SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  20
Télécharger pour lire hors ligne
วิสุทธิ
วิสุทธิ....หมายถึง ความหมดจด ความบริสุทธิ์จากกิเลส
..หมายถึ
คือ ความบริสุทธิ์ของดวงจิตที่สํารอกกิเลสหรืออาสวะได
แลวยอมหลุดพนจากความเศราหมอง เหมือนผาที่ผาน

การซักฟอกแลวยอมขาวสะอาด ปราศจากสิ่งแปดเปอน
บาลีแหงวิสุทธิ มีอยู 2 บท คือ
1. ปฺญาย ปริสุชฌติ ยอมหมดจดดวยปญญา
ฺ
พุทธภาษิตนี้ แสดงใหเห็นวา ความบริสทธิ์จะเกิดขึ้นไดก็
ุ
ดวยปญญาเทานั้น คือ ใชปญญาเปนเครื่องพิจารณาหา
แนวทางแหงการประพฤติปฏิบัติ
2. เอส มคฺโค วิสุทธิยา นั่น(นิพพิทา)เปนทางแหงวิสุทธิ
คําวา “นิพพิทา” ความหนายทุกข จะเกิดขึ้นไดก็ดวยการ
ใชปญญาพิจารณาใหเห็นวา สั้งขารทังปวง ไมเทียง เปน
้
่
ทุกข เปนอนัตตา
ความบริสุทธิ.์ ..ในศาสนาอื่น
ศาสนาพราหมณ
ความบริสุทธิ์จากบาปที่ทํา
แลว จะมีไดก็ตอเมื่อทําพิธี
ลอยบาป คือการอาบน้ําใน
แมน้ําคงคา เพื่อใหบาปลอย
ไปตามสายน้ํา อันศักดิ์สิทธิ์
นั้น ทําใหตนบริสุทธิ์หมด
จดจากบาปที่ทําไวแลวได

ศาสนาคริสต
ความบริสุทธิ์จากบาปที่ทํา
แลว จะมีไดก็ตอเมื่อไดบอก
สารภาพบาป กับพระผูเปน
เจาแลวเริ่มสวดออนวอนให
ประทานยกโทษให หรือแม
แตเด็กที่เกิดมามีบาปติดตัว
ก็ตองทําพิธีรับศีลจุม
แตทางพุทธศาสนา สอนวา...
อตฺตนา ว กตํ ปาป
อตฺตนา สงฺกิลิสฺสติ
อตฺตนา อกตํ ปาป
อตฺตนา ว วิสุชฺฌติ
สุทฺธิ อสุทฺธิ ปจฺจตฺตํ
นาฺโญ อฺญํ วิโสธเย
ทําบาปเอง ยอมเศราหมองเอง ไมทําบาปเอง ยอม
หมดจดเอง ความหมดจดหรือความเศราหมองเปน
ของเฉพาะตัว คนอื่นยังคนอื่นใหหมดจดหาไดไม
ความบริสุทธิ์ภายในยอมเกิดมีเพราะปญญา ที่พิจารณาเห็น
สิ่งดีสิ่งชั่ว ประโยชนและมิใชประโยชน ขั้นตอนการใชปญญา
พิจารณาเพื่อใหถึงวิสุทธิ เรียกวา วิปสสนาญาณ ๙

