SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  67
Télécharger pour lire hors ligne
โครงสร้ างหน่ วยการเรียนรู้ ตามแนว Backward Design
                               หน่ วยการเรียนรู้ ที 8 เรือง ทศนิยม
                           ชันมัธยมศึกษาปี ที 1 เวลาเรียน 9 ชัวโมง
                                                            หลักฐานการเรียนรู้
   เป้ าหมายการเรียนรู้      ผลการเรียนรู้ ทคาดหวัง
                                            ี                                      วิธีสอน/กระบวนการเรียนรู้
                                                       (ชินงาน/ภาระงาน/ร่ องรอย)
ความเข้ าใจทีคงทน          1. เขียนเศษส่วนในรู ป       - ใบงาน                     -   การถามตอบแสดงเหตุผล
    สามารถสื อสาร นําเสนอ     ทศนิยมและเขียนทศนิยม - แบบฝึ กปฏิบติกิจกรรม
                                                                        ั          -   จับคู่เพือนคู่คิด
และเชือมโยงในการบวก ลบ        ในรู ปเศษส่วนได้         - แบบฝึ กทักษะพัฒนา         -   กระบวนการกลุ่ม
คูณ และหารทศนิยมได้        2. เปรี ยบเทียบทศนิยมได้       การเรี ยนรู ้            -   แข่งขันเกม
ถูกต้อง                    3. บวก ลบ คูณ และหาร        - แบบทดสอบประจําหน่วย       -   การเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ
    สามารถแก้ปัญหา            ทศนิยมได้                - โจทย์ปัญหาทีนักเรี ยน     -   กระบวนการแก้ปัญหา
ให้เหตุผล มีความคิด        4. อธิบายผลทีเกิดขึ;นจาก       สร้างขึ;นทีเกียวกับ
สร้างสรรค์ในการนําความรู ้    การบวก ลบ คูณ และ           ชีวตประจําวัน
                                                             ิ
เรื องการบวก ลบ คูณ และ       หารทศนิยม พร้อมทั;ง      - แบบสังเกตพฤติกรรม
หารทศนิยมไปใช้แก้ปัญหา        บอกความสัมพันธ์ของ         ทางการเรี ยนการสอน
ในชีวตจริ งได้
        ิ                     การดําเนินการได้         - แบบสังเกตพฤติกรรม
                           5. นําความรู ้เรื อง ทศนิยม   การปฏิบติกิจกรรมกลุ่ม
                                                                   ั
คุณลักษณะ                     ไปใช้แก้โจทย์ปัญหาได้
1. ทํางานอย่างเป็ นระบบ    6. ตระหนักถึงความ
2. มีระเบียบวินย  ั           สมเหตุสมผลของคําตอบ
3. มีความรอบคอบ               ทีได้
4. มีความรับผิดชอบ         7. มีความคิดริ เริ ม
5. มีวจารณญาณ
          ิ                   สร้างสรรค์ในการทํางาน
6. มีความเชือมันในตนเอง
7. ช่วยเหลือซึงกันและกัน
8. ตระหนักในคุณค่าและ
     มีเจตคติทีดีต่อวิชา
     คณิ ตศาสตร์
หลักฐานการเรียนรู้
    เป้ าหมายการเรียนรู้       ผลการเรียนรู้ ทคาดหวัง
                                              ี                                   วิธีสอน/กระบวนการเรียนรู้
                                                        (ชินงาน/ภาระงาน/ร่ องรอย)
ทักษะเฉพาะวิชา
1. การแก้ปัญหา
2. การให้เหตุผล
3. การสื อสาร การสื อ
   ความหมายทาง
   คณิ ตศาสตร์ และการ
   นําเสนอ
4. การเชือมโยงความรู ้ต่างๆ
   ทางคณิ ตศาสตร์และ
   เชือมโยงคณิ ตศาสตร์กบ  ั
   ศาสตร์อืน
5. ความคิดริ เริ มสร้างสรรค์
ทักษะร่ วมวิชา
1. ทักษะการฟัง พูด อ่าน
   เขียน
2. ทักษะกระบวนการกลุ่ม
3. ทักษะการทํางานเป็ นทีม
4. กระบวนการคิดวิเคราะห์
5. กระบวนการแก้ปัญหา
แผนผังมโนทัศน์ หน่ วยการเรียนรู้ ที 8
                           เรือง ทศนิยม
                 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
                       ชั7นมัธยมศึกษาปี ที 1



                       1. เศษส่ วนกับทศนิยม



 5. โจทย์ปัญหา                                     2. การเปรี ยบเทียบ
     ทศนิยม                                             ทศนิยม

