SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  19
Télécharger pour lire hors ligne
` ฮารดแวร (Hardware)
1.ฮารดแวร (Hardware)
เปนอุปกรณที่จับตองได สัมผัสได มองเห็นไดอยางเปนรูปธรรม มีทั้งที่ติดตั้งอยูภายในตัวเครื่อง (เชน
ซีพียู เมนบอรด แรม)และที่ติดตั้งอยูภายนอก (เชน คียบอรด เมาส จอภาพ เครื่องพิมพ)
ซอฟตแวร (Software)
2.ซอฟตแวร (Software)
 สวนของโปรแกรมคอมพิวเตอรที่บรรจุคําสั่งเพื่อใหสามารถทํางานไดตามตองการ โดยปกติแลวจะถูก
สรางโดยบุคคลที่เรียกวา นักเขียนโปรแกรม (programmer)
 เปนองคประกอบทางนามธรรม ไมสามารถจับตองหรือสัมผัสไดเหมือนกับฮารดแวร
 อาจแบงออกไดเปน 2ประเภทใหญๆ คือ
 ซอฟตแวรระบบ
 ซอฟทแวรประยุกต
Treats
2.1 ซอฟตแวรระบบ (System Software)
 ทําหนาที่ควบคุมระบบการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร ที่รูจักกันเปนอยางดีคือ ระบบปฏิบัติการหรือ
OS (Operating System)มีทั้งที่ตองเสียเงินอยางเชน Windows และใหใชฟรี เชน Linux เปนตน
 ควบคุมการทํางานของระบบคอมพิวเตอรโดยรวม
 ตรวจสอบเมื่อมีการติดตั้งหรือเปลี่ยนแปลงอุปกรณฮารดแวรใดๆ
 ชวยใหการทํางานที่เกี่ยวของราบรื่น ไมติดขัด
 ตรวจสอบและรายงานความผิดพลาดเกี่ยวกับระบบ
 กําหนดสิทธิการใชงาน และหนาที่ตางๆเกี่ยวกับการจัดการไฟล
2.2 ซอฟตแวรประยุกต (Application Software)
 ซอฟตแวรที่สามารถติดตั้งไดในภายหลังจากที่ติดตั้งระบบปฎิบัติการแลว
 ปกติมุงใชกับงานเฉพาะอยาง เชน งานดานบัญชี งานดานเอกสารหรืองานควบคุมสินคาคงเหลือ
 อาจมีบริษัทผูผลิตทําขึ้นมาเพื่อจําหนายโดยตรง มีทั้งที่ใหใชฟรี ซื้อทําเอง หรือจางเขียนโดยเฉพาะ
ซอฟตแวร(Software)ในประเทศไทย
 เขตอุตสาหกรรมซอฟแวร
 Software Park (www.swpark.or.th) แหลงสนับสนุนการพัฒนาซอฟแวรสําหรับผูประกอบการ
ขนาดกลางและขนาดเล็ก
 สํานักงานสงเสริมอุตสาหกรรมซอฟแวรแหงชาติ (SIPA-Software Industry Promotion Agency)
www.sipa.or.th
 สงเสริมใหคนไทยพัฒนาซอฟแวรไวใชเอง
 พัฒนาเพื่อการสงออก นํารายไดเขาประเทศ
 บุคลากรที่เกี่ยวของกับคอมพิวเตอรพอจําแนกออกไดเปน 3 กลุมดวยกันคือ
3.1 ผูใชงานทั่วไป
3.2 ผูเชี่ยวชาญ
3.3 ผูบริหาร
บุคลากร(People)
3.1 บุคลากร -กลุมผูใชงานทั่วไป
 ผูใชงานคอมพิวเตอร (User/End User)
 เปนผูใชงานระดับต่ําสุด ไมจําเปนตองมีความเชี่ยวชาญมาก
 อาจเขารับการอบรมบางเล็กนอยหรือศึกษาจากคูมือการปฏิบัติงานก็สามารถใชงานได
 บุคลากรกลุมนี้มีจํานวนมากที่สุดในหนวยงาน
 ลักษณะงานมักเกี่ยวของกับการใชงานคอมพิวเตอรทั่วไป เชน งานธุรการสํานักงาน งาน
ปอนขอมูล งานบริการลูกคาสัมพันธ (call center)เปนตน
3.2 บุคลากร- กลุมผูเชี่ยวชาญ
3.2.1 ชางเทคนิคคอมพิวเตอร(Computer Operator/Computer Technician)
 มีความชํานาญทางดานเทคนิคโดยเฉพาะ
 มีทักษะและประสบการณในการแกปญหาเฉพาะหนาไดเปนอยางดี
 หนาที่หลักคือ การแกปญหาที่เกิดขึ้นกับระบบในหนวยงานใหใชงานไดตามปกติ
3.2.2 นักวิเคราะหระบบ (System Analyst)
 มีหนาที่วิเคราะหความตองการของผูใชรวมไปถึงผูบริหารของหนวยงานวาตองการ
ระบบโปรแกรมหรือลักษณะงานอยางไร เพื่อจะพัฒนาระบบงานใหตรงตามความ
ตองการมากที่สุด
 ออกแบบกระบวนการทํางานของระบบโปรแกรมตางๆทั้งหมดดวย
 มีการทํางานคลายกับสถาปนิกออกแบบบาน
การทํางานของสถาปนิก
3.2.3 นักเขียนโปรแกรม (Programmer)
 ชํานาญเรื่องการเขียนโปรแกรมดวยภาษาคอมพิวเตอรตามที่ตนเองถนัด
 มีหนาที่และตําแหนงเรียกแตกตางกันไปขึ้นอยูกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ เชน
 web programmer
 application programmer
 system programmer
3.2.3 นักเขียนโปรแกรม (Programmer)
 ชํานาญเรื่องการเขียนโปรแกรมดวยภาษาคอมพิวเตอรตามที่ตนเองถนัด
 มีหนาที่และตําแหนงเรียกแตกตางกันไป ขึ้นอยูกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ เชน
 web programmer
 application programmer
 system programmer
3.2.4 วิศวกรซอฟตแวร (Software Enginering)
 ทําหนาที่ในการวิเคราะหและตรวจสอบซอฟตแวรที่พัฒนาอยางมีแบบแผน
 อาศัยหลักการทางวิศวกรรมศาสตรมาชวย เชน วัดคาความซับซอนของซอฟทแวร และหาคุณภาพ
ของซอฟตแวรที่ผลิตขึ้นมาได
 มีทักษะและความเขาใจในการพัฒนาซอฟตแวรมากพอสมควร
