SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  7
1



     ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
      หมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บ
รักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐาน
ข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม


   การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยี
สารสนเทศ
       การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การแก้ปัญหา
ที่ซับซ้อนด้วยวิธีการต่างๆ ส่วนมากจำาเป็นต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเข้า
ช่วยเพื่อเพิ่มความรวดเร็ว ถูกต้อง และสามารถทำาซำ้าได้งายในกระบวนการ
                                                        ่
ทางเทคโนโลยีสารสนเทศเข้าช่วยแก้ปัญหา จำาเป็นต้องปรับรูปแบบวิธีการ
ทำางานให้เหมาะสมกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
          วิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นวิธี
คล้ายกับการแก้ปัญหาทางวิศวกรรมมาก แต่ในการนำาระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้
ในการแก้ปัญหา หรือเพิ่มประสิทธิภาพในการทำางานใดๆ ก็ตาม จะต้องมีการ
วิเคราะห์ปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้ให้รอบคอบเสียก่อน ทังนี้เนื่องจาก
                                                           ้
คอมพิวเตอร์ไม่ใช้เครื่องมือวิเศษที่จะแก้ปัญหาได้ทุกเรื่อง การแก้ปัญหา
ด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ เหมาะกับระบบงานที่ต้องทำางาน
อย่างใดอย่างหนึ่งซึ่งซากและมีปริมาณงานมากหรืองานที่ต้องการความ
รวดเร็วในการคำานวณเกินกว่าคนธรรมดาจะทำาได้ วิธีการโดยทั่วไปคือ ปรับ
เปลียนวิธีการหรือระบบการทำางานแบบเดิม มาใช้ระบบงานที่มีเครื่อง
     ่
คอมพิวเตอร์ช่วยทำางานเป็นบางส่วน หรือทั้งหมด เท่าที่สามารถจะทำาแทนคน
ได้.



ความหมายและขั้นตอนการแก้ปัญหา
    กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ กระบวนการ หรือขั้นตอนที่ใช้ใน
การแก้ปัญหา เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ ซึงปัญหาดังกล่าวจะ
                                               ่
2



เกี่ยวข้องกับการจัดการข้อมูล โดยมีการถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหานั้น
ด้วยอัลกอริทึม ซึ่งการแก้ปัญหานั้นมี 4 ขั้นตอน ดังนี้




การวิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียดของปัญหา
 เป็นขั้นตอนการทำาความเข้าใจกับปัญหา เพื่อแบ่งแยกให้ชัดเจนโดยใช้
คำาถามต่อไปนี้

      ข้อมูลทีกำาหนดมาในปัญหาหรือเงื่อนไขของปัญหาคืออะไร
              ่                                               เพื่อระบุ
ข้อมูลเข้า

     สิ่งที่ต้องการคืออะไรเพื่อระบุข้อมูลออก

     วิธีการที่ใช้ประมวลผลคืออะไรเพื่อกำาหนดวิธีการประมวลผล



ตัวอย่าง การวิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียดของปัญหาเกี่ยวกับการหาพื้นที่
สี่เหลี่ยมผืนผ้า

     ระบุข้อมูลเข้า   →    ความกว้างและความยาวของสี่เหลี่ยมผืนผ้า

     ระบุข้อมูลออก    →    พื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า

        กำาหนดวิธีการประมวลผล           นำาความกว้าง และความยาวของ
สี่เหลี่ยมผืนผ้ามาหาพื้นที่โดยการคูณ



การเลือกเครื่องมือ และออกแบบขั้นตอน
    เป็นการนำาการวิเคราะห์วิธีการแก้ปัญหามากำาหนดเครื่องมือและขั้นตอน
ในการปฎิบัติที่สามารถทำาได้เท่านั้น

  1. การเลือกเครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหา
3



           เป็นการกำาหนดทรัพยากรที่ต้องใช้ในการแก้ปัญหา ซึ่งควรจะเลือก
     ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่แล้ว หรือเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องมือนั้นๆ
     มากกว่าการจัดหามาเพิ่มเติม โดยควรกำาหนดรายละเอียดของเครื่องมือ
     ให้ชัดเจน

