SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  67
Télécharger pour lire hors ligne
หน่วยที่ 3
การพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ
ความหมายของสุขภาพ
สุขภาพ สุขภาพจิตสุขภาพกาย
สุขภาพทางสังคม
“ ศ. นพ. ประเวศ วะสี”
สุขภาพ คือ สุขภาวะ หรือความสุข
ความเป็นอิสระหรือการหลุดพ้นจาก
ความ บีบคั้นทั้งทางกาย จิต และสังคม
ทางปัญญา
สรุป
“สุขภาพ หมายถึง ภาวการณ์ดารงชีวิตที่สุขสมบูรณ์ทั้งทางร่างกาย จิตใจ
สังคม บนพื้นฐานของคุณธรรม และการใช้สติปัญญา”
ความสาคัญของสุขภาพที่มีต่อคุณภาพชีวิต
บุคคลที่มีสุขภาพ คือ บุคคลที่มี
คุณภาพชีวิต ดารงชีวิตอยู่ในสังคม
ได้ด้วยดี ทาสิ่งดีมีประโยชน์ นามา
ซึ่งความสุข ความเจริญต่อตนเอง
และสังคม
องค์ประกอบสาคัญที่กาหนดสุขภาพ
1. พันธุกรรม
2. สิ่งแวดล้อม
3. สุขปฏิบัติ
- สุขปฏิบัติที่สาคัญ คือ การบริโภคอาหาร ที่อยู่อาศัย
เครื่องนุ่งห่มและยารักษาโรค การออกกาลังกาย การพักผ่อน
การระวังรักษา การห้องกันอุบัติภัย การเสริมสร้างสุขภาพจิต
และการมีสานึกต่อสังคม
การเสริมสร้างสุขภาพส่วนบุคคล
1. การเฝ้ าระวังเพื่อป้ องกันความผิดปกติทางพันธุกรรม
2. การเลือกคู่ครอง และการวางแผนชีวิตที่เหมาะสม
3. การสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม
4. สุขปฏิบัติ
สุขบัญญัติแห่งชาติ คือ ข้อกาหนดที่เด็ก เยาวชน ประชาชนพึง
ปฏิบัติให้สม่าเสมอ
คณะกรรมการสุขศึกษาของประเทศไทย กาหนดแนวทางการพัฒนาสุข
นิสัย 10 ประการ เรียกว่า สุขบัญญัติ 10 ประการ
การพัฒนาคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ
1. อาหาร
อาหารหมู่ที่ 1 อาหารหมู่นี้จะให้โปรตีน มีประโยชน์สร้างภูมิ
ต้านทานโรค ช่วยซ่อมแซมส่วนต่าง ๆ ของร่างกายที่สึกหรอจาก
บาดแผล อุบัติเหตุ หรือจากการเจ็บป่วย
อาหารหมู่นี้จะถูกนาไปสร้างกระดูก กล้ามเนื้อ เลือด เม็ด
เลือด ผิวหนัง น้าย่อย ฮอร์โมน ตลอดจนภูมิต้านทานเชื้อโรคต่าง ๆ
จึงถือได้ว่าอาหารหมูนี้เป็นอาหารหลักที่สาคัญในการสร้างโครงสร้างของ
ร่างกายในการเจริญเติบโต และทาให้อวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายทางานได้
เป็นปกติ
อาหารหมู่ที่ 2 ให้สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต ซึ่งจะให้
พลังงานแก่ร่างกาย ทาให้ร่างกายสามารถทางานได้ และยังให้ความ
อบอุ่นแก่ร่างกายอีกด้วย พลังงานที่ได้จากหมู่นี้ส่วนใหญ่จะใช้ให้หมด
ไปวันต่อวัน เช่น ใช้ในการเดิน ทางาน การออกกาลังกาย
ต่าง ๆ แต่ถ้ากินอาหารหมู่นี้มากจนเกินความต้องการของ
ร่างกาย ก็จะถูกเปลี่ยนเป็นไขมัน
อาหารหมู่ที่ 3 อาหารหมู่นี้จะให้วิตามินและเกลือแร่แก่ร่างกาย
ช่วยเสริมสร้างทาให้ร่างกายแข็งแรง มีแรงต้านทานเชื้อโรค
และช่วยให้อวัยวะต่าง ๆ ทางานได้อย่างเป็น ปกติ
อาหารหมู่ที่ 4 ได้แก่ผลไม้ต่าง ๆ จะให้วิตามินและเกลือแร่