 อยูในทีมงานพัฒนาซอฟตแวรกลุมเดียวกับนักเขียนโปรแกรมและนักวิเคราะหระบบ
 พบเห็นไดกับการผลิตซอฟตแวรขนาดใหญ เชน การสรางระบบปฏิบัติการ การเขียนโปรแกรมเกมส
3.2.5 ผูดูแลเน็ตเวิรก (Network Administrator)
 ผูที่มีหนาที่ดูแลและบริหารระบบเครือขายคอมพิวเตอรขององคกร
 เกี่ยวของกับลักษณะงานดานเครือขายโดยเฉพาะ เชน การติดตั้งระบบเครือขายการควบคุมสิทธิของ
ผูที่จะใชงาน การปองกันการบุกรุกเครือขาย เปนตน
 มีความชํานาญเกี่ยวกับระบบเครือขายคอมพิวเตอรเปนอยางดี และตองมีทักษะในการแกไขปญหาที่
เกิดขึ้นไดอยางทันทวงที
 3.3 บุคลากร– กลุมผูบริหาร
ผูบริหารสูงสุดดานสารสนเทศและคอมพิวเตอร (CIO – ChiefInformation Officer)
 ตําแหนงสูงสุดทางดานการบริหารงานคอมพิวเตอรในองคกร
 ทําหนาที่กําหนดทิศทางนโยบายและแผนงานทางคอมพิวเตอรทั้งหมด
 มักพบเห็นในองคกรขนาดใหญเทานั้น
 สําหรับในองคกรขนาดเล็กอาจจะไมมีตําแหนงนี้
หัวหนางานดานคอมพิวเตอร (Computer CenterManager/Information Technology Manager)
 มีหนาที่ดูแลและกํากับงานทางดานคอมพิวเตอรใหบรรลุเปาหมายตามแผนงานและทิศทางที่ได
วางไวโดย CIO
 อาจตองจัดเตรียมการบริการฝกอบรม การใหคําปรึกษา คําแนะนํากับผูใชงาน รวมถึงสราง
กฎระเบียบ มาตรฐานในการใชงานคอมพิวเตอรของบริษัทรวมกันดวย
 อาจตองจัดเตรียมการบริการฝกอบรม การใหคําปรึกษา คําแนะนํากับผูใชงาน รวมถึงสราง
กฎระเบียบ มาตรฐานในการใชงานคอมพิวเตอรของบริษัทรวมกันดวย
ขอมูล/สารสนเทศ (Data/Information)
 การทํางานของคอมพิวเตอรจะเกี่ยวของตั้งแตการนําขอมูลเขา (data)จนกลายเปนขอมูลที่สามารถใช
ประโยชนตอไดหรือที่เรียกวาสารสนเทศ (information)
 ขอมูลเหลานี้อาจเปนไดทั้งตัวเลข ตัวอักษรและขอมูลในรูปแบบอื่นๆเชน ภาพ เสียง เปนตน
 ขอมูลที่จะนํามาใชกับคอมพิวเตอร ตองแปลงรูปแบบหรือสถานะใหคอมพิวเตอรเขาใจเสียกอน
 สถานะหรือรูปแบบนี้เราเรียกวา สถานะแบบดิจิตอล
สถานะแบบดิจิตอล
 มีเพียง 2 สถานะเทานั้นคือ เปด (1)และ ปด (0)เหมือนกับหลักการทํางานของไฟฟา
 อาศัยการประมวลผลโดยใช ระบบเลขฐานสอง หรือที่เรียกวา binary system เปนหลัก ซึ่ง
ประกอบดวยตัวเลขเพียง 2 ตัวเทานั้น คือ 0 กับ 1
 ตัวเลข 0 กับ 1 เราเรียกวาเปนตัวเลขฐานสองหรือไบนารีดิจิต(binary digit) มักเรียกยอๆวา บิต
(bit) นั่นเอง
 เมื่อบิตหลายตัวรวมกันจํานวนหนึ่ง (ขึ้นอยูกับรหัสการจัดเก็บ) เชน 8 บิต เราจะเรียกหนวยจัดเก็บ
ขอมูลนี้ใหมวาเปน ไบต (byte) ซึ่งสามารถใชแทน ตัวอักษร ตัวเลข อักขระพิเศษที่เราตองการปอน
ขอมูลเขาไปในเครื่องแตละตัวได
 กลุมตัวเลขฐานสองตางๆที่นําเอามาใชนี้ จะมีองคกรกําหนดมาตรฐานใหใชบนระบบคอมพิวเตอร
อยูหลายมาตรฐานมาก
 ที่รูจักดีและเปนนิยมแพรหลายคือมาตรฐานของสถาบันมาตรฐานแหงสหรัฐอเมริกา ที่เรียกวา
รหัสแอสกี (ASCII: American Standard Code for Information Interchange)
กระบวนการแปลงขอมูล
หนวยวัดความจุขอมูล
คาโดยประมาณมีคาใกลเคียงกับ 1,000 และคาอื่น ๆ เชน MB มีคาใกลเคียง 1,000,000 จึงนิยมเรียกวาเปน kilo
(คาหนึ่งพันหรือ thousand)และmega (คาหนึ่งลานหรือ million)
การนําขอมูลเขาสูคอมพิวเตอร
● ● ●
 ยุคแรกใชบัตรเจาะรูเพื่อควบคุมลายทอผา
 นําบัตรแบบใหมมาประยุกตใชมากขึ้น เชน IBM 80 Column
 พัฒนามาใชสื่อแบบใหมมากขึ้นจนถึงปจจุบัน
 การนําขอมูลเขาสูคอมพิวเตอรแบงไดเปน 2วิธีดวยกันคือ
1. ผานอุปกรณนําเขา (input device)
 เปนวิธีที่งายและสะดวกที่สุด
 นําขอมูลเขาไปยังคอมพิวเตอรโดยตรง
 ผานอุปกรณนําเขาขอมูลหลายชนิด ขึ้นอยูกับรูปแบบของขอมูล เชน
คียบอรด (keyboard) สําหรับขอมูลประเภทตัวอักษร หรืออักขระพิเศษ
สแกนเนอร(scanner) สําหรับขอมูลประเภทภาพ
ไมโครโฟน (microphone)สําหรับขอมูลประเภทเสียง
2.ผานสื่อเก็บบันทึกขอมูลสํารอง (secondary storage)
 ดึงเอาขอมูลที่ไดบันทึกหรือเก็บขอมูลไวกอนแลวโดยใชสื่อเก็บบันทึกขอมูลสํารอง เชน ฮารดดิสก
ดิสเก็ตต หรือซีดี
 เครื่องคอมพิวเตอรจะอานขอมูลเหลานี้โดยอาศัยเครื่องอานสื่อโดยเฉพาะ เชนฟล็อปปไดรว ซีดีรอม
ไดรว
 บัตรเจาะรูจัดอยูในกลุมการนําเขาขอมูลวิธีนี้เชนกัน (ปจจุบันไมพบเห็นการใชงานแลว)
● ● ●
กิจกรรมและความสัมพันธของแตละองคประกอบ
  