1. อุทยัพพยานุปสสนาญาณ

5. นิพพิทานุปสสนาญาณ

2. ภังคานุปสสนาญาณ

6. มุญจิตุกัมยตาญาณ

3. ภยตูปฏฐานญาณ

7. ปฏิสังขานุปสสนาญาณ

4. อาทีนวานุปสสนาญาณ

8. สังขารุเปกขาญาณ

9. สัจจานุโลมิกญาณ
วิปสสนาญาณ..หมายถึง ญาณอันนับเนื่องในวิปสสนา
สนาญาณ..
ญาณที่ทําความเห็นแจงใหเกิด โดยการใชปญญาพิจารณาให
สูงขึ้นตามลําดับ มี ๙ อยาง คือ...
1. อุทยัพพยานุปสสนาญาณ ปรีชาคํานึงเห็นทั้งความเกิด
และความดับ
2. ภังคานุปสสนาญาณ ปรีชาคํานึงถึงความดับ หมายถึง
ญาณที่พิจารณาถึงความดับ
3. ภยตูปฎฐานญาณ ปรีชาคํานึงเห็นสังขารปรากฏเปน
ของนากลัว
4. อาทีนวานุปสสนาญาณ ปรีชาคํานึงถึงโทษ หมายถึง
ญาณที่พิจารณาเห็นโทษของสังขาร
5. นิพพิทานุปสสนาญาณ ปรีชาคํานึงดวยความนาเบื่อ
หนาย หมายถึง ญาณที่พิจารณาเห็นสังขารวาเปนของ
นาเบื่อหนาย
6. มุญจิตุกัมยตาญาณ ปรีชาคํานึงดวยใครจะพนไปเสีย
หมายถึง ญาณที่พิจารณาเพื่อหาทางเปลื้องตนไมให
พัวพันติดของอยูในสังขาร
7. ปฏิสังขานุปสสนาญาณ ปรีชาคํานึงดวยการพิจารณา
หาทาง หมายถึง ญาณที่พิจาณาเลือกหาทางที่จะปลด
เปลื้องตนจากสังขาร
8. สังขารุเปกขาญาณ ปรีชาคํานึงดวยความวางเฉยเสีย
หมายถึง ญาณที่พิจารณาเห็นความจริงของสังขาร
แลววางใจใหเปนกลางในสังขารทั้งหลายได
9. สัจจานุโลมิกญาณ ปรีชาเปนไปโดยสมควรแกการ
กําหนดรูอริยสัจ หมายถึง ญาณที่พิจารณาอนุโลมไป
ตามสัจจะ
ทาง...
ทาง...คือปฏิปทาขอปฏิบัตถึงความบริสุทธิ์
ิ
แหงทัสสนะ ไดแก อริยมรรคมีองค ๘ ซึ่งมี
บาลีรับรองวา...
มคฺคานฏฐงฺคิโก เสฏโฐ
เอเสว มคฺโค นตฺถฺโญ ทสฺสนสฺส วิสุทธิยา
ทางมีองค ๘ ประเสริฐแหงทางทั้งหลาย ทางนัน
้
แลไมมีทางอื่น เพือความหมดจดแหงทัสสนะ
่
มรรค ๘ อยาง
******************************

1. สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบถูกตอง

5. สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพถูกตอง

2. สัมมาสังกัปปะ ดําริที่ถูกตอง

6. สัมมาวายมะ ความเพียรที่ถูก

3. สัมมาวาจา วาจาที่ถกตอง
ู

7. สัมมาสติ ความระลึกที่ถูก

4. สัมมากัมมันตะ งานถูกตอง

8. สัมมาสมาธิ ความตั้งใจที่ถูก
มรรค...
มรรค...หมายถึงหนทาง

หรือวิธีปฏิบัติสําหรับ
ดําเนินไปสูหนทางดับทุกข เปนหนทางใหผูที่ดําเนิน
ตามเปนพระอริยบุคคล ได มี ๘ อยาง คือ...
1. สัมมาทิฏฐิ หมายถึง ความเห็นที่ถูกตอง ปญญาอัน
เห็นแจงในอริยสัจ คือ เห็นทุกข เห็นสุมทัย เห็นนิโรธ
เห็นมรรค
2. สัมมาสังกัปปะ หมายถึง ความดําริอันถูกตอง ไดแก
ความดําริในอันออกจากกรรม ในอันไมพยาบาท ในอัน
ไมเบียดเบียน
3. สัมมาวาจา หมายถึง วาจาที่ถูกตอง ไดแก การพูดจาที่
เวนจากวจีทุจริต ๔ คือ ไมพูดเท็จ สอเสียด คําหยาบ
และเพอเจอ
4. สัมมากัมมันตะ หมายถึง การงานที่ถูกตอง ไดแก การ
เวนจากกายทุจริต ๓ คือ ไมฆาสัตว ไมลักทรัพย ไม
ประพฤติผิดในกาม
5. สัมมาอาชีวะ หมายถึง การเลี้ยงชีพที่ถูกตอง ไดแก
เวนการเลี้ยงชีวิตที่มีโทษทั้ง ๒ ฝาย คือ โทษทางโลก
และโทษทางพระบัญญัติ รูประมาณในการหา,รับ,ทาน
6. สัมมาวายามะ หมายถึง ความเพียรที่ถูกตอง ไดแก
ความเพียรใน ปธาน ๔ คือ เพียรมิใหบาปเกิดขึ้น
เพียรละบาปที่เกิดขึ้นแลว เพียรใหกุศลเกิดขึ้น เพียร
รักษากุศลที่เกิดขึ้นแลว
7. สัมมาสติ หมายถึง ความระลึกที่ถูกตอง ไดแก ความ
ระลึกไดในสติปฏฐาน ๔ คือ กาย เวทนา จิต ธรรม
8. สัมมาสมาธิ หมายถึง ความตั้งใจที่ถูกตอง ไดแก
ความตั้งใจมั่นในการเจริญฌานทั้ง ๔ คือ ปฐมฌาน
ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน
ธรรมทั้ง ๘ อยางนี้ เปนทางอันยอดสามารถทําใหผูปฏิบัติบรรลุถึง
ความดับทุกข หรือความบริสุทธิ์แหงทัสสนะได คือ วิสทธิ ๗ อยาง
ุ
ได