ช่วยทาให้ร่างกายแข็งแรง มีแรงต้านทานโรค และมีกากอาหาร
ชวยทาให้ การขับถ่ายของลาไส้เป็นปกติ
อาหารหมู่ที่ 5 ไขมันและน้ามัน จะให้สารอาหารประเภท
ไขมันมาก จะให้พลังงานแก่ร่างกาย ทาให้ร่างกายเจริญเติบโต
ไขมันที่สะสมไว้เหล่านี้จะให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย และให้
พลังงานที่สะสมไว้ใช้ในเวลาที่จาเป็น
ประโยชน์ของอาหาร
1. ทาให้ร่างกายเจริญเติบโตและซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
2. ให้พลังงาน จาเป็นต่อการทางานของอวัยวะภายในและการทากิจกรรม
3. ช่วยควบคุมปฏิกิริยาเคมีในร่างกายต่างๆ
4. ป้องกันและต้านทานโรคแก่ร่างกาย
ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้ประโยชน์ของอาหารในร่างกาย
1. คุณค่าทางโภชนาการ
2. การสุขาภิบาลอาหาร
การควบคุมอาหารและปัจจัยการผลิตตั้งแต่
อาหารดิบจนพร้อมบริโภคให้ปลอดภัย และ
สะอาด
3. ความดึงดูดใจผู้บริโภค
การปรุงแต่งเพื่อให้ผู้บริโภคอยากรับประทาน
หรือจัดบรรยากาศในการรับประทานอาหารที่
เหมาะสม ควรเลือกใช้สีที่ปลอดภัยต่อการ
บริโภค
4. สุขปฏิบัติเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร
4.1 ก่อนรับประทานอาหาร
- ล้างมือให้สะอาด
- นั่งในท่าที่สบาย ลาตัวตรง
- ทาจิตใจให้สบาย
- รับประทานอาหารตรงเวลา เป็นเวลา
4.2 ขณะรับประทานอาหาร
- รับประทานอาหารที่สารอาหารครบถ้วน
- รับประทานอาหาร สะอาด ปลอดภัย
- ใช้ช้อนกลางประจาเมื่อทานอาหารร่วมกับผู้อื่น
- ไม่รับประทานอาหารรสจัด
- เคี้ยวอาหารให้ละเอียด
- ไม่ดื่มน้ามากเกิน
- มีมรรยาทในการรับประทานอาหาร
4.3 หลังรับประทานอาหาร
- ล้างมือให้สะอาด
- ทาความสะอาดปากและฟัน
- ไม่นอน ออกกาลังกาย หรืออาบน้าทันที
- ขับถ่ายให้เป็นเวลา
1. กินอาหารครบทั้ง 5 หมู่ แต่ละหมู่ให้หลากหลายและหมั่นดูแลน้าหนักตัว
ความหมายของข้อปฏิบัตินี้คือ รับประทานอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่ โดยเลือก
อาหารให้หลากหลาย อย่าบริโภคซ้าๆ หรือบริโภคอย่างใดอย่างหนึ่งบ่อย
เกินไป เพราะอาหารแต่ละชนิดให้พลังงานและสารอาหารแตกต่างกัน
การเลือกบริโภคอาหารที่หลากหลายจึงเป็นการช่วยให้ได้รับสารอาหารที่
หลากหลายด้วย ขณะเดียวกันต้องหมั่นตรวจสอบน้าหนักตัวให้
เหมาะสม และออกกาลังกายเป็นประจา
2. กินข้าวเป็นอาหารหลักสลับกับอาหารประเภทแป้ งเป็นบางมื้อ
ข้าวนับเป็นอาหารหลักของคนไทยที่บริโภคเป็นประจา ทั้งข้าว
เหนียวและข้าวเจ้า ข้าวที่ควรเลือกบริโภคคือ ข้าวซ้อมมือหรือข้าว
กล้อง เพราะให้สารอาหารมากกว่าข้าวขัดขาว โดยเฉพาะใย
อาหาร วิตามินและแร่ธาตุ
ผู้ที่ไม่คุ้นกับข้าวซ้อมมืออาจจะรู้สึกว่า หุงแล้วข้าวกระด้างและ
แข็ง ไม่น่ารับประทาน อาจนาข้าวซ้อมมือมาผสมกับข้าวขาวก่อน
หุง จะช่วยลดความกระด้างของข้าวได้
และเมื่อคุ้นแล้วอาจจะเพิ่มปริมาณข้าวซ้อมมือผสมมากขึ้น ก็