 ขั้นปอนขอมูลเขา (UserInput)
 ขั้นรองขอบริการ (Service requests)
 ขั้นสั่งการฮารดแวร (Hardware Instructions)
 ขั้นประมวลผลลัพธ (Processing results)
 ขั้นตอบสนองบริการ (Service responses)
 ขั้นแสดงผลลัพธ (Program Output)

พื้นฐานการทํางานของคอมพิวเตอร
 หลักการทํางานพื้นฐานประกอบดวยหนวยที่เกี่ยวของ 5หนวย ดังนี้
1. หนวยประมวลผลกลาง (central processing unit)
2. หนวยความจําหลัก (primary storage)
3. หนวยความจําสํารอง (secondary storage)
4. หนวยรับและแสดงผลขอมูล (input/output unit)
5. ทางเดินของระบบ (system bus)
หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit)
สวนประกอบที่สําคัญภายในของซีพียูแบงออกไดดังนี้
1.หนวยควบคุม (Control Unit)
2.หนวยคํานวณและตรรกะ (ALU : Arithmetic and Logic Unit)
3. รีจิสเตอร (Register)
1. หนวยควบคุม (Control Unit)
 ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของทุกๆหนวยในซีพียูรวมถึงอุปกรณตอ
พวง
 เริ่มตั้งแตการแปลคําสั่งที่ปอนเขาไป โดยการไปดึงคําสั่งและขอมูล
จากหนวยความจํามาแลวแปลความหมายของคําสั่ง
 จากนั้นสงความหมายที่ไดไปใหหนวยคํานวณและตรรกะเพื่อ
คํานวณและตัดสินใจวาจะใหเก็บขอมูลไวที่ใด
2.คาคือ มากกวานอยกวาและ เทากับ. หนวยคํานวณและตรรกะ (ALU :Arithmetic
and Logic Unit)
 ทําหนาที่ในการคํานวณทางคณิตศาสตร (arithmetic) เชน การคูณ
ลบ บวก หาร
 เปรียบเทียบขอมูลทางตรรกศาสตร (logical) วาเปนจริงหรือเท็จ
 อาศัยตัวปฏิบัติการเปรียบเทียบพื้นฐาน 3
3. รีจิสเตอร (Register)
 พื้นที่สําหรับเก็บพักขอมูลชุดคําสั่ง ผลลัพธ และขอมูลที่เกิดขึ้น
ขณะที่ซีพียูประมวลผลเพียงชั่วคราวไมถือวาเปนหนวยความจํา
 รับสงขอมูลดวยความเร็วสูงและทํางานภายใตการควบคุมของหนวย
ควบคุมเชนเดียวกับหนวยอื่นๆ
3. 1รีจิสเตอรที่สําคัญโดยทั่วไป(อาจแตกตางกันออกไปตามรุนของซีพียู)มีดังนี้
 Accumulate Register ใชเก็บผลลัพธที่ได
จากการคํานวณ
 Storage Register เก็บขอมูลและคําสั่งชั่วคราว
ที่ผานจากหนวยความจําหลัก หรือรอสงกลับไปที่
หนวยความจําหลัก
 Instruction Register ใชเก็บคําสั่งในการ
ประมวลผล
 Address Register บอกตําแหนงของขอมูล
และคําสั่งในหนวยความจํา
 ทําหนาที่เก็บขอมูลและคําสั่งตลอดจนผลลัพธที่ไดจากการ
ประมวลผลของซีพียูเพียงชั่วคราวเชนเดียวกัน
 ปกติจะมีตําแหนงของการเก็บขอมูลที่ไมซ้ํากันที่เรียกวา
“แอดเดรส” (address)
 ตางจากรีจิสเตอรตรงที่เปนการเก็บมูลและคําสั่งเพื่อที่จะ เรียกใชไดในอนาคตอันใกล (ไม
เหมือนกับรีจิสเตอรที่เปนเพียงแหลงพักขอมูลซึ่งเกิดขึ้นขณะที่ซีพียูประมวลผลเทานั้น)
แบงออกเปน 2 ประเภทคือ
1.1 รอม (ROM :Read Only Memory)
-หนวยความจําที่อานไดอยางเดียว ไมสามารถเขียนหรือบันทึกเพิ่มเติมได
-ใชเก็บคําสั่งที่ใชบอยและเปนคําสั่งเฉพาะ
-ขอมูลใน ROMจะอยูกับเครื่องอยางถาวร ถึงแมไฟจะดับหรือปดเครื่องไปก็ไม
สามารถทําใหขอมูลหรือคําสั่งในการทํางานตางๆหายไปได
-นิยมเรียกอีกอยางหนึ่งวา nonvolatile memory
-มีหลายชนิดเชน PROM, EPROM, EEPROM เปนตน
2.2 แรม (RAM: Random Access Memory)
 หนวยความจําที่จดจําขอมูลคําสั่งในระหวางที่ระบบกําลังทํางานอยู
 สามารถเปลี่ยนแปลงแกไขไดตลอดเวลา
 หากไฟดับหรือมีการปดเครื่อง ขอมูลในหนวยความจํานี้จะถูกลบเลือนหายไปหมด
 นิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งวา volatile memory
 มีหลายชนิดเชน SDRAM, DDR SDRAM, RDRAM
หนวยความจําหลัก (Primary Storage)
ใชสําหรับเก็บและบันทึกขอมูลไวในคอมพิวเตอรเพื่อเรียกขอมูลนั้นใชในภายหลังได (เก็บไวใชไดใน
อนาคต)มีหลายชนิดมาก เชน
-ฮารดดิสก
-ฟล็อปปดิสก
-Flash Drive CD
3.หนวยรับขอมูลและคําสั่ง (InputUnit)
 คอมพิวเตอรทั่วไปจะมีหนวยรับขอมูลและคําสั่งเขาสูระบบ
 แปลงขอมูลผานอุปกรณนําขอมูลเขา เชน คียบอรด เมาส สแกนเนอร เปนตน
 สงตอขอมูลที่ปอนเขาใหกับสวนของหนวยประมวลผลกลาง เพื่อทําหนาที่ตามคําสั่งที่ไดรับมา
 หากขาดสวนรับขอมูลและคําสั่ง มนุษยจะไมสามารถติดตอสั่งงานคอมพิวเตอรได
4.หนวยแสดงผลลัพธ (OutputUnit)
 แสดงผลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส (เรียกวาsoft copy) เชน จอภาพคอมพิวเตอร
 หรืออยูในรูปแบบของhard copy เชน พิมพออกมาเปน กระดาษออกทางเครื่องพิมพ
 อาจอาศัยอุปกรณอื่นๆ เชน ลําโพง สําหรับการแสดงผลที่เปนเสียงได
5.ทางเดินระบบ (System Bus)
 เสนทางผานของสัญญาณเพื่อใหอุปกรณระหวางหนวยประมวลผลกลางและหนวยความจําในระบบ
สามารถเชื่อมตอกันได
 เปรียบกับถนนที่ใหรถยนตวิ่งไปยังสถานที่ใดที่หนึ่ง หากถนนกวางหรือมีมากเทาใด การสงขอมูลตอ
ครั้งก็ยิ่งเร็วและมากขึ้นเทานั้น
 จํานวนเสนทางที่ใชวิ่งบนทางเดินระบบ เรียกวาบิต (เปรียบเทียบไดกับเลนบนถนน)
หนวยความจําสํารอง (Secondary Storage)
วงรอบการทํางานของซีพียู
เวลาคําสั่งงานและเวลาปฎิบัติการ
 ชวง I-Time (Instruction Time) หรือเวลาคําสั่งงาน
 อยูในขั้นตอนที่ 1และ 2 (FetchและDecode)ซึ่งเกี่ยวของกับการดึงเอาคําสั่งและแปล
ความหมายเพื่อใหคอมพิวเตอรทํางานตามตองการ
 ชวง E-Time (Execution Time)หรือเวลาปฏิบัติการ
 อยูขั้นตอนที่ 3และ 4 (Execute และStore)ซึ่งเกี่ยวของกับการคํานวณและนําผลลัพธ
ไปเก็บเพื่อรอใหเรียกใช
ศุภรดา สุวรรณจิตร ม.6/6 เลขที่ 9
มุกวดี ศิวะลีราวิลาศ ม.6/6 เลขที่ 23

