SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  18
โครงสร้างโลก
กาเนิดโลก
เมื่อประมาณ 4,600 ล้านปีมาแล้ว กลุ่มก๊าซในเอก
ภพบริเวณนี้ ได้รวมตัวกันเป็นหมอกเพลิงมีชื่อว่า “โซลาร์
เนบิวลา” (Solar แปลว่า สุริยะ, Nebula แปลว่า หมอก
เพลิง) แรงโน้มถ่วงทาให้กลุ่มก๊าซยุบตัวและหมุนตัวเป็น
รูปจาน
ใจกลางมีความร้อนสูงเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์แบบฟิวชั่น
กลายเป็นดาวฤกษ์ที่ชื่อว่าดวงอาทิตย์ส่วนวัสดุที่อยู่รอบๆ
มีอุณหภูมิต่ากว่า รวมตัวเป็นกลุ่มๆ มีมวลสารและความ
หนาแน่นมากขึ้นเป็นชั้นๆ และกลายเป็นดาวเคราะห์ใน
ที่สุด
การศึกษาโครงสร้างโลกจากคลื่นไหวสะเทือนที่
เคลื่อนที่ผ่านโลก คลื่นที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ คลื่นปฐม
ภูมิ (Primary waves, P waves) และคลื่นทุติยภูมิ
(Secondary waves, S waves) ซึ่งเป็นคลื่นในตัวกลางโดยที่
คลื่นไหวสะเทือนดังกล่าวมีสมบัติสาคัญ ดังนี้
– คลื่น P สามารถที่ผ่านตัวกลางได้ทุกสถานะ และมี
ความเร็วมากกว่าคลื่น S
– คลื่น S สามารถเคลื่อนที่ผ่านได้เฉพาะตัวกลางที่เป็น
ของแข็งเท่านั้น
การแบ่งโครงสร้างโลก
ผลจากการตรวจวัดคลื่นไหวสะเทือนทาให้
นักวิทยาศาสตร์ทราบว่าโครงสร้างภายในของโลกแสดง
ลักษณะเป็นชั้น แต่ละชั้นมีสมบัติทางกายภาพที่แตกต่าง
กัน คือ ธรณีภาค ฐานธรณีภาค มีโซสเฟียร์ แก่น
โลก ชั้นนอกและแก่นโลกชั้นใน
การแบ่งโครงสร้างโลกโดยใช้สมบัติของคลื่นไหวสะเทือน
1. ธรณีภาค (lithosphere) เป็นชั้นนอกสุดของโลก พบว่า
คลื่น P และคลื่น S จะเคลื่อนที่ผ่านธรณีภาคด้วยความเร็วที่
เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ในช่วง 6.4 -8.4 กิโลเมตรต่อวินาที
และ 3.7 – 4.8 กิโลเมตรต่อวินาที ตามลาดับ โดยทั่วไปชั้น
นี้มีความลึกประมาณ 100 กิโลเมตร จากผิวโลก
ประกอบด้วยหินที่มีสมบัติเป็นของแข็ง
2. ฐานธรณีภาค (asthenosphere) เป็นบริเวณที่คลื่นไหว
สะเทือนมีความเร็วไม่สม่าเสมอ แบ่งออกได้เป็น 2 บริเวณ
คือ เขตที่คลื่นไหวสะเทือนมีความเร็วลดลง และ เขตที่มี
การเปลี่ยนแปลง
3.มีโซสเฟียร์ (mesosphere) เป็นชั้นที่อยู่ใต้ฐานธรณีภาค
และเป็นบริเวณที่คลื่นไหวสะเทือนมีความเร็วเพิ่มขึ้น
สม่าเสมอ เนื่องจากหิน หรือสาร บริเวณส่วนล่างของมี
โซสเฟียร์มีสถานะเป็นของแข็ง มีความลึกประมาณ 660-
2,900 กิโลเมตร จากผิวโลก
4. แก่นโลกชั้นนอกและแก่นโลกชั้นใน
4.1 แก่นโลกชั้นนอก (outer core) เป็นชั้นที่อยู่ใต้มี
โซสเฟียร์มีความลึกประมาณ 2,900-5,140กิโลเมตร จากผิว
โลว คลื่น P มีความเร็วเพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ ในขณะที่คลื่น S
ไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่านชั้นดังกล่าวได้
4.2 แก่นโลกชั้นใน (inter core) อยู่ที่ระดับความลึก
ประมาณ 5,140 กิโลเมตร จนถึงจุดศูนย์กลางของโลก
คลื่น P และ S มีอัตราเร็วค่อนข้างคงที่ เนื่องจากแก่นโลก
ชั้นในเป็นของแข็งที่มีเนื้อเดียวกัน
รูปภาพแสดงชั้นต่างๆของโครงสร้างโลก
การแบ่งโครงสร้างโลกจากการศึกษาส่วนประกอบทาง
กายภาพ และทางเคมีของหิน รวมทั้งสารต่างๆ ที่อยู่ภายใน
โลก
ชั้นเปลือกโลก (Crust) เป็นเสมือนผิวด้านนอกที่ปกคลุม
โลก แบ่งออกได้เป็น 2 บริเวณ คือเปลือกโลกภาคพื้น
ทวีป หมายถึง ส่วนที่เป็นแผ่นดินทั้งหมด ประกอบด้วย
ธาตุซิลิคอน (Si) และอะลูมิเนียม (Al) เป็นส่วนใหญ่
เปลือกโลกใต้มหาสมุทร หมายถึงเปลือกโลกส่วนที่ถูก
ปกคลุมด้วยน้า ประกอบด้วยธาตุซิลิคอน (Si) และ
แมกนีเซียม (Mg) เป็นส่วนใหญ่ มีความลึกตั้งแต่ 5
กิโลเมตร ในส่วนที่อยู่ใต้มหาสมุทรไปจนถึง 70 กิโลเมตร
ในบริเวณที่อยู่ใต้เทือกเขาสูงใหญ่
ชั้นเนื้อโลก (Mantle) เป็นชั้นที่อยู่ถัดลงไปจากชั้น
เปลือกโลก ส่วนมากเป็นของแข็ง มีความลึกประมาณ
2,900 กิโลเมตร นับจากฐานล่างสุดของเปลือกโลกจนถึง
ตอนบนของแก่นโลก ชั้นเนื้อโลกส่วนบนเป็นหินที่เย็นตัว
แล้วและบางส่วนมีรอยแตกเนื่องจากความเปราะ ชั้นเนื้อ
โลกส่วน กับชั้นเปลือกโลก รวมตัวกันเรียกว่า “ธรณีภาค
ชั้นแก่นโลก (Core) อยู่ในระดับความลึกจากผิวโลก
ประมาณ 2,900 กิโลเมตร ลงไป แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
แก่นโลกชั้นนอกมีความหนาตั้งแต่ 2,900 – 5,100
กิโลเมตร ชั้นนี้ประกอบด้วยสารเหลวของโลหะเหล็กและ
นิเกิลเป็นส่วนใหญ่และมีความร้อนสูงมาก
ต่อเนื่องจากแก่นโลกชั้นนอกลงไปเป็นแก่นโลกชั้นในแต่
อยู่ในสภาพของแข็งเนื่องจาก มีความดันและอุณหภูมิสูง
มาก อาจสูงถึง 6,000 ๐C
จัดทาโดย
นางสาวเมธาวี เมฆอรุณ เลขที่ 21
นางสาวอทิตยา ภิญโญ เลขที่ 25
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4