เป็นทางหนึ่งที่ช่วยให้ได้รับสารอาหารที่เป็นประโยชน์แก่ร่างกาย
มากขึ้น
3. กินพืชผักให้มากและกินผลไม้เป็นประจา
ผักและผลไม้เป็นอาหารที่ให้วิตามินแร่ธาตุและใยอาหารสูงควร
บริโภคเป็นประจา เพื่อช่วยในการขับถ่ายและนาสารพิษออกจากร่างกาย
ผักมีหลายประเภทและกินได้ทุกส่วน
ประเภทที่กินรากหรือหัวเช่น หัวไชเท้า แครอท กระชาย ขิง ข่า
ประเภทกินใบ เช่น ใบขี้เหล็ก คะน้า ผักกาด ผักบุ้ง ตาลึง
ประเภทกินดอก เช่น ดอกแค กระหล่าดอก ดอกกุ่ยช่าย
ประเภทกินผล เช่น มะเขือเทศ มะเขือยาว บวบ
ผักทุกชนิดให้พลังงานต่าและไม่ทาให้อ้วน สามารถบริโภคได้ไม่
จากัดปริมาณทั้งผักสดและผักสุก
4. กินปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่ และถั่วเมล็ดแห้งเป็นประจา
เนื้อสัตว์มีหลายชนิด ทั้งสัตว์บก สัตว์น้าและสัตว์ปีก
ปลา เป็นเนื้อสัตว์น้าที่นอกจากจะเป็นแหล่งโปรตีนที่ดี มีคุณภาพ มี
ไขมันน้อยและโคเลสเตอรอลต่าแล้วยังมีแร่ธาตุที่สาคัญ เช่น ปลาทะเลมี
ไอโอดีนสูง ป้ องกันการขาดไอโอดีนซึ่งจะทาให้ปัญญาอ่อนในเด็ก ปลาเล็ก
ปลาน้อยที่กินได้ทั้งกระดูกมีแคลเซียมสูงช่วยเสริมกระดูกและฟันให้แข็งแรง
ไขมันในปลามีกรดไขมันไม่อิ่มตัวหลายชนิดที่จาเป็นต่อการพัฒนาการของ
สมองและดวงตา รวมทั้งช่วยป้ องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดได้อีก
ด้วย จึงควรรับประทานปลาสลับกับเนื้อสัตว์ชนิดอื่น
ถั่วเมล็ดแห้ง เช่น ถั่วเขียว ถั่วเหลือง ถั่วดา ถั่วแดง ถั่วลิสง
เป็นแหล่งที่ให้โปรตีน วิตามินและแร่ธาตุที่มีราคาถูก ควรนาถั่วเมล็ดแห้งและ
ผลิตภัณฑ์จากถั่ว เช่น เต้าหู้ เต้าเจียว ฟองเต้าหู้ มาประกอบอาหารด้วยเพื่อให้
เกิดความหลากหลายของอาหารที่บริโภค
5. ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
นม เป็นอาหารที่บริโภคได้ง่ายและสะดวก
สารอาหารที่สาคัญและจาเป็นแก่ร่างกายที่ได้จากนมคือ
แคลเซียมและฟอสฟอรัส ซึ่งช่วยเสริมสร้างกระดูกและฟันให้แข็งแรง
ถึงแม้เมื่อพ้นวัยเจริญเติบโต ร่างกายก็ยังต้องการแคลเซียมเพื่อสร้างความแข็งแรง
ให้แก่กระดูกอย่างต่อเนื่อง
นมที่ขายในท้องตลาดมีหลายชนิด ทั้งนมจืด นมปรุงแต่งรส นมเปรี้ยว และนมข้นหวาน
เพื่อป้องกันปัญหาของโรคอ้วนควรเลือกดื่มนมชนิดไขมันต่า และนมที่ไม่ปรุงรสจะดีกว่า
สาหรับผู้ที่มีปัญหาในการดื่มนม
มีอาการปั่นป่วนในท้อง ไม่ควรดื่มนมหลังอาหารโดยเริ่มด้วยการดื่มนมช้าๆครั้งละ 3-4
ทิ้งช่วงเวลา 10-15 นาที ค่อยมาดื่มเพิ่มอีก
ร่างกายจะค่อยๆ ปรับตัวและสามารถดื่มนมได้ตามปกติภายใน 5-7 วัน
ถ้าอาการไม่ดีขึ้นอาจจะดื่มนมถั่วเหลืองแทนถึงแม้จะให้แคลเซียมและสารอาหารอื่นน้อย
กว่านมวัว
6. กินอาหารที่มีไขมันพอควร
ไขมัน เป็นสารอาหารที่ให้พลังงานสูงกว่าโปรตีนและคาร์โบไฮเดรตใน
ปริมาณที่เท่ากันไขมันได้มาจากทั้งพืชและสัตว์ ไขมันที่ได้จากพืชให้กรดไขมันไม่
อิ่มตัวสูงกว่าไขมันที่ได้จากสัตว์