วิสุทธิ ๗ อยาง

1. สีลวิสุทธิ

5. มัคคมัคคญาณทัสสนวิสุทธิ

2. จิตตวิสุทธิ

6. ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ

3. ทิฏฐิวิสุทธิ
4. กังขาวิตรณวิสุทธิ

7. ญาณทัสสนวิสุทธิ
1. สีลวิสุทธิ ความหมดจดแหงศีล คือ ความบริสุทธิ์ที่ได
จากการรักษาศีลของตนไวอยางเครงครัด สํารวมระวัง
มิใหขาดหรือดางพรอยไปได
2. จิตตวิสุทธิ ความหมดจดแหงจิต คือ ความบริสุทธิ์ที่
ไดจากการรักษาจิต ใหสงบตั้งมั่นอยูในอารมณของ
กัมมัฏฐาน จนจิตปราศจากนิวรณ ทั้ง ๕
3. ทิฎฐิวิสุทธิ ความหมดจดแหงทิฏฐิ คือ ความบริสุทธที่
เกิดจากการทําความเห็นใหถูกตอง คือ รูวา รางกาย ไม
เที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา
4. กังขาวิตรวิสุทธิ ความหมดจดแหงญาณเปนเครื่องขาม
พนความสงสัย คือ ความบริสุทธิ์แหงปญญาที่ละ
ความสงสัยในสักกายทิฏฐิความเปนตัวตนของรูปนาม
5. มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแหงญาณ
เปนเครื่องเห็นวาทางหรือมิใชทาง คือ เมื่อหมดความ
สงสัยในนามรูปก็พิจาณาวา ทางไหนถูก ทางไหนผิด
6. ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแหงญาณเปน
เครื่องเห็นทางปฏิบัติ คือ เมื่อรูวานี้เปนทางปฏิบัติที่
ถูกตองก็นอมจิตสูวิปสสนาญาณ
7. ญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแหงญาณทัสสนะ คือ
ความบริสุทธิ์ของปญญาที่มีนิพพานเปนอารมณ เปน
เหตุใหตัดกิเลสตัณหาละสังโยชนไดอยางสิ้นเชิง คือ
เปนญาณของอริยมรรค ๔ (โสดาปตติมรรค จนถึง
อรหัตตมรรค)

วิสุทธิ ๗ นั้น
ขอ ๑ - ๕ เปน โลกิยะ
ขอ ๖ - ๗ เปน โลกุตตระ
มรรค ๘ เทียบกับ วิสุทธิ ๗
1. สัมมาวาจา, สัมมากัมมันตะ, สัมมาอาชีวะ
เทียบกับ สีลวิสุทธิ
2. สัมมาวายะ, สัมมาสติ, สัมมาสมาธิ
เทียบกับ จิตตวิสุทธิ
3. สัมมาทิฏฐิ, สัมมาสังกัปปะ, เทียบไดกับวิสุทธิอีก ๕
ขอที่เหลือตามลําดับ คือ สัมมาทิฏฐิ ทําหนาที่พิจารณา
สัมมาสังกัปปะ ทําหนาที่สันนิษฐานเปนชั้น ๆ ขึ้นไป
อยางนี้ คือ...
1. การพิจารณาสังขารโดยกฎของไตรลักษณ คือ ไมเที่ยง
เปนทุกข เปนอนัตตา จัดเปนทิฏฐิวิสุทธิ
2. การพิจารณาเล็งเห็นความเปนไปของสังขารวาเนื่อง
ดวยเหตุ คือ อาศัยเหตุเกิดขึ้น ยอมดับเพราะความแตก
สลายแหงเหตุ จัดเปนกังขาวิตรณวิสุทธิ
3. พิจารณาสังขารโดยใชโยนิโสมนสิการควบคุม ใหรูจัก
วาทางไหนถูก ทางไหนผิด จัดเปนมัคคามัคคญาณ
ทัสสนวิสุทธิ
4. วิปสสนูปกิเลสเกิดขึ้น ก็ไมหลงเพลิดเพลินยึดติด
ประคองจิตใหอยูในวิถีแหงวิปสสนาตอไป จนสําเร็จ
เปนอริยมรรค จัดเปนปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ
5. ตอเมื่อพิจารณาจนเกิดปญญา เห็นเปนอริยผล จัดเปน
ญาณทัสสนวิสุทธิ