Contenu connexe

Tendances

ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีsoysuwanyuennan
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02Chay Kung
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกวิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกวิทยาศาสตร์ แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกวิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกวิทยาศาสตร์ wan Jeerisuda
 
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)Jariya Jaiyot
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pageใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกพัน พัน
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงTa Lattapol
 

Tendances (20)

ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกวิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกวิทยาศาสตร์ แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกวิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกวิทยาศาสตร์
 
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4pageใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
ใบความรู้+เมฆในท้องฟ้ามีลักษณะอย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f07-4page
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
Earthscience
EarthscienceEarthscience
Earthscience
 

Similaire à โครงสร้างโลก

โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1PornPimon Kwang
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2kominoni09092518
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะratchaneeseangkla
 
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกโครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกttt ttt
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3Sukumal Ekayodhin
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
สารคดีจักรวาล
สารคดีจักรวาลสารคดีจักรวาล
สารคดีจักรวาลfarimfilm
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพTa Lattapol
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra2556
 

Similaire à โครงสร้างโลก (20)

โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1โครงสร้างโลก บท1
โครงสร้างโลก บท1
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกโครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
 
สารคดีจักรวาล
สารคดีจักรวาลสารคดีจักรวาล
สารคดีจักรวาล
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
 
Contentastrounit3
Contentastrounit3Contentastrounit3
Contentastrounit3
 

โครงสร้างโลก