SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  25
การลดความอ้วนและการควบคุมอาหาร
 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
 วัตถุประสงค์
 ขอบเขตโครงงาน
 กลุ่มสารการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
 วิธีดาเนินงาน
 สถานที่ดาเนินการ
 ผลที่คาดว่าจะได้รับ
CONTENTS
 ภาณุพงศ์ คาเหลือง ม.6/2 เลขที่ 8
 กฤษดาร หมื่นตุ้ม ม.6/2 เลขที่ 29
จัดทาโดย
คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
เสนอ
 เนื่องจากในปัจจุบันคนส่วนใหญ่เผชิญปัญหาเกี่ยวกับโรคอ้วน อาจเกิดจากหลายสาเหตุ
ด้วยกัน เช่น พันธุกรรม สภาพสังคมและวัฒนธรรม และสาเหตุที่สาคัญคือการบริโภคอาหาร
ได้รับอิทธิพลจาก สื่อโฆษณาต่างๆ การขาดวินัยในการรับประทานอาหารให้เป็นเวลา ไม่รู้จัก
เลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์ ขาดวินัยในการใช้เวลา ไม่รู้คุณค่าของเงิน และ พฤติกรรมสุขภาพ
ที่ไม่เหมาะสม ทั้งการบริโภคอาหารไขมันสูง พฤติกรรมนั่งๆ นอนๆ ขาดการออกกาลังกาย
ซึ่งก่อให้เกิดโรคเรื้อรังที่พบบ่อย คนเหล่านี้จึงมีปัญหาโรคอ้วนเพิ่มขึ้น ตามลาดับ อาจส่งผล
ถึงภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพเพิ่มสูงขึ้น ได้แก่ โรคเบาหวาน หอบ และความดันโลหิตสูง ทั้งที่ควร
จะเป็นโรคในวัยผู้ใหญ่ แต่ในปัจจุบันในวัยเด็กหรือวัยรุ่นก็มีความเสี่ยงเช่นเดียวกัน ได้แก่
โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง เป็นต้น ดังนั้นการป้ องกัน
ความรุนแรงและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคอ้วน โดยการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่
เหมาะสมจึงเป็นสิ่งจาเป็น จึงทาให้ข้าพเจ้าสนใจที่จะทาโครงงานพัฒนาเว็บไซต์เรื่อง...การลด
ความอ้วนอย่างถูกวิธีเพื่อเผยแพร่ความรู้ให้เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาต่อไป
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
 1.เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับความอ้วน
 2.เพื่อให้รู้ถึงผลกระทบที่ตามมา
 3.เพื่อให้รับมือและป้ องกันความอ้วน
 4.เพื่อให้แหล่งความรู้ที่เป็นประโยชน์ในการตัดสินใจ
วัตถุประสงค์
 โรคอ้วนคืออะไร
 ดูแลตัวเองอย่างไร
 รู้ขอมูลทางโภชนาการ
ขอบเขตโครงงาน
 -กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
 -กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
สถานที่ดาเนินงาน
หลักการและทฤษฏี
 (Metabolic syndrome)
เมตาบอลิคซินโดรม เรียกกันง่ายๆ ว่า “ภาวะอ้วนลงพุง” ซึ่งสาหรับคนไทย ภาวะนี้นิยามโดย...
 การมีรอบเอวเกิน 90 ซม. ในผู้ชาย และเกิน 80 ซม. ในผู้หญิง
 การมีความดันโลหิตสูงกว่า 130/85 มม.ปรอท
 การมีไขมันไม่ดี (LDL) สูง และมีไขมันดี (HDL) ต่ากว่า 40 มก./ดล. ในผู้ชาย และต่ากว่า 50
มก./ดล. ในผู้หญิง
 การมีไตรกลีเซอไรด์ในเลือด สูงกว่า 150 มก./ดล.
ปัญหาที่จะเกิดขึ้นตามมา คือความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ซึ่งเป็นโรคเรื้อรังที่คนไทยเป็นกันมาก และ
ควบคุมอาการได้ยาก
โรคเมตาบอลิคซินโดรม
 เคยสงสัยไหม ว่าบางคนกินน้อยแต่ทาไมยังอ้วน? นั่นอาจเป็นเพราะระบบเผาผลาญพัง ทาให้
เราไม่สามารถสลายอาหารที่กินเข้าไปกลายเป็นพลังงานได้ตามปกติ แม้ว่าจะกินข้าวเพียงวัน
ละจานก็ตาม ซึ่งสาเหตุของระบบเผาผลาญพัง อาจเกิดจากความเครียดสะสม ระดับฮอร์โมน
ผิดปกติในร่างกาย เช่น ขาดฮอร์โมนไทรอยด์ หรือเกิดจากการลดน้าหนักผิดวิธี เช่น บางคน
ใช้วิธีหักดิบ อดอาหาร และออกกาลังกายอย่างบ้าคลั่ง ซึ่งการทาแบบนี้น้าหนักจะลดลงเฉพาะ
ในช่วงแรกๆ เท่านั้น แต่พอนานเข้าร่างกายที่ไม่ได้รับอาหารเพียงพอก็จะเข้าสู่ ‘โหมดประหยัด
พลังงาน’ และเก็บสะสมอาหารทุกสิ่งอย่างที่กินให้อยู่ในรูปไขมัน ซึ่งผลที่ได้คือนอกจากจะไม่
ผอมลงแล้ว ยังทาให้ระบบเผาผลาญพังอย่างที่เห็น
ระบบเผาผลาญพัง
