SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  51
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 12


โครงสรางและหนาที่ของพืชดอก
โครงสรางของพืช

พืชประกอบดวยโครงสรางตาง ๆ เพื่อทําหนาที่แตกตางกันออกไป เชน
                        - ราก          - ใบ
                        - ดอก          - ผล
รวมทั้งโครงสรางที่เจริญเปลี่ยนแปลงไปเพื่อทําหนาที่พิเศษตาง ๆ
แสดงลักษณะ
โครงสรางของพืช
เนื้อเยื่อของพืช (plant tissue)
    พืชเปนสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งที่ประกอบดวยเซลล (cell)
หลายๆเซลลรวมกลุมทํางานรวมกัน กลุมของเซลลที่มาทํางาน
รวมกันนีเ้ ราเรียกเนือเยื่อ(tissue)
                      ้

เนือเยื่อพืชแบงเปน 2 ประเภท (ตามความสามารถในการแบงตัว)ไดแก
   ้
             1.เนือเยื่อเจริญ (meristematic tissues)
                  ้
             2.เนือเยื่อถาวร (permanent tissues)
                    ้
เนื้อเยื่อเจริญ (meristematic tissues)
  คือ กลุมของเซลลที่มีการเจริญและแบงตัวแบบไมโทซีส
(mitosis) อยูตลอดเวลา

ลักษณะของเนือเยื่อเจริญ
                ้
         ขนาดเล็ก ผนังบาง เซลลแตละชนิดอยูชิดติดกันมาก
                                                 
   ไมมีชองวางระหวางเซลล (intercellular space)
ตําแหนงที่พบในสวนตาง ๆ ของพืช

1. เนือเยื่อเจริญสวนปลาย (apical meristem)
         ้
     คือเนือเยื่อที่อยูบริเวณปลายยอด (shoot tip ) หรือปลายราก
            ้
 (root tip) ของพืช เมื่อมีการแบงตัวเพิ่มจํานวนเซลลจะทําให
รากและลําตนยืดยาวออก เพิ่มความสูงใหกับตนพืช เปนการ
เจริญขั้นแรก (Primary growth)
เนื้อเยื่อเจริญสวนปลาย (apical meristem)




ที่มา http://www.sripatum.ac.th/online/preeya/tissue.htm
2. เนื้อเยื่อเจริญเหนือขอ (intercalary meristem)

    คือเนือเยื่อที่อยูบริเวณเหนือขอ หรือโคนของปลองในพืช
            ้
ใบเลี้ยงเดี่ยว เชน ออย ไผ ขาวโพด หรือหญา เปนตน เมื่อมี
การแบงตัวจะชวยใหปลองยาวขึ้น
เนื้อเยื่อเจริญเหนือขอ (intercalary meristem)




    ที่มา http://www.nana-bio.com/e-learning/Meristem.htm
3. เนื้อเยื่อเจริญดานขาง
       (lateral meristem หรือ axillary meristem)
      คือ เนือเยื่อเจริญที่แบงตัวออกดานขางของลําตนหรือราก
             ้
เมื่อแบงตัวแลวจะทําใหลําตน ราก ขยายขนาดออกทางดานขาง
หรือมีขนาดใหญขึ้น เปนการเจริญขั้นที่ 2 (Secondary growth)
บางคนอาจเรียกเนือเยื่อเจริญดานขางนี้วา แคมเบียม (cambium)
                     ้
แบงเปน 2 ชนิดคือ
Vascular cambium
                                                                 Vascular cambium




พบในรากและลําตนพืชใบเลี้ยงคู และพืชใบ
เลี้ยงเดียวบางชนิด เชน หมากผู
         ่
            หมากเมีย ศรนารายณ
        ที่มาhttp://www.cfr.washington.edu/Classes.ESC.200/lectures/concepts/specialbiology1.htm
cork cambium หรือ Phellogen

                                                                  Cork cambium




ใหกําเนิดคอรก หรือเฟลเลมหุมรอบ
รากและลําตนพืชใบเลี้ยงคูที่มีอายุมาก

       ที่มา http://www.sbs.utexas.edu/mauseth/weblab/webchap17bark/17.1-5.htm
เนื้อเยื่อถาวร (permanent tissues)

     หมายถึงกลุมของเซลลที่ในสภาพปกติไมมการแบงตัว
                                               ี
โดยเซลลเหลานีเ้ จริญเปลี่ยนแปลงมาจากเนือเยื่อเจริญอีก
                                           ้
ทีหนึ่ง แบงออกเปน 2 ประเภท คือ
1. เนือเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว (Simple permanent tissue)
      ้
2. เนือเยื่อถาวรเชิงซอน(Compount permanent tissue)
        ้
เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว

     ประกอบดวยกลุมเซลลชนิดเดียวกัน มารวมกัน
เพื่อทําหนาที่อยางเดียวกัน แบงออกได 2 ประเภท
ไดแก
     1. เนือเยื่อปองกัน (Protective tissue)
           ้
     2. เนือเยื่อพื้น (Ground tissue)
             ้
เนื้อเยื่อปองกัน

    ทําหนาที่ปองกันอันตรายรวมทั้งการสูญเสียน้ํา มักอยู
นอกสุดของราก ลําตน และใบ แบงออกเปน 2 ประเภท
คือ
    - เอพิเดอรมิส (Epidermis)
    - คอรก (Cork) หรือ เฟลเลม (Phellem)
เอพิเดอรมิส (Epidermis)
epidermis
                                                      • ปกปองคุมครองเนื้อเยื่อตาง ๆ
                                                      • รูปสี่เหลี่ยมผืนผา
                                                      • ผิวดานนอก มีสารขี้ผึ้งพวก
                                                        คิวติน (cutin) ฉาบอยูเพื่อชวย
                                                        ปองกันการระเหยของน้ํา
                                                      • ชั้นของคิวตินนีเ้ รียกวา
                                                         คิวติเคิล (cuticle)


     ที่มา http://www.nana-bio.com/e-learning/plant%20organ/root.html
หนาที่ของเอพิเดอรมิส

        1. ใหความแข็งแรงและชวยปองกันอันตรายใหกับเนื้อเยื่อ
ที่อยูถัดไป
        2. ชวยปองกันไมใหน้ําซึมผานเขาไปในรากมากเกินไป
เพราะจะทําใหรากเนา
        3. เจริญเปลี่ยนแปลงไปเปน ขนราก เซลลคุม ขนและตอม
- ขนราก เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการดูดซึมน้ําและแรธาตุ




ที่มา http://www.nana-bio.com/e-learning/permanent.htm
- เซลลคุม ทําหนาที่ควบคุมการปด-เปดของใบ



                                                ชองปากใบ
                                                     เซลลคุม




                          ลักษณะปากใบ
ที่มา http://deen2do.com/idda/2008/03/page/2/
ขนและตอม




ที่มา http://www.vcharkarn.com/include/vcafe/showkratoo.php?Pid=31603
คอรก หรือเฟลเลม
          เกิดจากการแบงตัวของคอรกแคมเบียม หรือเฟลเจน
เมื่อคอรกเติบโตเต็มที่แลว โพรโทพลาสซึมและเยื่อหุมเซลล
จะสลายไป เหลือเฉพาะผนังเซลลที่มีซูเบอริน และคิวติเคิล สะสม
ซึ่งน้ําจะไมสามารถผานได เนื้อเยื่อชั้นคอรกรวมกับเฟลโลเจน
และเฟลโลเดริ์ม เรียกรวมวา เพอริเดิรม (Peridrem)
Cork
เนื้อเยื่อพื้น

       เปนองคประกอบในราก ลําตน ใบ ดอก และเปนตัวกลาง
ใหเนื้อเยื่ออื่น ๆ แทรกตัวอยู มีหลายประเภท ไดแก
พาเรงคิมา (parenchyma)

                                                  พบไดแทบทุกสวนของอวัยวะพืช
                                                   รูปรางหลายแบบ บางเซลล
                                                  คอนขางกลม รี ทรงกระบอกหรือ
                                                  เปนเหลี่ยม มีชองวางระหวางเซลล
                                                  (intercellular space)


 ชองวางระหวางเซลล
ที่มา http://botit.botany.wisc.edu/images/130/Cells_&_Tissues/Celery_Petiole/Parenchyma.html
พาเรงคิมา (parenchyma)




ตัดตามยาว (long section)                          ตัดตามขวาง (cross section)

ที่มา http://botit.botany.wisc.edu/images/130/Cells_&_Tissues/Celery_Petiole/Parenchyma.html
พาเรงคิมา (parenchyma)