Contenu connexe

Tendances

%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...
%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...
%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...
soontornnamsain
 
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
it4learner
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
natthaphorn_thepyoo
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1
mod2may
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
NOiy Ka
 
Hardware
HardwareHardware
Hardware
sa
 

Tendances (17)

%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...
%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...
%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...
 
Hardware 6
Hardware 6Hardware 6
Hardware 6
 
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นบทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Work3 19
Work3 19Work3 19
Work3 19
 
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นสไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
สไลด์ บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
o-net-work4-40
o-net-work4-40o-net-work4-40
o-net-work4-40
 
Intro to Comp
Intro to CompIntro to Comp
Intro to Comp
 
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Chapter2 Input & Output Devices
Chapter2 Input & Output DevicesChapter2 Input & Output Devices
Chapter2 Input & Output Devices
 
Hardware
HardwareHardware
Hardware
 
Word3
Word3Word3
Word3
 

En vedette (12)

Marketing 3.0 การตลาด อัมพวา
Marketing 3.0 การตลาด อัมพวาMarketing 3.0 การตลาด อัมพวา
Marketing 3.0 การตลาด อัมพวา
 
ตลาดน้ำอัมพวา
ตลาดน้ำอัมพวาตลาดน้ำอัมพวา
ตลาดน้ำอัมพวา
 
Mars
MarsMars
Mars
 
บทที่9
บทที่9บทที่9
บทที่9
 
How linked in helps you to find a suitable job
How linked in helps you to find a suitable jobHow linked in helps you to find a suitable job
How linked in helps you to find a suitable job
 
BFT223: Chapter 5 selection
BFT223: Chapter 5 selectionBFT223: Chapter 5 selection
BFT223: Chapter 5 selection
 
Tech connect pd data and teaching
Tech connect pd data and teachingTech connect pd data and teaching
Tech connect pd data and teaching
 
Chp01 intro
Chp01 introChp01 intro
Chp01 intro
 
บทที่12
บทที่12บทที่12
บทที่12
 
Web API Management
Web API ManagementWeb API Management
Web API Management
 
Lessons Learned from Deploying Apache Spark as a Service on IBM Power Systems...
Lessons Learned from Deploying Apache Spark as a Service on IBM Power Systems...Lessons Learned from Deploying Apache Spark as a Service on IBM Power Systems...
Lessons Learned from Deploying Apache Spark as a Service on IBM Power Systems...
 