คือการเปลี่ยนอาหารที่เราทานเข้าไป ให้อยู่ในรูปของเชื้อเพลิงพลังงาน เพื่อนามาใช้ในกระบวนการต่างๆ
เช่น การหายใจ การทางานของอวัยวะภายใน การเคลื่อนไหวร่างกาย การสร้างกล้ามเนื้อและกระดูก เป็นต้น
การเผาผลาญเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นในเซลล์ต่างๆ และสาคัญต่อการดารงชีวิต
การเผาผลาญยังแบ่งได้เป็น 2 กระบวนการ ได้แก่ การสลาย หรือ แคแทบอลิซึม (Catabolism) เป็น
การสลายสารอินทรีย์ เช่น น้าตาลกลูโคส ให้เป็นพลังงาน และ การสร้าง หรือ แอแนบอลิซึม
(Anabolism) เป็นการใช้พลังงานที่ได้ในการสร้างส่วนประกอบของเซลล์ เช่น โปรตีน, DNA และ
RNA ซึ่งกระบวนการทั้งสองจะเกิดควบคู่กันไปอย่างสมดุล
การเผาผลาญสารอาหารแต่ละชนิด
สารอาหาร ซึ่งได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เกลือแร่และวิตามิน จะผ่านกระบวนการที่แตกต่างกัน ใน
การสลายและนามาใช้ในร่างกาย
การเผาผลาญ (Metabolism)
เป็นแหล่งพลังงานสาคัญ ซึ่งส่วนมากเราจะได้รับจากการทานข้าว แป้ ง ขนมปัง อาหารเหล่านี้เมื่อ
เข้าสู่ร่างกายจะถูกย่อยให้กลายเป็นน้าตาลขนาดเล็ก เช่น น้าตาลกลูโคส จากนั้น เซลล์ต่างๆ จะ
รับกลูโคสเข้าไป และสลายต่อไปจนได้เป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ น้า และพลังงาน ซึ่งใช้สาหรับ
เป็นเชื้อเพลิงในการทางานของเซลล์ น้าตาลกลูโคสส่วนเกินที่ร่างกายใช้ไม่หมด จะถูกเก็บไว้ที่ตับ
ในรูปของไกลโคเจน (glycogen) เพื่อเป็นเชื้อเพลิงสารองเมื่อร่างกายต้องการ แต่หากเรา
ทานแป้ งมากจนมีกลูโคสมากเกินพอ น้าตาลกลูโคสส่วนที่เหลือก็จะถูกเปลี่ยนเป็นไขมันและสะสม
ในร่างกาย ซึ่งถือเป็นเชื้อเพลิงสารองอีกรูปแบบหนึ่ง
คาร์โบไฮเดรต
 เป็นสารอาหารที่ส่วนมากเราจะได้รับจากการทานเนื้อสัตว์ นม ไข่ ถั่ว อย่างที่เราทราบกันว่า
โปรตีนมีความสาคัญในการเสริมสร้างกล้ามเนื้อและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ เมื่อเราทานอาหาร
เข้าไป โปรตีนในอาหารจะถูกย่อยจนกลายเป็นหน่วยเล็กที่สุด คือ กรดอะมิโน และดูดซึมเข้าสู่
ร่างกาย กรดอะมิโนจาเป็นที่เราจะได้รับจากอาหารเท่านั้น ได้แก่ ไลซีน ทริปโตแฟน ลิวซีน ไอ
โซลิวซีน เมตไทโอนีน ฟีนิลอะลานีน ทรีโอนีน และวาลีน ซึ่งกรดอะมิโนเหล่านี้เป็นองค์ประกอบ
สาคัญของเอนไซม์และฮอร์โมนหลายชนิด รวมถึงเป็นสารตั้งต้นในการสร้างโปรตีนที่เป็น
ส่วนประกอบของเซลล์ กล้ามเนื้อ และสารต่างๆ มากมาย นอกจากนี้ ในภาวะที่ร่างกายขาด
พลังงาน โปรตีนในกล้ามเนื้อยังสามารถถูกสลายและเปลี่ยนเป็นกลูโคสเพื่อให้พลังงานได้อีก
ด้วย
โปรตีน
 ไขมันเป็นสารอาหารที่ให้พลังงานสูงที่สุด และเราสามารถรับมาจากทั้งพืชและสัตว์ ไขมันใน
อาหารขนาดใหญ่จะถูกย่อยจนมีขนาดเล็กลง และกลายเป็นกรดไขมันและกลีเซอรอล ซึ่ง
สามารถดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้ ไขมันมีหน้าที่สาคัญคือเป็นส่วนประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์ เป็น
สารตั้งต้นของฮอร์โมนสเตียรอยด์ ช่วยในการดูดซึมวิตามิน และไขมันส่วนเกินจะถูกเก็บไว้ใน
รูปของไตรกลีเซอไรด์ในเนื้อเยื่อไขมัน เพื่อใช้เป็นแหล่งเชื้อเพลิงสารองเมื่อร่างกายขาด
พลังงาน แต่อย่างที่เราทราบกันว่า ไขมันที่สะสมใต้ผิวหนังนั้นทาให้ร่างกายเราอวบอ้วน ไม่
กระชับสวยงาม อีกทั้งไขมันอิ่มตัวที่มากเกินไป อาจไปเกาะตามอวัยวะและผนังหลอดเลือด ทา
ให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคร้ายแรงต่างๆ ได้
ไขมัน
 เกลือแร่และวิตามินเป็นสารอาหารที่ไม่ให้พลังงาน แต่มีความสาคัญต่อการทางานของระบบ
ต่างๆ รวมถึงระบบเผาผลาญด้วย เกลือแร่ที่สาคัญมีหลายชนิด เช่น
โซเดียม โพแทสเซียม แมกนีเซียม เหล็ก ทองแดง สังกะสี เช่นเดียวกับวิตามินที่สาคัญ ก็มีทั้ง
วิตามินที่ละลายในไขมันและสามารถสะสมในร่างกายได้ เช่น วิตามิน เอ, ดี, อี, เค และ
วิตามินที่ละลายในน้าและไม่ถูกสะสมในร่างกาย เช่น วิตามิน บี และ ซี
เกลือแร่และวิตามิน