                                                                                  ชองอากาศ
                                                                                  (air space)
                                                                                  สะสมแปง
ที่มา http://botit.botany.wisc.edu/images/130/Cells_&_Tissues/Celery_Petiole/Parenchyma.html
หนาที่ของพาเรงคิมา
   1. สะสมน้ําและอาหารพวกแปง โปรตีน และไขมัน
   2. ในลําตนพืชออน ๆ ทําหนาที่สังเคราะหดวยแสง
   3. ในพืชตระกูลถั่วจะอยูรวมเปนกลุมที่โคนกานใบทําหนาที่เกี่ยวกับ
                                       
การหุบใบ กางใบในรอบวัน
   4. ในพืช ซี-3 พืช ซี-4 บางชนิดพาเรงคิมาจะเจริญลอมรอบมัด
ทอลําเลียง ถาภายในมีคลอโรพลาสตก็จะสังเคราะหดวยแสงดวย
   5. ใบพืชบางชนิดจะเจริญเปลี่ยนไปเปนตอมสรางสาร เชน สรางน้ํามัน
   6. พาเรงคิมาในมัดทอลําเลียงจะทําหนาที่ลําเลียงอาหาร
              7. ในกานใบและเสนกลางใบของพืชบางชนิด เชน พุทธรักษา
         เปลี่ยนไปเปน แอเรงคิมา (Aerenchyma)
คอลเลงคิมา (collenchyma)

ผนังเซลลหนามากตามมุมของ
เซลล ไมสม่ําเสมอ
เปนการเพิ่มความยึดหยุน
สารที่มาฉาบที่ผนังเปน
สารประกอบพวกเซลลูโลส
และเพคติน

         ที่มา http://www.science.smith.edu/~mmarcotr/Hortwebpage-   ผนังเซลล
         fall/handouts/figures-overheads/anatomyfigures.htm
คอลเลงคิมา (collenchyma)




                        ลักษณะของคอลเลงคิมา
ที่มา http://www.science.smith.edu/~mmarcotr/Hortwebpage- fall/handouts/figures-
overheads/anatomyfigures.htm
สเกลอเรงคิมา (sclerenchyma)

                ผนังเซลลหนามากสารที่มาฉาบ
                เปนสารพวกลิกนิน (lignin)
                เปนโครงกระดูกหรือโครงราง
                ของพืช จําแนกออกเปน 2 ชนิด
เซลลเสนใย (fiber)
• รูปรางของเซลลยาวมาก
• หัวแหลมทายแหลม
• ผนังเซลลหนามากเปน
  สารประกอบลิกนิน
• ชองวางภายในเซลลแคบ
  มากเรียกวา ลูเมน
• มีความเหนียวและยืดหยุน
สเกลอรีด (scleried)   รูปรางสั้นและปอม อาจกลมหรือ
                      เปนเหลี่ยม ผนังเซลลหนา มักพบ
                      ตามที่แข็งมาก ๆ เชน
                      กะลามะพราว เมล็ดพุทรา
เอนโดเดอรมิส (Endodermis)
                                                                           Endodermis

                                                       สวนใหญพบในรากพืชใบเลี้ยง
                                                       เดี่ยว เซลลเรียงตัวเปนแนวเดียว
                                                       ผนังเซลลบาง มีสารพวก
                                                       ซูเบอริน คิวติน หรือลิกนิน
                                                       มาสะสมเปนแถบทําใหผนัง
                                                       เซลลหนา เปนแถบ ซึ่งจะกีด
                                                       ขวางน้ําและอาหารไมใหผานได
                                                       สะดวก
ที่มา http://botit.botany.wisc.edu/images/130/Root/Monocot_Roots/Zea_Root/Endodermis_vasc_tissue
หนาที่ของเอนโดเดอรมิส

      1. ปองกันเนื้อเยื่อสวนที่อยูถัดเขาไปขางใน
      2. เปนทางผานของน้ํา เกลือแร อาหาร และกีดขวางการ
ลําเลียงสารดังกลาว
เนื้อเยื่อถาวรเชิงซอน

      ประกอบดวยกลุมเซลลหลายชนิดมาทํางานรวมกัน ซึ่งเนื้อเยื่อ
ถาวรเชิงซอนแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก เนื้อเยื่อที่ทําหนาที่
ลําเลียงน้ํา แรธาตุ เรียกวาไซเลม (xylem) และเนื้อเยื่อลําเลียง
อาหาร เรียกวา โฟลเอม (phloem)
ไซเลม (xylem)
                                                     ลําเลียงน้ําและแรธาตุ
                                                           ประกอบดวย
                                                       1. vessel
                                                       2. tracheid
                                                       3. xylem fiber
                                                       4. xylem parenchyma