  2. การออกแบบขั้นตอนในการปฏิบัติงาน

          เป็นการกำาหนดแนวทางในการแก้ปัญหาก่อนการปฏิบัติจริง โดย
     จะต้องกำาหนดการปฏิบัติงานให้เป็นลำาดับขั้น แล้วจึงนำามาระบุผรับผิด
                                                                 ู้
     ชอบ และ ระยะการปฏิบัติ




     การดำาเนินการแก้ปัญหา
      เป็นขั้นตอนของการลงมือปฏิบัติตามที่เลือกออกแบบไว้ในตารางปฏิบัติ
งาน โดยควรปฏิบัติให้ตรงกับที่ออกแบบไว้ให้มากที่สุดและควรบันทึกปัญหา
ที่พบในการปฏิบัติงานเพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบและปรับปรุงภายหลัง

                     การวิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียด

                                 ของปัญหา




                    การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอน




                            การดำาเนินการแก้ปัญหา
4



การตรวจสอบและปรับปรุง
       ต้องคำานึงถึงสิ่งที่ต้องการจากการวิเคราะห์ในขั้นตอนแรกว่า ได้ผลตาม
ที่ต้องการหรือไม่ แบ่งเป็น 2 ขั้นตอน ดังนี้

     1. การตรวจสอบและปรับปรุงโดยผู้ออกแบบ ควรทำาทังก่อนและ ้
หลังการดำาเนินการ ซึ่งเป็นการตรวจสอบก่อนการใช้งานจริง เช่น การตรวจ
สอบข้อมูลลูกค้า การตรวจสอบระบบบาร์โค้ด

      2. การตรวจสอบโดยผู้ใช้งานจริง เป็นการตรวจสอบหลังจากการ
ดำาเนินการ โดยเก็บข้อมูลจากผู้ใช้งาน เช่น การทำาแบบสอบถาม แล้วนำามา
ปรับปรุงเทคโนโลยีสารสนเทศอีกทีหนึ่ง




การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาด้วยอัลกอริทึม
     อัลกอริทึม (Algorithm) เกิดจากแนวคิดอย่างเป็นระบบเพื่อนำาไปสู่
ผลลัพธ์ที่ต้องการ โดยทั่วไปนอยมใช้ในการวางแผนสร้างซอฟต์แวร์ทใช้กับ ี่
ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ เพื่อให้ฮาร์ดแวร์นั้นแก้ปัญหาตามที่ต้องการอย่างถูก
ต้อง ซึ่งอัลกอริทึมที่ดีควรมีลักษณะ ดังนี้

     1. มีความถูกต้องแม่นยำา

     2. เข้าใจได้งายและชัดเจน
                  ่

     3. มีขั้นตอนหลักและขั้นตอนย่อย



การเขียนรหัสจำาลอง
     การเขียนรหัสจำาลอง (Pseudo Code)     คือการเขียนอัลกอริทึมโดย
ใช้ประโยคภาษาอังกฤษที่สื่อความหมายง่าย ๆ สามารถอ่านแล้วเข้าใจได้
5



โดยทันที    แต่ก็สามารถใช้รปแบบที่เป็นภาษาพูดด้วยภาษาไทยและภาษา
                           ู
อังกฤษก็ได้

       โครงสร้างของรหัสจำาลองเริ่มต้นด้วยข้อความ Begin แล้วอธิบายขั้น
ตอนการทำางานโดยใช้คำาสั่งต่าง ๆ ทีใกล้เคียงกับภาษาคอมพิวเตอร์ในการ
                                  ่
เขียนโปรแกรม เช่น

      คำาสั่ง read     หมายถึง การอ่านค่าหรือรับค่าข้อมูลตัวแปรตามที่
กำาหนดไว้

       คำาสั่ง print   หมายถึง การแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการคำานวณ

       และพิมพ์ข้อความ End เมื่อจบการทำางาน

      การเขียนรหัสจำาลองจะต้องมีการวางแผนสำาหรับการอ้างอิงถึงข้อมูลที่
จะต้องนำาไปใช้ภายในโปรแกรมด้วยการสร้างตัวแปร โดยใช้เครื่องหมาย
เท่ากับ (= ) แทนการกำาหนดค่าตัวแปร




การเขียนผังงาน ( Flowchart )
          ผังงาน คือ แผนภาพที่มีการใช้สัญลักษณ์รูปภาพและลูกศรทีแสดง
                                                               ่
ถึงขั้นตอนการทำางานของโปรแกรมหรือระบบทีละขั้นตอน รวมไปถึงทิศทาง
การไหลของข้อมูลตั้งแต่แรกจนได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ มี 2 ประเภท คือ
ผังงานระบบ และผังงานโปรแกรม

ประโยชน์ของผังงาน
• ช่วยลำาดับขั้นตอนการทำางานของโปรแกรม และสามารถนำาไปเขียน
โปรแกรมได้โดยไม่สับสน
• ช่วยในการตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย เมื่อเกิดข้อผิดพลาด
• ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข ทำาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
• ช่วยให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทำางานของโปรแกรมได้อย่างง่าย และรวดเร็ว
มากขึ้น
6



วิธีการเขียนผังงานที่ดี
• ใช้สัญลักษณ์ตามที่กำาหนดไว้
• ใช้ลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่าง หรือจากซ้ายไปขวา

• คำาอธิบายในภาพควรสั้นกะทัดรัด และเข้าใจง่าย
• ทุกแผนภาพต้องมีลูกศรแสดงทิศทางเข้า - ออก
• ไม่ควรโยงเส้นเชื่อมผังงานที่อยู่ไกลมาก ๆ ควรใช้สัญลักษณ์จุดเชื่อมต่อ
แทน
• ผังงานควรมีการทดสอบความถูกต้องของการทำางานก่อนนำาไปเขียน
โปรแกรม



ผังงานระบบ (System Flowchart)

     จะแสดงภาพรวมของระบบ เน้นแสดงเฉพาะสื่อที่ทำาหน้าทีนำาข้อมูลเข้า
                                                      ่
และออก โดยจะไม่แสดงถึงรายละเอียดวิธีการประมวลผล ซึ่งจะนำาไปแสดง
ไว้ในส่วนของผังงานโปรแกรมแทน



ผังงานโปรแกรม ( Program Flowchart )
การเขียนผังโปรแกรมจะประกอบไปด้วยการใช้สัญลักษณ์มาตรฐานต่าง ๆ ที่
เรียกว่า สัญลักษณ์ ANSI ( American National Standards Institute ) ใน
การสร้างผังงาน ดังตัวอย่างที่แสดงในรูปต่อไปนี้

                จุดเริ่มต้น / สิ้นสุดของโปรแกรม

                ลูกศรแสดงทิศทางการทำางานของโปรแกรมและการไหล
                ของข้อมูล

                ใช้แสดงคำาสั่งในการประมวลผล หรือการกำาหนดค่าข้อมูลให้
                กับตัวแปร
7



แสดงการอ่านข้อมูลจากหน่วยเก็บข้อมูลสำารองเข้าสู่หน่วย
ความจำาหลักภายใน เครื่องหรือการแสดงผลลัพธ์จากการ
ประมวลผลออกมา

การตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อตัดสินใจ โดยจะมีเส้นออกจารรูป
เพื่อแสดงทิศทางการทำางานต่อไป เงื่อนไขเป็นจริงหรือเป็น
เท็จ

แสดงผลหรือรายงานทีถูกสร้างออกมา
                  ่

แสดงจุดเชื่อมต่อของผังงานภายใน หรือเป็นที่บรรจบของ
เส้นหลายเส้นที่มาจากหลายทิศทางเพื่อจะไปสู่ การทำางาน
อย่างใดอย่างหนึ่งที่เหมือนกัน

