอม (CDROM) หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติ ของสาร ม. 4−6 นี้จะเป็นประโยชน์ต่อการนำาไปประยุกต์ใช้ในการ จัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของผู้เรียนต่อไป คณะผู้จ ัด ทำา ตอนที่ 1 แนวทางการจัด แผนการจัด การเรีย นรู้ กลุ่ม สาระ การเรีย นรู้ว ิท ยาศาสตร์ สารและสมบัต ิข อง สาร........................................................................... สารบัญ แนวทางการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ............................................................................... แนวคิด หลักการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Backward Design (BwD)..................... แนวทางการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551........................................................................... ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของเนื้อหาในหน่วยการเรียนรู้ กับสาระ มาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และตัวชี้วดชั้นปี กลุ่มสาระ ั การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สารและสมบัติของสาร ชันมัธยมศึกษาปีที่ ้ 4−6.............................................................  โครงสร้างการแบ่งเวลารายชั่วโมงในการจัดการเรียนรู้ กลุ่ม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สารและสมบัติของสาร ชันมัธยมศึกษาปีที่ ้ 4−6 ...................................................... ตอนที่ 2 แผนการจัด การเรีย นรู้ สารและสมบัต ิข องสาร ชัน ้ มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 4− 6......................... หน่ว ยการเรีย นรูท ี่ 1 โครงสร้า งของ ้ สาร.........................................................................
  • 5. คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6 ่ 5 ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบข่ายภาระ งาน................................................ ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Backward Design………………………………………… ตอนที่ 1 โครงสร้า ง อะตอม.............................................................................. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แบบจำาลองและอนุภาคมูลฐานของ อะตอม................................ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใน อะตอม........................................... ตอนที่ 2 ตาราง ธาตุ.................................................................................. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ตาราง ธาตุ.................................................................... ตอนที่ 3 พัน ธะ เคมี.................................................................................... แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 พันธะไอออนิกและพันธะโคเว เลนซ์...................................... แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 พันธะโลหะและสถานะของ สาร........................................... หน่ว ยการเรีย นรูท ี่ 2 ปฏิก ิร ิย า ้ เคมี........................................................................ ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบข่ายภาระ งาน................................................. ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Backward Design………………………………………… แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สมการเคมีและอัตราการเกิดปฏิกิริยา เคมี....................... แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 ความเข้มข้นและพื้นที่ผิวของสารเริ่ม ต้น……………… ที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา เคมี................................ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 อุณหภูมิที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยา เคมี............................... แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 ตัวเร่งปฏิกิริยาและธรรมชาติของสาร ที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา เคมี................................. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 ปฏิกิริยาเคมีที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต
  • 6. คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6 ่ 6 และสิ่ง แวดล้อม.......................................................... หน่ว ยการเรีย นรูท ี่ 3 ้ ปิโ ตรเลีย ม.............................................................................. ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบข่ายภาระ งาน................................................. ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Backward Design………………………………………… ตอนที่ 1 ปิโ ตรเลีย มและนำ้า มัน ดิบ .............................................................. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 ปิโตรเลียมและนำ้ามัน ดิบ............................................ ตอนที่ 2 แก๊ส ธรรมชาติ.......................................................................... แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 แก๊ส ธรรมชาติ.......................................................... หน่ว ยการเรีย นรูท ี่ 4 พอลิเ ม ้ อร์......................................................................... ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบข่ายภาระ งาน................................................. ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Backward Design………………………………………… แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 ประเภทและสมบัติของพอลิเม อร์........................... แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 การสังเคราะห์พอลิเม อร์............................................. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 พลาสติกและยางชนิดต่าง ๆ..................................... แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 เส้นใย สังเคราะห์........................................................... แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17 ปัญหาที่เกิดจากการใช้พอลิเม อร์............................................. หน่ว ยการเรีย นรูท ี่ 5 สารชีว ้ โมเลกุล ......................................................................... ผังมโนทัศน์เป้าหมายการเรียนรู้และขอบข่ายภาระ งาน................................................. ผังการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Backward Design…………………………………………
  • 7. คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6 ่ 7 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18 คาร์โบไฮเดรต............................................................. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19 สมบัติบางประการของ คาร์โบไฮเดรต................................ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20 ไขมันและนำ้ามัน ........................................................... แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 21 โปรตีน......................................................................... แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 22 โปรตีนใน ร่างกาย........................................................ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 23 กรดนิวคลี อิก............................................................... บรรณานุก รม...................................................................................... .................. ตอนที่ 1 แนวทางการจัด แผนการเรีย นรู้ กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ว ิท ยาศาสตร์
  • 8. คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6 ่ 8 สารและสมบัต ิข องสาร 1. แนวทางการใช้แ ผนการจัด การเรีย นรู้ 1.1 องค์ป ระกอบของคู่ม ือ ครู แผนการจัด การเรีย นรู้ คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสารเล่มนี้จัดทำา ขึ้นเพื่อเป็นแนวทางให้ครูใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4−6 ช่วงชั้นที่ 4 ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในคู่มือครู แผนการ จัดการเรียนรู้เล่มนี้แบ่งเนื้อหา 5 หน่วย ซึ่งแต่ละหน่วยจัดแบ่งการ จัดการเรียนรู้เป็นรายชั่วโมง สามารถใช้ควบคู่กับสื่อการเรียนรู้ สาร และสมบัติของสาร สมบูรณ์แบบ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4−6 และหนังสือ เรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน สารและสมบัติของสาร ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4−6 ประกอบด้วยหน่วยการเรียนรู้ ดังนี้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 โครงสร้างของสาร ตอนที่ 1 โครงสร้างอะตอม ตอนที่ 2 ตารางธาตุ ตอนที่ 3 พันธะเคมี หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ปิโตรเลียม ตอนที่ 1 ปิโตรเลียมและนำ้ามันดิบ ตอนที่ 2 แก๊สธรรมชาติ หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พอลิเมอร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 สารชีวโมเลกุล
  • 9. คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6 ่ 9 รูปแบบของคู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสารเล่ม นี้ แบ่งเนื้อหาเป็น 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 แนวทางการจัด แผนการจัด การเรีย นรู้ กลุ่ม สาระ การเรีย นรูว ิท ยาศาสตร์ สารและสมบัต ข องสาร ้ ิ ตอนนี้เป็นส่วนที่นำาเสนอภาพกว้าง ๆ ของคู่มือครู แผนการ จัดการเรียนรู้ทั้งเล่ม ซึ่งประกอบด้วย 1) แนวทางการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แนวคิด หลักการออกแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Backward design 3) แนวทางการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 4) ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องของเนื้อหาในหน่วยการ เรียนรู้กับสาระ มาตรฐานการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ และตัวชี้วัดชั้นปี กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ สารและสมบัติ ของสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4−6 5) โครงสร้างการแบ่งเวลารายชั่วโมงในการจัดการเรียนรู้ กลุ่ม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4−6 