ที่มา https://webspace.utexas.edu/harms/VEVI3/transport.html
เทรคีด (Tracheid)

                                                      รูปรางยาว หัวทายคอนขาง
                                                      แหลม ผนังเซลลหนามี
                                                      สารพวกลิกนินสะสม ผนัง
                                                      มีรูพรุนที่เรียกวา pit




ที่มา http://facweb.furman.edu/~lthompson/bgy34/plantanatomy/plant_cells.htm
เวสเซล (Vessel)
• คลายทอยาวๆ ทีประกอบดวยทอ
                    ่
  สั้นๆหลายๆทอมาตอกัน
• ทอสั้นแตละทอเรียกวา vessel
  member หรือ vessel element
• ผนังหนาเปนสารพวกลิกนินมา
  สะสม มีชองทะลุถึงกัน ซึ่งมี
  ลักษณะเปนรอยปรุหรือรูพรุนที่
  เรียกวา perforation plate

      ที่มา http://www.dbdmart.com/lifesigngatc/product.php?cat=88432&lang=en
ไซเลมไฟเบอร (xylem fiber)

       ผนังหนา รูปรางยาวเรียว หัวทายแหลม มีลักษณะคลายเสนใย
เปนเซลลที่ตายแลว แตยังคงทําหนาที่ใหความแข็งแรงแกพืชเทานั้น
ไซเลม พาเรงคิมา (xylem parenchyma)

      เปนเซลลที่ยังมีชีวิตอยูเพียงเซลลเดียว ในเนื้อเยื่อไซเลม
มีผนังบาง แตเมื่อแกแลวจะมีสารลิกนินมาสะสม ทําใหผนังหนาขึ้น
ปกติจะเรียงตัวในแนวตั้งแตบางกลุมจะเรียงตัวตามขวาง หรือตามแนว
รัศมี ทําหนาที่ลําเลียงน้ําและเกลือแรไปตามดานขาง เรียกวา ไซเลมเรย
(xylem ray)
โฟลเอม (phloem)




ที่มา http://www.uic.edu/classes/bios/bios100/lectf03am/lect18.htm
โฟลเอม (phloem)




ที่มา http://www.uic.edu/classes/bios/bios100/lectf03am/lect18.htm
ซีพทิวบ (sieve tube)
 มีรูปรางยาว ปลายทั้ง 2
ดานคอนขางแหลม มีรูเล็ก
คลายตะแกรง เรียกวา
 ซีพเพลท (Sieve plate)
บริเวณรูเล็ก ๆ ซีพเอเรีย
ซีพทิวบเมมเบอรหลาย ๆ
เซลลมาเรียงตอกันเปนทอ
ยาวๆ เรียกวา ซีพทิวบ
              (Sieve tube)
แสดงลักษณะของซีพทิวบ
ที่มา http://facweb.furman.edu/~lthompson/bgy34/plantanatomy/plant_cells.htm
มัดทอลําเลียง (vascular bundle)
เซลลคอมพาเนียน (Companion cell)

เซลลมีขนาดเล็ก รูปรางเรียวยาว
ปลายแหลม มีนิวเคลียสขนาดใหญ
เห็นไดชัดเจน มีกําเนิดจากเซลล
ตนกําเนิดเดียวกับซีพทิวบเมมเบอร



             ที่มา http://www.school.net.th/library/create-web/10000/science/10000-5830.html
โฟลเอมพาเรงคิมา (Phloem parenchyma)
  เหมือนกับพาเรงคิมาทั่วไป
 เปนเซลลที่มีชีวิต
 ปกติลาเลียงอาหารในแนวดิ่ง
        ํ
บางกลุมลําเลียงในแนวรัศมี
          
ขวางลําตนและราก
เรียกวา โฟลเอมเรย

       ที่มา http://www.answers.com/topic/pericycle
โฟลเอมไฟเบอร (Phloem fiber)
     เปนเซลลไมมีชีวิตชนิดเดียวในเนื้อเยื่อโฟลเอม ใหความ
แข็งแรงแกพืชเทานั้น




     ที่มา http://www.sbs.utexas.edu/mauseth/weblab/webchap11stem/11.5-15.htm
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อ
เนื้อเยื่อ

Contenu connexe

Tendances

การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืช
dnavaroj
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
Wichai Likitponrak
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
Wichai Likitponrak
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 

Tendances (20)

บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หายใจ
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หายใจ
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืช
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
Lesson3 plantgrowth2
Lesson3 plantgrowth2Lesson3 plantgrowth2
Lesson3 plantgrowth2
 

