SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  23
ช่วงห้า
การเมืองยุคการจรรโลง
ประชาธิปไตย
ดร.ณรงค์ บุญ
สวยขวัญ
เงื่อนไขสำาคัญของการจรรโลง
ประชาธิปไตย
1. ประชาสังคม (Civil Society)
2. การเป็นสังคมการเมือง (Political Society)
3. การปกครองที่ใช้กฎหมายเป็นกลไกกาารตัดสิน
และจัดความสัมพันธ์ในสังคม (Rule of Law)
4. ข้าราชการเป็นกลไกของรัฐและสนองตอบต่อ
ประชาชน (Bureaucratic state)
5. การเมืองที่ให้ความสำาคัญกับกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจ (Political Economy)
ของการจรรโลงประชาธิปไตย (Democracy Consoli
ทั้งนี้พบว่าภาคประชาสังคม ซึ่งเป็นภาคที่อยู่
กึ่งกลางระหว่างปัจเจกบุคคล กับ
รัฐและมิใช้กลุ่มผลประโยชน์หรือภาคธุรกิจกลับ
มีบทบาทมากขึ้น
เช่นเดียวกับรัฐทั้งฝ่ายการเมืองและราชการ มี
ข้อจำากัดในการตอบสนอง
มากมาย
คือฝ่ายการเมือง มีความชะงักงันหรือเสื่อมมนต์
ขลังในการเป็นนัการเมืองในระบอบ
ประชาธิปไตยแบบมีตัวแทน เพราะระบบตัวแทน
มีข้อจำากัดในการตอบสองประชาชน มีข้อจำากัด
ในความชอบธรรมของที่มาทางการเมือง, มี
การเมืองไทยก็มีความเติบโตและ
พัฒนาการมาถึงขึ้นนี้
ภาคราชการมีปัญหาความเติบโตขององค์กร,
จำานวนข้าราชการ, ปัญหาเรื่องระเบียบกฎ
เกณฑ์ที่ล้าสมัยและเป็นพันธนาการมากกว่าเป็น
เครื่องในการบริการประชาชน, การเป็นกลไก
แสวงหาผลประโยชน์ให้ฝ่ายการเมืองและละเลย
ความสนใจต่อประชาชน
ภาคธุรกิจหรือตลาดมีความเติบโตต่อเนื่องได้รับ
การคุ้มครองหรือรับอภิสิทธิ์หรือเติบโตภายใต้
ระบบอุปถัมภ์ในการพัฒนาประเทศตลอดมา เช่น
เดียวกันกับได้เป็นเงื่อนไขให้มีการเปลี่ยนคน
ชนบท เป็นชนชั้นกลางมากขึ้น ซึ่งเป็นชนชั้น
จำานวนมากที่สุดของประเทศและมีคุณสมบัติ
พอที่จะเป็นพลังต่อประชาธิปไตย
การเมืองไทยก็มีความเติบโตและ
พัฒนาการมาถึงขึ้นนี้
ภาคแต่ภาคธุรกิจและการตลาดมิได้สนใจแค่
ธุรกิจ วันนี้ธุรกิจกำาลังต้องการอำานาจการเมือง
สนใจการเมือง เพราะมีความรู้สึกและ
ประสบการณ์ว่า ความเติบโต และความชะงักงัน
ทางธุรกิจเกิดจากปัจจัยการเมืองหลาย ๆ ครั้ง
การเมืองสรางปัญหากับธุรกิจ
การเมืองไทยก็มีความเติบโตและ
พัฒนาการมาถึงขึ้นนี้
ภาคภาครัฐและราชการ
ภาคประชาชน / ประชาสังคม
ภาคธุรกิจ
ทางการเมืองตัวใหม่ ๆ เกิดขึ้นและสัมพันธ์เกือบได้ดุลย
ตัวกระทำาทางการเมือง
รัฐ/
ราชการ
รัฐเข้มแข็ง
เป้า
หมาย
ไม่
สังคม
การเมือง
ประชาชน
ประชาสังคม
เศรษฐกิจ
ตลาด
เปลี่ยน
แปลง
สังคมเข้มแข็ง
รับผิด
ชอบสังคมคุณภาพ
สินค้ารวมกลุ่ม
ผลิตแข่งขัน
เต็มที่
จัดความสัมพันธ์ทาง
อำานาจใหม่
คนตัวเล็กคนตัว
น้อยมีส่วนร่วมสำานึก / ตระหนัก
ทางการเมือง
การ
เชื่อมโยงเครือ
ข่าย
แหลมคม
คั้นทุก
ฝ่ายการต่อรอง
ตัวกระทำาทางการเมือง
ความเป็นพลเมือง
Citizenship
2 แนวความคิด
แนวความคิดว่าด้วยกลุ่ม กิจกรรมนิยม
ความเป็นชุมชนแนวความคิดว่าด้วยเสรีนิยม
ปัจเจกบุคคลนิยม
ความเป็นประชาสังคม ต้องมีสมาชิกมี
ลักษณะของ
จิตแห่งการรวมกลุ่ม เป็นสมาชิกที่สำาคัญของ
ชุมชนสังคม
เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ แบ่งปัน
ไม่นิยมใช้อำานาจความรุนแรง ใช้ความ
สมานฉันท์
อดทน อดกลั้นและไว้วางใจระหว่างกัน
พึ่งตนเองทั้งในเรื่องตนเอง รับผิดชอบครอบครัว
รับผิดชอบชุมชนส่วนรวมมากกว่าต้องการพึ่งรัฐ
เคารพกฎเกณฑ์ แต่อิสระจากรัฐ
ร่วมกันสร้างกฎเกณฑ์ ระเบียบสังคมและเคารพ
เชื่อฟัง
เคารพเชื่อฟังต่อผู้ปกครองทีมีความชอบธรรม
ความเป็นพลเมือง
พลเมืองที่ดี ส่งผลให้เกิดสังคมที่ดี Plato
การเข้าร่วมบริหารการยุติธรรมและการเข้าร่วม
ในตำาแหน่งต่าง ๆ ในรัฐและตำาแหน่งอื่น ๆ ที่ไม่
ได้กำาหนดระยะเวลา Aristotle
ดังนั้นใครก็ตามที่เข้าร่วมในตำาแหน่งเหล่านั้น
คือ พลเมือง Aristotle
