SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  3
Télécharger pour lire hors ligne
ข
ชื่อเรื่อง การประเมินโครงการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพเทคโนโลยี
โรงเรียนบ้านแจรน (ปอเกีย-พลินอุทิศ 1) อาเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
ชื่อผู้วิจัย พนิดา ยิ่งกล้า
ปีที่วิจัย 2552
อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร.ทองสุข วันแสน
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้เป็นวิจัยเชิงประเมิน มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินบริบทของโครงการพัฒนาหลักสูตร
ท้องถิ่น ด้านความสอดคล้องกับปัญหาความจาเป็นของสถานศึกษา นโยบายของสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาและนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ประเมินปัจจัยเบื้องต้นของโครงการพัฒนาหลักสูตร
ท้องถิ่น ในด้านบุคลากร ด้านแผนงาน ด้านงบประมาณ และด้านสิ่งอานวยความสะดวก ประเมิน
กระบวนการดาเนินงานโครงการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น ในด้านการเตรียมการ การดาเนินการตามแผน
การนิเทศติดตาม และการปรับปรุงแก้ไขการดาเนินงาน เพื่อประเมินผลผลิตของโครงการพัฒนาหลักสูตร
ท้องถิ่น ในด้านเอกสารหลักสูตรท้องถิ่น ด้านเอกสารแผนการจัดการเรียนรู้ ด้านเทคนิควิธีการสอนของ
ครู ด้านผลการเรียนรู้รายวิชา และด้านความพึงพอใจของนักเรียน ครู ผู้ปกครองนักเรียน และ
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โครงการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน
อาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนบ้านแจรน (ปอเกีย – พลินอุทิศ 1) อาเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์
ผู้ให้ข้อมูลในการประเมินโครงการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านบริบท
ด้านปัจจัยเบื้องต้น ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต ทุกขั้นตอนใช้กลุ่มเป้าหมายเดียวกันคือ
ครูโรงเรียนบ้านแจรน (ปอเกีย - พลินอุทิศ 1) จานวน 6 คน นักเรียน จานวน 47 คน ผู้ปกครอง
นักเรียน จานวน 47 คน และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 15 คน
การประเมินโครงการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นในครั้งนี้ ใช้เครื่องมือในการประเมิน ดังนี้
1. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินด้านบริบท (C :Context) ประกอบด้วย
1.1 แบบบันทึกสรุปผลการศึกษาเอกสาร ด้านความสอดคล้องกับปัญหาและความจาเป็น
ของสถานศึกษา เอกสารนโยบายของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร์ เขต 1 และนโยบายของ
กระทรวงศึกษาธิการ
1.2 แบบสอบถามความคิดเห็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale)
ตามวิธีของลิเคอร์ท ด้านความสอดคล้องปัญหาความจาเป็นของสถานศึกษา นโยบายของสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษา และนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ
2. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินด้านปัจจัยเบื้องต้น (I : Input) ประกอบด้วย
2.1 แบบบันทึกสรุปผลการศึกษาเอกสาร ด้านบุคลากร ด้านแผนงาน ด้านงบ
ประมาณ และด้านสิ่งอานวยความสะดวก
ค
2.2 แบบสอบถามความคิดเห็น แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale)
ตามวิธีของลิเคอร์ท ด้านบุคลากร ด้านแผนงาน ด้านงบประมาณ และด้านสิ่งอานวยความสะดวก
3. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินด้านกระบวนการ (P : Process) ประกอบด้วย
3.1 แบบสังเกตผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ด้านการเตรียมการ การดาเนินการตามแผน
การนิเทศติดตาม และการแก้ไขปรับปรุงการดาเนินงาน
3.2 แบบสอบถามความคิดเห็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale)
ด้านการเตรียมการ การดาเนินการตามแผน การนิเทศติดตาม และการแก้ไขปรับปรุงการดาเนินงาน
4. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินด้านผลผลิต (P : Product) ประกอบด้วย
4.1 แบบประเมินเอกสารหลักสูตรท้องถิ่น ในด้านการวิเคราะห์องค์ประกอบหลักสูตร
ท้องถิ่น ด้านหลักการ วิสัยทัศน์ เป้าหมาย คุณภาพผู้เรียน มาตรฐาน สาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้
ที่คาดหวัง คาอธิบายรายวิชา และการจัดหน่วยการเรียนรู้ โดยใช้เกณฑ์การประเมินแบบแยกส่วน
(Analytic Rubric) 5 ระดับ
4.2 แบบประเมินเอกสารแผนการจัดการเรียนรู้ ในด้านองค์ประกอบหลักของแผน
การจัดการเรียนรู้ ด้านสาระสาคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล โดยใช้เกณฑ์การประเมินแบบแยกส่วน (Analytic
Rubric) 5 ระดับ