                           ทศนิยม


 4. การคูณและ                                         3. การบวกและ
การหารทศนิยม                                          การลบทศนิยม
แผนการจัดการเรียนรู้
                     หน่ วยการเรียนรู้ ที 1 เรือง ทศนิยมและเศษส่ วน
                       ชั7นมัธยมศึกษาปี ที 1 เวลาเรียน 21 ชัวโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้
   ค 1.1.1   มีความคิดรวบยอดเกียวกับจํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ ศูนย์ และจํานวนตรรกยะ
   ค 1.2.1   บวก ลบ คูณ และหารจํานวนเต็ม เศษส่ วน ทศนิยม เลขยกกําลัง และนําไปใช้แก้ปัญหาได้
   ค 6.1.1   ใช้วธีการทีหลากหลายแก้ปัญหาได้
                  ิ
   ค 6.1.2   ใช้ ค วามรู ้ ทัก ษะ กระบวนการทางคณิ ต ศาสตร์ และเทคโนโลยี ใ นการแก้ปั ญ หาใน
             สถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม
   ค 6.2.1   สามารถแสดงเหตุผลโดยการอ้างอิงความรู ้ ข้อมูล หรื อข้อเท็จจริ ง หรื อสร้างแผนภาพ
   ค 6.3.1   ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ ในการสื อสาร สื อความหมาย และนําเสนอได้อย่าง
             ถูกต้อง ชัดเจน และรัดกุม
   ค 6.4.1   เชื อมโยงความรู ้ เนื; อหาต่ างๆ ในคณิ ตศาสตร์ และนํา ความรู ้ หลักการ กระบวนการทาง
             คณิ ตศาสตร์ ไปเชือมโยงกับศาสตร์ อืน
   ค 6.4.2   นําความรู ้ และทักษะทีได้จากการเรี ยนคณิ ตศาสตร์ ไปประยุกต์ในการเรี ยนรู ้สิงต่างๆ และ
             ในการดํารงชีวต   ิ
   ค 6.5.1   มีความคิดริ เริ มสร้างสรรค์ในการทํางาน

2. ความคิดรวบยอดหลัก (Core Concept)
                                                                     ่
      ทศนิยม การบวกและการลบทศนิ ยม ทําได้โดยนําเลขโดดทีอยูในหลักหรื อตําแหน่งเดียวกันมาบวก
หรื อลบกัน
      การหาผลบวกของทศนิ ย มที เป็ นลบ ให้นา ค่ า สั ม บู รณ์ ของแต่ ล ะจํา นวนมาบวกกัน แล้วตอบเป็ น
                                                ํ
จํานวนลบ
      การหาผลบวกของทศนิยมทีเป็ นบวกกับทศนิยมทีเป็ นลบ ให้นาค่าสัมบูรณ์ของแต่ละจํานวนมาลบกัน
                                                                   ํ
แล้วตอบเป็ นจํานวนบวกหรื อจํานวนลบตามจํานวนทีมีค่าสัมบูรณ์มากกว่า
      หลักการคูณทศนิยม
      1. ใช้หลักและวิธีการเหมือนการหาผลคูณจํานวนเต็ม
      2. จํานวนตําแหน่งทศนิยมของผลคูณเท่ากับผลรวมของจํานวนตําแหน่งทศนิยมของตัวตั;งและตัวคูณ
      หลักการหารทศนิยม
      1. ถ้าตัวหารเป็ นทศนิยม ทําตัวหารให้เป็ นจํานวนเต็มเสี ยก่อน
2. นําตัวหารทีเป็ นจํานวนเต็มไปหารตัวตั;ง ซึ งวิธีการหารเหมือนการหารจํานวนเต็ม
เศษส่ วน เศษส่ วน เป็ นการเขียนแทนจํานวนทีไม่ใช่จานวนเต็มบนเส้นจํานวนซึ งเป็ นการแบ่งจํานวนเต็ม
                                                         ํ
ออกเป็ นส่ วนๆ โดยแต่ละส่ วนทีแบ่งนั;นจะต้องเท่ากัน
        การเปรี ยบเทียบเศษส่ วนทีมีตวส่ วนเท่ากัน ถ้าตัวเศษของจํานวนหนึ งมากกว่าตัวเศษของอีกจํานวน
                                       ั
หนึงแล้ว เศษส่ วนทีมีตวเศษมากกว่าจะมีค่ามากกว่าเศษส่ วนทีมีตวเศษน้อยกว่า
                         ั                                       ั
        การเปรี ยบเทียบเศษส่ วนทีมีตวส่ วนไม่เท่ากัน ให้ทาเศษส่ วนทั;งสองเป็ นเศษส่ วนทีมีตวส่ วนเท่ากัน
                                         ั                   ํ                                ั
โดยใช้ความรู ้เรื อง ค.ร.น. แล้วเปรี ยบเทียบตัวเศษ
        การบวกและการลบเศษส่ วนในกรณี ทีเศษส่ วนมีตวส่ วนเท่ากัน ให้นาตัวเศษมาบวกหรื อลบกัน โดยที
                                                           ั               ํ
ตัวส่ วนยังคงเดิม
        ในกรณี ทีเศษส่ วนมีตวส่ วนไม่เท่ากัน จะต้องทําให้เป็ นเศษส่ วนทีมีตวส่ วนเท่ากันก่อน โดยใช้ความรู ้
                              ั                                              ั
เรื อง ค.ร.น. จากนั;นนําตัวเศษของเศษส่ วนบวกหรื อลบกัน
        การคูณเศษส่ วน
             a          c                                           a   c        a×c
      ถ้า         และ       เป็ นเศษส่ วนโดย b ≠ 0 และ d ≠ 0 แล้ว     ×      =
             b          d                                           b d          b×d
      การหารเศษส่ วน
            a       c
      ถ้า        และ  เป็ นเศษส่ วนใดๆ เมือ    a, b, c และ d เป็ นจํานวนเต็ม โดยที b, c, d ≠ 0
            b       d
                a  c      a d
      แล้ว        ÷ = ×
                b d       b c