Tungkol kay jose rizal
Tungkol kay jose rizalTungkol kay jose rizal
Tungkol kay jose rizal
 

Similaire à บทที่2

คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
Mameawjung ZaZa
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
Rijin7
 
Computer
ComputerComputer
Computer
nuting
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Sukanya Burana
 
Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]
twatfangmin
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
Rijin7
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
Rijin7
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
Rijin7
 
บทที่ 0 information technology
บทที่ 0 information technologyบทที่ 0 information technology
บทที่ 0 information technology
Jate Paw
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utility
shadowrbac
 

Similaire à บทที่2 (20)

คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสารเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
คอมพิวเตอร์พื้นฐาน
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]Com element [compatibility mode]
Com element [compatibility mode]
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pptx
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pptxเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pptx
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pptx
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pdf
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pdfเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pdf
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pdf
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
Com
ComCom
Com
 
iam
iamiam
iam
 
บทที่ 0 information technology
บทที่ 0 information technologyบทที่ 0 information technology
บทที่ 0 information technology
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utility
 

บทที่2

  • 1. ` ฮารดแวร (Hardware) 1.ฮารดแวร (Hardware) เปนอุปกรณที่จับตองได สัมผัสได มองเห็นไดอยางเปนรูปธรรม มีทั้งที่ติดตั้งอยูภายในตัวเครื่อง (เชน ซีพียู เมนบอรด แรม)และที่ติดตั้งอยูภายนอก (เชน คียบอรด เมาส จอภาพ เครื่องพิมพ) ซอฟตแวร (Software) 2.ซอฟตแวร (Software)  สวนของโปรแกรมคอมพิวเตอรที่บรรจุคําสั่งเพื่อใหสามารถทํางานไดตามตองการ โดยปกติแลวจะถูก สรางโดยบุคคลที่เรียกวา นักเขียนโปรแกรม (programmer)  เปนองคประกอบทางนามธรรม ไมสามารถจับตองหรือสัมผัสไดเหมือนกับฮารดแวร  อาจแบงออกไดเปน 2ประเภทใหญๆ คือ  ซอฟตแวรระบบ  ซอฟทแวรประยุกต Treats
  • 2. 2.1 ซอฟตแวรระบบ (System Software)  ทําหนาที่ควบคุมระบบการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร ที่รูจักกันเปนอยางดีคือ ระบบปฏิบัติการหรือ OS (Operating System)มีทั้งที่ตองเสียเงินอยางเชน Windows และใหใชฟรี เชน Linux เปนตน  ควบคุมการทํางานของระบบคอมพิวเตอรโดยรวม  ตรวจสอบเมื่อมีการติดตั้งหรือเปลี่ยนแปลงอุปกรณฮารดแวรใดๆ  ชวยใหการทํางานที่เกี่ยวของราบรื่น ไมติดขัด  ตรวจสอบและรายงานความผิดพลาดเกี่ยวกับระบบ  กําหนดสิทธิการใชงาน และหนาที่ตางๆเกี่ยวกับการจัดการไฟล 2.2 ซอฟตแวรประยุกต (Application Software)  ซอฟตแวรที่สามารถติดตั้งไดในภายหลังจากที่ติดตั้งระบบปฎิบัติการแลว  ปกติมุงใชกับงานเฉพาะอยาง เชน งานดานบัญชี งานดานเอกสารหรืองานควบคุมสินคาคงเหลือ  อาจมีบริษัทผูผลิตทําขึ้นมาเพื่อจําหนายโดยตรง มีทั้งที่ใหใชฟรี ซื้อทําเอง หรือจางเขียนโดยเฉพาะ ซอฟตแวร(Software)ในประเทศไทย  เขตอุตสาหกรรมซอฟแวร  Software Park (www.swpark.or.th) แหลงสนับสนุนการพัฒนาซอฟแวรสําหรับผูประกอบการ ขนาดกลางและขนาดเล็ก  สํานักงานสงเสริมอุตสาหกรรมซอฟแวรแหงชาติ (SIPA-Software Industry Promotion Agency) www.sipa.or.th  สงเสริมใหคนไทยพัฒนาซอฟแวรไวใชเอง  พัฒนาเพื่อการสงออก นํารายไดเขาประเทศ