4.3 แบบประเมินเทคนิควิธีการสอนของครู ในด้านการจัดกิจกรรมที่เน้นคุณลักษณะ
ด้านการค้นพบและสร้างความรู้ด้วยตนเอง ด้านผู้เรียนเรียนรู้และปฏิบัติอย่างมีขั้นตอน ด้านผลงาน
ด้านการใช้สื่อการวัดและประเมินผลทั้งกระบวนการและผลงานของผู้เรียน โดยใช้เกณฑ์การประเมิน
แบบแยกส่วน (Analytic Rubric) 5 ระดับ
4.4 แบบบันทึกผลการเรียนรู้รายวิชาของนักเรียน ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน
อาชีพและเทคโนโลยี ประกอบด้วย ผลการสอบระหว่างเรียน และผลการสอบปลายภาค ด้านความรู้
เจตคติ และทักษะการปฏิบัติ
4.5 แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณ
ค่า 5 ระดับ (Rating Scale) ตามวิธีของลิเคอร์ท เป็นแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน ครู
ผู้ปกครองนักเรียน และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีต่อการประเมินด้านผลผลิตตามโครงการ
พัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ในด้านบริบท ด้านปัจจัย
เบื้องต้น ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน
และวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบบันทึกสรุปผลการศึกษาเอกสาร ในด้านบริบท ด้านปัจจัยเบื้องต้น
ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โดยวิธีการสรุปจัดกลุ่มปัญหา โดยพิจารณาความสอดคล้อง
และความแตกต่างของเนื้อความ (Content Analysis) แล้วสรุปผลในเชิงบรรยาย
ง
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ด้านบริบทของโครงการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
และเทคโนโลยี โรงเรียนบ้านแจรน (ปอเกีย-พลินอุทิศ 1) อาเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ปีการศึกษา 2552
มีความสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความจาเป็นของสถานศึกษา นโยบายระดับเขตพื้นที่การศึกษา และ
นโยบายระดับกระทรวง อยู่ในระดับมาก ผ่านเกณฑ์ที่น่าพอใจ ถือว่าดี ทั้งนี้เมื่อพิจารณาผลการประเมิน
รายด้านพบว่า ด้านความสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความจาเป็นของสถานศึกษาโดยรวมอยู่ใน
ระดับมาก ผ่านเกณฑ์ที่น่าพอใจ และด้านความสอดคล้องกับนโยบายระดับเขตพื้นที่การศึกษา และ
นโยบายระดับกระทรวง อยู่ในระดับมากที่สุด ผ่านเกณฑ์ที่น่าพอใจ
2. ด้านปัจจัยของโครงการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี โรงเรียนบ้านแจรน (ปอเกีย-พลินอุทิศ 1) อาเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ปีการศึกษา 2552
ในด้านบุคลากร ด้านแผนงาน ด้านงบประมาณ และด้านวัสดุอุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก
โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับปานกลาง ไม่ผ่านเกณฑ์ที่น่าพอใจ ถือว่าควรปรับปรุง ทั้งนี้
เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านบุคลากรไม่เหมาะสม ด้านแผนงานไม่เหมาะสม ด้านงบประมาณ
ไม่เหมาะสม และด้านวัสดุอุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวกไม่เหมาะสม
3. ด้านกระบวนการของโครงการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
และเทคโนโลยี โรงเรียนบ้านแจรน (ปอเกีย-พลินอุทิศ 1) อาเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ปีการศึกษา
2552 ในด้านการเตรียมการ ด้านการปฏิบัติตามแผน ด้านการนิเทศติดตาม และด้านการปรับปรุง
แก้ไขการดาเนินงาน โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับปานกลาง ไม่ผ่านเกณฑ์ที่น่าพอใจ ถือว่า
ควรปรับปรุง ทั้งนี้เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านการเตรียมการเหมาะสม ด้านการปฏิบัติตาม
แผนเหมาะสม ด้านการนิเทศติดตามไม่เหมาะสม และด้านการปรับปรุงแก้ไขการดาเนินงานไม่เหมาะสม
4. ด้านผลผลิตของโครงการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ
เทคโนโลยี โรงเรียนบ้านแจรน (ปอเกีย-พลินอุทิศ 1) อาเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ปีการศึกษา
2552 ในด้านผลผลิตตามวัตถุประสงค์ และด้านความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องโดยรวมมีความสาเร็จระดับ
ปานกลาง ไม่ผ่านเกณฑ์ที่น่าพอใจ ถือว่าควรปรับปรุง ทั้งนี้เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าด้านผลผลิต
ตามวัตถุประสงค์ประกอบด้วย เอกสารหลักสูตรท้องถิ่น พบว่ามีความเหมาะสมระดับปานกลาง
ไม่ผ่านเกณฑ์ที่น่าพอใจ เอกสารแผนการจัดการเรียนรู้ มีความเหมาะสมระดับปานกลาง ไม่ผ่านเกณฑ์
ที่น่าพอใจ เทคนิควิธีการสอนของครู มีความเหมาะสมระดับปานกลาง ไม่ผ่านเกณฑ์ที่น่าพอใจ
ผลการเรียนรู้รายวิชา มีความเหมาะสมระดับปานกลาง ไม่ผ่านเกณฑ์ที่น่าพอใจ และความพึงพอใจ
มีความเหมาะสมระดับปานกลาง ไม่ผ่านเกณฑ์ที่น่าพึงพอใจ