ต อ น ที่ 2 แ ผ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ส า ร แ ล ะ ส ม บั ต ิ ข อ ง ส า ร ชัน มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 4− 6 ้ ตอนนี้เป็นส่วนที่นำาเสนอแผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วยการ เรียนรู้ ซึ่งเป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้อย่างละเอียดตามเนื้อหาของ แต่ละหน่วยการเรียนรู้ ซึ่งแผนการจัดการเรียนรู้แต่ละแผน มีองค์ ประกอบครบถ้วนตามแนวทางการจัดทำาแผนการจัดการเรียนรู้ของ สถานศึกษา หน่วยการเรียนรู้แต่ละหน่วยมีรายละเอียด ซึ่งประกอบด้วย 1. ผัง มโนทัศ น์เ ป้า หมายการเรีย นรูแ ละขอบข่า ยภาระ ้ งาน 2. ผัง การออกแบบการจัด การเรีย นรูแ บบ Backward ้ Design (Backward Design Template) เป็นกรอบแนวคิดของ การจัดการเรียนรู้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ แบ่งเป็น 3 ขั้น ได้แก่ ขั้นที่ 1 ผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียน ขั้นที่ 2 ภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ ซึ่งเป็นหลัก ฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผลการเรียนรู้ตามที่กำาหนดไว้อย่างแท้จริง ขั้นที่ 3 แผนการจัดการเรียนรู้ ซึ่งใช้แนวคิดการจัดการเรียนรู้ แบบ WHERETO ผสมผสานกับการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ ธรรมชาติของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ทั้งนี้ได้ระบุว่าใน
  • 10. คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6 ่ 10 หน่วยการเรียนรู้นี้แบ่งแผนการจัดการเรียนรู้ไว้กี่แผน และแต่ละแผน ใช้เวลาในการจัดกิจกรรมกี่ชั่วโมง 3. แผนการจัด การเรีย นรูร ายชัว โมง เป็นแผนการจัดการ ้ ่ เรียนรู้แบบเรียงหัวข้อ ซึ่งประกอบด้วย 3.1 ชือ แผนการจัด การเรีย นรู้ ประกอบด้วยลำาดับที่ของแผน ่ ชื่ อ แผน เวลาเรี ย น สาระที่ ชั้ น และหน่ ว ยการเรี ย นรู้ เช่ น แผนการ จัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง แบบจำาลองและอนุภาคมูลฐานของอะตอม เวลา 1 ชั่ ว โมง สาระที่ 3 สารและสมบั ติ ข องสาร ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 4−6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 โครงสร้างของสาร 3.2 ส า ร ะ สำา คัญ เป็นความคิดรวบยอดของเนื้อหาที่นำา มาใช้ จัดการเรียนรู้ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ 3.3 ตัว ชี้ว ัด ชั้น ปี เป็นตัวชี้วัดที่ใช้ตรวจสอบนักเรียนหลังจาก เรี ย นจบเนื้ อ หาที่ นำา เสนอในแต่ ล ะแผนการจั ด การเรี ย นรู้ นั้ น ๆ ซึ่ ง สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร 3.4 จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร เ รี ย น รู้ เป็ น ส่ ว นที่ บ อกจุ ด มุ่ ง หมายที่ ต้องการให้เกิดขึ้นแก่นักเรียนภายหลังจากการเรียนจบในแต่ละแผน ทั้ ง ในด้ า นความรู้ (K) ด้ า นคุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม และเจตคติ ท าง วิทยาศาสตร์ (A) ด้านทัก ษะ/กระบวนการ (P) ซึ่งสอดคล้ องสัม พัน ธ์ กับตัวชี้วดชั้นปีและเนื้อหาในแผนการจัดการเรียนรู้นั้น ๆ ั 3.5 ก า ร วัด แ ล ะ ป ร ะ เ มิน ผ ล ก า ร เ รีย น รู้ เป็นการตรวจสอบ ผลการจัดการเรียนรู้ว่าหลังจากจัดการเรียนรู้ในแต่ละแผนการจัดการ เรีย นรู้ แ ล้ ว นั กเรีย นมี พั ฒ นาการ มี ผลสัม ฤทธิ์ ทางการเรี ย น ตามเป้ า หมายที่คาดหวังไว้หรือไม่ และมีสิ่งที่จะต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุง ส่ ง เสริ ม ในด้ า นใดบ้ า ง ดั ง นั้ น ในแต่ ล ะแผนการจั ด การเรี ย นรู้ จึ ง ได้ ออกแบบวิธีการและเครื่องมือในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้าน ต่าง ๆ ของนักเรียนไว้อย่างหลากหลาย เช่น การทำาแบบทดสอบ การ ตอบคำา ถามสั้น ๆ การตรวจผลงาน การสังเกตพฤติกรรมทั้งที่เป็นราย บุคคลและกลุ่ม เป็นต้น โดยเน้นการปฏิบัติให้สอดคล้องและเหมาะสม กับตัวชี้วดและมาตรฐานการเรียนรู้ ั วิธีการและเครื่องมือในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เหล่านี้ ครูสามารถนำาไปใช้ประเมินนักเรียนได้ ทั้งในระหว่างการจัดการเรียน รู้และการทำากิจกรรมต่าง ๆ ตลอดจนการนำาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำา วัน 3.6 ส า ระ ก าร เ รีย น รู้ เป็นหัวข้อย่อยที่นำา มาจัดการเรียนรู้ใน แต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ ซึ่งสอดคล้องกับสาระการเรียนรู้แกนกลาง 3.7 แ น ว ท า ง บู ร ณ า ก า ร เป็ น การเสนอแนะแนวทางการจั ด กิจกรรมการเรียนรู้ในเรื่องที่เรียนรู้ขอแต่ละแผนให้เชื่อมโยงสัมพันธ์ กับสาระการเรียนรู้อื่น ๆ ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษา
  • 11. คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6 ่ 11 ต่างประเทศ ทั้งนี้เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าอย่างกว้างขวาง และ สร้างองค์ความรู้ได้เต็มตามศักยภาพของแต่ละคน 3.8 กระบวนการจัด การเรีย นรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ เป็นการเสนอแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แต่ละเรื่อง มีขั้นตอน หลัก 3 ขั้น ได้แก่ 1. ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน 2. ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และ 3. ขั้นสรุป โดยขั้นการจัดการเรียนรู้ เน้นการจัดการเรียนรู้โดย การสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) ที่ประกอบด้วยขั้นตอนหลัก 5 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นสร้างความสนใจ ขั้นสำารวจและค้นหา ขั้นอธิบาย และลงข้อสรุป ขั้นขยายความรู้และขั้นประเมิน ซึ่งรายละเอียดของการ จัดกระบวนการเรียนรู้ดังกล่าวครูสามารถศึกษาได้จากแนวทางการจัด กระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในตอนต่อไป 3.9 กิจ กรรมเสนอแนะเพิม เติม สำา หรับ กลุ่ม สนใจพิเ ศษ ่ เป็นกิจกรรมเสนอแนะสำาหรับให้นักเรียนได้พัฒนาเพิ่มเติมในด้านต่าง ๆ นอกเหนือจากที่ได้จัดการเรียนรู้มาแล้วในชั่วโมงเรียน กิจกรรม เสนอแนะมี 2 ลักษณะ คือ กิจกรรมสำาหรับผู้ที่มีความสามารถพิเศษและ ต้องการศึกษาค้นคว้าในเนื้อหานั้น ๆ ให้ลึกซึ้งกว้างขวางยิ่งขึ้น และ กิจกรรมสำาหรับผู้ที่ยังไม่เข้าใจเนื้อหาหรือยังไม่เกิดการเรียนรู้ตามเป้า หมาย ซึ่งมีลักษณะเป็นการเรียนซำ้าหรือซ่อมเสริม 3.10 สื่ อ /แ ห ล่ ง ก า ร เ รี ย น รู้ เป็ น รายชื่ อ สื่ อ การเรี ย นรู้ ทุ ก ประเภทที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ ซึ่งมีทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อ เทคโนโลยี และสื่อ บุค คล เช่น หนังสื อ เอกสารความรู้ รูป ภาพ เครื อ ข่ายอินเทอร์เน็ต วีดิทัศน์ ปราชญ์ชาวบ้าน เป็นต้น 3.11 บัน ทึก หลัง การจัด การเรีย นรู้ เป็นส่วนที่ให้ครูบันทึก ผลการจัดการเรียนรู้ว่าประสบความสำาเร็จหรือไม่ มีปัญหาหรือ อุปสรรคอะไรเกิดขึ้นบ้าง ได้แก้ไขปัญหาและอุปสรรคนั้นอย่างไร และ ข้อเสนอแนะสำาหรับการจัดการเรียนรู้ครั้งต่อไป ตอนที่ 3 เอกสาร/ความรู้เ สริม สำา หรับ ครู ประกอบด้วยแบบทดสอบต่างๆ และความรู้เสริมสำาหรับครู ได้ บันทึกลงในซีดีรอม โดยมิได้พิมพ์ไว้ในเล่มคู่มือครู เพื่อความสะดวก ของครูในการนำาไปใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งประกอบ ด้วย 1) มาตรฐานการเรีย นรู้ ตัว ชีว ด ชัน ปี และสาระการ ้ ั ้ เรีย นรู้แ กนกลาง กลุ่ม สาระการเรีย นรูว ิท ยาศาสตร์ สารและ ้ สมบัต ข องสาร ประกอบด้วย ิ (1) มาตรฐานการเรียนรู้ เป็นข้อกำาหนดคุณภาพของนักเรียน ด้านความรู้ ความคิด ทักษะ/กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรม และ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 12. คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6 ่ 12 (2) ตัวชี้วัดชั้นปี เป็นตัวระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรู้และสามารถปฏิบัติ ได้ รวมถึงคุณลักษณะของนักเรียนในแต่ละระดับชัน ซึ่งสอดคล้องกับ ้ มาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตร (3) สาระการเรียนรู้ ประกอบด้วย องค์ความรู้ ทักษะ/ กระบวนการเรียนรู้และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ซึ่งกำาหนดให้ นักเรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจำาเป็นต้องเรียนรู้ ซึ่งกลุ่ม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบ่งเป็น 8 สาระ 2) กระบวนการจัด การเรีย นรู้ท ใ ช้ใ นกลุ่ม สาระการ ี่ เรีย นรู้ว ิท ยาศาสตร์ เป็นวิธีการหรือเทคนิคที่นำามาใช้ใน กระบวนการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 3) แฟ้ม สะสมผลงาน (Portfolio) เป็นการเก็บรวบรวมผล งานของนักเรียน โดยแสดงขันตอนในการจัดทำาแฟ้มสะสมผลงานและ ้ วิธีการคัดเลือกผลงานเพื่อเก็บในแฟ้มสะสมผลงาน 4) ผัง การออกแบบการจัด การเรีย นรูแ บบ Backward ้ Design เป็นแบบฟอร์มเพื่อให้ครูสามารถปรับปรุงแผนการจัดการ เรียนรู้ให้สอดคล้องกับสภาพความพร้อมของนักเรียนและสถานการณ์ เฉพาะหน้า รวมทั้งใช้เป็นผลงานเพื่อเลื่อนวิทยฐานะได้ แผนการ จัดการเรียนรู้นี้ได้อำานวยความสะดวกให้ครู โดยได้พิมพ์โครงสร้าง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ออกแบบการเรียนรู้แบบ Backward Design ให้ครูเพิ่มเติมเฉพาะส่วนที่ครูปรับปรุงเองไว้ด้วยแล้ว 5) รูป แบบแผนการจัด การเรีย นรู้ร ายชัว โมง เป็นรูปแบบ ่ การเขียนการจัดการเรียนรู้ที่บอกรายละเอียดในแต่ละหัวข้อที่ปรากฏ อยู่ในแผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมง 6) ใบงาน สารและสมบัต ิข องสาร ม. 4− 6 เป็นกิจกรรมที่ ฝึกให้นักเรียนได้ปฏิบัติจริง เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ซึ่งแบ่ง เป็นกิจกรรมการทดลอง กิจกรรมสังเกต กิจกรรมสำารวจ กิจกรรม สืบค้นข้อมูล 7) แบบทดสอบก่อ นเรีย นและหลัง เรีย น เป็นแบบทดสอบ แบบปรนัยและอัตนัย เพื่อใช้วัดความรู้ของนักเรียนก่อนและหลังเรียน 8) เครื่อ งมือ ประเมิน ผลด้า นคุณ ธรรม จริย ธรรม และ เจตคติท างวิท ยาศาสตร์ เป็นเครื่องมือที่มีลักษณะเป็นแบบตรวจ สอบรายการและมาตรประมาณค่า โดยใช้วิธีการสังเกต สอบถาม หรือ สัมภาษณ์ ซึ่งครูสามารถนำาไปใช้ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของนักเรียนได้ ทั้งในระหว่างการจัดการเรียนรู้และการปฏิบัติกิจกรรม ต่าง ๆ ซึ่งได้ใช้ตัวบ่งชี้คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของจิตวิทยาศาสตร์ 9) เครื่อ งมือ ประเมิน ด้า นทัก ษะ/กระบวนการ เป็นเครื่อง มือที่มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการและแบบมาตรประมาณค่า โดย ใช้วิธีการสังเกต สอบถาม หรือสัมภาษณ์ ซึ่งครูสามารถนำาไปใช้ ประเมินทักษะ/กระบวนการของนักเรียนได้ ทั้งในระหว่างการจัดการ