 รับประทานอาหารโปรตีน อาหารประเภทโปรตีนจะกระตุ้นให้ร่างกายต้องใช้พลังงานในการ
ย่อยและดูดซึมไปใช้มากกว่าการรับประทานอาหารคาร์โบไฮเดรตหรือไขมัน สาหรับผู้ที่กาลัง
ควบคุมน้าหนักหรือเพิ่มการเผาผลาญร่างกาย ควรรับประทานโปรตีนให้มากกว่า 0.8 กรัม
ต่อน้าหนักตัวหนึ่งกิโลกรัมต่อวัน หรือควรให้มีโปรตีน 15-35% ของอาหารทั้งวัน หากคุณ
ออกกาลังกายน้อย ก็รับประทานโปรตีนให้ได้ 15% แต่ถ้าคุณออกกาลังกายมากขึ้น ก็ค่อยๆ
เพิ่มโปรตีนขึ้น แต่ไม่ควรเกิน 35% ของอาหารทั้งวัน
เคล็ดลับเพิ่มการเผาผลาญเพื่อควบคุมน้าหนักแบบไม่ต้องอด
ไม่ต้องหิว
สกัดแคลอรีเข้าสู่ร่างกาย พลังงานที่เข้าสู่ร่างกายจาก
สารอาหารที่เรารับประทานเข้าไปในแต่ละวัน จะต้องสมดุลหรือ
น้อยกว่าพลังงานที่ร่างกายเผาผลาญในแต่ละวัน
 คนอ้วนหรือเป็นโรคเบาหวานจะมีระดับการอักเสบในร่างกายและไขมันสูง และทาให้การเผาผลาญ
ไขมันช้าลง เนื่องจากการอักเสบในร่างกายจะมีผลชะลอการเผาผลาญในร่างกายเพื่อสารองพลังงานไว้
ต่อสู้กับภาวะอักเสบสูงในร่างกาย กรดไขมันไม่อิ่มตัว เช่น กรดไขมันโอเมก้า-3 จากน้ามันปลา และซี
แอลเอ (conjugated linoleic acid) มีความสาคัญในการควบคุมหรือลดระดับการ
อักเสบในร่างกาย จึงมีส่วนช่วยในโปรแกรมเร่งการเผาผลาญและลดไขมันสะสมในร่างกาย นอกจากนี้
ยังช่วยลดความเสี่ยงต่อไขมันอุดตันในหลอดเลือดได้หากกินอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ซีแอล
 เอยังช่วยเร่งการเผาผลาญไขมันที่สะสมในร่างกาย เพิ่มการเผาผลาญในระดับเซลล์ จัดเป็นสารเสริม
อาหารตัวหลักร่วมกับการออกกาลังกาย สาหรับคนที่ต้องการควบคุมไขมันสะสมในร่างกาย
“รับประทานไขมันดี ลดพุง”
 กระบวนการเผาผลาญ เป็นปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ที่ต้องใช้วิตามิน เกลือแร่ และสารอาหารจาเป็น การ
ลดหรือควบคุมน้าหนักอาจทาให้เซลล์ร่างกายเริ่มขาดแคลอรีและสารอาหารจาเป็น เซลล์จะเริ่มปรับตัว
หรือเข้าสู่ภาวะจาศีล เพื่อลดการเผาผลาญ เพื่อให้เหลือพลังงานสะสมชดเชยกับที่ร่างกายขาดแคลน
และอาจดึงไขมันสะสมเก็บไว้เพื่อเป็นพลังงานสารองยามขาดแคลน
 ดังนั้น สาหรับคนที่ควบคุมอาหารเพื่อรักษาน้าหนักตัวเกิน 2-3 เดือน อาหารควบคุมน้าหนักที่คุณ
รับประทานอยู่อาจขาดสารอาหารจาเป็น และส่งผลให้การเผาผลาญชะลอตัวได้ คุณจึงควรเสริม
สารอาหารจาเป็นให้เพียงพอกับความต้องการพื้นฐาน หรือเลือกเสริมวิตามิน เกลือแร่ และไฟโตนิวเท
รียนท์ เพื่อมั่นใจว่าร่างกายของคุณจะคงระดับการเผาผลาญได้อย่างต่อเนื่องและควบคุมน้าหนักได้ใน
ระยะยาว
อย่าลืมรักษาสมดุลสารอาหารจาเป็น เพื่อการเผาผลาญ
 แนวทางการดาเนินงาน
 1.เลือกหัวข้อที่ต้องการศึกษา
 2.นาหัวข้อที่เลือกไปเสนอให้กับครูผู้สอน
 3.รวบรวมข้อมูลต่างที่เกี่ยวข้องในเรื่องของภาวะโลกร้อน ไม่ว่าจะเป็นสาเหตุ ผลกระทบและวิธีการ
ป้ องกัน
 4.จัดทารายงาน
 5.ประเมินผลงาน
 6.แก้ไขจุดที่ผิดพลาด
 7.นาเสนอ
วิธีดาเนินงาน
ลา
ดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน ภาณุพงศ์
2 ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
ภาณุพงศ์
3 จัดทาโครงร่างงาน
ภาณุพงศ์
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
ภาณุพงศ์
5 ปรับปรุงทดสอบ กฤษดาร
6 การทา
เอกสารรายงาน
กฤษดาร
7
ประเมินผลงาน กฤษดาร
8
นาเสนอโครงงาน กฤษดาร
 1.คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต
 2.โทรศัพท์มือถือ
 3.โปรแกรมVivavideo
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
 -ได้รับรู้การทางานของระบบเผาผลาญในร่างกายมากขึ้น
 -ดูแลตัวเองมากขึ้น
 - ป้ องกันตนเองจากโรคอ้วน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
 ระบบเผาผลาญทางานอย่างไร? ใครอยากมีสุขภาพดีควรรู้
 https://www.honestdocs.co/how-does-the-metabolic-
system-work
 เคล็ดลับเพิ่มการเผาผลาญเพื่อควบคุมน้าหนักแบบไม่ต้องอด ไม่ต้องหิว
 https://www.nutrilite.co.th/th/article/block-and-burn
แหล่งที่มา