Contenu connexe

Tendances

Best practices
Best practicesBest practices
Best practicesthkitiya
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8 ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8 Fary Love
 
กุลนันท์
กุลนันท์กุลนันท์
กุลนันท์Fary Love
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรpaween
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตAon Narinchoti
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 
ตัวอย่างโครงร่างวิจัย
ตัวอย่างโครงร่างวิจัยตัวอย่างโครงร่างวิจัย
ตัวอย่างโครงร่างวิจัยguest41395d
 
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศsomdetpittayakom school
 
การวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันการวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันNU
 
รายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
รายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรรายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
รายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรteerawut123
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์Jutatip Ni
 
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)Khon Kaen University
 

Tendances (18)

Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8 ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
 
กุลนันท์
กุลนันท์กุลนันท์
กุลนันท์
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
 
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริต
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
เนื้อหา Addie ok
เนื้อหา Addie okเนื้อหา Addie ok
เนื้อหา Addie ok
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
2222
22222222
2222
 
ตัวอย่างโครงร่างวิจัย
ตัวอย่างโครงร่างวิจัยตัวอย่างโครงร่างวิจัย
ตัวอย่างโครงร่างวิจัย
 
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
การวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบันการวิจัยสถาบัน
การวิจัยสถาบัน
 
Basic m2-2-link
Basic m2-2-linkBasic m2-2-link
Basic m2-2-link
 
รายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
รายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตรรายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
รายวิชา ปรัชญาและการพัฒนาหลักสูตร
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์
 
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
 

En vedette

บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydlบทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydlpanida428
 
ภาพสัตว์น้ำ Sea animals หน่วย At the zoo : Aquarium
ภาพสัตว์น้ำ Sea animals หน่วย At the zoo : Aquariumภาพสัตว์น้ำ Sea animals หน่วย At the zoo : Aquarium
ภาพสัตว์น้ำ Sea animals หน่วย At the zoo : Aquariumpanida428
 
Informe publicidad en internet
Informe publicidad en internetInforme publicidad en internet
Informe publicidad en internetVal Durden
 
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ  การสอนแบบโครงงานในเนื้อหาบันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ  การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ การสอนแบบโครงงานในเนื้อหาpanida428
 
Derecho Constitucional - Legislación Pecuaria
Derecho Constitucional - Legislación PecuariaDerecho Constitucional - Legislación Pecuaria
Derecho Constitucional - Legislación PecuariaTania Lomeli
 
บัตรภาพ
บัตรภาพ บัตรภาพ
บัตรภาพ panida428
 
информационный сборник
информационный сборникинформационный сборник
информационный сборникgolosmolodeji
 