“พลเมือง” เป็นส่วนย่อยของรัฐ Aristotle
ดังนั้น “พลเมือง” จึงเกี่ยวข้องกับ “สิทธิและ
หน้าที่” Aristotle
พลเมืองต้องมีเสรีภาพทางใจ คือการเป็นนายตัว
คุณลักษณะของพลเมืองตาม
ทัศนะของเมธีการเมือง
สังคมการเมืองไทยจึงเข้าสู่ยุคปฏิรูปทางการ
เมือง โดยเฉพาะเงื่อนไขสำาคัญ คือการ มี
รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 จึงเป็นเงื่อนไขเริ่มต้น
ในทางกฎหมายครั้งสำาคัญที่เกิดขึ้นตอบสนอง
และก้าวเดินไปพร้อมๆกับพลังของตัวละคร
ทางการเมืองใหม่ทั้ง 3 ภายใต้โจทย์สำาคัญ คือความชอบธรรมของนักการ
เมือง
ประสิทธิภาพของนักการเมือง
คุณลักษณะของพลเมืองตาม
ทัศนะของเมธีการเมือง
สิทธิเสรีภาพในการชุมนุม การตั้งสมาคม
องค์กร ศาสนา
ศักดิ์ศรีในความเป็นมนุษย์
สิทธิมนุษยชน
การประกันสิทธิของผู้ต้องหา
สิทธิชุมชน
สิทธิในการปกครองชุมชนท้องถิ่น
540 ยังกำาหนดเพิ่มเติม ทั้งประกันสิทธิเสรีภาพของประ
รัฐธรรมนูญ 2540
นอกจากนี้รัฐธรรมนูญ 2540 เพิ่มการมีส่วนร่วม
ทั้งการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมแก่ตัวละครใหม่
ในกิจกรรมของรัฐศักดิ์ศรีในความเป็นมนุษย์
ร่วมรู้
ร่วมทำา
ร่วมคิด
ร่วมตัดสินใจ
ร่วมตรวจสอบการใช้อำานาจรัฐ
………ตัวอย่างเช่น ..
รัฐธรรมนูญ 2540
รู้เรื่องส่วนตัวของบุคคลทางการเมือง รู้ความ
รำ่ารวย รู้นิสัย
รู้เรื่องการบริหารจัดการประเทศ ในนามการดำารง
ตำาแหน่งต่างๆ
นักการเมืองต้องรายงานผลการบริหาร ครม.
ต้องรายงานผล
การมีส่วนร่วมรู้ทางการเมืองของ
ประชาชน
ประชาชนต้องมีหน้าที่ในฐานะพลเมืองไทย ต้อง
ทำา หรือเป็นประธาน
(Subject) มากกว่า เป็นผู้รับผลกระทำา
(Object) บทบาทที่ต้องทำา เป็นต้นว่า
เสียภาษี ป้องกันการขยายตัวของปัญหาสังคม
ยาเสพติด รักษาความสะอาด
ดูและชุมชนหรือถิ่นที่อยู่ โดยไม่กระทำาความ
รุนแรง
การจัดการบริหารชุมชนท้องถิ่นเอง
การมีส่วนร่วมทำาทางการเมือง
แสดงความคิดความเห็นได้อย่างเสรี ไม่มีใคร
บังคับแต่ไม่ก้าวร้าวใน
รูปแบบการประชาพิจารณ์ (Public Hearing)
การแสดงประชามติ
(Referendum)
การร่วมเสนอกฏหมาย ในระดับชาติ ระดับท้อง
ถิ่น
การร่วมกำาหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ โดย
เป็นคณะกรรมการที่ปรึกษา
สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
การมีส่วนร่วมคิดในทางการเมือง
การแสดงประชามติ ต่อประเด็นปัญหา
สำาคัญของประเทศ
การที่พลเมืองต้องตัดสินใจ ผ่านการเลือก
ตั้งทุกระดับทั้งสว./ สส.
/ในระดับท้องถิ่น สท./สจ./อบต./สก.
สข./พัทยา
การมีส่วนร่วมตัดสินใจทางการ
เมือง
การร่วมเข้าชื่อถอดถอนผู้ดำารงตำาแหน่งทางการ
เมือง (Impeachment) ทั้ง
การเมืองระดับชาติ ท้องถิ่น ข้าราชการ
การมีองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
การใช้อำานาจรัฐ มีการใช้จากตัวละครทางการ
เมืองหลายตัวละคร มิใช้
ผูกขาดการใช้อำานาจ ใครใช้อำานาจรัฐ คนนั้น
ถูกตรวจสอบ
การมีส่วนร่วมตรวจสอบการใช้
อำานาจรัฐ
อำำนำจ
นิติบัญญัติ
อำำนำจ
บริหำร
อำำนำจ
ตุลำกำร
ประชำชน/
ประชำสังคม/
ตลำด
กำรมีส่วนร่วมรู้ทำงกำรเมืองของ
ประชำชน
ควำมชอบธรรม ของนักกำรเมือง และ ควำม
ชอบธรรมของกำรเมือง
นักกำรเมือง ที่เน้นกำรเมืองPolitics
แต่ต้องเป็นควำมเป็นกำรเมือง The Political
ภำยใต้กระบวนกำรปฏิรูปทำงกำรเมือง
จำกโจทย์ของกำรปฏิรูป 2 ประกำร
กำรเมืองไทยภำยใต้กำรจรรโลง
ประชำธิปไตย
กำรตอบสนองควำมต้องกำรประชำชน
กำรใช้งบประมำณที่เน้นประโยชน์
กำรทุจริต คือ ปัญหำ
ประสิทธิภำพกำรเมืองไทย
ประสิทธิภำพของกำรเมือง
เปลี่ยนจำกกำรเมืองในระบอบประชำธิปไตย
แบบตัวแทน
Representative Democracy
กำรเมืองในระบอบ
ประชำธิปไตยแบบมีส่วนร่วม
Participatory Democracy
กำรมีส่วนร่วมรู้ทำงกำรเมืองของ
ประชำชน
กำรเมืองเป็นเรื่องของใคร
เพรำะอะไร