น้ามันที่ได้จากพืช เช่น น้ามันถั่วเหลือง น้ามันดอกทานตะวัน น้ามันข้าวโพด
น้ามันรา น้ามันปาล์ม เป็นต้น
ไขมันทาหน้าที่ช่วยในการดูดซึมวิตามินที่ละลายในไขมัน คือ วิตามิน เอ ดี อี และเค
เข้าสู่ร่างกาย และควรเลือกใช้น้ามันที่ได้มาจากพืชในการประกอบอาหาร
การประกอบอาหารบางประเภททาให้อาหารนั้นมีไขมันสูงขึ้น เช่น
อาหารชุบแป้งทอด อาหารที่ใส่กะทิ หรืออาหารผัดหรือทอดที่ใช้น้ามันมาก
จึงควรปรับเปลี่ยนวิธีการประกอบอาหาร เช่น การปิ้ง อบ ตุ๋น ต้ม เพื่อลด
ปริมาณไขมัน เพราะการบริโภคอาหารที่มีไขมันมากๆ และมีโคเลสเตอรอล
สูงเป็นประจา เป็นปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคอ้วน โรคหัวใจ และภาวะไขมัน
ในหลอดเลือดได้
7. หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสหวานจัดและเค็มจัด
อาหารที่มีรสหวาน ทั้งขนมหวาน ลูกอม ลูกกวาด ผลไม้กวน ผลไม้แช่อิ่ม
ตลอดจนเครื่องดื่มนานาชนิด เช่น น้าหวาน น้าอัดลม ชา กาแฟ ต่างมีน้าตาล
เป็นส่วนประกอบอยู่มากน้อยแตกต่างกันไป
สาหรับเด็กทาให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับฟัน เบื่ออาหารและเกิดโรคขาดสารอาหาร
นอกจากนี้ ยังทาให้มีการสร้างไขมันประเภทไตรกลีเซอร์ไรด์ในร่างกาย
ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจขาดเลือดได้ จึงควรจากัดปริมาณน้าตาลที่
บริโภค ไม่ควรเกิน 4-5 ช้อนโต๊ะ/วัน
อาหารที่มีรสเค็ม ได้มาจากการแปรรูปอาหาร เช่น ปลาเค็ม เนื้อเค็ม เต้าเจี้ยว ผัก
ดอง ผลไม้ดอง รวมถึงการปรุงแต่งรสในขณะประกอบอาหารด้วย และเมื่อกล่าวถึง
รสเค็ม คนส่วนมากมักจะคิดถึงน้าปลาและเกลือเท่านั้น
แต่ในชีวิตประจาวันเครื่องปรุงรสที่มีความเค็มมีให้เลือกมากมาย
เช่น ซีอิ้วหวาน ซีอิ้วเค็ม ซอสปรุงรสชนิดต่างๆ ซอสพริก ซอสมะเขือเทศ และ
น้าจิ้มต่างๆ ในการบริโภคจึงควรระวังอาหารเหล่านี้ด้วย
ไม่ควรบริโภคมากเพราะจะนาไปสู่การเป็นโรคความดันโลหิตสูงได้
8. กินอาหารที่ปราศจากการปนเปื้อน
สภาพการดาเนินชีวิตที่รีบเร่งแข่งกับเวลาในสังคมไทย
ได้เปลี่ยนวิถีการดารงชีวิตจากการประกอบอาหาร เพื่อบริโภคในครัวเรือนเป็นการซื้อ
อาหารสาเร็จรูป อาหารกึ่งสาเร็จรูป อาหารเหล่านั้นอาจมีการปนเปื้อนจากหลายทาง
เช่น เชื้อโรค พยาธิ สารเคมีตกค้างจากยาฆ่าแมลง และปุ๋ย หรือมีการผลิต
การประกอบอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะเติมสารปรุงแต่งที่ไม่ได้มาตรฐาน เช่น บอแรกซ์
ในลูกชิ้น สารฟอกขาวในถั่วงอกและขิงซอย หรือสภาพแวดล้อมบริเวณที่จาหน่ายไม่
เหมาะสม เช่น วางจาหน่ายข้างถนนและไม่ปกปิดอาหารให้มิดชิด
หรืออาหารที่ไม่ผ่านความร้อน อาหารสุกๆ ดิบๆ ซึ่งอาจมีพยาธิหรือเชื้อโรคถูกทาลาย
ไม่หมด เป็นต้น
อาหารที่ปนเปื้อนและไม่สะอาดเหล่านี้เป็นสาเหตุของการป่วยให้แก่ผู้บริโภคได้
9. งด หรือ ลดเครื่องดื่มที่มีแอลกฮอล์
เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ที่รู้จักกันดี ได้แก่ สุรา เบียร์ ไวน์ บรั่นดี รวมถึงสาโท
และกระแช่ ซึ่งเป็นหนึ่งผลิตภัณฑ์หนึ่งตาบลที่รัฐบาลสนับสนุนในปัจจุบันนี้
การดื่มเครื่องดื่มเหล่านี้ในปริมาณน้อย ช่วยกระตุ้นความอยากรับประทานอาหาร
แต่ในปริมาณมากทาให้เกิดโทษแก่ร่างกาย เพราะเป็นปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรค
เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคกระเพาะและลาไส้ โรคพิษสุราเรื้อรัง โรคตับแข็ง
และยังก่อให้เกิดปัญหาทางสังคมได้เพราะแอลกอฮอล์มีฤทธิ์ต่อประสาทส่วนกลางไป
กดสมองส่วนที่ควบคุมสติ จึงทาให้ขาดสติ สูญเสียสมรรถภาพในการทางาน ทาให้
เกิดความประมาท
การจัดที่อยู่อาศัยเพื่อคุณภาพชีวิต
- ช่วยป้องกันภัยจากสิ่งแวดล้อม
- เป็นสถานที่ประกอบกิจกรรมในการดารงชีวิต
- สร้างความภาคภูมิใจ ความมั่นคงทางจิตใจให้แก่เจ้าของ
- เป็นแหล่งผลิตพลเมืองดีให้แก่สังคม
หลักในการจัดที่อยู่อาศัย 4 ประการ
1. 1จัดให้ตอบสนองความต้องการขั้นมูลฐาน
1.2. การจัดแสงสว่างให้เพียงพอ
เหมาะสม
1.3. การป้ องกันเหตุราคาญที่รบกวนสุขภาพ
1.4. การจัดพื้นที่ให้เหมาะสมกับจานวนผู้อาศัย
2. การจัดที่อยู่อาศัยให้ตอบสนองความต้องการทางจิตใจ
2.1 ความสะอาด
2.2 ความสะดวกสบาย ทาเลที่ตั้ง
2.3 ความเป็นส่วนตัว การแบ่งสัดส่วนที่เหมาะสม
2.4 ความสวยงามและเป็นระเบียบเรียบร้อย
3. การจัดที่อยู่อาศัยให้มีความปลอดภัย
3.1 การเลือกทาเลในการสร้าง
3.2 การเลือกวัสดุก่อสร้าง
3.3 มีการป้องกันภัยต่างๆ
3.4 การบารุงรักษาให้อยู่ในสภาพที่พร้อมใช้
3.5 ความเป็นระเบียบเรียบร้อยในการจัดเครื่องใช้ต่างๆ
4. การจัดที่อยู่อาศัยให้ป้ องกันโรคติดต่อ
4.1 การจัดหาน้าดื่ม น้าใช้ที่มีคุณภาพและปริมาณพอเพียง
4.2 การกาจัดอุจจาระ โดยมีส้วมที่ถูกสุขลักษณะ
4.3 การกาจัดขยะมูลฝอย ได้แก่ มีถังขยะ การเก็บที่ถูกต้อง
4.4 การกาจัดน้าเสีย ป้องกันการปนเปื้อน และเชื้อโรค
4.5 การสุขาภิบาลอาหาร
4.6 การป้องกันควบคุมแมลง และสัตว์นาโรค
4.7 การจัดพื้นที่ของห้องนอนให้เพียงพอและดูแลให้ถูกสุขลักษณะ
เครื่องนุ่งห่ม
ประเภทของเส้นใย
เส้นใยธรรมชาติ
ฝ้าย
ปอ
ไนล่อน พอลิเมอร์/
พลาสติก
หลักการเลือกซื้อเสื้อผ้า
1. ประโยชน์ใช้สอย
2. ความต้องการและโอกาส
3. ความทนทานของเนื้อผ้า
4. ความสะอาด สวยงาม
5. การสวมใส่ที่เหมาะสม
6. ความทันสมัย
7.รสนิยม และราคา
8. แหล่งวัตถุดิบ
ยา
สารเคมีที่ออกฤทธิ์ต่อสิ่งมีชีวิต ใช้
ป้ องกันรักษา บาบัดโรค ให้พ้นจาก
ความเจ็บป่วยต่างๆ
แหล่งกาเนิดของยา
1. ยาจากธรรมชาติ หรือสมุนไพร
2. ยาจากการสังเคราะห์
ประเภทของยา
ยาแผนโบราณ ยาแผนปัจจุบัน
การแบ่งประเภทของยาตามระดับพิษภัยจากการใช้ยา
1. ยาควบคุมพิเศษ
2. ยาอันตราย
3. ยาใช้เฉพาะที่
4. ยาใช้ภายนอก
5. ยาบรรจุเสร็จ
6. ยาสมุนไพร
7. ยาสามัญประจาบ้าน
หลักการใช้ยา
 หลัก 4 ถูก คือ ถูกคน ถูกวิธี ถูกขนาด ถูกเวลา ข้อนี้หมายถึงการใช้ยาตามคาสั่ง
ของแพทย์หรือเภสัชกร ก่อนใช้ยาต้องอ่านฉลากให้ถี่ถ้วนทุกครั้ง ยาบางชนิดต้อง
ใช้ต่อเนื่องเช่นการใช้ยาในโรคเรื้อรังต่างๆ ในขณะที่ยาบางชนิดใช้เฉพาะเมื่อมี
อาการ เช่น ยาแก้ไข้แก้ปวด ควรสอบถามแพทย์หรือเภสัชกรเมื่อได้รับยา
 จดจาชื่อยาที่แพ้ หากเมื่อใดใช้ยาแล้วมีอาการผิดปกติให้หยุดยาแล้วกลับไปพบ
แพทย์หรือเภสัชกรทันที
 ตรวจสอบยาหมดอายุ ยาทุกชนิดมีอายุก่อนใช้ยาให้ดูวันหมดอายุทุกครั้งยาที่มี
ลักษณะหรือสีเปลี่ยนไปไม่ควรรับประทาน
 การปฏิบัติตามคาแนะนาพิเศษ ยาแต่ละชนิดจะมีคาแนะนาพิเศษในการใช้ เช่น ยา
ลดอักเสบข้อ จะกัดกระเพาะต้องทานหลังอาหารทันทียาปฏิชีวนะบางชนิดต้อง
ทานตอนท้องว่าง เป็นต้น คาแนะนาเหล่านี้มีความสาคัญต่อผลการรักษาและ
อาการข้างเคียงที่เกิดขึ้น จึงมีความสาคัญมาก
การอ่านฉลากยา
ฉลากยา เป็นสิ่งสาคัญที่ช่วยให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์และทาให้เกิดความ
ปลอดภัยในการใช้ยาแก่ผู้บริโภค หลายๆ คนมักละเลยไม่ให้ความสาคัญกับการอ่าน
ฉลากยาให้ครบถ้วน ทาให้เกิดผลเสียตามมาหลายประการ ดังนั้นจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่
จะต้องอ่านฉลากยาก่อนที่จะใช้ยาทุกครั้ง
ฉลากยาประกอบด้วยส่วนต่างๆ ที่สาคัญดังต่อไปนี้
1. ชื่อยาบนฉลาก มีทั้งชื่อการค้า และชื่อสามัญทางยา ยาชนิดเดียวกันอาจมีชื่อการค้า
หลายชื่อหรือหลายยี่ห้อ ผู้ใช้ยาจึงควรอ่านสูตรส่วนประกอบหรือชื่อสามัญทางยาของ
ยานั้น เพื่อที่จะสามารถหลีกเลี่ยงตัวยาที่แพ้ หรือยาที่มีตัวยาสาคัญตัวเดียวกันแต่ต่าง
ชื่อการค้ากันทาให้เกิดปัญหาการใช้ยาซ้าซ้อน อันทาให้เกิดการใช้ยาเกินขนาดจนเป็น
อันตรายได้
การอ่านฉลากยา (ต่อ)
2. ขนาดยา ยาบางชนิดมีหลายขนาด จึงจาเป็นต้องอ่านฉลากยาให้แน่ใจเสียก่อน
เพื่อป้องกันการทานยาเกินขนาดหรือขนาดน้อยจนเกินไปจนเกิดผลข้างเคียงหรือไม่
เห็นผลในการรักษา
3. วันผลิตและวันหมดอายุ มีประโยชน์ในแง่การหลีกเลี่ยงอันตรายที่เกิดจากการทาน
ยาที่เสื่อมสภาพหรือหมดอายุแล้ว ซึ่งการใช้ยาที่หมดอายุนั้น นอกจากจะทาให้ไม่
ได้ผลในการรักษาแล้วยาที่เปลี่ยนสภาพไปอาจทาให้เกิดอันตรายต่อร่างกายด้วย เช่น
ยา tetracycline ที่หมดอายุแล้วจะมีพิษ
 4. ข้อห้ามใช้และคาเตือน ยาบางชนิดมีข้อห้ามและข้อควรระวังในการใช้ใน
ผู้ป่วยบางราย เช่น ผู้ป่วยโรคไต โรคตับ เด็ก หรือสตรีมีครรภ์
 5. เลขทะเบียนตารับยา ซึ่งช่วยบอกได้ว่ายานั้นได้ผ่านการตรวจสอบควบคุม
จากสานักงานคณะกรรมการอาหารและยาแล้วว่ามีผลการรักษาจริง
 6. ยาอันตราย หรือยาควบคุมพิเศษ หรือยาเสพติด หรือวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและ
ประสาท เป็นต้น ซึ่งจะช่วยบอกประเภทของยาและระดับอันตรายของยาที่ต้อง
ระมัดระวังในการใช้ หากเป็นยาสามัญประจาบ้าน สามารถซื้อทานได้โดย
ปลอดภัย แต่ยาแผนปัจจุบันอื่นๆ ที่ไม่ใช่ยาสามัญประจาบ้าน โดยมากแล้วควร
อยู่ในความดูแล
การอ่านฉลากยา (ต่อ)
 7. วิธีการรับประทาน เช่น เป็นยารับประทาน หรือยาใช้ภายนอก เพื่อให้
ใช้ยาได้อย่างถูกต้อง ได้ผลในการรักษาและเกิดความปลอดภัยในการใช้
ยา
 8. ชื่อและที่ตั้งของผู้ผลิต กรณีเกิดความบกพร่องของยานั้น สามารถที่จะ
ร้องเรียน โดยดูเลขที่ หรือครั้งที่ผลิตของยานั้นด้วย เพื่อการตรวจสอบจะ
ได้ทาได้ถูกต้องรวดเร็วยิ่งขึ้น
 9. กรณีที่เป็นฉลากยาบนซองยาที่จัดเฉพาะผู้ป่วยแต่ละราย ควรตรวจดู
ให้แน่ใจว่าเป็นซองยาของผู้ป่วยรายนั้นจริงๆ
“อย่าลืมอ่านฉลากยาทุกครั้งก่อน”
การสังเกตยาหมดอายุ
ปกติบนฉลากยาจะมีรายละเอียดต่าง ๆ แสดงไว้ เช่น ชื่อการค้าของยา ชื่อตัว
ยาสาคัญ และปริมาณยา ชื่อบริษัทผู้ผลิตยาครั้งที่ผลิต วันที่ผลิตยา (MFG
DATE) หมายเลขทะเบียนยายาบางชนิดที่ผู้ผลิตมีความรับผิดชอบ เขาก็จะใส่วัน
หมดอายุของยา (EXP.DATE) มาด้วย
 ข้อความที่บอกวันหมดอายุอาจเป็น EXP.DATE หรือ EXPIRY หรือ USE
BEFORE และมีตัวเลขอีก ๓ กลุ่ม ซึ่งหมายถึง วันที่ เดือน และปี ค.ศ.
เช่น EXP.DATE 12.5.95 หมายความว่า ยานี้จะหมดอายุในวันที่ ๑๒ เดือน
พฤษภาคม ค.ศ. ๑๙๙๕ หรือ พ.ศ. ๒๕๓๘ (เอา ๕๔๓ บวกปี ค.ศ. จะได้ปี พ.ศ.)
 ถ้าไม่มีวันบอกหมดอายุอาจดูได้จากปีที่ผลิต มักจะใช้คาย่อว่า MFG.DATE ซึ่ง
ย่อมาจาก Manufacturing date แปลว่า วันที่ผลิต เช่น ยาแก้ปวดซองหนึ่ง
พิมพ์ที่ฉลากยาว่า MFG.DATE 9.89 หมายถึงว่า ยานี้ผลิตเมื่อเดือน ๙ คือ
เดือนกันยายน ปี ค.ศ. ๑๙๘๙ หรือ ปี พ.ศ. ๒๕๓๒ โดยทั่วไป เราถือว่ายาที่
ผลิตมาเกิน ๕ ปี เป็นยาที่ไม่น่าไว้วางใจ แม้ว่ายานั้นอาจจะยังคงคุณภาพอยู่ก็
ตาม เพื่อความปลอดภัยจึงไม่ควรเสี่ยงใช้ยาที่เก่าเกิน ๕ ปี
 วิธีสังเกตยาที่เสื่อมคุณภาพด้วยวิธีดังนี้
๑. ยาเม็ด ที่เสื่อมสภาพจะแตกร่วน กะเทาะ สีซีด ถ้าเป็นเม็ดเคลือบ
จะเยิ้มเหนียว
๒. ยาแคปซูล ที่หมดอายุจะบวม โป่ง พอง หรือจับกันเป็นก้อน ยาใน
แคปซูลเปลี่ยนสี เช่น ยาเตตราซัยคลินที่เสียแล้วผงยาจะเปลี่ยน
จากสีเหลืองเป็นสีน้าตาล เป็นอันตรายต่อไตมาก
๓. ยาน้าแขวนตะกอน เช่น ยาลดกรด ยาแก้ท้องเสีย ถ้าตะกอนจับตัวเป็นก้อน
แข็งเขย่าแรง ๆ ก็ไม่กระจายตัว แสดงว่ายานั้นเสีย
๔. ยาน้าเชื่อม ถ้าหากขุ่น มีตะกอน เปลี่ยนสี มีกลิ่นบูดหรือเปรี้ยว แสดงว่ายานั้น
หมดสภาพแล้ว
๕. ยาน้าอีมัลชั่น เช่น น้ามันตับปลา หรือยาระบายพารัฟฟิน เมื่อเขย่าแล้วต้อง
รวมเข้าเป็นเนื้อเดียวกัน หากแยกชั้นแม้เขย่าแล้วก็ไม่รวมเป็นเนื้อเดียวกัน
แสดงว่ายาเสีย ห้ามใช้เด็ดขาด
ใบงาน หน่วยที่ 3
1. ให้นักศึกษาเขียน การวางแผนดาเนินชีวิตของตนเอง ในด้านต่างๆ
ดังนี้
- การศึกษา
- การทางาน
- การเลือกคู่ครอง
- การพัฒนาคุณภาพชีวิตในภาพรวม

Contenu connexe

Tendances

อาหารตามวัย
อาหารตามวัยอาหารตามวัย
อาหารตามวัย
PloyLii
 
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
techno UCH
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
Panjaree Bungong
 
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
wichien wongwan
 
ความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _น
Tanadol Intachan
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
Dashodragon KaoKaen
 
อาหารสุขภาพ 5
อาหารสุขภาพ 5อาหารสุขภาพ 5
อาหารสุขภาพ 5
Utai Sukviwatsirikul
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
Surapee Sookpong
 
แผ่นความรู้
แผ่นความรู้แผ่นความรู้
แผ่นความรู้
Warapatama Jongsub
 
สารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงานสารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงาน
Aobinta In
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
Raveewin Bannsuan
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
sivakorn35
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
Phet103
 

Tendances (20)

อาหารตามวัย
อาหารตามวัยอาหารตามวัย
อาหารตามวัย
 
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุงกินอย่างไรลดโรค ลดพุง
กินอย่างไรลดโรค ลดพุง
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
 
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11เรื่อง  การดูแลสุขภาพร่างกาย11
เรื่อง การดูแลสุขภาพร่างกาย11
 
ความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _น
 
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุแนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
แนวทางการบริโภคอาหารสำหรับผู้สูงอายุ
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
อาหารสุขภาพ 5
อาหารสุขภาพ 5อาหารสุขภาพ 5
อาหารสุขภาพ 5
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
Health1 1-2
Health1 1-2Health1 1-2
Health1 1-2
 
แผ่นความรู้
แผ่นความรู้แผ่นความรู้
แผ่นความรู้
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องโรคความอ้วน
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
 
สารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงานสารอาหารไม่ให้พลังงาน
สารอาหารไม่ให้พลังงาน
 
สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก
 สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก
สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
 
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภคบทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
 

Similaire à Lesson 3

การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
primpatcha
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
primpatcha
 
โครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหารโครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
Bank Kitsana
 
ความทุกข์
ความทุกข์ความทุกข์
ความทุกข์
kawpod
 
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
kookoon11
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
kasamaporn
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการ
Aobinta In
 

Similaire à Lesson 3 (20)

การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์
 
โครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหารโครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
 
ความทุกข์
ความทุกข์ความทุกข์
ความทุกข์
 
Clu11
Clu11Clu11
Clu11
 
Clu11
Clu11Clu11
Clu11
 
Mom knowledge
Mom knowledgeMom knowledge
Mom knowledge
 
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
ระบบของอวัยวะในร่างกาย (ชัยณรงค์)
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ผลไม้ต่อสุขภาพ
ผลไม้ต่อสุขภาพผลไม้ต่อสุขภาพ
ผลไม้ต่อสุขภาพ
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการ
 
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพหน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
 
Crumu
CrumuCrumu
Crumu
 

Plus de pattanan sabumoung

Plus de pattanan sabumoung (20)

Computer maintenance
Computer maintenanceComputer maintenance
Computer maintenance
 
Computer maintenance
Computer maintenanceComputer maintenance
Computer maintenance
 
Lesson 6
Lesson 6Lesson 6
Lesson 6
 
Lesson 5
Lesson 5Lesson 5
Lesson 5
 
Lesson 4
Lesson 4Lesson 4
Lesson 4
 
Lesson 2
Lesson 2Lesson 2
Lesson 2
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
Lesson1
Lesson1Lesson1
Lesson1
 
เนื้อหา3.5
เนื้อหา3.5เนื้อหา3.5
เนื้อหา3.5
 
เนื้อหา3.4
เนื้อหา3.4เนื้อหา3.4
เนื้อหา3.4
 
เนื้อหา3.3
เนื้อหา3.3เนื้อหา3.3
เนื้อหา3.3
 
เนื้อหา3.2
เนื้อหา3.2เนื้อหา3.2
เนื้อหา3.2
 
เนื้อหา3.1
เนื้อหา3.1เนื้อหา3.1
เนื้อหา3.1
 
เนื้อหา 2.4 compressed
เนื้อหา 2.4 compressedเนื้อหา 2.4 compressed
เนื้อหา 2.4 compressed
 
เนื้อหา 2.3 compressed
เนื้อหา 2.3 compressedเนื้อหา 2.3 compressed
เนื้อหา 2.3 compressed
 
เนื้อหา 2.2
เนื้อหา 2.2เนื้อหา 2.2
เนื้อหา 2.2
 
เนื้อหา 2.1
เนื้อหา 2.1เนื้อหา 2.1
เนื้อหา 2.1
 
เนื้อหา 1.3
เนื้อหา 1.3เนื้อหา 1.3
เนื้อหา 1.3
 
เนื้อหา 1.2
เนื้อหา 1.2เนื้อหา 1.2
เนื้อหา 1.2
 

Lesson 3