สิงโตกับหมูป่า
สิงโตกับหมูป่าสิงโตกับหมูป่า
สิงโตกับหมูป่าpanida428
 
Ptt 5 บท
Ptt 5  บทPtt 5  บท
Ptt 5 บทpanida428
 
Genética general | Gatos
Genética general | GatosGenética general | Gatos
Genética general | GatosTania Lomeli
 
ขั้นตอนการทำผ้าบาติก
ขั้นตอนการทำผ้าบาติกขั้นตอนการทำผ้าบาติก
ขั้นตอนการทำผ้าบาติกpanida428
 
ผลิตภัณฑ์ผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติ
ผลิตภัณฑ์ผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติผลิตภัณฑ์ผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติ
ผลิตภัณฑ์ผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติpanida428
 
บัตรภาพการ์ตูนสัตว์ชุดที่ 1
บัตรภาพการ์ตูนสัตว์ชุดที่ 1บัตรภาพการ์ตูนสัตว์ชุดที่ 1
บัตรภาพการ์ตูนสัตว์ชุดที่ 1panida428
 
Anatomia de los animales domesticos
Anatomia de los animales domesticosAnatomia de los animales domesticos
Anatomia de los animales domesticosTania Lomeli
 
บัตรภาพผลไม้
บัตรภาพผลไม้บัตรภาพผลไม้
บัตรภาพผลไม้panida428
 

En vedette (18)

บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydlบทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
บทคัดย่อประเมินโครงการry<oks]ydl
 
ภาพสัตว์น้ำ Sea animals หน่วย At the zoo : Aquarium
ภาพสัตว์น้ำ Sea animals หน่วย At the zoo : Aquariumภาพสัตว์น้ำ Sea animals หน่วย At the zoo : Aquarium
ภาพสัตว์น้ำ Sea animals หน่วย At the zoo : Aquarium
 
Informe publicidad en internet
Informe publicidad en internetInforme publicidad en internet
Informe publicidad en internet
 
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ  การสอนแบบโครงงานในเนื้อหาบันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ  การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
 
Domestic Violence
Domestic ViolenceDomestic Violence
Domestic Violence
 
Derecho Constitucional - Legislación Pecuaria
Derecho Constitucional - Legislación PecuariaDerecho Constitucional - Legislación Pecuaria
Derecho Constitucional - Legislación Pecuaria
 
Dv powerpoint
Dv powerpointDv powerpoint
Dv powerpoint
 
Dv ppt
Dv pptDv ppt
Dv ppt
 
บัตรภาพ
บัตรภาพ บัตรภาพ
บัตรภาพ
 
информационный сборник
информационный сборникинформационный сборник
информационный сборник
 
สิงโตกับหมูป่า
สิงโตกับหมูป่าสิงโตกับหมูป่า
สิงโตกับหมูป่า
 
Ptt 5 บท
Ptt 5  บทPtt 5  บท
Ptt 5 บท
 
Genética general | Gatos
Genética general | GatosGenética general | Gatos
Genética general | Gatos
 
ขั้นตอนการทำผ้าบาติก
ขั้นตอนการทำผ้าบาติกขั้นตอนการทำผ้าบาติก
ขั้นตอนการทำผ้าบาติก
 
ผลิตภัณฑ์ผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติ
ผลิตภัณฑ์ผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติผลิตภัณฑ์ผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติ
ผลิตภัณฑ์ผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติ
 
บัตรภาพการ์ตูนสัตว์ชุดที่ 1
บัตรภาพการ์ตูนสัตว์ชุดที่ 1บัตรภาพการ์ตูนสัตว์ชุดที่ 1
บัตรภาพการ์ตูนสัตว์ชุดที่ 1
 
Anatomia de los animales domesticos
Anatomia de los animales domesticosAnatomia de los animales domesticos
Anatomia de los animales domesticos
 
บัตรภาพผลไม้
บัตรภาพผลไม้บัตรภาพผลไม้
บัตรภาพผลไม้
 

Similaire à บทคัดย่อประเมินโครงการ

สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02Wes Yod
 
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้sitharukkhiansiri
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานthkitiya
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนAj Ob Panlop
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.Kaisorn Sripuwong
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
นำเสนอการทำวิจัยวิทยฐานะใหม่
นำเสนอการทำวิจัยวิทยฐานะใหม่นำเสนอการทำวิจัยวิทยฐานะใหม่
นำเสนอการทำวิจัยวิทยฐานะใหม่Nitwadee Puiamtanatip
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
บทความเผยแพร่การวิจัย
บทความเผยแพร่การวิจัยบทความเผยแพร่การวิจัย
บทความเผยแพร่การวิจัยprachid007
 
การประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษาการประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษาCha-am Chattraphon
 

Similaire à บทคัดย่อประเมินโครงการ (20)

สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
๔.๑ การออกเเบบการจัดการเรียนรู้
 
Standard7
Standard7Standard7
Standard7
 
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐานวิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
วิจัยในชั้นเรียนโครงงานเป็นฐาน
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
สอบ วิจัย อ.สมพงษ์ มข.
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
นำเสนอการทำวิจัยวิทยฐานะใหม่
นำเสนอการทำวิจัยวิทยฐานะใหม่นำเสนอการทำวิจัยวิทยฐานะใหม่
นำเสนอการทำวิจัยวิทยฐานะใหม่
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
 
บทความเผยแพร่การวิจัย
บทความเผยแพร่การวิจัยบทความเผยแพร่การวิจัย
บทความเผยแพร่การวิจัย
 
1
11
1
 
การประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษาการประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษา
 

Plus de panida428

รูปชุดประจำชาติ
รูปชุดประจำชาติ  รูปชุดประจำชาติ
รูปชุดประจำชาติ panida428
 
แผ่นพับนำเสนอโครงงาน หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอโครงงาน หน้า 2แผ่นพับนำเสนอโครงงาน หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอโครงงาน หน้า 2panida428
 
แผ่นพับนำเสนอโครงงาน
แผ่นพับนำเสนอโครงงานแผ่นพับนำเสนอโครงงาน
แผ่นพับนำเสนอโครงงานpanida428
 
ฝูงนกกับแรดใจร้าย
ฝูงนกกับแรดใจร้ายฝูงนกกับแรดใจร้าย
ฝูงนกกับแรดใจร้ายpanida428
 
กบกับวัว
กบกับวัวกบกับวัว
กบกับวัวpanida428
 
เล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังเล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังpanida428
 
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติpanida428
 

Plus de panida428 (7)

รูปชุดประจำชาติ
รูปชุดประจำชาติ  รูปชุดประจำชาติ
รูปชุดประจำชาติ
 
แผ่นพับนำเสนอโครงงาน หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอโครงงาน หน้า 2แผ่นพับนำเสนอโครงงาน หน้า 2
แผ่นพับนำเสนอโครงงาน หน้า 2
 
แผ่นพับนำเสนอโครงงาน
แผ่นพับนำเสนอโครงงานแผ่นพับนำเสนอโครงงาน
แผ่นพับนำเสนอโครงงาน
 
ฝูงนกกับแรดใจร้าย
ฝูงนกกับแรดใจร้ายฝูงนกกับแรดใจร้าย
ฝูงนกกับแรดใจร้าย
 
กบกับวัว
กบกับวัวกบกับวัว
กบกับวัว
 
เล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังเล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟัง
 