  • 3.  บุคลากรที่เกี่ยวของกับคอมพิวเตอรพอจําแนกออกไดเปน 3 กลุมดวยกันคือ 3.1 ผูใชงานทั่วไป 3.2 ผูเชี่ยวชาญ 3.3 ผูบริหาร บุคลากร(People) 3.1 บุคลากร -กลุมผูใชงานทั่วไป  ผูใชงานคอมพิวเตอร (User/End User)  เปนผูใชงานระดับต่ําสุด ไมจําเปนตองมีความเชี่ยวชาญมาก  อาจเขารับการอบรมบางเล็กนอยหรือศึกษาจากคูมือการปฏิบัติงานก็สามารถใชงานได  บุคลากรกลุมนี้มีจํานวนมากที่สุดในหนวยงาน  ลักษณะงานมักเกี่ยวของกับการใชงานคอมพิวเตอรทั่วไป เชน งานธุรการสํานักงาน งาน ปอนขอมูล งานบริการลูกคาสัมพันธ (call center)เปนตน
  • 4. 3.2 บุคลากร- กลุมผูเชี่ยวชาญ 3.2.1 ชางเทคนิคคอมพิวเตอร(Computer Operator/Computer Technician)  มีความชํานาญทางดานเทคนิคโดยเฉพาะ  มีทักษะและประสบการณในการแกปญหาเฉพาะหนาไดเปนอยางดี  หนาที่หลักคือ การแกปญหาที่เกิดขึ้นกับระบบในหนวยงานใหใชงานไดตามปกติ 3.2.2 นักวิเคราะหระบบ (System Analyst)  มีหนาที่วิเคราะหความตองการของผูใชรวมไปถึงผูบริหารของหนวยงานวาตองการ ระบบโปรแกรมหรือลักษณะงานอยางไร เพื่อจะพัฒนาระบบงานใหตรงตามความ ตองการมากที่สุด  ออกแบบกระบวนการทํางานของระบบโปรแกรมตางๆทั้งหมดดวย  มีการทํางานคลายกับสถาปนิกออกแบบบาน การทํางานของสถาปนิก 3.2.3 นักเขียนโปรแกรม (Programmer)  ชํานาญเรื่องการเขียนโปรแกรมดวยภาษาคอมพิวเตอรตามที่ตนเองถนัด  มีหนาที่และตําแหนงเรียกแตกตางกันไปขึ้นอยูกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ เชน  web programmer  application programmer  system programmer
  • 5. 3.2.3 นักเขียนโปรแกรม (Programmer)  ชํานาญเรื่องการเขียนโปรแกรมดวยภาษาคอมพิวเตอรตามที่ตนเองถนัด  มีหนาที่และตําแหนงเรียกแตกตางกันไป ขึ้นอยูกับลักษณะงานที่ปฏิบัติ เชน  web programmer  application programmer  system programmer 3.2.4 วิศวกรซอฟตแวร (Software Enginering)  ทําหนาที่ในการวิเคราะหและตรวจสอบซอฟตแวรที่พัฒนาอยางมีแบบแผน  อาศัยหลักการทางวิศวกรรมศาสตรมาชวย เชน วัดคาความซับซอนของซอฟทแวร และหาคุณภาพ ของซอฟตแวรที่ผลิตขึ้นมาได  มีทักษะและความเขาใจในการพัฒนาซอฟตแวรมากพอสมควร  อยูในทีมงานพัฒนาซอฟตแวรกลุมเดียวกับนักเขียนโปรแกรมและนักวิเคราะหระบบ  พบเห็นไดกับการผลิตซอฟตแวรขนาดใหญ เชน การสรางระบบปฏิบัติการ การเขียนโปรแกรมเกมส 3.2.5 ผูดูแลเน็ตเวิรก (Network Administrator)  ผูที่มีหนาที่ดูแลและบริหารระบบเครือขายคอมพิวเตอรขององคกร  เกี่ยวของกับลักษณะงานดานเครือขายโดยเฉพาะ เชน การติดตั้งระบบเครือขายการควบคุมสิทธิของ ผูที่จะใชงาน การปองกันการบุกรุกเครือขาย เปนตน  มีความชํานาญเกี่ยวกับระบบเครือขายคอมพิวเตอรเปนอยางดี และตองมีทักษะในการแกไขปญหาที่ เกิดขึ้นไดอยางทันทวงที
  • 6.  3.3 บุคลากร– กลุมผูบริหาร ผูบริหารสูงสุดดานสารสนเทศและคอมพิวเตอร (CIO – ChiefInformation Officer)  ตําแหนงสูงสุดทางดานการบริหารงานคอมพิวเตอรในองคกร  ทําหนาที่กําหนดทิศทางนโยบายและแผนงานทางคอมพิวเตอรทั้งหมด  มักพบเห็นในองคกรขนาดใหญเทานั้น  สําหรับในองคกรขนาดเล็กอาจจะไมมีตําแหนงนี้ หัวหนางานดานคอมพิวเตอร (Computer CenterManager/Information Technology Manager)  มีหนาที่ดูแลและกํากับงานทางดานคอมพิวเตอรใหบรรลุเปาหมายตามแผนงานและทิศทางที่ได วางไวโดย CIO  อาจตองจัดเตรียมการบริการฝกอบรม การใหคําปรึกษา คําแนะนํากับผูใชงาน รวมถึงสราง กฎระเบียบ มาตรฐานในการใชงานคอมพิวเตอรของบริษัทรวมกันดวย  อาจตองจัดเตรียมการบริการฝกอบรม การใหคําปรึกษา คําแนะนํากับผูใชงาน รวมถึงสราง กฎระเบียบ มาตรฐานในการใชงานคอมพิวเตอรของบริษัทรวมกันดวย