Contenu connexe

Tendances

ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์Tawadchai Wong-anan
 
ความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นTanadol Intachan
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการtumetr
 
อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่Janjira Majai
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหารPanjaree Bungong
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายKan Pan
 
สุดา แสงเกตุ
สุดา แสงเกตุสุดา แสงเกตุ
สุดา แสงเกตุDa_saengket
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
บทที่ ๒ สารอาหาร
บทที่ ๒ สารอาหารบทที่ ๒ สารอาหาร
บทที่ ๒ สารอาหารkasocute
 
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงtechno UCH
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคtassanee chaicharoen
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาtassanee chaicharoen
 

Tendances (19)

ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์
 
ความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _น
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่
 
อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
 
Food&life
Food&lifeFood&life
Food&life
 
โภชนาการ[3[1]
โภชนาการ[3[1]โภชนาการ[3[1]
โภชนาการ[3[1]
 
สุดา แสงเกตุ
สุดา แสงเกตุสุดา แสงเกตุ
สุดา แสงเกตุ
 
16 maternal nutrition ppt
16 maternal nutrition ppt16 maternal nutrition ppt
16 maternal nutrition ppt
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
Enzyme : Lee Pao
Enzyme : Lee PaoEnzyme : Lee Pao
Enzyme : Lee Pao
 