การขึ้นหน้าใหม่ ในกรณีที่ผงงานมีความยาวเกินกว่าที่จะ
                          ั
แสดงพอในหนึ่งหน้า

Contenu connexe

Tendances

ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศNattapon
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2Orapan Chamnan
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2Ja Phenpitcha
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2Orapan Chamnan
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศน้อย วิภาภรณ์
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมEdz Chatchawan
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลOrapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษาใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษาNattapon
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศThitikorn Prakrongyad
 
01 introduction-to-system-analysis-and-design
01 introduction-to-system-analysis-and-design01 introduction-to-system-analysis-and-design
01 introduction-to-system-analysis-and-designNuNa DeeNa
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solutionaumaiaiai
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]Paweena Kittitongchaikul
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบSarawut Panchon
 
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรมหลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรมNunnaphat Chadajit
 

Tendances (19)

ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2ใบความรู้ที่2
ใบความรู้ที่2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2ใบความรู้ที่1.2
ใบความรู้ที่1.2
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คอมทรงสัก1
คอมทรงสัก1คอมทรงสัก1
คอมทรงสัก1
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอม
 
Sallai pro
Sallai proSallai pro
Sallai pro
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษาใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
ใบความรู้ที่ 3 การเขียนโปรแกรมภาษา
 
Chapter 04 Compare
Chapter 04 CompareChapter 04 Compare
Chapter 04 Compare
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
01 introduction-to-system-analysis-and-design
01 introduction-to-system-analysis-and-design01 introduction-to-system-analysis-and-design
01 introduction-to-system-analysis-and-design
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solution
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solution
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
 
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรมหลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
หลักการแก้ปัญหาและการพัฒนาโปรแกรม
 

Similaire à ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007MMp'New Aukkaradet
 
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศB'Benz Sunisa
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]Paweena Kittitongchaikul
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net Saharat Yimpakdee
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ Thanawut Rattanadon
 
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารPrakaywan Tumsangwan
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ ComputerSPipe Pantaweesak
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์SPipe Pantaweesak
 

Similaire à ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ (20)

ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรมใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
 
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
 
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
1
11
1
 
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
กระบวนการสารสนเทศ [โหมดความเข้ากันได้]
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Project Sky
Project SkyProject Sky
Project Sky
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)
 
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 
ใบงาน 2-8
ใบงาน 2-8ใบงาน 2-8
ใบงาน 2-8
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computer
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 

Plus de Paweena Kittitongchaikul (17)

Doc2
Doc2Doc2
Doc2
 
Nokiaราคาประหยัด
NokiaราคาประหยัดNokiaราคาประหยัด
Nokiaราคาประหยัด
 
ข่าวไอที 56 ชุ
ข่าวไอที 56 ชุข่าวไอที 56 ชุ
ข่าวไอที 56 ชุ
 
คนไทยใช้มือถือ89ล้านเครื่อง
คนไทยใช้มือถือ89ล้านเครื่องคนไทยใช้มือถือ89ล้านเครื่อง
คนไทยใช้มือถือ89ล้านเครื่อง
 
It
ItIt
It
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
ข่าวแบบร่าง Iphone 5s
ข่าวแบบร่าง Iphone 5sข่าวแบบร่าง Iphone 5s
ข่าวแบบร่าง Iphone 5s
 
ข่าวแบบร่าง Iphone 5s
ข่าวแบบร่าง Iphone 5sข่าวแบบร่าง Iphone 5s
ข่าวแบบร่าง Iphone 5s
 
Nokia lumia 900
Nokia lumia 900Nokia lumia 900
Nokia lumia 900
 
It news
It newsIt news
It news
 
ข่าวIt
ข่าวItข่าวIt
ข่าวIt
 
ข่าวIt
ข่าวItข่าวIt
ข่าวIt
 
มายแมบ(กลุ่ม1ม.5ห้อง2)
มายแมบ(กลุ่ม1ม.5ห้อง2)มายแมบ(กลุ่ม1ม.5ห้อง2)
มายแมบ(กลุ่ม1ม.5ห้อง2)
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
กระบวนการสารสนเทศ
กระบวนการสารสนเทศกระบวนการสารสนเทศ
กระบวนการสารสนเทศ
 
เอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิงเอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิง
 

ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ

  • 1. 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บ รักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐาน ข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยี สารสนเทศ การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ การแก้ปัญหา ที่ซับซ้อนด้วยวิธีการต่างๆ ส่วนมากจำาเป็นต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเข้า ช่วยเพื่อเพิ่มความรวดเร็ว ถูกต้อง และสามารถทำาซำ้าได้งายในกระบวนการ ่ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศเข้าช่วยแก้ปัญหา จำาเป็นต้องปรับรูปแบบวิธีการ ทำางานให้เหมาะสมกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ วิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นวิธี คล้ายกับการแก้ปัญหาทางวิศวกรรมมาก แต่ในการนำาระบบคอมพิวเตอร์ไปใช้ ในการแก้ปัญหา หรือเพิ่มประสิทธิภาพในการทำางานใดๆ ก็ตาม จะต้องมีการ วิเคราะห์ปัญหาและศึกษาความเป็นไปได้ให้รอบคอบเสียก่อน ทังนี้เนื่องจาก ้ คอมพิวเตอร์ไม่ใช้เครื่องมือวิเศษที่จะแก้ปัญหาได้ทุกเรื่อง การแก้ปัญหา ด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ เหมาะกับระบบงานที่ต้องทำางาน อย่างใดอย่างหนึ่งซึ่งซากและมีปริมาณงานมากหรืองานที่ต้องการความ รวดเร็วในการคำานวณเกินกว่าคนธรรมดาจะทำาได้ วิธีการโดยทั่วไปคือ ปรับ เปลียนวิธีการหรือระบบการทำางานแบบเดิม มาใช้ระบบงานที่มีเครื่อง ่ คอมพิวเตอร์ช่วยทำางานเป็นบางส่วน หรือทั้งหมด เท่าที่สามารถจะทำาแทนคน ได้. ความหมายและขั้นตอนการแก้ปัญหา กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ คือ กระบวนการ หรือขั้นตอนที่ใช้ใน การแก้ปัญหา เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ ซึงปัญหาดังกล่าวจะ ่
  • 2. 2 เกี่ยวข้องกับการจัดการข้อมูล โดยมีการถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหานั้น ด้วยอัลกอริทึม ซึ่งการแก้ปัญหานั้นมี 4 ขั้นตอน ดังนี้ การวิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียดของปัญหา เป็นขั้นตอนการทำาความเข้าใจกับปัญหา เพื่อแบ่งแยกให้ชัดเจนโดยใช้ คำาถามต่อไปนี้ ข้อมูลทีกำาหนดมาในปัญหาหรือเงื่อนไขของปัญหาคืออะไร ่ เพื่อระบุ ข้อมูลเข้า สิ่งที่ต้องการคืออะไรเพื่อระบุข้อมูลออก วิธีการที่ใช้ประมวลผลคืออะไรเพื่อกำาหนดวิธีการประมวลผล ตัวอย่าง การวิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียดของปัญหาเกี่ยวกับการหาพื้นที่ สี่เหลี่ยมผืนผ้า ระบุข้อมูลเข้า → ความกว้างและความยาวของสี่เหลี่ยมผืนผ้า ระบุข้อมูลออก → พื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า กำาหนดวิธีการประมวลผล นำาความกว้าง และความยาวของ สี่เหลี่ยมผืนผ้ามาหาพื้นที่โดยการคูณ การเลือกเครื่องมือ และออกแบบขั้นตอน เป็นการนำาการวิเคราะห์วิธีการแก้ปัญหามากำาหนดเครื่องมือและขั้นตอน ในการปฎิบัติที่สามารถทำาได้เท่านั้น 1. การเลือกเครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหา
  • 3. 3 เป็นการกำาหนดทรัพยากรที่ต้องใช้ในการแก้ปัญหา ซึ่งควรจะเลือก ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่แล้ว หรือเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องมือนั้นๆ มากกว่าการจัดหามาเพิ่มเติม โดยควรกำาหนดรายละเอียดของเครื่องมือ ให้ชัดเจน 2. การออกแบบขั้นตอนในการปฏิบัติงาน เป็นการกำาหนดแนวทางในการแก้ปัญหาก่อนการปฏิบัติจริง โดย จะต้องกำาหนดการปฏิบัติงานให้เป็นลำาดับขั้น แล้วจึงนำามาระบุผรับผิด ู้ ชอบ และ ระยะการปฏิบัติ การดำาเนินการแก้ปัญหา เป็นขั้นตอนของการลงมือปฏิบัติตามที่เลือกออกแบบไว้ในตารางปฏิบัติ งาน โดยควรปฏิบัติให้ตรงกับที่ออกแบบไว้ให้มากที่สุดและควรบันทึกปัญหา ที่พบในการปฏิบัติงานเพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบและปรับปรุงภายหลัง การวิเคราะห์และกำาหนดรายละเอียด ของปัญหา การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอน การดำาเนินการแก้ปัญหา
  • 4. 4 การตรวจสอบและปรับปรุง ต้องคำานึงถึงสิ่งที่ต้องการจากการวิเคราะห์ในขั้นตอนแรกว่า ได้ผลตาม ที่ต้องการหรือไม่ แบ่งเป็น 2 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การตรวจสอบและปรับปรุงโดยผู้ออกแบบ ควรทำาทังก่อนและ ้ หลังการดำาเนินการ ซึ่งเป็นการตรวจสอบก่อนการใช้งานจริง เช่น การตรวจ สอบข้อมูลลูกค้า การตรวจสอบระบบบาร์โค้ด 2. การตรวจสอบโดยผู้ใช้งานจริง เป็นการตรวจสอบหลังจากการ ดำาเนินการ โดยเก็บข้อมูลจากผู้ใช้งาน เช่น การทำาแบบสอบถาม แล้วนำามา ปรับปรุงเทคโนโลยีสารสนเทศอีกทีหนึ่ง การถ่ายทอดความคิดในการแก้ปัญหาด้วยอัลกอริทึม อัลกอริทึม (Algorithm) เกิดจากแนวคิดอย่างเป็นระบบเพื่อนำาไปสู่ ผลลัพธ์ที่ต้องการ โดยทั่วไปนอยมใช้ในการวางแผนสร้างซอฟต์แวร์ทใช้กับ ี่ ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ เพื่อให้ฮาร์ดแวร์นั้นแก้ปัญหาตามที่ต้องการอย่างถูก ต้อง ซึ่งอัลกอริทึมที่ดีควรมีลักษณะ ดังนี้ 1. มีความถูกต้องแม่นยำา 2. เข้าใจได้งายและชัดเจน ่ 3. มีขั้นตอนหลักและขั้นตอนย่อย การเขียนรหัสจำาลอง การเขียนรหัสจำาลอง (Pseudo Code) คือการเขียนอัลกอริทึมโดย ใช้ประโยคภาษาอังกฤษที่สื่อความหมายง่าย ๆ สามารถอ่านแล้วเข้าใจได้