  • 7. ขอมูล/สารสนเทศ (Data/Information)  การทํางานของคอมพิวเตอรจะเกี่ยวของตั้งแตการนําขอมูลเขา (data)จนกลายเปนขอมูลที่สามารถใช ประโยชนตอไดหรือที่เรียกวาสารสนเทศ (information)  ขอมูลเหลานี้อาจเปนไดทั้งตัวเลข ตัวอักษรและขอมูลในรูปแบบอื่นๆเชน ภาพ เสียง เปนตน  ขอมูลที่จะนํามาใชกับคอมพิวเตอร ตองแปลงรูปแบบหรือสถานะใหคอมพิวเตอรเขาใจเสียกอน  สถานะหรือรูปแบบนี้เราเรียกวา สถานะแบบดิจิตอล สถานะแบบดิจิตอล  มีเพียง 2 สถานะเทานั้นคือ เปด (1)และ ปด (0)เหมือนกับหลักการทํางานของไฟฟา  อาศัยการประมวลผลโดยใช ระบบเลขฐานสอง หรือที่เรียกวา binary system เปนหลัก ซึ่ง ประกอบดวยตัวเลขเพียง 2 ตัวเทานั้น คือ 0 กับ 1
  • 8.  ตัวเลข 0 กับ 1 เราเรียกวาเปนตัวเลขฐานสองหรือไบนารีดิจิต(binary digit) มักเรียกยอๆวา บิต (bit) นั่นเอง  เมื่อบิตหลายตัวรวมกันจํานวนหนึ่ง (ขึ้นอยูกับรหัสการจัดเก็บ) เชน 8 บิต เราจะเรียกหนวยจัดเก็บ ขอมูลนี้ใหมวาเปน ไบต (byte) ซึ่งสามารถใชแทน ตัวอักษร ตัวเลข อักขระพิเศษที่เราตองการปอน ขอมูลเขาไปในเครื่องแตละตัวได  กลุมตัวเลขฐานสองตางๆที่นําเอามาใชนี้ จะมีองคกรกําหนดมาตรฐานใหใชบนระบบคอมพิวเตอร อยูหลายมาตรฐานมาก  ที่รูจักดีและเปนนิยมแพรหลายคือมาตรฐานของสถาบันมาตรฐานแหงสหรัฐอเมริกา ที่เรียกวา รหัสแอสกี (ASCII: American Standard Code for Information Interchange)
  • 10. หนวยวัดความจุขอมูล คาโดยประมาณมีคาใกลเคียงกับ 1,000 และคาอื่น ๆ เชน MB มีคาใกลเคียง 1,000,000 จึงนิยมเรียกวาเปน kilo (คาหนึ่งพันหรือ thousand)และmega (คาหนึ่งลานหรือ million)
  • 11. การนําขอมูลเขาสูคอมพิวเตอร ● ● ●  ยุคแรกใชบัตรเจาะรูเพื่อควบคุมลายทอผา  นําบัตรแบบใหมมาประยุกตใชมากขึ้น เชน IBM 80 Column  พัฒนามาใชสื่อแบบใหมมากขึ้นจนถึงปจจุบัน  การนําขอมูลเขาสูคอมพิวเตอรแบงไดเปน 2วิธีดวยกันคือ 1. ผานอุปกรณนําเขา (input device)  เปนวิธีที่งายและสะดวกที่สุด  นําขอมูลเขาไปยังคอมพิวเตอรโดยตรง  ผานอุปกรณนําเขาขอมูลหลายชนิด ขึ้นอยูกับรูปแบบของขอมูล เชน คียบอรด (keyboard) สําหรับขอมูลประเภทตัวอักษร หรืออักขระพิเศษ สแกนเนอร(scanner) สําหรับขอมูลประเภทภาพ ไมโครโฟน (microphone)สําหรับขอมูลประเภทเสียง 2.ผานสื่อเก็บบันทึกขอมูลสํารอง (secondary storage)  ดึงเอาขอมูลที่ไดบันทึกหรือเก็บขอมูลไวกอนแลวโดยใชสื่อเก็บบันทึกขอมูลสํารอง เชน ฮารดดิสก ดิสเก็ตต หรือซีดี  เครื่องคอมพิวเตอรจะอานขอมูลเหลานี้โดยอาศัยเครื่องอานสื่อโดยเฉพาะ เชนฟล็อปปไดรว ซีดีรอม ไดรว  บัตรเจาะรูจัดอยูในกลุมการนําเขาขอมูลวิธีนี้เชนกัน (ปจจุบันไมพบเห็นการใชงานแลว) ● ● ●
  • 12. กิจกรรมและความสัมพันธของแตละองคประกอบ     ขั้นปอนขอมูลเขา (UserInput)  ขั้นรองขอบริการ (Service requests)  ขั้นสั่งการฮารดแวร (Hardware Instructions)  ขั้นประมวลผลลัพธ (Processing results)  ขั้นตอบสนองบริการ (Service responses)  ขั้นแสดงผลลัพธ (Program Output) 
  • 13. พื้นฐานการทํางานของคอมพิวเตอร  หลักการทํางานพื้นฐานประกอบดวยหนวยที่เกี่ยวของ 5หนวย ดังนี้ 1. หนวยประมวลผลกลาง (central processing unit) 2. หนวยความจําหลัก (primary storage) 3. หนวยความจําสํารอง (secondary storage) 4. หนวยรับและแสดงผลขอมูล (input/output unit) 5. ทางเดินของระบบ (system bus)
  • 14. หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) สวนประกอบที่สําคัญภายในของซีพียูแบงออกไดดังนี้ 1.หนวยควบคุม (Control Unit) 2.หนวยคํานวณและตรรกะ (ALU : Arithmetic and Logic Unit) 3. รีจิสเตอร (Register) 1. หนวยควบคุม (Control Unit)  ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของทุกๆหนวยในซีพียูรวมถึงอุปกรณตอ พวง  เริ่มตั้งแตการแปลคําสั่งที่ปอนเขาไป โดยการไปดึงคําสั่งและขอมูล จากหนวยความจํามาแลวแปลความหมายของคําสั่ง  จากนั้นสงความหมายที่ไดไปใหหนวยคํานวณและตรรกะเพื่อ คํานวณและตัดสินใจวาจะใหเก็บขอมูลไวที่ใด