บทที่ ๒ สารอาหาร
บทที่ ๒ สารอาหารบทที่ ๒ สารอาหาร
บทที่ ๒ สารอาหาร
 
แผ่นพับ ข้าวไทย
แผ่นพับ ข้าวไทยแผ่นพับ ข้าวไทย
แผ่นพับ ข้าวไทย
 
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยา
 

Similaire à Finals projevt

ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพrubtumproject.com
 
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
การออกกำลังกายที่ถูกวิธีเอิท. เอิท
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติanutidabulakorn
 
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptxแผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptxtangsaykangway
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติanutidabulakorn
 
อาหารสุขภาพ 5
อาหารสุขภาพ 5อาหารสุขภาพ 5
อาหารสุขภาพ 5Utai Sukviwatsirikul
 
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด Kraisee PS
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิตบทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010Coco Tan
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการAobinta In
 
ปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนaousarach
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน34LIFEYES
 

Similaire à Finals projevt (20)

ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 
Health1 1-2
Health1 1-2Health1 1-2
Health1 1-2
 
งานนำเสนอ 22-31-35
งานนำเสนอ 22-31-35งานนำเสนอ 22-31-35
งานนำเสนอ 22-31-35
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
 
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptxแผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
 
อาหารสุขภาพ 5
อาหารสุขภาพ 5อาหารสุขภาพ 5
อาหารสุขภาพ 5
 
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิตบทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
 
Supplementary food
Supplementary foodSupplementary food
Supplementary food
 
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการ
 
ปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วน
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
 