**************************

Contenu connexe

Tendances

ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารPadvee Academy
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาkruudompcccr
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรPadvee Academy
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้Kiat Chaloemkiat
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดPadvee Academy
 

Tendances (20)

ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
มงคล38
มงคล38มงคล38
มงคล38
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
 

Similaire à บทที่ 4 วิสุทธิ

รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีรวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีTheeraphisith Candasaro
 
แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาthanaetch
 
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธNet'Net Zii
 
ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธOrraya Swager
 
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธNet'Net Zii
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับniralai
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมTaweedham Dhamtawee
 
027โอวาท๓
027โอวาท๓027โอวาท๓
027โอวาท๓niralai
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔Padvee Academy
 
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616Sombat Nakasathien
 

Similaire à บทที่ 4 วิสุทธิ (20)

รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีรวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
 
แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชา
 
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
 
ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
ส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธส  อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
ส อการเร_ยนร__เร__องศาสนาพ_ทธ
 
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธสื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
สื่อการเรียนรู้เรื่องศาสนาพุทธ
 
ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
นวโกวาท
นวโกวาทนวโกวาท
นวโกวาท
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
F7
F7F7
F7
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
 
อริยสัจ ๔
 อริยสัจ ๔ อริยสัจ ๔
อริยสัจ ๔
 
027โอวาท๓
027โอวาท๓027โอวาท๓
027โอวาท๓
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
ธรรมที่จำเป็น สู่การพ้นทุกข์ 20170616
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 

Plus de Onpa Akaradech

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Onpa Akaradech
 
ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3Onpa Akaradech
 
ปริเฉทที่ 2
ปริเฉทที่ 2ปริเฉทที่ 2
ปริเฉทที่ 2Onpa Akaradech
 
พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ Onpa Akaradech
 
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวยตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวยOnpa Akaradech
 
ห้องทำงานEee
ห้องทำงานEeeห้องทำงานEee
ห้องทำงานEeeOnpa Akaradech
 
ห้องอาหาร
ห้องอาหารห้องอาหาร
ห้องอาหารOnpa Akaradech
 

Plus de Onpa Akaradech (8)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3
 
ปริเฉทที่ 2
ปริเฉทที่ 2ปริเฉทที่ 2
ปริเฉทที่ 2
 
พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ
 
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวยตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
 