Similaire à เนื้อเยื่อ

เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
Anana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
Anana Anana
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
Biobiome
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
พัน พัน
 
E portfollio-looktal
E portfollio-looktalE portfollio-looktal
E portfollio-looktal
Looktal Love
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
Anana Anana
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
Nokko Bio
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
ฟลุ๊ค ลำพูน
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.
itualeksuriya
 

Similaire à เนื้อเยื่อ (20)

โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
ราก544
ราก544ราก544
ราก544
 
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของรากเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ของราก
 
E portfollio
E portfollioE portfollio
E portfollio
 
เนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อเนี้อเยื่อ
เนี้อเยื่อ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอกโครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
 
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
Ppt โครงสร้างและหน้าที่ของพืช.pdf 1
 
E portfollio-looktal
E portfollio-looktalE portfollio-looktal
E portfollio-looktal
 
Plant tissue
Plant tissuePlant tissue
Plant tissue
 
Animal tissue
Animal tissueAnimal tissue
Animal tissue
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
 
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
เรื่อง เนื้อเยื่อ tissue น้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด้านล่่า...
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
Animalia
AnimaliaAnimalia
Animalia
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
001 3
001 3001 3
001 3
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
 
โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.โอลิมปิก สอวน.
โอลิมปิก สอวน.
 

Plus de Oui Nuchanart

การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60
Oui Nuchanart
 

Plus de Oui Nuchanart (20)

การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
 
ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64ชุดกิจกรรมการย่อย64
ชุดกิจกรรมการย่อย64
 
การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60การตอบสนองของพืช Oui60
การตอบสนองของพืช Oui60
 
Plant oui
Plant ouiPlant oui
Plant oui
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาส
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
Monera oui
Monera ouiMonera oui
Monera oui
 
Fungi oui
Fungi ouiFungi oui
Fungi oui
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
Stem oui
Stem ouiStem oui
Stem oui
 
Root oui
Root ouiRoot oui
Root oui
 
Leaf oui
Leaf ouiLeaf oui
Leaf oui
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
ประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้าประวัติการค้นคว้า
ประวัติการค้นคว้า
 