Mom knowledge
Mom knowledgeMom knowledge
Mom knowledge
 

Finals projevt

  • 2.  ที่มาและความสาคัญของโครงงาน  วัตถุประสงค์  ขอบเขตโครงงาน  กลุ่มสารการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง  วิธีดาเนินงาน  สถานที่ดาเนินการ  ผลที่คาดว่าจะได้รับ CONTENTS
  • 3.  ภาณุพงศ์ คาเหลือง ม.6/2 เลขที่ 8  กฤษดาร หมื่นตุ้ม ม.6/2 เลขที่ 29 จัดทาโดย คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ เสนอ
  • 4.  เนื่องจากในปัจจุบันคนส่วนใหญ่เผชิญปัญหาเกี่ยวกับโรคอ้วน อาจเกิดจากหลายสาเหตุ ด้วยกัน เช่น พันธุกรรม สภาพสังคมและวัฒนธรรม และสาเหตุที่สาคัญคือการบริโภคอาหาร ได้รับอิทธิพลจาก สื่อโฆษณาต่างๆ การขาดวินัยในการรับประทานอาหารให้เป็นเวลา ไม่รู้จัก เลือกซื้ออาหารที่มีประโยชน์ ขาดวินัยในการใช้เวลา ไม่รู้คุณค่าของเงิน และ พฤติกรรมสุขภาพ ที่ไม่เหมาะสม ทั้งการบริโภคอาหารไขมันสูง พฤติกรรมนั่งๆ นอนๆ ขาดการออกกาลังกาย ซึ่งก่อให้เกิดโรคเรื้อรังที่พบบ่อย คนเหล่านี้จึงมีปัญหาโรคอ้วนเพิ่มขึ้น ตามลาดับ อาจส่งผล ถึงภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพเพิ่มสูงขึ้น ได้แก่ โรคเบาหวาน หอบ และความดันโลหิตสูง ทั้งที่ควร จะเป็นโรคในวัยผู้ใหญ่ แต่ในปัจจุบันในวัยเด็กหรือวัยรุ่นก็มีความเสี่ยงเช่นเดียวกัน ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง เป็นต้น ดังนั้นการป้ องกัน ความรุนแรงและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคอ้วน โดยการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ เหมาะสมจึงเป็นสิ่งจาเป็น จึงทาให้ข้าพเจ้าสนใจที่จะทาโครงงานพัฒนาเว็บไซต์เรื่อง...การลด ความอ้วนอย่างถูกวิธีเพื่อเผยแพร่ความรู้ให้เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาต่อไป ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
  • 5.  1.เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับความอ้วน  2.เพื่อให้รู้ถึงผลกระทบที่ตามมา  3.เพื่อให้รับมือและป้ องกันความอ้วน  4.เพื่อให้แหล่งความรู้ที่เป็นประโยชน์ในการตัดสินใจ วัตถุประสงค์
  • 6.  โรคอ้วนคืออะไร  ดูแลตัวเองอย่างไร  รู้ขอมูลทางโภชนาการ ขอบเขตโครงงาน
  • 10.  (Metabolic syndrome) เมตาบอลิคซินโดรม เรียกกันง่ายๆ ว่า “ภาวะอ้วนลงพุง” ซึ่งสาหรับคนไทย ภาวะนี้นิยามโดย...  การมีรอบเอวเกิน 90 ซม. ในผู้ชาย และเกิน 80 ซม. ในผู้หญิง  การมีความดันโลหิตสูงกว่า 130/85 มม.ปรอท  การมีไขมันไม่ดี (LDL) สูง และมีไขมันดี (HDL) ต่ากว่า 40 มก./ดล. ในผู้ชาย และต่ากว่า 50 มก./ดล. ในผู้หญิง  การมีไตรกลีเซอไรด์ในเลือด สูงกว่า 150 มก./ดล. ปัญหาที่จะเกิดขึ้นตามมา คือความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ซึ่งเป็นโรคเรื้อรังที่คนไทยเป็นกันมาก และ ควบคุมอาการได้ยาก โรคเมตาบอลิคซินโดรม
  • 11.  เคยสงสัยไหม ว่าบางคนกินน้อยแต่ทาไมยังอ้วน? นั่นอาจเป็นเพราะระบบเผาผลาญพัง ทาให้ เราไม่สามารถสลายอาหารที่กินเข้าไปกลายเป็นพลังงานได้ตามปกติ แม้ว่าจะกินข้าวเพียงวัน ละจานก็ตาม ซึ่งสาเหตุของระบบเผาผลาญพัง อาจเกิดจากความเครียดสะสม ระดับฮอร์โมน ผิดปกติในร่างกาย เช่น ขาดฮอร์โมนไทรอยด์ หรือเกิดจากการลดน้าหนักผิดวิธี เช่น บางคน ใช้วิธีหักดิบ อดอาหาร และออกกาลังกายอย่างบ้าคลั่ง ซึ่งการทาแบบนี้น้าหนักจะลดลงเฉพาะ ในช่วงแรกๆ เท่านั้น แต่พอนานเข้าร่างกายที่ไม่ได้รับอาหารเพียงพอก็จะเข้าสู่ ‘โหมดประหยัด พลังงาน’ และเก็บสะสมอาหารทุกสิ่งอย่างที่กินให้อยู่ในรูปไขมัน ซึ่งผลที่ได้คือนอกจากจะไม่ ผอมลงแล้ว ยังทาให้ระบบเผาผลาญพังอย่างที่เห็น ระบบเผาผลาญพัง