นิสัย
นิสัยนิสัย
นิสัย
 
ห้องทำงานEee
ห้องทำงานEeeห้องทำงานEee
ห้องทำงานEee
 
ห้องอาหาร
ห้องอาหารห้องอาหาร
ห้องอาหาร
 

บทที่ 4 วิสุทธิ

  • 1. วิสุทธิ วิสุทธิ....หมายถึง ความหมดจด ความบริสุทธิ์จากกิเลส ..หมายถึ คือ ความบริสุทธิ์ของดวงจิตที่สํารอกกิเลสหรืออาสวะได แลวยอมหลุดพนจากความเศราหมอง เหมือนผาที่ผาน  การซักฟอกแลวยอมขาวสะอาด ปราศจากสิ่งแปดเปอน
  • 2. บาลีแหงวิสุทธิ มีอยู 2 บท คือ 1. ปฺญาย ปริสุชฌติ ยอมหมดจดดวยปญญา ฺ พุทธภาษิตนี้ แสดงใหเห็นวา ความบริสทธิ์จะเกิดขึ้นไดก็ ุ ดวยปญญาเทานั้น คือ ใชปญญาเปนเครื่องพิจารณาหา แนวทางแหงการประพฤติปฏิบัติ 2. เอส มคฺโค วิสุทธิยา นั่น(นิพพิทา)เปนทางแหงวิสุทธิ คําวา “นิพพิทา” ความหนายทุกข จะเกิดขึ้นไดก็ดวยการ ใชปญญาพิจารณาใหเห็นวา สั้งขารทังปวง ไมเทียง เปน ้ ่ ทุกข เปนอนัตตา
  • 3. ความบริสุทธิ.์ ..ในศาสนาอื่น ศาสนาพราหมณ ความบริสุทธิ์จากบาปที่ทํา แลว จะมีไดก็ตอเมื่อทําพิธี ลอยบาป คือการอาบน้ําใน แมน้ําคงคา เพื่อใหบาปลอย ไปตามสายน้ํา อันศักดิ์สิทธิ์ นั้น ทําใหตนบริสุทธิ์หมด จดจากบาปที่ทําไวแลวได ศาสนาคริสต ความบริสุทธิ์จากบาปที่ทํา แลว จะมีไดก็ตอเมื่อไดบอก สารภาพบาป กับพระผูเปน เจาแลวเริ่มสวดออนวอนให ประทานยกโทษให หรือแม แตเด็กที่เกิดมามีบาปติดตัว ก็ตองทําพิธีรับศีลจุม
  • 4. แตทางพุทธศาสนา สอนวา... อตฺตนา ว กตํ ปาป อตฺตนา สงฺกิลิสฺสติ อตฺตนา อกตํ ปาป อตฺตนา ว วิสุชฺฌติ สุทฺธิ อสุทฺธิ ปจฺจตฺตํ นาฺโญ อฺญํ วิโสธเย ทําบาปเอง ยอมเศราหมองเอง ไมทําบาปเอง ยอม หมดจดเอง ความหมดจดหรือความเศราหมองเปน ของเฉพาะตัว คนอื่นยังคนอื่นใหหมดจดหาไดไม
  • 5. ความบริสุทธิ์ภายในยอมเกิดมีเพราะปญญา ที่พิจารณาเห็น สิ่งดีสิ่งชั่ว ประโยชนและมิใชประโยชน ขั้นตอนการใชปญญา พิจารณาเพื่อใหถึงวิสุทธิ เรียกวา วิปสสนาญาณ ๙ 1. อุทยัพพยานุปสสนาญาณ 5. นิพพิทานุปสสนาญาณ 2. ภังคานุปสสนาญาณ 6. มุญจิตุกัมยตาญาณ 3. ภยตูปฏฐานญาณ 7. ปฏิสังขานุปสสนาญาณ 4. อาทีนวานุปสสนาญาณ 8. สังขารุเปกขาญาณ 9. สัจจานุโลมิกญาณ
  • 6. วิปสสนาญาณ..หมายถึง ญาณอันนับเนื่องในวิปสสนา สนาญาณ.. ญาณที่ทําความเห็นแจงใหเกิด โดยการใชปญญาพิจารณาให สูงขึ้นตามลําดับ มี ๙ อยาง คือ... 1. อุทยัพพยานุปสสนาญาณ ปรีชาคํานึงเห็นทั้งความเกิด และความดับ 2. ภังคานุปสสนาญาณ ปรีชาคํานึงถึงความดับ หมายถึง ญาณที่พิจารณาถึงความดับ 3. ภยตูปฎฐานญาณ ปรีชาคํานึงเห็นสังขารปรากฏเปน ของนากลัว
  • 7. 4. อาทีนวานุปสสนาญาณ ปรีชาคํานึงถึงโทษ หมายถึง ญาณที่พิจารณาเห็นโทษของสังขาร 5. นิพพิทานุปสสนาญาณ ปรีชาคํานึงดวยความนาเบื่อ หนาย หมายถึง ญาณที่พิจารณาเห็นสังขารวาเปนของ นาเบื่อหนาย 6. มุญจิตุกัมยตาญาณ ปรีชาคํานึงดวยใครจะพนไปเสีย หมายถึง ญาณที่พิจารณาเพื่อหาทางเปลื้องตนไมให พัวพันติดของอยูในสังขาร