Cam
CamCam
Cam
 
C4
C4C4
C4
 
C3
C3C3
C3
 
Photosyntasis oui
Photosyntasis ouiPhotosyntasis oui
Photosyntasis oui
 
Gene
GeneGene
Gene
 
วิจัย59
วิจัย59วิจัย59
วิจัย59
 

เนื้อเยื่อ

  • 2. โครงสรางของพืช พืชประกอบดวยโครงสรางตาง ๆ เพื่อทําหนาที่แตกตางกันออกไป เชน - ราก - ใบ - ดอก - ผล รวมทั้งโครงสรางที่เจริญเปลี่ยนแปลงไปเพื่อทําหนาที่พิเศษตาง ๆ
  • 4. เนื้อเยื่อของพืช (plant tissue) พืชเปนสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งที่ประกอบดวยเซลล (cell) หลายๆเซลลรวมกลุมทํางานรวมกัน กลุมของเซลลที่มาทํางาน รวมกันนีเ้ ราเรียกเนือเยื่อ(tissue) ้ เนือเยื่อพืชแบงเปน 2 ประเภท (ตามความสามารถในการแบงตัว)ไดแก ้ 1.เนือเยื่อเจริญ (meristematic tissues) ้ 2.เนือเยื่อถาวร (permanent tissues) ้
  • 5. เนื้อเยื่อเจริญ (meristematic tissues) คือ กลุมของเซลลที่มีการเจริญและแบงตัวแบบไมโทซีส (mitosis) อยูตลอดเวลา ลักษณะของเนือเยื่อเจริญ ้ ขนาดเล็ก ผนังบาง เซลลแตละชนิดอยูชิดติดกันมาก  ไมมีชองวางระหวางเซลล (intercellular space)
  • 6. ตําแหนงที่พบในสวนตาง ๆ ของพืช 1. เนือเยื่อเจริญสวนปลาย (apical meristem) ้ คือเนือเยื่อที่อยูบริเวณปลายยอด (shoot tip ) หรือปลายราก ้ (root tip) ของพืช เมื่อมีการแบงตัวเพิ่มจํานวนเซลลจะทําให รากและลําตนยืดยาวออก เพิ่มความสูงใหกับตนพืช เปนการ เจริญขั้นแรก (Primary growth)
  • 8. 2. เนื้อเยื่อเจริญเหนือขอ (intercalary meristem) คือเนือเยื่อที่อยูบริเวณเหนือขอ หรือโคนของปลองในพืช ้ ใบเลี้ยงเดี่ยว เชน ออย ไผ ขาวโพด หรือหญา เปนตน เมื่อมี การแบงตัวจะชวยใหปลองยาวขึ้น
  • 9. เนื้อเยื่อเจริญเหนือขอ (intercalary meristem) ที่มา http://www.nana-bio.com/e-learning/Meristem.htm
  • 10. 3. เนื้อเยื่อเจริญดานขาง (lateral meristem หรือ axillary meristem) คือ เนือเยื่อเจริญที่แบงตัวออกดานขางของลําตนหรือราก ้ เมื่อแบงตัวแลวจะทําใหลําตน ราก ขยายขนาดออกทางดานขาง หรือมีขนาดใหญขึ้น เปนการเจริญขั้นที่ 2 (Secondary growth) บางคนอาจเรียกเนือเยื่อเจริญดานขางนี้วา แคมเบียม (cambium) ้ แบงเปน 2 ชนิดคือ
  • 11. Vascular cambium Vascular cambium พบในรากและลําตนพืชใบเลี้ยงคู และพืชใบ เลี้ยงเดียวบางชนิด เชน หมากผู ่ หมากเมีย ศรนารายณ ที่มาhttp://www.cfr.washington.edu/Classes.ESC.200/lectures/concepts/specialbiology1.htm
  • 12. cork cambium หรือ Phellogen Cork cambium ใหกําเนิดคอรก หรือเฟลเลมหุมรอบ รากและลําตนพืชใบเลี้ยงคูที่มีอายุมาก ที่มา http://www.sbs.utexas.edu/mauseth/weblab/webchap17bark/17.1-5.htm
  • 13. เนื้อเยื่อถาวร (permanent tissues) หมายถึงกลุมของเซลลที่ในสภาพปกติไมมการแบงตัว ี โดยเซลลเหลานีเ้ จริญเปลี่ยนแปลงมาจากเนือเยื่อเจริญอีก ้ ทีหนึ่ง แบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1. เนือเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว (Simple permanent tissue) ้ 2. เนือเยื่อถาวรเชิงซอน(Compount permanent tissue) ้
  • 14. เนื้อเยื่อถาวรเชิงเดี่ยว ประกอบดวยกลุมเซลลชนิดเดียวกัน มารวมกัน เพื่อทําหนาที่อยางเดียวกัน แบงออกได 2 ประเภท ไดแก 1. เนือเยื่อปองกัน (Protective tissue) ้ 2. เนือเยื่อพื้น (Ground tissue) ้