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
 

บทคัดย่อประเมินโครงการ

  • 1. ข ชื่อเรื่อง การประเมินโครงการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพเทคโนโลยี โรงเรียนบ้านแจรน (ปอเกีย-พลินอุทิศ 1) อาเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ชื่อผู้วิจัย พนิดา ยิ่งกล้า ปีที่วิจัย 2552 อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร.ทองสุข วันแสน บทคัดย่อ การวิจัยนี้เป็นวิจัยเชิงประเมิน มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินบริบทของโครงการพัฒนาหลักสูตร ท้องถิ่น ด้านความสอดคล้องกับปัญหาความจาเป็นของสถานศึกษา นโยบายของสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาและนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ประเมินปัจจัยเบื้องต้นของโครงการพัฒนาหลักสูตร ท้องถิ่น ในด้านบุคลากร ด้านแผนงาน ด้านงบประมาณ และด้านสิ่งอานวยความสะดวก ประเมิน กระบวนการดาเนินงานโครงการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น ในด้านการเตรียมการ การดาเนินการตามแผน การนิเทศติดตาม และการปรับปรุงแก้ไขการดาเนินงาน เพื่อประเมินผลผลิตของโครงการพัฒนาหลักสูตร ท้องถิ่น ในด้านเอกสารหลักสูตรท้องถิ่น ด้านเอกสารแผนการจัดการเรียนรู้ ด้านเทคนิควิธีการสอนของ ครู ด้านผลการเรียนรู้รายวิชา และด้านความพึงพอใจของนักเรียน ครู ผู้ปกครองนักเรียน และ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โครงการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน อาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนบ้านแจรน (ปอเกีย – พลินอุทิศ 1) อาเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ผู้ให้ข้อมูลในการประเมินโครงการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านบริบท ด้านปัจจัยเบื้องต้น ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต ทุกขั้นตอนใช้กลุ่มเป้าหมายเดียวกันคือ ครูโรงเรียนบ้านแจรน (ปอเกีย - พลินอุทิศ 1) จานวน 6 คน นักเรียน จานวน 47 คน ผู้ปกครอง นักเรียน จานวน 47 คน และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 15 คน การประเมินโครงการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นในครั้งนี้ ใช้เครื่องมือในการประเมิน ดังนี้ 1. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินด้านบริบท (C :Context) ประกอบด้วย 1.1 แบบบันทึกสรุปผลการศึกษาเอกสาร ด้านความสอดคล้องกับปัญหาและความจาเป็น ของสถานศึกษา เอกสารนโยบายของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร์ เขต 1 และนโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการ 1.2 แบบสอบถามความคิดเห็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) ตามวิธีของลิเคอร์ท ด้านความสอดคล้องปัญหาความจาเป็นของสถานศึกษา นโยบายของสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา และนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ 2. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินด้านปัจจัยเบื้องต้น (I : Input) ประกอบด้วย 2.1 แบบบันทึกสรุปผลการศึกษาเอกสาร ด้านบุคลากร ด้านแผนงาน ด้านงบ ประมาณ และด้านสิ่งอานวยความสะดวก
  • 2. ค 2.2 แบบสอบถามความคิดเห็น แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) ตามวิธีของลิเคอร์ท ด้านบุคลากร ด้านแผนงาน ด้านงบประมาณ และด้านสิ่งอานวยความสะดวก 3. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินด้านกระบวนการ (P : Process) ประกอบด้วย 3.1 แบบสังเกตผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ด้านการเตรียมการ การดาเนินการตามแผน การนิเทศติดตาม และการแก้ไขปรับปรุงการดาเนินงาน 3.2 แบบสอบถามความคิดเห็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) ด้านการเตรียมการ การดาเนินการตามแผน การนิเทศติดตาม และการแก้ไขปรับปรุงการดาเนินงาน 4. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินด้านผลผลิต (P : Product) ประกอบด้วย 4.1 แบบประเมินเอกสารหลักสูตรท้องถิ่น ในด้านการวิเคราะห์องค์ประกอบหลักสูตร ท้องถิ่น ด้านหลักการ วิสัยทัศน์ เป้าหมาย คุณภาพผู้เรียน มาตรฐาน สาระการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง คาอธิบายรายวิชา และการจัดหน่วยการเรียนรู้ โดยใช้เกณฑ์การประเมินแบบแยกส่วน (Analytic Rubric) 5 ระดับ 4.2 แบบประเมินเอกสารแผนการจัดการเรียนรู้ ในด้านองค์ประกอบหลักของแผน การจัดการเรียนรู้ ด้านสาระสาคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและแหล่งการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล โดยใช้เกณฑ์การประเมินแบบแยกส่วน (Analytic Rubric) 5 ระดับ 4.3 แบบประเมินเทคนิควิธีการสอนของครู ในด้านการจัดกิจกรรมที่เน้นคุณลักษณะ ด้านการค้นพบและสร้างความรู้ด้วยตนเอง ด้านผู้เรียนเรียนรู้และปฏิบัติอย่างมีขั้นตอน ด้านผลงาน ด้านการใช้สื่อการวัดและประเมินผลทั้งกระบวนการและผลงานของผู้เรียน โดยใช้เกณฑ์การประเมิน แบบแยกส่วน (Analytic Rubric) 5 ระดับ 4.4 แบบบันทึกผลการเรียนรู้รายวิชาของนักเรียน ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน อาชีพและเทคโนโลยี ประกอบด้วย ผลการสอบระหว่างเรียน และผลการสอบปลายภาค ด้านความรู้ เจตคติ และทักษะการปฏิบัติ 4.5 แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้อง แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณ ค่า 5 ระดับ (Rating Scale) ตามวิธีของลิเคอร์ท เป็นแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน ครู ผู้ปกครองนักเรียน และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีต่อการประเมินด้านผลผลิตตามโครงการ พัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ในด้านบริบท ด้านปัจจัย เบื้องต้น ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบบันทึกสรุปผลการศึกษาเอกสาร ในด้านบริบท ด้านปัจจัยเบื้องต้น ด้านกระบวนการ และด้านผลผลิต โดยวิธีการสรุปจัดกลุ่มปัญหา โดยพิจารณาความสอดคล้อง และความแตกต่างของเนื้อความ (Content Analysis) แล้วสรุปผลในเชิงบรรยาย
  • 3. ง ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ด้านบริบทของโครงการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี โรงเรียนบ้านแจรน (ปอเกีย-พลินอุทิศ 1) อาเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ปีการศึกษา 2552 มีความสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความจาเป็นของสถานศึกษา นโยบายระดับเขตพื้นที่การศึกษา และ นโยบายระดับกระทรวง อยู่ในระดับมาก ผ่านเกณฑ์ที่น่าพอใจ ถือว่าดี ทั้งนี้เมื่อพิจารณาผลการประเมิน รายด้านพบว่า ด้านความสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความจาเป็นของสถานศึกษาโดยรวมอยู่ใน ระดับมาก ผ่านเกณฑ์ที่น่าพอใจ และด้านความสอดคล้องกับนโยบายระดับเขตพื้นที่การศึกษา และ นโยบายระดับกระทรวง อยู่ในระดับมากที่สุด ผ่านเกณฑ์ที่น่าพอใจ 2. ด้านปัจจัยของโครงการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี โรงเรียนบ้านแจรน (ปอเกีย-พลินอุทิศ 1) อาเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ปีการศึกษา 2552 ในด้านบุคลากร ด้านแผนงาน ด้านงบประมาณ และด้านวัสดุอุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับปานกลาง ไม่ผ่านเกณฑ์ที่น่าพอใจ ถือว่าควรปรับปรุง ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านบุคลากรไม่เหมาะสม ด้านแผนงานไม่เหมาะสม ด้านงบประมาณ ไม่เหมาะสม และด้านวัสดุอุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวกไม่เหมาะสม 3. ด้านกระบวนการของโครงการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ และเทคโนโลยี โรงเรียนบ้านแจรน (ปอเกีย-พลินอุทิศ 1) อาเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ปีการศึกษา 2552 ในด้านการเตรียมการ ด้านการปฏิบัติตามแผน ด้านการนิเทศติดตาม และด้านการปรับปรุง แก้ไขการดาเนินงาน โดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับปานกลาง ไม่ผ่านเกณฑ์ที่น่าพอใจ ถือว่า ควรปรับปรุง ทั้งนี้เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านการเตรียมการเหมาะสม ด้านการปฏิบัติตาม แผนเหมาะสม ด้านการนิเทศติดตามไม่เหมาะสม และด้านการปรับปรุงแก้ไขการดาเนินงานไม่เหมาะสม 4. ด้านผลผลิตของโครงการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและ เทคโนโลยี โรงเรียนบ้านแจรน (ปอเกีย-พลินอุทิศ 1) อาเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ปีการศึกษา 2552 ในด้านผลผลิตตามวัตถุประสงค์ และด้านความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องโดยรวมมีความสาเร็จระดับ ปานกลาง ไม่ผ่านเกณฑ์ที่น่าพอใจ ถือว่าควรปรับปรุง ทั้งนี้เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่าด้านผลผลิต ตามวัตถุประสงค์ประกอบด้วย เอกสารหลักสูตรท้องถิ่น พบว่ามีความเหมาะสมระดับปานกลาง ไม่ผ่านเกณฑ์ที่น่าพอใจ เอกสารแผนการจัดการเรียนรู้ มีความเหมาะสมระดับปานกลาง ไม่ผ่านเกณฑ์ ที่น่าพอใจ เทคนิควิธีการสอนของครู มีความเหมาะสมระดับปานกลาง ไม่ผ่านเกณฑ์ที่น่าพอใจ ผลการเรียนรู้รายวิชา มีความเหมาะสมระดับปานกลาง ไม่ผ่านเกณฑ์ที่น่าพอใจ และความพึงพอใจ มีความเหมาะสมระดับปานกลาง ไม่ผ่านเกณฑ์ที่น่าพึงพอใจ