  • 15. 2.คาคือ มากกวานอยกวาและ เทากับ. หนวยคํานวณและตรรกะ (ALU :Arithmetic and Logic Unit)  ทําหนาที่ในการคํานวณทางคณิตศาสตร (arithmetic) เชน การคูณ ลบ บวก หาร  เปรียบเทียบขอมูลทางตรรกศาสตร (logical) วาเปนจริงหรือเท็จ  อาศัยตัวปฏิบัติการเปรียบเทียบพื้นฐาน 3 3. รีจิสเตอร (Register)  พื้นที่สําหรับเก็บพักขอมูลชุดคําสั่ง ผลลัพธ และขอมูลที่เกิดขึ้น ขณะที่ซีพียูประมวลผลเพียงชั่วคราวไมถือวาเปนหนวยความจํา  รับสงขอมูลดวยความเร็วสูงและทํางานภายใตการควบคุมของหนวย ควบคุมเชนเดียวกับหนวยอื่นๆ 3. 1รีจิสเตอรที่สําคัญโดยทั่วไป(อาจแตกตางกันออกไปตามรุนของซีพียู)มีดังนี้  Accumulate Register ใชเก็บผลลัพธที่ได จากการคํานวณ  Storage Register เก็บขอมูลและคําสั่งชั่วคราว ที่ผานจากหนวยความจําหลัก หรือรอสงกลับไปที่ หนวยความจําหลัก  Instruction Register ใชเก็บคําสั่งในการ ประมวลผล  Address Register บอกตําแหนงของขอมูล และคําสั่งในหนวยความจํา
  • 16.  ทําหนาที่เก็บขอมูลและคําสั่งตลอดจนผลลัพธที่ไดจากการ ประมวลผลของซีพียูเพียงชั่วคราวเชนเดียวกัน  ปกติจะมีตําแหนงของการเก็บขอมูลที่ไมซ้ํากันที่เรียกวา “แอดเดรส” (address)  ตางจากรีจิสเตอรตรงที่เปนการเก็บมูลและคําสั่งเพื่อที่จะ เรียกใชไดในอนาคตอันใกล (ไม เหมือนกับรีจิสเตอรที่เปนเพียงแหลงพักขอมูลซึ่งเกิดขึ้นขณะที่ซีพียูประมวลผลเทานั้น) แบงออกเปน 2 ประเภทคือ 1.1 รอม (ROM :Read Only Memory) -หนวยความจําที่อานไดอยางเดียว ไมสามารถเขียนหรือบันทึกเพิ่มเติมได -ใชเก็บคําสั่งที่ใชบอยและเปนคําสั่งเฉพาะ -ขอมูลใน ROMจะอยูกับเครื่องอยางถาวร ถึงแมไฟจะดับหรือปดเครื่องไปก็ไม สามารถทําใหขอมูลหรือคําสั่งในการทํางานตางๆหายไปได -นิยมเรียกอีกอยางหนึ่งวา nonvolatile memory -มีหลายชนิดเชน PROM, EPROM, EEPROM เปนตน 2.2 แรม (RAM: Random Access Memory)  หนวยความจําที่จดจําขอมูลคําสั่งในระหวางที่ระบบกําลังทํางานอยู  สามารถเปลี่ยนแปลงแกไขไดตลอดเวลา  หากไฟดับหรือมีการปดเครื่อง ขอมูลในหนวยความจํานี้จะถูกลบเลือนหายไปหมด  นิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งวา volatile memory  มีหลายชนิดเชน SDRAM, DDR SDRAM, RDRAM หนวยความจําหลัก (Primary Storage)
  • 17. ใชสําหรับเก็บและบันทึกขอมูลไวในคอมพิวเตอรเพื่อเรียกขอมูลนั้นใชในภายหลังได (เก็บไวใชไดใน อนาคต)มีหลายชนิดมาก เชน -ฮารดดิสก -ฟล็อปปดิสก -Flash Drive CD 3.หนวยรับขอมูลและคําสั่ง (InputUnit)  คอมพิวเตอรทั่วไปจะมีหนวยรับขอมูลและคําสั่งเขาสูระบบ  แปลงขอมูลผานอุปกรณนําขอมูลเขา เชน คียบอรด เมาส สแกนเนอร เปนตน  สงตอขอมูลที่ปอนเขาใหกับสวนของหนวยประมวลผลกลาง เพื่อทําหนาที่ตามคําสั่งที่ไดรับมา  หากขาดสวนรับขอมูลและคําสั่ง มนุษยจะไมสามารถติดตอสั่งงานคอมพิวเตอรได 4.หนวยแสดงผลลัพธ (OutputUnit)  แสดงผลในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส (เรียกวาsoft copy) เชน จอภาพคอมพิวเตอร  หรืออยูในรูปแบบของhard copy เชน พิมพออกมาเปน กระดาษออกทางเครื่องพิมพ  อาจอาศัยอุปกรณอื่นๆ เชน ลําโพง สําหรับการแสดงผลที่เปนเสียงได 5.ทางเดินระบบ (System Bus)  เสนทางผานของสัญญาณเพื่อใหอุปกรณระหวางหนวยประมวลผลกลางและหนวยความจําในระบบ สามารถเชื่อมตอกันได  เปรียบกับถนนที่ใหรถยนตวิ่งไปยังสถานที่ใดที่หนึ่ง หากถนนกวางหรือมีมากเทาใด การสงขอมูลตอ ครั้งก็ยิ่งเร็วและมากขึ้นเทานั้น  จํานวนเสนทางที่ใชวิ่งบนทางเดินระบบ เรียกวาบิต (เปรียบเทียบไดกับเลนบนถนน) หนวยความจําสํารอง (Secondary Storage)
  • 18. วงรอบการทํางานของซีพียู เวลาคําสั่งงานและเวลาปฎิบัติการ  ชวง I-Time (Instruction Time) หรือเวลาคําสั่งงาน  อยูในขั้นตอนที่ 1และ 2 (FetchและDecode)ซึ่งเกี่ยวของกับการดึงเอาคําสั่งและแปล ความหมายเพื่อใหคอมพิวเตอรทํางานตามตองการ  ชวง E-Time (Execution Time)หรือเวลาปฏิบัติการ  อยูขั้นตอนที่ 3และ 4 (Execute และStore)ซึ่งเกี่ยวของกับการคํานวณและนําผลลัพธ ไปเก็บเพื่อรอใหเรียกใช
  • 19. ศุภรดา สุวรรณจิตร ม.6/6 เลขที่ 9 มุกวดี ศิวะลีราวิลาศ ม.6/6 เลขที่ 23