  • 15. เนื้อเยื่อปองกัน ทําหนาที่ปองกันอันตรายรวมทั้งการสูญเสียน้ํา มักอยู นอกสุดของราก ลําตน และใบ แบงออกเปน 2 ประเภท คือ - เอพิเดอรมิส (Epidermis) - คอรก (Cork) หรือ เฟลเลม (Phellem)
  • 16. เอพิเดอรมิส (Epidermis) epidermis • ปกปองคุมครองเนื้อเยื่อตาง ๆ • รูปสี่เหลี่ยมผืนผา • ผิวดานนอก มีสารขี้ผึ้งพวก คิวติน (cutin) ฉาบอยูเพื่อชวย ปองกันการระเหยของน้ํา • ชั้นของคิวตินนีเ้ รียกวา คิวติเคิล (cuticle) ที่มา http://www.nana-bio.com/e-learning/plant%20organ/root.html
  • 17. หนาที่ของเอพิเดอรมิส 1. ใหความแข็งแรงและชวยปองกันอันตรายใหกับเนื้อเยื่อ ที่อยูถัดไป 2. ชวยปองกันไมใหน้ําซึมผานเขาไปในรากมากเกินไป เพราะจะทําใหรากเนา 3. เจริญเปลี่ยนแปลงไปเปน ขนราก เซลลคุม ขนและตอม
  • 19. - เซลลคุม ทําหนาที่ควบคุมการปด-เปดของใบ ชองปากใบ เซลลคุม ลักษณะปากใบ ที่มา http://deen2do.com/idda/2008/03/page/2/
  • 21. คอรก หรือเฟลเลม เกิดจากการแบงตัวของคอรกแคมเบียม หรือเฟลเจน เมื่อคอรกเติบโตเต็มที่แลว โพรโทพลาสซึมและเยื่อหุมเซลล จะสลายไป เหลือเฉพาะผนังเซลลที่มีซูเบอริน และคิวติเคิล สะสม ซึ่งน้ําจะไมสามารถผานได เนื้อเยื่อชั้นคอรกรวมกับเฟลโลเจน และเฟลโลเดริ์ม เรียกรวมวา เพอริเดิรม (Peridrem)
  • 22. Cork
  • 23. เนื้อเยื่อพื้น เปนองคประกอบในราก ลําตน ใบ ดอก และเปนตัวกลาง ใหเนื้อเยื่ออื่น ๆ แทรกตัวอยู มีหลายประเภท ไดแก
  • 24. พาเรงคิมา (parenchyma) พบไดแทบทุกสวนของอวัยวะพืช รูปรางหลายแบบ บางเซลล คอนขางกลม รี ทรงกระบอกหรือ เปนเหลี่ยม มีชองวางระหวางเซลล (intercellular space) ชองวางระหวางเซลล ที่มา http://botit.botany.wisc.edu/images/130/Cells_&_Tissues/Celery_Petiole/Parenchyma.html
  • 25. พาเรงคิมา (parenchyma) ตัดตามยาว (long section) ตัดตามขวาง (cross section) ที่มา http://botit.botany.wisc.edu/images/130/Cells_&_Tissues/Celery_Petiole/Parenchyma.html
  • 26. พาเรงคิมา (parenchyma) ชองอากาศ (air space) สะสมแปง ที่มา http://botit.botany.wisc.edu/images/130/Cells_&_Tissues/Celery_Petiole/Parenchyma.html
  • 27. หนาที่ของพาเรงคิมา 1. สะสมน้ําและอาหารพวกแปง โปรตีน และไขมัน 2. ในลําตนพืชออน ๆ ทําหนาที่สังเคราะหดวยแสง 3. ในพืชตระกูลถั่วจะอยูรวมเปนกลุมที่โคนกานใบทําหนาที่เกี่ยวกับ  การหุบใบ กางใบในรอบวัน 4. ในพืช ซี-3 พืช ซี-4 บางชนิดพาเรงคิมาจะเจริญลอมรอบมัด ทอลําเลียง ถาภายในมีคลอโรพลาสตก็จะสังเคราะหดวยแสงดวย 5. ใบพืชบางชนิดจะเจริญเปลี่ยนไปเปนตอมสรางสาร เชน สรางน้ํามัน 6. พาเรงคิมาในมัดทอลําเลียงจะทําหนาที่ลําเลียงอาหาร 7. ในกานใบและเสนกลางใบของพืชบางชนิด เชน พุทธรักษา เปลี่ยนไปเปน แอเรงคิมา (Aerenchyma)
  • 29. คอลเลงคิมา (collenchyma) ลักษณะของคอลเลงคิมา ที่มา http://www.science.smith.edu/~mmarcotr/Hortwebpage- fall/handouts/figures- overheads/anatomyfigures.htm
  • 30. สเกลอเรงคิมา (sclerenchyma) ผนังเซลลหนามากสารที่มาฉาบ เปนสารพวกลิกนิน (lignin) เปนโครงกระดูกหรือโครงราง ของพืช จําแนกออกเปน 2 ชนิด
  • 31. เซลลเสนใย (fiber) • รูปรางของเซลลยาวมาก • หัวแหลมทายแหลม • ผนังเซลลหนามากเปน สารประกอบลิกนิน • ชองวางภายในเซลลแคบ มากเรียกวา ลูเมน • มีความเหนียวและยืดหยุน