Contenu connexe

Similaire à Presentation1

En401 314-english for political scientists 1
En401 314-english for political scientists 1En401 314-english for political scientists 1
En401 314-english for political scientists 1
Yota Bhikkhu
 
ความดี
ความดีความดี
ความดี
roh1109
 
สมุดปกเหลือง
สมุดปกเหลืองสมุดปกเหลือง
สมุดปกเหลือง
Pimporn Ploy
 
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พัน พัน
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
Dental Faculty,Phayao University.
 
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการบทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
Saiiew
 
ปรัชญาการ..
ปรัชญาการ..ปรัชญาการ..
ปรัชญาการ..
kruruty
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
Saiiew
 
People Politic
People PoliticPeople Politic
People Politic
pailinsarn
 

Similaire à Presentation1 (20)

En401 314-english for political scientists 1
En401 314-english for political scientists 1En401 314-english for political scientists 1
En401 314-english for political scientists 1
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
ธรรมชาติ
ธรรมชาติธรรมชาติ
ธรรมชาติ
 
387442 1
387442 1387442 1
387442 1
 
ความดี
ความดีความดี
ความดี
 
123456
123456123456
123456
 
สมุดปกเหลือง
สมุดปกเหลืองสมุดปกเหลือง
สมุดปกเหลือง
 
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
 
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตรคู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
 
Law dem-habermas
Law dem-habermasLaw dem-habermas
Law dem-habermas
 
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมืองทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
ทางออกประเทศไทย สภาพลเมือง
 
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการบทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
บทที่ 3 ปฏิรูประบบราชการ
 
ปรัชญาการ..
ปรัชญาการ..ปรัชญาการ..
ปรัชญาการ..
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
8.1
8.18.1
8.1
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
 
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภาระบอบเผด็จการรัฐสภา
ระบอบเผด็จการรัฐสภา
 
People Politic
People PoliticPeople Politic
People Politic
 

Presentation1