3. ความเข้ าใจทีคงทน (Enduring Understanding)
       สามารถสื อสาร นําเสนอและเชือมโยงในการบวก ลบ คูณ และหารทศนิยม และเศษส่ วน ได้ถูกต้อง
       สามารถแก้ปัญหา ให้เหตุผล มีความคิดสร้างสรรค์ในการนําความรู ้เรื องการบวก ลบ คูณ และหาร
ทศนิยม และเศษส่ วน ไปใช้แก้ปัญหาในชีวตจริ งได้
                                     ิ

4. คุณลักษณะ (Disposition standards)
       1. ทํางานอย่างเป็ นระบบ
       2. มีระเบียบวินยั
       3. มีความรอบคอบ
       4. มีความรับผิดชอบ
       5. มีวจารณญาณ
             ิ
       6. มีความเชือมันในตนเอง
       7. ช่วยเหลือซึ งกันและกัน
8. ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติทีดีต่อวิชาคณิ ตศาสตร์

5. ทักษะเฉพาะวิชา (Subject-specific standards)
       1. การแก้ปัญหา
       2. การให้เหตุผล
       3. การสื อสาร การสื อความหมายทางคณิ ตศาสตร์ และการนําเสนอ
       4. การเชือมโยงความรู ้ต่างๆ ทางคณิ ตศาสตร์ และเชือมโยงคณิ ตศาสตร์ กบศาสตร์ อืนๆ
                                                                          ั
       5. ความคิดริ เริ มสร้างสรรค์