  • 32. สเกลอรีด (scleried) รูปรางสั้นและปอม อาจกลมหรือ เปนเหลี่ยม ผนังเซลลหนา มักพบ ตามที่แข็งมาก ๆ เชน กะลามะพราว เมล็ดพุทรา
  • 33. เอนโดเดอรมิส (Endodermis) Endodermis สวนใหญพบในรากพืชใบเลี้ยง เดี่ยว เซลลเรียงตัวเปนแนวเดียว ผนังเซลลบาง มีสารพวก ซูเบอริน คิวติน หรือลิกนิน มาสะสมเปนแถบทําใหผนัง เซลลหนา เปนแถบ ซึ่งจะกีด ขวางน้ําและอาหารไมใหผานได สะดวก ที่มา http://botit.botany.wisc.edu/images/130/Root/Monocot_Roots/Zea_Root/Endodermis_vasc_tissue
  • 34. หนาที่ของเอนโดเดอรมิส 1. ปองกันเนื้อเยื่อสวนที่อยูถัดเขาไปขางใน 2. เปนทางผานของน้ํา เกลือแร อาหาร และกีดขวางการ ลําเลียงสารดังกลาว
  • 35. เนื้อเยื่อถาวรเชิงซอน ประกอบดวยกลุมเซลลหลายชนิดมาทํางานรวมกัน ซึ่งเนื้อเยื่อ ถาวรเชิงซอนแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก เนื้อเยื่อที่ทําหนาที่ ลําเลียงน้ํา แรธาตุ เรียกวาไซเลม (xylem) และเนื้อเยื่อลําเลียง อาหาร เรียกวา โฟลเอม (phloem)
  • 36. ไซเลม (xylem) ลําเลียงน้ําและแรธาตุ ประกอบดวย 1. vessel 2. tracheid 3. xylem fiber 4. xylem parenchyma ที่มา https://webspace.utexas.edu/harms/VEVI3/transport.html
  • 37. เทรคีด (Tracheid) รูปรางยาว หัวทายคอนขาง แหลม ผนังเซลลหนามี สารพวกลิกนินสะสม ผนัง มีรูพรุนที่เรียกวา pit ที่มา http://facweb.furman.edu/~lthompson/bgy34/plantanatomy/plant_cells.htm
  • 38. เวสเซล (Vessel) • คลายทอยาวๆ ทีประกอบดวยทอ ่ สั้นๆหลายๆทอมาตอกัน • ทอสั้นแตละทอเรียกวา vessel member หรือ vessel element • ผนังหนาเปนสารพวกลิกนินมา สะสม มีชองทะลุถึงกัน ซึ่งมี ลักษณะเปนรอยปรุหรือรูพรุนที่ เรียกวา perforation plate ที่มา http://www.dbdmart.com/lifesigngatc/product.php?cat=88432&lang=en
  • 39. ไซเลมไฟเบอร (xylem fiber) ผนังหนา รูปรางยาวเรียว หัวทายแหลม มีลักษณะคลายเสนใย เปนเซลลที่ตายแลว แตยังคงทําหนาที่ใหความแข็งแรงแกพืชเทานั้น
  • 40. ไซเลม พาเรงคิมา (xylem parenchyma) เปนเซลลที่ยังมีชีวิตอยูเพียงเซลลเดียว ในเนื้อเยื่อไซเลม มีผนังบาง แตเมื่อแกแลวจะมีสารลิกนินมาสะสม ทําใหผนังหนาขึ้น ปกติจะเรียงตัวในแนวตั้งแตบางกลุมจะเรียงตัวตามขวาง หรือตามแนว รัศมี ทําหนาที่ลําเลียงน้ําและเกลือแรไปตามดานขาง เรียกวา ไซเลมเรย (xylem ray)
  • 43. ซีพทิวบ (sieve tube) มีรูปรางยาว ปลายทั้ง 2 ดานคอนขางแหลม มีรูเล็ก คลายตะแกรง เรียกวา ซีพเพลท (Sieve plate) บริเวณรูเล็ก ๆ ซีพเอเรีย ซีพทิวบเมมเบอรหลาย ๆ เซลลมาเรียงตอกันเปนทอ ยาวๆ เรียกวา ซีพทิวบ (Sieve tube)
  • 46. เซลลคอมพาเนียน (Companion cell) เซลลมีขนาดเล็ก รูปรางเรียวยาว ปลายแหลม มีนิวเคลียสขนาดใหญ เห็นไดชัดเจน มีกําเนิดจากเซลล ตนกําเนิดเดียวกับซีพทิวบเมมเบอร ที่มา http://www.school.net.th/library/create-web/10000/science/10000-5830.html
  • 47. โฟลเอมพาเรงคิมา (Phloem parenchyma) เหมือนกับพาเรงคิมาทั่วไป เปนเซลลที่มีชีวิต ปกติลาเลียงอาหารในแนวดิ่ง ํ บางกลุมลําเลียงในแนวรัศมี  ขวางลําตนและราก เรียกวา โฟลเอมเรย ที่มา http://www.answers.com/topic/pericycle
  • 48. โฟลเอมไฟเบอร (Phloem fiber) เปนเซลลไมมีชีวิตชนิดเดียวในเนื้อเยื่อโฟลเอม ใหความ แข็งแรงแกพืชเทานั้น ที่มา http://www.sbs.utexas.edu/mauseth/weblab/webchap11stem/11.5-15.htm