  • 12. คือการเปลี่ยนอาหารที่เราทานเข้าไป ให้อยู่ในรูปของเชื้อเพลิงพลังงาน เพื่อนามาใช้ในกระบวนการต่างๆ เช่น การหายใจ การทางานของอวัยวะภายใน การเคลื่อนไหวร่างกาย การสร้างกล้ามเนื้อและกระดูก เป็นต้น การเผาผลาญเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นในเซลล์ต่างๆ และสาคัญต่อการดารงชีวิต การเผาผลาญยังแบ่งได้เป็น 2 กระบวนการ ได้แก่ การสลาย หรือ แคแทบอลิซึม (Catabolism) เป็น การสลายสารอินทรีย์ เช่น น้าตาลกลูโคส ให้เป็นพลังงาน และ การสร้าง หรือ แอแนบอลิซึม (Anabolism) เป็นการใช้พลังงานที่ได้ในการสร้างส่วนประกอบของเซลล์ เช่น โปรตีน, DNA และ RNA ซึ่งกระบวนการทั้งสองจะเกิดควบคู่กันไปอย่างสมดุล การเผาผลาญสารอาหารแต่ละชนิด สารอาหาร ซึ่งได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เกลือแร่และวิตามิน จะผ่านกระบวนการที่แตกต่างกัน ใน การสลายและนามาใช้ในร่างกาย การเผาผลาญ (Metabolism)
  • 13. เป็นแหล่งพลังงานสาคัญ ซึ่งส่วนมากเราจะได้รับจากการทานข้าว แป้ ง ขนมปัง อาหารเหล่านี้เมื่อ เข้าสู่ร่างกายจะถูกย่อยให้กลายเป็นน้าตาลขนาดเล็ก เช่น น้าตาลกลูโคส จากนั้น เซลล์ต่างๆ จะ รับกลูโคสเข้าไป และสลายต่อไปจนได้เป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ น้า และพลังงาน ซึ่งใช้สาหรับ เป็นเชื้อเพลิงในการทางานของเซลล์ น้าตาลกลูโคสส่วนเกินที่ร่างกายใช้ไม่หมด จะถูกเก็บไว้ที่ตับ ในรูปของไกลโคเจน (glycogen) เพื่อเป็นเชื้อเพลิงสารองเมื่อร่างกายต้องการ แต่หากเรา ทานแป้ งมากจนมีกลูโคสมากเกินพอ น้าตาลกลูโคสส่วนที่เหลือก็จะถูกเปลี่ยนเป็นไขมันและสะสม ในร่างกาย ซึ่งถือเป็นเชื้อเพลิงสารองอีกรูปแบบหนึ่ง คาร์โบไฮเดรต
  • 14.  เป็นสารอาหารที่ส่วนมากเราจะได้รับจากการทานเนื้อสัตว์ นม ไข่ ถั่ว อย่างที่เราทราบกันว่า โปรตีนมีความสาคัญในการเสริมสร้างกล้ามเนื้อและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ เมื่อเราทานอาหาร เข้าไป โปรตีนในอาหารจะถูกย่อยจนกลายเป็นหน่วยเล็กที่สุด คือ กรดอะมิโน และดูดซึมเข้าสู่ ร่างกาย กรดอะมิโนจาเป็นที่เราจะได้รับจากอาหารเท่านั้น ได้แก่ ไลซีน ทริปโตแฟน ลิวซีน ไอ โซลิวซีน เมตไทโอนีน ฟีนิลอะลานีน ทรีโอนีน และวาลีน ซึ่งกรดอะมิโนเหล่านี้เป็นองค์ประกอบ สาคัญของเอนไซม์และฮอร์โมนหลายชนิด รวมถึงเป็นสารตั้งต้นในการสร้างโปรตีนที่เป็น ส่วนประกอบของเซลล์ กล้ามเนื้อ และสารต่างๆ มากมาย นอกจากนี้ ในภาวะที่ร่างกายขาด พลังงาน โปรตีนในกล้ามเนื้อยังสามารถถูกสลายและเปลี่ยนเป็นกลูโคสเพื่อให้พลังงานได้อีก ด้วย โปรตีน
  • 15.  ไขมันเป็นสารอาหารที่ให้พลังงานสูงที่สุด และเราสามารถรับมาจากทั้งพืชและสัตว์ ไขมันใน อาหารขนาดใหญ่จะถูกย่อยจนมีขนาดเล็กลง และกลายเป็นกรดไขมันและกลีเซอรอล ซึ่ง สามารถดูดซึมเข้าสู่ร่างกายได้ ไขมันมีหน้าที่สาคัญคือเป็นส่วนประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์ เป็น สารตั้งต้นของฮอร์โมนสเตียรอยด์ ช่วยในการดูดซึมวิตามิน และไขมันส่วนเกินจะถูกเก็บไว้ใน รูปของไตรกลีเซอไรด์ในเนื้อเยื่อไขมัน เพื่อใช้เป็นแหล่งเชื้อเพลิงสารองเมื่อร่างกายขาด พลังงาน แต่อย่างที่เราทราบกันว่า ไขมันที่สะสมใต้ผิวหนังนั้นทาให้ร่างกายเราอวบอ้วน ไม่ กระชับสวยงาม อีกทั้งไขมันอิ่มตัวที่มากเกินไป อาจไปเกาะตามอวัยวะและผนังหลอดเลือด ทา ให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคร้ายแรงต่างๆ ได้ ไขมัน
  • 16.  เกลือแร่และวิตามินเป็นสารอาหารที่ไม่ให้พลังงาน แต่มีความสาคัญต่อการทางานของระบบ ต่างๆ รวมถึงระบบเผาผลาญด้วย เกลือแร่ที่สาคัญมีหลายชนิด เช่น โซเดียม โพแทสเซียม แมกนีเซียม เหล็ก ทองแดง สังกะสี เช่นเดียวกับวิตามินที่สาคัญ ก็มีทั้ง วิตามินที่ละลายในไขมันและสามารถสะสมในร่างกายได้ เช่น วิตามิน เอ, ดี, อี, เค และ วิตามินที่ละลายในน้าและไม่ถูกสะสมในร่างกาย เช่น วิตามิน บี และ ซี เกลือแร่และวิตามิน