  • 5. 5 โดยทันที แต่ก็สามารถใช้รปแบบที่เป็นภาษาพูดด้วยภาษาไทยและภาษา ู อังกฤษก็ได้ โครงสร้างของรหัสจำาลองเริ่มต้นด้วยข้อความ Begin แล้วอธิบายขั้น ตอนการทำางานโดยใช้คำาสั่งต่าง ๆ ทีใกล้เคียงกับภาษาคอมพิวเตอร์ในการ ่ เขียนโปรแกรม เช่น คำาสั่ง read หมายถึง การอ่านค่าหรือรับค่าข้อมูลตัวแปรตามที่ กำาหนดไว้ คำาสั่ง print หมายถึง การแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการคำานวณ และพิมพ์ข้อความ End เมื่อจบการทำางาน การเขียนรหัสจำาลองจะต้องมีการวางแผนสำาหรับการอ้างอิงถึงข้อมูลที่ จะต้องนำาไปใช้ภายในโปรแกรมด้วยการสร้างตัวแปร โดยใช้เครื่องหมาย เท่ากับ (= ) แทนการกำาหนดค่าตัวแปร การเขียนผังงาน ( Flowchart ) ผังงาน คือ แผนภาพที่มีการใช้สัญลักษณ์รูปภาพและลูกศรทีแสดง ่ ถึงขั้นตอนการทำางานของโปรแกรมหรือระบบทีละขั้นตอน รวมไปถึงทิศทาง การไหลของข้อมูลตั้งแต่แรกจนได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ มี 2 ประเภท คือ ผังงานระบบ และผังงานโปรแกรม ประโยชน์ของผังงาน • ช่วยลำาดับขั้นตอนการทำางานของโปรแกรม และสามารถนำาไปเขียน โปรแกรมได้โดยไม่สับสน • ช่วยในการตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย เมื่อเกิดข้อผิดพลาด • ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข ทำาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว • ช่วยให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทำางานของโปรแกรมได้อย่างง่าย และรวดเร็ว มากขึ้น
  • 6. 6 วิธีการเขียนผังงานที่ดี • ใช้สัญลักษณ์ตามที่กำาหนดไว้ • ใช้ลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่าง หรือจากซ้ายไปขวา • คำาอธิบายในภาพควรสั้นกะทัดรัด และเข้าใจง่าย • ทุกแผนภาพต้องมีลูกศรแสดงทิศทางเข้า - ออก • ไม่ควรโยงเส้นเชื่อมผังงานที่อยู่ไกลมาก ๆ ควรใช้สัญลักษณ์จุดเชื่อมต่อ แทน • ผังงานควรมีการทดสอบความถูกต้องของการทำางานก่อนนำาไปเขียน โปรแกรม ผังงานระบบ (System Flowchart) จะแสดงภาพรวมของระบบ เน้นแสดงเฉพาะสื่อที่ทำาหน้าทีนำาข้อมูลเข้า ่ และออก โดยจะไม่แสดงถึงรายละเอียดวิธีการประมวลผล ซึ่งจะนำาไปแสดง ไว้ในส่วนของผังงานโปรแกรมแทน ผังงานโปรแกรม ( Program Flowchart ) การเขียนผังโปรแกรมจะประกอบไปด้วยการใช้สัญลักษณ์มาตรฐานต่าง ๆ ที่ เรียกว่า สัญลักษณ์ ANSI ( American National Standards Institute ) ใน การสร้างผังงาน ดังตัวอย่างที่แสดงในรูปต่อไปนี้ จุดเริ่มต้น / สิ้นสุดของโปรแกรม ลูกศรแสดงทิศทางการทำางานของโปรแกรมและการไหล ของข้อมูล ใช้แสดงคำาสั่งในการประมวลผล หรือการกำาหนดค่าข้อมูลให้ กับตัวแปร
  • 7. 7 แสดงการอ่านข้อมูลจากหน่วยเก็บข้อมูลสำารองเข้าสู่หน่วย ความจำาหลักภายใน เครื่องหรือการแสดงผลลัพธ์จากการ ประมวลผลออกมา การตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อตัดสินใจ โดยจะมีเส้นออกจารรูป เพื่อแสดงทิศทางการทำางานต่อไป เงื่อนไขเป็นจริงหรือเป็น เท็จ แสดงผลหรือรายงานทีถูกสร้างออกมา ่ แสดงจุดเชื่อมต่อของผังงานภายใน หรือเป็นที่บรรจบของ เส้นหลายเส้นที่มาจากหลายทิศทางเพื่อจะไปสู่ การทำางาน อย่างใดอย่างหนึ่งที่เหมือนกัน การขึ้นหน้าใหม่ ในกรณีที่ผงงานมีความยาวเกินกว่าที่จะ ั แสดงพอในหนึ่งหน้า