  • 13. คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6 ่ 13 เรียนรู้และการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งได้ใช้ตัวบ่งชี้คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ของจิตวิทยาศาสตร์ 10) เครื่อ งมือ ประเมิน สมรรถนะทางวิท ยาศาสตร์แ ละ ภาระงานของนัก เรีย นโดยใช้ม ิต ค ุณ ภาพ (Rubrics) เป็นเครื่อง ิ มือสำาหรับการประเมินตามสภาพจริง ที่ประกอบด้วยรายการที่ใช้ ประเมินหรือเกณฑ์ในการพิจารณาและคำาอธิบายระดับคุณภาพ มี ตัวอย่างเครื่องมือหลายประเภท เช่น แบบสังเกต แบบสำารวจ แบบ ประเมินการทดลอง แบบประเมินการศึกษาค้นคว้า แบบประเมินโครง งานวิทยาศาสตร์ โครงงานทั่วไป และแบบประเมินแฟ้มสะสมผลงาน 1.2 วิธ ีก ารใช้แ ผนการจัด การเรีย นรู้ การจัดการเรียนรู้ครูควรศึกษาคู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สาร และสมบัติของสาร ม. 4−6 และศึกษาสื่อการเรียนรู้ที่จะใช้ประกอบ การจัดการเรียนรู้ หลังจากนั้นจึงวางแผนเตรียมจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ก็จะช่วยให้การจัดการเรียนรู้ของครูเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางของคู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6 เล่มนี้จะมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อย่างสูงสุดก็ต่อเมื่อครูได้เตรียมการล่วงหน้า และเลือกวิธีการจัดการ เรียนรู้ให้เหมาะสมกับนักเรียน ที่สำาคัญสถานศึกษาแต่ละแห่งมีสภาพ แวดล้อมการเรียนรู้และสภาพนักเรียนที่แตกต่างกัน จึงเป็นไปไม่ได้ที่ คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้เล่มใด ๆ จะเหมาะสมและดีเยี่ยมสำาหรับ สถานศึกษา ครู และนักเรียนทุกคน ดังนัน จึงเป็นหน้าทีของครูทจะ ้ ่ ี่ ต้องเตรียมการจัดการเรียนรู้ พิจารณาปรับและเลือกสรรแผนการจัดการ เรียนรู้ให้เหมาะสมกับสภาพการเรียนรู้จริงของนักเรียนและสถาน ศึกษา 1.3 สัญ ลัก ษณ์ก ระบวนการเรีย นรู้ สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่กำาหนดไว้ที่กิจกรรมนั้นมีจุดมุ่งหมายและจุด เน้นที่แตกต่างกันตามลักษณะของกระบวนการเรียนรู้ที่ต้องการให้ นักเรียนได้เรียนรู้ ซึ่งมีความสอดคล้องกับธรรมชาติของกลุ่มสาระการ เรียนรู้และจุดเน้นของหลักสูตร ดังนั้นสัญลักษณ์จึงเป็นแนวทางที่เอื้อ ประโยชน์ต่อนักเรียนที่จะศึกษาหาความรู้ตามรายละเอียดของกิจกรรม ในสื่อการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์สมบูรณ์แบบชุดนี้ได้กำาหนดสัญลักษณ์ ไว้เป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ สัญ ลัก ษณ์ห ลัก ของกลุ่ม สาระการเรีย นรู้ว ิท ยาศาสตร์ การสืบ ค้น ข้อ มูล เป็นกิจกรรมที่กำาหนดให้นักเรียน สืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ แล้วใช้ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ เช่น การลงสรุปข้อมูล เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ด้วยตนเอง
  • 14. คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6 ่ 14 การสำา รวจ เป็นกิจกรรมที่กำาหนดให้นักเรียนสำารวจ ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ตามความคิดรวบยอดของแต่ละหัวเรื่อง แล้วใช้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เช่น การสังเกต การจัดกระทำาและ สื่อความหมายข้อมูล การลงสรุปข้อมูล เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ด้วย ตนเอง การทดลอง เป็นกิจกรรมที่กำาหนดให้นักเรียนได้ปฏิบัติ การทดลองเพื่อพิสูจน์มโนทัศน์ที่เรียนรู้ โดยการออกแบบการทดลอง ดำาเนินการทดลอง และสรุปผลการทดลอง แล้วใช้ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ เช่น การสังเกต การพยากรณ์ การจัดกระทำาและสื่อ ความหมายข้อมูล การลงสรุปข้อมูล เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ด้วยตนเอง การสัง เกต เป็นกิจกรรมที่กำาหนดให้นักเรียนสังเกต ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ตามความคิดรวบยอดของแต่ละหัวเรื่อง แล้วใช้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เช่น การจำาแนกการลงสรุปข้อมูล เพื่อให้เกิดองค์ความรู้ด้วยตนเอง สัญ ลัก ษณ์เ สริม ของกลุ่ม สาระการเรีย นรู้ วิท ยาศาสตร์ โครงงาน เป็นกิจกรรมโครงงานคัดสรรที่นำาหลักการ แนวคิดของมโนทัศน์ในหัวเรื่องที่เรียนรู้มาใช้แก้ปัญหา การพัฒ นากระบวนการคิด เป็นกิจกรรมที่กำาหนดให้ นักเรียนได้ใช้กระบวนการคิดเพื่อเพิ่มพูนทักษะการคิดของตนเอง การประยุก ต์ใ ช้ใ นชีว ต ประจำา วัน เป็นกิจกรรมที่ ิ กำาหนดให้นักเรียนต้องนำาหลักการ แนวคิดของมโนทัศน์ในหัวเรื่องที่ เรียนรู้มาใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์จริงของชีวิตประจำาวัน การทำา ประโยชน์ใ ห้ส ัง คม เป็นกิจกรรมที่กำาหนดให้ นักเรียนนำาความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ไปปฏิบัติเพื่อให้ตระหนักในการ ทำาประโยชน์ให้สังคม การปฏิบ ัต ิจ ริง /ฝึก ทัก ษะ เป็นกิจกรรมที่กำาหนดให้ นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติเพื่อให้เกิดและเพิ่มพูนทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์