  • 8. 7. ปฏิสังขานุปสสนาญาณ ปรีชาคํานึงดวยการพิจารณา หาทาง หมายถึง ญาณที่พิจาณาเลือกหาทางที่จะปลด เปลื้องตนจากสังขาร 8. สังขารุเปกขาญาณ ปรีชาคํานึงดวยความวางเฉยเสีย หมายถึง ญาณที่พิจารณาเห็นความจริงของสังขาร แลววางใจใหเปนกลางในสังขารทั้งหลายได 9. สัจจานุโลมิกญาณ ปรีชาเปนไปโดยสมควรแกการ กําหนดรูอริยสัจ หมายถึง ญาณที่พิจารณาอนุโลมไป ตามสัจจะ
  • 9. ทาง... ทาง...คือปฏิปทาขอปฏิบัตถึงความบริสุทธิ์ ิ แหงทัสสนะ ไดแก อริยมรรคมีองค ๘ ซึ่งมี บาลีรับรองวา... มคฺคานฏฐงฺคิโก เสฏโฐ เอเสว มคฺโค นตฺถฺโญ ทสฺสนสฺส วิสุทธิยา ทางมีองค ๘ ประเสริฐแหงทางทั้งหลาย ทางนัน ้ แลไมมีทางอื่น เพือความหมดจดแหงทัสสนะ ่
  • 10. มรรค ๘ อยาง ****************************** 1. สัมมาทิฏฐิ เห็นชอบถูกตอง 5. สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพถูกตอง 2. สัมมาสังกัปปะ ดําริที่ถูกตอง 6. สัมมาวายมะ ความเพียรที่ถูก 3. สัมมาวาจา วาจาที่ถกตอง ู 7. สัมมาสติ ความระลึกที่ถูก 4. สัมมากัมมันตะ งานถูกตอง 8. สัมมาสมาธิ ความตั้งใจที่ถูก
  • 11. มรรค... มรรค...หมายถึงหนทาง หรือวิธีปฏิบัติสําหรับ ดําเนินไปสูหนทางดับทุกข เปนหนทางใหผูที่ดําเนิน ตามเปนพระอริยบุคคล ได มี ๘ อยาง คือ... 1. สัมมาทิฏฐิ หมายถึง ความเห็นที่ถูกตอง ปญญาอัน เห็นแจงในอริยสัจ คือ เห็นทุกข เห็นสุมทัย เห็นนิโรธ เห็นมรรค 2. สัมมาสังกัปปะ หมายถึง ความดําริอันถูกตอง ไดแก ความดําริในอันออกจากกรรม ในอันไมพยาบาท ในอัน ไมเบียดเบียน
  • 12. 3. สัมมาวาจา หมายถึง วาจาที่ถูกตอง ไดแก การพูดจาที่ เวนจากวจีทุจริต ๔ คือ ไมพูดเท็จ สอเสียด คําหยาบ และเพอเจอ 4. สัมมากัมมันตะ หมายถึง การงานที่ถูกตอง ไดแก การ เวนจากกายทุจริต ๓ คือ ไมฆาสัตว ไมลักทรัพย ไม ประพฤติผิดในกาม 5. สัมมาอาชีวะ หมายถึง การเลี้ยงชีพที่ถูกตอง ไดแก เวนการเลี้ยงชีวิตที่มีโทษทั้ง ๒ ฝาย คือ โทษทางโลก และโทษทางพระบัญญัติ รูประมาณในการหา,รับ,ทาน
  • 13. 6. สัมมาวายามะ หมายถึง ความเพียรที่ถูกตอง ไดแก ความเพียรใน ปธาน ๔ คือ เพียรมิใหบาปเกิดขึ้น เพียรละบาปที่เกิดขึ้นแลว เพียรใหกุศลเกิดขึ้น เพียร รักษากุศลที่เกิดขึ้นแลว 7. สัมมาสติ หมายถึง ความระลึกที่ถูกตอง ไดแก ความ ระลึกไดในสติปฏฐาน ๔ คือ กาย เวทนา จิต ธรรม 8. สัมมาสมาธิ หมายถึง ความตั้งใจที่ถูกตอง ไดแก ความตั้งใจมั่นในการเจริญฌานทั้ง ๔ คือ ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน
  • 14. ธรรมทั้ง ๘ อยางนี้ เปนทางอันยอดสามารถทําใหผูปฏิบัติบรรลุถึง ความดับทุกข หรือความบริสุทธิ์แหงทัสสนะได คือ วิสทธิ ๗ อยาง ุ ได วิสุทธิ ๗ อยาง 1. สีลวิสุทธิ 5. มัคคมัคคญาณทัสสนวิสุทธิ 2. จิตตวิสุทธิ 6. ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ 3. ทิฏฐิวิสุทธิ 4. กังขาวิตรณวิสุทธิ 7. ญาณทัสสนวิสุทธิ
  • 15. 1. สีลวิสุทธิ ความหมดจดแหงศีล คือ ความบริสุทธิ์ที่ได จากการรักษาศีลของตนไวอยางเครงครัด สํารวมระวัง มิใหขาดหรือดางพรอยไปได 2. จิตตวิสุทธิ ความหมดจดแหงจิต คือ ความบริสุทธิ์ที่ ไดจากการรักษาจิต ใหสงบตั้งมั่นอยูในอารมณของ กัมมัฏฐาน จนจิตปราศจากนิวรณ ทั้ง ๕ 3. ทิฎฐิวิสุทธิ ความหมดจดแหงทิฏฐิ คือ ความบริสุทธที่ เกิดจากการทําความเห็นใหถูกตอง คือ รูวา รางกาย ไม เที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา
  • 16. 4. กังขาวิตรวิสุทธิ ความหมดจดแหงญาณเปนเครื่องขาม พนความสงสัย คือ ความบริสุทธิ์แหงปญญาที่ละ ความสงสัยในสักกายทิฏฐิความเปนตัวตนของรูปนาม 5. มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแหงญาณ เปนเครื่องเห็นวาทางหรือมิใชทาง คือ เมื่อหมดความ สงสัยในนามรูปก็พิจาณาวา ทางไหนถูก ทางไหนผิด 6. ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแหงญาณเปน เครื่องเห็นทางปฏิบัติ คือ เมื่อรูวานี้เปนทางปฏิบัติที่ ถูกตองก็นอมจิตสูวิปสสนาญาณ
  • 17. 7. ญาณทัสสนวิสุทธิ ความหมดจดแหงญาณทัสสนะ คือ ความบริสุทธิ์ของปญญาที่มีนิพพานเปนอารมณ เปน เหตุใหตัดกิเลสตัณหาละสังโยชนไดอยางสิ้นเชิง คือ เปนญาณของอริยมรรค ๔ (โสดาปตติมรรค จนถึง อรหัตตมรรค) วิสุทธิ ๗ นั้น ขอ ๑ - ๕ เปน โลกิยะ ขอ ๖ - ๗ เปน โลกุตตระ
  • 18. มรรค ๘ เทียบกับ วิสุทธิ ๗ 1. สัมมาวาจา, สัมมากัมมันตะ, สัมมาอาชีวะ เทียบกับ สีลวิสุทธิ 2. สัมมาวายะ, สัมมาสติ, สัมมาสมาธิ เทียบกับ จิตตวิสุทธิ 3. สัมมาทิฏฐิ, สัมมาสังกัปปะ, เทียบไดกับวิสุทธิอีก ๕ ขอที่เหลือตามลําดับ คือ สัมมาทิฏฐิ ทําหนาที่พิจารณา สัมมาสังกัปปะ ทําหนาที่สันนิษฐานเปนชั้น ๆ ขึ้นไป อยางนี้ คือ...
  • 19. 1. การพิจารณาสังขารโดยกฎของไตรลักษณ คือ ไมเที่ยง เปนทุกข เปนอนัตตา จัดเปนทิฏฐิวิสุทธิ 2. การพิจารณาเล็งเห็นความเปนไปของสังขารวาเนื่อง ดวยเหตุ คือ อาศัยเหตุเกิดขึ้น ยอมดับเพราะความแตก สลายแหงเหตุ จัดเปนกังขาวิตรณวิสุทธิ 3. พิจารณาสังขารโดยใชโยนิโสมนสิการควบคุม ใหรูจัก วาทางไหนถูก ทางไหนผิด จัดเปนมัคคามัคคญาณ ทัสสนวิสุทธิ
  • 20. 4. วิปสสนูปกิเลสเกิดขึ้น ก็ไมหลงเพลิดเพลินยึดติด ประคองจิตใหอยูในวิถีแหงวิปสสนาตอไป จนสําเร็จ เปนอริยมรรค จัดเปนปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ 5. ตอเมื่อพิจารณาจนเกิดปญญา เห็นเปนอริยผล จัดเปน ญาณทัสสนวิสุทธิ **************************