  • 17.  รับประทานอาหารโปรตีน อาหารประเภทโปรตีนจะกระตุ้นให้ร่างกายต้องใช้พลังงานในการ ย่อยและดูดซึมไปใช้มากกว่าการรับประทานอาหารคาร์โบไฮเดรตหรือไขมัน สาหรับผู้ที่กาลัง ควบคุมน้าหนักหรือเพิ่มการเผาผลาญร่างกาย ควรรับประทานโปรตีนให้มากกว่า 0.8 กรัม ต่อน้าหนักตัวหนึ่งกิโลกรัมต่อวัน หรือควรให้มีโปรตีน 15-35% ของอาหารทั้งวัน หากคุณ ออกกาลังกายน้อย ก็รับประทานโปรตีนให้ได้ 15% แต่ถ้าคุณออกกาลังกายมากขึ้น ก็ค่อยๆ เพิ่มโปรตีนขึ้น แต่ไม่ควรเกิน 35% ของอาหารทั้งวัน เคล็ดลับเพิ่มการเผาผลาญเพื่อควบคุมน้าหนักแบบไม่ต้องอด ไม่ต้องหิว
  • 19.  คนอ้วนหรือเป็นโรคเบาหวานจะมีระดับการอักเสบในร่างกายและไขมันสูง และทาให้การเผาผลาญ ไขมันช้าลง เนื่องจากการอักเสบในร่างกายจะมีผลชะลอการเผาผลาญในร่างกายเพื่อสารองพลังงานไว้ ต่อสู้กับภาวะอักเสบสูงในร่างกาย กรดไขมันไม่อิ่มตัว เช่น กรดไขมันโอเมก้า-3 จากน้ามันปลา และซี แอลเอ (conjugated linoleic acid) มีความสาคัญในการควบคุมหรือลดระดับการ อักเสบในร่างกาย จึงมีส่วนช่วยในโปรแกรมเร่งการเผาผลาญและลดไขมันสะสมในร่างกาย นอกจากนี้ ยังช่วยลดความเสี่ยงต่อไขมันอุดตันในหลอดเลือดได้หากกินอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ซีแอล  เอยังช่วยเร่งการเผาผลาญไขมันที่สะสมในร่างกาย เพิ่มการเผาผลาญในระดับเซลล์ จัดเป็นสารเสริม อาหารตัวหลักร่วมกับการออกกาลังกาย สาหรับคนที่ต้องการควบคุมไขมันสะสมในร่างกาย “รับประทานไขมันดี ลดพุง”
  • 20.  กระบวนการเผาผลาญ เป็นปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ที่ต้องใช้วิตามิน เกลือแร่ และสารอาหารจาเป็น การ ลดหรือควบคุมน้าหนักอาจทาให้เซลล์ร่างกายเริ่มขาดแคลอรีและสารอาหารจาเป็น เซลล์จะเริ่มปรับตัว หรือเข้าสู่ภาวะจาศีล เพื่อลดการเผาผลาญ เพื่อให้เหลือพลังงานสะสมชดเชยกับที่ร่างกายขาดแคลน และอาจดึงไขมันสะสมเก็บไว้เพื่อเป็นพลังงานสารองยามขาดแคลน  ดังนั้น สาหรับคนที่ควบคุมอาหารเพื่อรักษาน้าหนักตัวเกิน 2-3 เดือน อาหารควบคุมน้าหนักที่คุณ รับประทานอยู่อาจขาดสารอาหารจาเป็น และส่งผลให้การเผาผลาญชะลอตัวได้ คุณจึงควรเสริม สารอาหารจาเป็นให้เพียงพอกับความต้องการพื้นฐาน หรือเลือกเสริมวิตามิน เกลือแร่ และไฟโตนิวเท รียนท์ เพื่อมั่นใจว่าร่างกายของคุณจะคงระดับการเผาผลาญได้อย่างต่อเนื่องและควบคุมน้าหนักได้ใน ระยะยาว อย่าลืมรักษาสมดุลสารอาหารจาเป็น เพื่อการเผาผลาญ
  • 21.  แนวทางการดาเนินงาน  1.เลือกหัวข้อที่ต้องการศึกษา  2.นาหัวข้อที่เลือกไปเสนอให้กับครูผู้สอน  3.รวบรวมข้อมูลต่างที่เกี่ยวข้องในเรื่องของภาวะโลกร้อน ไม่ว่าจะเป็นสาเหตุ ผลกระทบและวิธีการ ป้ องกัน  4.จัดทารายงาน  5.ประเมินผลงาน  6.แก้ไขจุดที่ผิดพลาด  7.นาเสนอ วิธีดาเนินงาน
  • 22. ลา ดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน ภาณุพงศ์ 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล ภาณุพงศ์ 3 จัดทาโครงร่างงาน ภาณุพงศ์ 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน ภาณุพงศ์ 5 ปรับปรุงทดสอบ กฤษดาร 6 การทา เอกสารรายงาน กฤษดาร 7 ประเมินผลงาน กฤษดาร 8 นาเสนอโครงงาน กฤษดาร
  • 23.  1.คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต  2.โทรศัพท์มือถือ  3.โปรแกรมVivavideo เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
  • 25.  ระบบเผาผลาญทางานอย่างไร? ใครอยากมีสุขภาพดีควรรู้  https://www.honestdocs.co/how-does-the-metabolic- system-work  เคล็ดลับเพิ่มการเผาผลาญเพื่อควบคุมน้าหนักแบบไม่ต้องอด ไม่ต้องหิว  https://www.nutrilite.co.th/th/article/block-and-burn แหล่งที่มา