  • 15. คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6 ่ 15 ความคิดสร้างสรรค์ เป็นกิจกรรมที่กำาหนดให้นักเรียนได้ ใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างสรรค์ภาระงานเพิ่มพูนทักษะการคิด ของตนเอง 2. แนวคิด หลัก การออกแบบการจัด การเรีย นรู้แ บบ Backward Design (BwD) การจัดการเรียนรู้หรือการสอนเป็นงานที่ครูทุกคนต้องใช้กลวิธี ต่าง ๆ มากมายเพื่อให้นักเรียนสนใจที่จะเรียนรู้และเกิดผลตามที่ครู คาดหวัง การจัดการเรียนรู้จัดเป็นศาสตร์ที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถ ตลอดจนประสบการณ์อย่างมาก ครูบางคนอาจจะละเลยเรื่องของการ ออกแบบการจัดการเรียนรู้หรือการออกแบบการสอน ซึ่งเป็นงานที่ครู จะต้องทำาก่อนการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ การออกแบบการจัด การเรีย นรูท ำา อย่า งไร ทำา ไมจึง ต้อ ง ้ ออกแบบการจัด การเรีย นรู้ ครูทุกคนผ่านการศึกษาและได้เรียนรู้เกี่ยวกับการออกแบบการ เรียนรู้มาแล้ว ในอดีตการออกแบบการเรียนรู้จะเริ่มต้นจากการกำาหนด จุดประสงค์การเรียนรู้ การวางแผนการจัดการเรียนรู้ การดำาเนินการ จัดการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ปัจจุบันการเรียนรู้ ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคม รวม ทั้งการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เข้ามามีบทบาท ต่อการเรียนรู้ของนักเรียน ซึ่งนักเรียนสามารถเรียนรู้ได้จากสื่อและ แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ที่มีอยู่รอบตัว ดังนั้นการออกแบบการจัดการเรียนรู้ จึงเป็นกระบวนการสำาคัญที่ครูจำาเป็นต้องดำาเนินการให้เหมาะสมกับ ศักยภาพของนักเรียนแต่ละบุคคล วิกกินส์และแม็คไท นักการศึกษาชาวอเมริกันได้เสนอแนวคิด เกี่ยวกับการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ซึ่งเขาเรียกว่า Backward Design ซึ่งเป็นการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ครูจะต้องกำาหนด ผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียนก่อน โดยเขาทั้งสอง ให้ชื่อว่า ความเข้าใจที่คงทน (Enduring Understandings) เมื่อ กำาหนดความเข้าใจที่คงทนได้แล้ว ครูจะต้องบอกให้ได้ว่าความเข้าใจ ที่คงทนของนักเรียนนี้เกิดจากอะไร นักเรียนจะต้องมีหรือแสดง พฤติกรรมอะไรบ้าง ครูมีหรือใช้วิธีการวัดอะไรบ้างที่จะบอกว่านักเรียน มีหรือแสดงพฤติกรรมเหล่านั้นแล้ว จากนั้นครูจึงนึกถึงวิธีการจัดการ เรียนรู้ที่จะทำาให้นักเรียนเกิดความเข้าใจที่คงทนต่อไป แนวคิด ของ Backward Design
  • 16. คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6 ่ 16 Backward Design เป็นการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ใช้ ผลลัพธ์ปลายทางเป็นหลัก ซึ่งผลลัพธ์ปลายทางนี้จะเกิดขึ้นกับ นักเรียนก็ต่อเมื่อจบหน่วยการเรียนรู้ ทั้งนี้ครูจะต้องออกแบบการ จัดการเรียนรู้ โดยใช้กรอบความคิดที่เป็นเหตุเป็นผลมีความสัมพันธ์ กัน จากนั้นจึงจะลงมือเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ขยายรายละเอียด เพิ่มเติมให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพต่อไป กรอบความคิดหลักของการออกแบบการจัดการเรียนรู้โดย Backward Design มีขั้นตอนหลักที่สำาคัญ 3 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 กำาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับ นักเรียน ขั้นที่ 2 กำาหนดภาระงานและการประเมินผลการเรียนรู้ ซึ่งเป็น หลักฐานที่แสดงว่านักเรียน มีผลการเรียนรู้ตามที่กำาหนดไว้อย่างแท้จริง ขั้นที่ 3 วางแผนการจัดการเรียนรู้ ขั้น ที่ 1 กำา หนดผลลัพ ธ์ป ลายทางที่ต ้อ งการให้เ กิด ขึ้น กับ นัก เรีย น ก่อนที่จะกำาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับ นักเรียนนั้น ครูควรตอบคำาถามสำาคัญต่อไปนี้ − นักเรียนควรจะมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถทำาสิ่งใดได้ บ้าง − เนื้อหาสาระใดบ้างที่มีความสำาคัญต่อการสร้างความเข้าใจ ของนักเรียนและความเข้าใจที่คงทน (Enduring Understanding) ที่ครูต้องการจัดการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนมีอะไรบ้าง เมื่อจะตอบคำาถามสำาคัญดังกล่าวข้างต้น ให้ครูนึกถึงเป้าหมาย ของการศึกษา มาตรฐานการเรียนรู้ด้านเนื้อหาระดับชาติที่ปรากฏอยู่ ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 รวมทั้ง มาตรฐานการเรียนรู้ระดับเขตพื้นที่การศึกษา หรือท้องถิ่น การทบทวนความคาดหวังของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เนื่องจากมาตรฐานแต่ละระดับจะมีความสัมพันธ์กับเนื้อหาสาระต่าง ๆ ซึ่งมีความแตกต่างลดหลั่นกันไป ด้วยเหตุนี้ขั้นที่ 1 ของ Backward Design ครูจึงต้องจัดลำาดับความสำาคัญและเลือกผลลัพธ์ปลายทาง ของนักเรียน ซึ่งเป็นผลการเรียนรู้ที่เกิดจากความเข้าใจที่คงทนต่อไป ความเข้า ใจที่ค งทนของนัก เรีย น ความเข้าใจที่คงทนคืออะไร ความเข้าใจที่คงทนเป็นความรู้ที่ลึก ซึ้ง ได้แก่ ความคิดรวบยอด ความสัมพันธ์ และหลักการของเนื้อหาและ วิชาที่นักเรียนเรียนรู้ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งเป็นความรู้ที่อิงเนื้อหา ความรู้นี้เกิดจากการสะสมข้อมูลต่าง ๆ ของนักเรียนและเป็นองค์ความ รู้ที่นักเรียนสร้างขึ้นด้วยตนเอง
  • 17. คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6 ่ 17 การเขีย นความเข้า ใจทีค งทนในการออกแบบการ ่ จัด การเรีย นรู้ ถ้าความเข้าใจที่คงทนหมายถึง สาระสำาคัญของสิ่งที่จะเรียนรู้ แล้ว ครูควรจะรู้ว่าสาระสำาคัญหมายถึงอะไร คำาว่า สาระสำาคัญ มาจาก คำาว่า Concept ซึ่งนักการศึกษาของไทยแปลเป็นภาษาไทยว่า สาระ สำาคัญ ความคิดรวบยอด มโนทัศน์ มโนมติ และสังกัป ซึ่งการเขียน แผนการจัดการเรียนรู้นิยมใช้คำาว่า สาระสำาคัญ สาระสำาคัญเป็นข้อความที่แสดงแก่นหรือเป้าหมายเกี่ยวกับเรื่อง ใดเรื่องหนึ่ง เพื่อให้ได้ข้อสรุปรวมและข้อแตกต่างเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่อง หนึ่ง โดยอาจครอบคลุมข้อเท็จจริง กฎ ทฤษฎี ประเด็น และการสรุป สาระสำาคัญและข้อความที่มีลักษณะรวบยอดอย่างอื่น ประเภทของสาระสำาคัญ 1. ระดับกว้าง (Broad Concept) 2. ระดับการนำาไปใช้ (Operative Concept หรือ Functional Concept) ตัวอย่างสาระสำาคัญระดับกว้าง − สุขภาพของตัวอ่อนในครรภ์ขึ้นอยู่กับการปฏิบัติตนของมารดา − พืชมีหลายชนิด มีประโยชน์ต่างกัน ตัวอย่างสาระสำาคัญระดับนำาไปใช้ − สุขภาพของตัวอ่อนในครรภ์ขึ้นอยู่กับการปฏิบัติตนของมารดา ในด้านการรับประทานอาหาร การเคลื่อนไหว และการรักษาสุขภาพ จิต − พืชมี 2 ประเภท คือ พืชล้มลุก และพืชยืนต้น พืชมีประโยชน์ ในการทำาให้มีสมดุลทางธรรมชาติ เป็นที่อยู่อาศัย เป็นยารักษาโรค เป็นเครื่องนุ่งห่ม และทำาให้โลกสวยงาม แนวทางการเขียนสาระสำาคัญ 1. ให้เขียนสาระสำาคัญของทุกเรื่อง โดยแยกเป็นข้อ ๆ (จำานวน ข้อของสาระสำาคัญจะเท่ากับจำานวนเรื่อง) 2. การเขียนสาระสำาคัญที่ดีควรเป็นสาระสำาคัญระดับการนำาไป ใช้ 3. สาระสำาคัญต้องครอบคลุมประเด็นสำาคัญครบถ้วน เพราะหาก ขาดส่วนใดไปแล้วจะทำาให้นักเรียนรับสาระสำาคัญที่ผิดไปทันที 4. การเขียนสาระสำาคัญที่จะให้ครอบคลุมประเด็นสำาคัญวิธีการ หนึ่งคือ การเขียนแผนผังสาระสำาคัญ ตัวอย่างการเขียนแผนผังสาระสำาคัญ ลักษณะของสัตว์ที่ นำามา ใช้แรงงาน
  • 18. คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6 ่ 18 ด้านการใช้ แรงงาน ประโยชน์ ด้านการใช้เป็น อาหาร ด้านการเลี้ยง ไว้ดูเล่น ตัวอย่างสัตว์ที่นำา มาใช้ แรงงานแต่ละด้าน ส่วนต่าง ๆ ของสัตว์ ที่นำามาใช้เป็น อาหาร ส่วนต่าง ๆ ของสัตว์ แต่ละชนิดที่นำามา ใช้ เป็นอาหาร ลักษณะของสัตว์ที่ เลี้ยง ไว้ดูเล่น ตัวอย่างของสัตว์ที่ เลี้ยงไว้ดูเล่น สาระสำาคัญของประโยชน์ของสัตว์: ประโยชน์ของสัตว์แบ่งเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการใช้แรงงาน ด้านการใช้เป็นอาหาร และด้านการเลี้ยงไว้ ดูเล่น 5. การเขียนสาระสำาคัญเกี่ยวกับเรื่องใดควรเขียนลักษณะเด่นที่ มองเห็นได้หรือนึกได้ออกมาเป็นข้อ ๆ แล้วจำาแนกลักษณะเหล่านั้น เป็นลักษณะจำาเพาะและลักษณะประกอบ 6. การเขียนข้อความที่เป็นสาระสำาคัญ ควรใช้ภาษาที่มีการ ขัดเกลาอย่างดี เลี่ยงคำาที่มีความหมายกำากวมหรือฟุ่มเฟือย ตัว อย่า งการเขีย นสาระสำา คัญ เรื่อ ง แมลง แมลง ลัก ษณะ ลัก ษณะ จำา เพาะ ประกอบ มีสี − ü มี 6 ขา − ü
  • 19. คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6 ่ 19 มีพิษ ร้องได้ มีปีก ลำาตัวเป็นปล้อง มีหนวดคลำาทาง 2 เส้น เป็นอาหารได้ ไม่มีกระดูกสัน หลัง − − ü ü ü ü ü − − − − ü ü − สาระสำาคัญของแมลง: แมลงเป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ลำาตัว เป็น 3 ปล้อง มี 6 ขา มีหนวดคลำาทาง 2 เส้น มีปีก 2 ปีก ตัวมีสีต่างกัน บางชนิดร้องได้ บางชนิดมีพิษ และบางชนิดเป็น อาหารได้ ขั้น ที่ 2 กำา หนดภาระงานและการประเมิน ผลการ เรีย นรู้ซ ึ่ง เป็น หลัก ฐานที่แ สดงว่า นัก เรีย นมีผ ลการเรีย นรู้ต ามที่ก ำา หนดไว้อ ย่า งแท้จ ริง เมื่อครูกำาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียน แล้ว ก่อนที่จะดำาเนินการขั้นต่อไปขอให้ครูตอบคำาถามสำาคัญ ต่อไปนี้ − นักเรียนมีพฤติกรรมหรือแสดงออกในลักษณะใด จึงทำาให้ครู ทราบว่า นักเรียนบรรลุผลลัพธ์ปลายทางตามที่กำาหนดไว้แล้ว − ครูมีหลักฐานหรือใช้วิธีการใดที่สามารถระบุได้ว่า นักเรียนมี พฤติกรรมหรือแสดงออกตามผลลัพธ์ปลายทางที่กำาหนดไว้ การออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามหลักการของ Backward Design เน้นให้ครูรวบรวมหลักฐานการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่ จำาเป็นและมีหลักฐานเพียงพอที่จะกล่าวได้ว่า การจัดการเรียนรู้ทำาให้ นักเรียนเกิดผลสัมฤทธิ์แล้วไม่ใช่เรียนแค่ให้จบตามหลักสูตรหรือเรียน ตามชุดของกิจกรรมการเรียนรู้ที่ครูกำาหนดไว้เท่านั้น วิธีการของ Backward Design ต้องการกระตุ้นให้ครูคิดล่วงหน้าว่า ครูควรจะ กำาหนดและรวบรวมหลักฐานเชิงประจักษ์อะไรบ้างก่อนที่จะออกแบบ หน่วยการเรียนรู้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลักฐานดังกล่าวควรจะเป็นหลัก ฐานที่สามารถใช้เป็นข้อมูลย้อนกลับ ที่มีประโยชน์สำาหรับผู้เรียนและ ครูได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ ครูควรใช้วิธีการวัดและประเมินแบบต่อ เนื่องอย่างไม่เป็นทางการและเป็นทางการ ตลอดระยะเวลาที่ครูจัด กิจกรรมการเรียนรู้ให้แก่นักเรียน ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดที่ต้องการ ให้ครูทำาการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ที่เรียกว่า สอนไปวัด ผลไป
  • 20. คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6 ่ 20 จึงกล่าวได้ว่าขั้นนี้ ครูควรนึกถึงพฤติกรรมหรือการแสดงออก ของนักเรียน โดยพิจารณาจากผลงานหรือชิ้นงานที่เป็นหลักฐานเชิง ประจักษ์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่านักเรียนเกิดผลลัพธ์ปลายทางตามเกณฑ์ที่ กำาหนดไว้แล้วและเกณฑ์ที่ใช้ประเมินควรเป็นเกณฑ์คุณภาพในรูป ของมิติคุณภาพ (Rubrics) อย่างไรก็ตามครูอาจจะมีหลักฐานหรือใช้ วิธีการอื่น ๆ เช่น การทดสอบก่อนและหลังเรียน การสัมภาษณ์ การ ศึกษาค้นคว้า การฝึกปฏิบัติขณะเรียนรู้ประกอบด้วยก็ได้ การกำา หนดภาระงานและการประเมิน ผลการเรีย นรู้ซ ง ึ่ เป็น หลัก ฐานทีแ สดงว่า นัก เรีย นมีผ ล ่ การเรีย นรูต ามผลลัพ ธ์ป ลายทางทีก ำา หนดไว้แ ล้ว ้ ่ หลังจากที่ครูได้กำาหนดผลลัพธ์ปลายทางที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับ นักเรียนแล้ว ครูควรกำาหนดภาระงานและวิธีการประเมินผลการเรียนรู้ ซึ่งเป็นหลักฐานที่แสดงว่านักเรียนมีผลการเรียนรู้ตามผลลัพธ์ปลาย ทางที่กำาหนดไว้แล้ว ภาระงาน หมายถึง งานหรือกิจกรรมที่กำาหนดให้นักเรียน ปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุตามจุดประสงค์การเรียนรู้/ตัวชี้วัดชั้นปี/มาตรฐาน การเรียนรู้ที่กำาหนดไว้ ลักษณะสำาคัญของงานจะต้องเป็นงานที่ สอดคล้องกับชีวิตจริงในชีวิตประจำาวัน เป็นเหตุการณ์จริงมากกว่า กิจกรรมที่จำาลองขึ้นเพื่อใช้ในการทดสอบ ซึ่งเรียกว่างานที่ปฏิบัติเป็น งานที่มีความหมายต่อผู้เรียน (Meaningful Task) นอกจากนี้ งาน และกิจกรรมจะต้องมีขอบเขตที่ชัดเจน สอดคล้องกับจุดประสงค์การ เรียนรู้/ตัวชี้วัดชันปี/มาตรฐานการเรียนรู้ที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับ ้ นักเรียน ทั้งนี้เมื่อได้ภาระงานครบถ้วนตามที่ต้องการแล้ว ครูจะต้องนึกถึง วิธีการและเครื่องมือที่จะใช้วัดและประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน ซึ่งมีอยู่มากมายหลายประเภท ครูจะต้องเลือกให้เหมาะสมกับภาระงาน ที่นักเรียนปฏิบัติ ตัวอย่างภาระงานเรื่อง อาหารหลัก 5 หมู่และสารอาหารใน อาหารหลัก 5 หมู่ รวมทั้งการกำาหนดวิธีการวัดและประเมินผลการเรียน รู้ของนักเรียนดังตาราง
  • 21. คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6 ่ 21 ตัวอย่าง ภาระงาน/ผลงาน แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง อาหารหลัก 5 หมู่และสารอาหารในอาหาร หลัก 5 หมู่ สาระที่ 1 : สิ่ง มีช ีว ิต กับ กระบวนการดำา รงชีว ิต มาตรฐาน ว 1.1 : เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของ ระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทำางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สือสารสิ่งทีเรียนรู้ ่ และนำาความรู้ไปใช้ในการดำารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต ตัว ชีว ด ้ ั ชัน ปี ้ วิเคราะห์ สารอาหาร และ อภิปราย ความ จำาเป็นที่ ร่างกาย ต้องได้รับ สารอาหาร สาระ การ เรีย นรู้ อาหาร หลัก 5 หมู่ ความ หมายและ ประเภท ของสาร อาหาร ภาระ งาน/ ผล งาน/ ชิ้น งาน รายงาน เรื่อง อาหาร หลัก 5 หมูและ ่ สาร อาหาร ใน อาหาร การวัด และประเมิน ผล วิธ ีก าร เครื่อ งมือ เกณฑ์ −ซักถาม ความรู้ −แบบ สัมภาษณ์ −ตรวจผล งาน −แบบตรวจ สอบ ผลงาน −แบบ สังเกตการณ์ −สังเกตกา ร −เกณฑ์ คุณภาพ 4 ระดับ −เกณฑ์ คุณภาพ 4 ระดับ −เกณฑ์ คุณภาพ กิจ กรรม การเรีย นรู้ การสำารวจสาร อาหารที่ได้ใน แต่ละวัน สื่อ การเรีย นรู้ 1. ภาพอาหารต่าง ๆ 2. ภาพเด็กที่มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง และไม่แข็งแรง 3. แผนภูมิพีระมิดอาหาร 4. แบบบันทึกข้อมูลการสร้างคำาถาม ของนักเรียนจากประเด็นปัญหาที่ศึกษา 5. แบบบันทึกข้อมูลการอภิปรายจาก ประเด็นปัญหาที่ศึกษา 6. แบบบันทึกความรู้
  • 22. คูมือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6 ่ 22 ในสัดส่วน ที่เหมาะสม กับเพศ และวัย หลัก 5 หมู่ รายงาน −สังเกตกา ร ทำางาน กลุ่ม ทำางานกลุ่ม −แบบประเมิน พฤติกรรม การ ปฏิบัติ กิจกรรม เป็นราย บุคคล และเป็นกลุ่ม 4 ระดับ −เกณฑ์ คุณภาพ 4 ระดับ 7. ใบงานที่ 1 สำารวจสารอาหารที่ได้ ในแต่ละวัน 8. ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง สารอาหารใน อาหารหลัก 5 หมู่ 9. ใบกิจกรรมที่ 2 การสำารวจสาร อาหารในอาหารหลัก 5 หมู่ 10. แบบทดสอบ เรื่อง สารอาหารใน อาหารหลัก 5 หมู่
  • 23. คู่มือครู แผนการจัดการเรียนรู้ สารและสมบัติของสาร ม. 4−6 23 ความเข้าใจที่คงทนจะเกิดขึ้นได้ นักเรียนจะต้องมีความสามารถ 6 ประการ ได้แก่ 1. การอธิบ าย ชีแ จง เป็นความสามารถที่นักเรียนแสดงออก ้ โดยการอธิบายหรือชี้แจงในสิ่งที่เรียนรู้ได้อย่างถูกต้อง สอดคล้อง มี เหตุมีผล และ เป็นระบบ 2. การแปลความและตีค วาม เป็นความสามารถที่นักเรียน แสดงออกโดยการแปลความและตีความได้อย่างมีความหมาย ตรง ประเด็น กระจ่างชัด และทะลุปรุโปร่ง 3. การประยุก ต์ ดัด แปลง และนำา ไปใช้ เป็นความสามารถที่ นักเรียนแสดงออกโดยการนำาสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมี ประสิทธิผล มีประสิทธิภาพ และคล่องแคล่ว 4. การมีม ุม มองทีห ลากหลาย เป็นความสามารถที่นักเรียน ่ แสดงออกโดยการมีมุมมองที่น่าเชื่อถือ เป็นไปได้ มีความลึกซึ้ง แจ่ม ชัด และแปลกใหม่ 5. การให้ค วามสำา คัญ ใส่ใ จในความรู้ส ก ของผูอ ื่น เป็น ึ ้ ความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดยการมีความละเอียดรอบคอบ เปิดเผย รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ระมัดระวังที่จะไม่ให้เกิดความ กระทบกระเทือนต่อผู้อื่น 6. การรู้จ ัก ตนเอง เป็นความสามารถที่นักเรียนแสดงออกโดย การมีความตระหนักรู้ สามารถประมวลผลข้อมูลจากแหล่งที่หลาก หลาย ปรับตัวได้ รู้จักใคร่ครวญ และมีความเฉลียวฉลาด นอกจากนี้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำาหนดสมรรถนะสำาคัญของนักเรียนหลังจากสำาเร็จการศึกษา ตามหลักสูตรไว้ 5 ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการสือ สาร เป็นความสามารถของ ่ นักเรียนในการถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และ ทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์ อัน จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อ รองเพื่อประนีประนอม การเลือกที่จะรับและไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วย หลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพ โดยคำานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถของนักเรียน ในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การ คิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดเชิงคุณธรรม และการคิดอย่างเป็นระบบ เพื่อนำาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจเกี่ยว กับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม