SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
Télécharger pour lire hors ligne
๕.สันติ
สันติ หมายถึง...ความสงบ พระพุทธเจาทรงสั่งสอนให
...ความสงบ
พุทธบริษัทบําเพ็ญสันติ ก็ดวยเหตุทสุขอื่นที่ยิ่งไปกวา
ี่
สันติสุขไมมี สันติ ในที่นี้ หมายเอาความสงบที่เกิดมีใน
ทวาร ๓ คือ สงบกาย สงบวาจา สงบใจ
สันติ....ความสงบ
..ความสงบ
**************************

ความสงบกาย วาจา ใจ ยอลงเปน ๒ อยาง คือ

1. สันติภายนอก

2. สันติภายใน

สงบกาย

สงบใจ

สงบวาจา
ความสงบกาย... คือ การกระทําที่ไมนําความเดือดรอนมา
สูตนและผูอื่น เชน ไมเบียดเบียนกันทั้งในทางรางกาย
ชีวิตหรือทรัพยสิน เปนตน
ความสงบวาจา... คือ การใชวาจาภาษาสื่อสารที่กอใหเกิด
แตความรักสมัครสมานไมตรีตอกัน ไมพูดคําที่ไมสุภาพ
หยาบคาย
ความสงบใจ... คือ การคิดในทางที่เปนคุณเปนประโยชน
ทั้งแกตนเองและคนอื่น ดวยจิตที่มีเมตตากรุณาตอกัน
รวมถึงการฝกหัดจิตใหสงบกิเลสอาสวะ
สันติภายนอก... คือ อํานวยผลเปนความสุขใหหมูชนที่อยู
รวมกัน ตางมีความเห็นอกเห็นใจกัน มีไมตรีจิตตอกัน
ไมเบียดเบียนกัน
สันติภายใน... คือ อํานวยผลเปนสันติสุขอยางสนิทแนบ
แนนเพราะสามารถสงบใจจากกิเลสเปนเหตุใหทําความชั่ว
พูดชั่ว คิดชั่ว ไดอยางเด็ดขาด
********************************
บาลีแหงสันติ คาถาที่ ๑ คือ...
1. สนฺติมคฺคเมว พฺรหย
ู
ทานจงพอกพูนทางแหงความสงบ
นั่นแล
สันติมรรค คือ หนทางแหงความสงบ ผูหวังสันติสุข
ภายในและภายนอก ตองดําเนินทางแหงสันตินี้ คือ...
สันติมรรค คือ หนทางแหงความสงบ
1. เวนการเบียดเบียนกัน
2. ชักนําเพื่อความสามัคคี
3. เวนการวิวาทกลาวคําหยาบ
4. พูดแตคําสุภาพนุมนวล
5. นึกแตในทางมีเมตตากรุณาตอกัน
6. ฝกจิตใหเปนไปตามปรมัตถปฏิปทา
บาลีแหงสันติ คาถา ที่ ๒ คือ...
2. นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ
สุขอื่นยิ่งกวาความสงบ ยอมไมมี
ความสุข...แบงออกเปน ๒ อยาง คือ...
...แบ
1. สุข ภายนอก แตทําใหเกิดความทุกขกาย ทุกขใจ
2. สุข ภายใน ที่ทําใหใจสงบ หลุดพนจากกิเลส
1. สุขภายนอก..แตทําใหเกิดความทุกข คือ สุขอันเกิดแต
กามารมณ หรือสุขเพราะได ลาภ ยศ สุข สรรเสิรญ
ที่เรียกวา อิฏฐารมณ แมจะเปนความสุขที่ชาวโลกหวัง
ปรารถนา แตก็แฝงดวยความรอนรุมแหงกิเลส ตอง
คอยระวังรักษาไมใหสิ่งเหลานั้นสูญหายไป แมจะได
มาแลว ก็ไมรูจักพอตองแสวงหาเพิ่มเติมอยูบอยๆ
2. สุขภายใน คือ การระงับสะกดใจใหหลุดพนจากอํานาจ
ของกิเลส เชน ไมโลภ ไมโกรธ ไมหลง และไมใหมีเวร
มีภัยตอใครๆ
บาลีแหงสันติ คาถา ที่ ๓ คือ...
3. โลกามิสํ ปชเห สนฺติเปกฺโข
ผูเพงความสงบ พึงละอามิสในโลกเสีย
โลกามิส หมายถึง เหยื่อลอของโลก คือ กามคุณ ๕
คือ รูป รส กลิ่น เสียงสัมผัส อันนาปรารถนา นาใคร
นาพอใจ ซึงผูใดหลงติดแลว ผูนั้นยอมติดอยูในโลก
่
ไมสามารถหลุดพนจากมารและบวงของมารไปได....
..
สันติภายนอก
สงบกาย

สงบวาจา

สันติ....ความสงบ
..ความสงบ
สันติภายใน
บาลีอุทเทส

1. สนฺติมคฺคเมว พฺรูหย
ทานจงพอกพูนทางแหงความสงบนั่นแล

ทางสูสันติ
ไมเบียดเบียนกัน
สรางความสามัคคี
เวนการวิวาทและพูดหยาบชา
มีวาจาสุภาพออนหวาน
นึกคิดในทางมีเมตตาตอกัน
ฝกนําใจตามแนวปรมัตถปฏิปทา

สงบใจ

2. โลกามิสํ ปชเห สนฺติเปกฺโข
ผูเพงความสงบ พึงละอามิสในโลกเสีย

เหยื่อลอใหติด
รูป
เสียง
กลิ่น
รส
โผฏฐัพพะ

Contenu connexe

Tendances

ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
Anchalee BuddhaBucha
 
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
Kiat Chaloemkiat
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
magicgirl123
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
Padvee Academy
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
Padvee Academy
 

Tendances (20)

ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
หลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาทหลักปฏิจจสมุปบาท
หลักปฏิจจสมุปบาท
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นเอก (ปี 2549 - 2564).pdf
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 

Plus de Onpa Akaradech

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Onpa Akaradech
 
ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3
Onpa Akaradech
 
ปริเฉทที่ 2
ปริเฉทที่ 2ปริเฉทที่ 2
ปริเฉทที่ 2
Onpa Akaradech
 
พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ
Onpa Akaradech
 
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวยตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
Onpa Akaradech
 
ห้องทำงานEee
ห้องทำงานEeeห้องทำงานEee
ห้องทำงานEee
Onpa Akaradech
 
ห้องอาหาร
ห้องอาหารห้องอาหาร
ห้องอาหาร
Onpa Akaradech
 

Plus de Onpa Akaradech (8)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3ปริเฉทที่ 3
ปริเฉทที่ 3
 
ปริเฉทที่ 2
ปริเฉทที่ 2ปริเฉทที่ 2
ปริเฉทที่ 2
 
พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ พุทธานุพุทธประวัติ
พุทธานุพุทธประวัติ
 
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวยตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
 
นิสัย
นิสัยนิสัย
นิสัย
 
ห้องทำงานEee
ห้องทำงานEeeห้องทำงานEee
ห้องทำงานEee
 
ห้องอาหาร
ห้องอาหารห้องอาหาร
ห้องอาหาร
 

บทที่ 5 สันติ