6. ทักษะร่ วมวิชา (Trans-disciplinary standards)
       1. ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน
       2. ทักษะกระบวนการกลุ่ม
       3. ทักษะการทํางานเป็ นทีม
       4. กระบวนการคิดวิเคราะห์
       5. กระบวนการแก้ปัญหา
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ เพือพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
                                หน่ วยการเรียนรู้ ที 1 เรือง ทศนิยม
                             ชันมัธยมศึกษาปี ที 1 เวลาเรียน 9 ชัวโมง
     แผนการ                                                            วิธีสอน/
                            จุดประสงค์                                               สือการเรียนรู้ / จํานวน
 จัดการเรียนรู้ ท/ี                                วิธีวดผล
                                                        ั            กระบวนการ
                             การเรียนรู้                                            แหล่ งการเรียนรู้ ชัวโมง
      เรือง                                                             เรียนรู้
1. เศษส่ วนกับ      ด้ านความรู้              1. การทําใบงาน       - การถามตอบ      สือการเรียนรู้      1
   ทศนิยม           1. เขียนทศนิยมแทน         2. การทําแบบฝึ ก     - การเรี ยน      1. ใบงาน
                        เศษส่วนได้               ปฏิบติกิจกรรม
                                                      ั               แบบร่ วมมือ   2. หนังสื อ
                    2. บอกค่าประจําหลักของ    3. สังเกตพฤติกรรม                        สัมฤทธิL
                        ทศนิยมตําแหน่งต่างๆ      ทางการเรี ยนการ                       มาตรฐาน
                        ได้                      สอน                                   คณิ ตศาสตร์
                    3. เขียนทศนิยมในรู ปการ   4. สังเกตพฤติกรรม                        ม.1 เล่ม 2
                        กระจายได้                การปฏิบติั                         3. แบบสังเกต
                    4. เขียนเศษส่วนแทน           กิจกรรมกลุ่ม                          พฤติกรรม
                        ทศนิยมได้                                                      ทางการเรี ยน
                                                                                       การสอน
                  ด้ านทักษะ/กระบวนการ                                              4. แบบสังเกต
                  1. การแก้ปัญหา                                                       พฤติกรรม
                  2. การให้เหตุผล                                                      การปฏิบติ ั
                  3. สื อสาร สื อความหมาย                                              กิจกรรม
                      และนําเสนอ                                                       กลุ่ม
                  4. เชือมโยงความรู ้ต่างๆ                                          แหล่ งการเรียนรู้
                      ทางคณิ ตศาสตร์                                                1. ศูนย์
                                                                                       คณิ ตศาสตร์
                  ด้ านคุณลักษณะ                                                    2. ห้องสมุด
                  1. มีระเบียบวินย
                                 ั                                                     โรงเรี ยน
                  2. มีความรับผิดชอบ                                                3. ข้อมูลจาก
                  3. มีความเชือมันในตนเอง                                              web Guide
                  4. มีการช่วยเหลือซึงกัน                                              http://www.
                      และกัน                                                           aksorn.com/
                                                                                       Lib/s/Mat_01
แผนการ                                                            วิธีสอน/
                            จุดประสงค์                                              สือการเรียนรู้ / จํานวน
 จัดการเรียนรู้ ท/ี                                วิธีวดผล
                                                        ั           กระบวนการ
                            การเรียนรู้                                            แหล่ งการเรียนรู้ ชัวโมง
      เรือง                                                            เรียนรู้
2. การ              ด้ านความรู้              1. การทําใบงาน       - การถามตอบ     สือการเรียนรู้      1
   เปรียบเทียบ เปรี ยบเทียบจํานวนสอง          2. การทําแบบฝึ ก     - การเรี ยน     1. ใบงาน
   ทศนิยม                           ่
                    จํานวนทีเขียนอยูในรู ป       ปฏิบติกิจกรรม
                                                      ั              แบบร่ วมมือ   2. แผ่นโปร่ งใส
                    ทศนิยมได้                 3. สังเกตพฤติกรรม                    3. หนังสื อ
                                                 ทางการเรี ยนการ                      สัมฤทธิL
                   ด้ านทักษะ/กระบวนการ          สอน                                  มาตรฐาน
                   1. การแก้ปัญหา                                                     คณิ ตศาสตร์
                   2. การให้เหตุผล                                                    ม.1 เล่ม 2
                   3. สื อสาร สื อความหมาย                                         4. แบบสังเกต
                       และนําเสนอ                                                     พฤติกรรม
                   4. เชือมโยงความรู ้ต่างๆ                                           ทางการเรี ยน
                       ทางคณิ ตศาสตร์                                                 การสอน
                                                                                   แหล่ งการเรียนรู้
                   ด้ านคุณลักษณะ                                                  1. ศูนย์
                   1. มีระเบียบวินย
                                  ั                                                   คณิ ตศาสตร์
                   2. มีความรับผิดชอบ                                              2. ห้องสมุด
                   3. มีความเชือมันในตนเอง                                            โรงเรี ยน
                   4. มีการช่วยเหลือซึงกัน                                         3. ข้อมูลจาก
                       และกัน                                                         web Guide
                                                                                      http://www.
                                                                                      aksorn.com/
                                                                                      Lib/s/Mat_01
แผนการ                                                             วิธีสอน/
                            จุดประสงค์                                                สือการเรียนรู้ / จํานวน
 จัดการเรียนรู้ ท/ี                                 วิธีวดผล
                                                         ั           กระบวนการ
                             การเรียนรู้                                             แหล่ งการเรียนรู้ ชัวโมง
      เรือง                                                              เรียนรู้
3. การบวกและ ด้ านความรู้                      1. การทําใบงาน       - การถามตอบ      สือการเรียนรู้      4
   การลบ            บวกและลบทศนิยมได้          2. การทําแบบฝึ ก     - กิจกรรมกลุ่ม   1. ใบงาน
   ทศนิยม                                         ปฏิบติกิจกรรม
                                                       ั            - แข่งขันเกม     2. แผ่นโปร่ งใส
                    ด้ านทักษะ/กระบวนการ       3. สังเกตพฤติกรรม    - การเรี ยน      3. หนังสื อ
                    1. การแก้ปัญหา                ทางการเรี ยนการ     แบบร่ วมมือ       สัมฤทธิL
                    2. การให้เหตุผล               สอน                                   มาตรฐาน
                    3. สื อสาร สื อความหมาย    4. สังเกตพฤติกรรม                        คณิ ตศาสตร์
                        และนําเสนอ                การปฏิบติั                            ม.1 เล่ม 2
                    4. เชือมโยงความรู ้ต่างๆ      กิจกรรมกลุ่ม                       4. แบบสังเกต
                        ทางคณิ ตศาสตร์                                                  พฤติกรรม
                    5. ความคิดสร้างสรรค์                                                ทางการเรี ยน
                                                                                        การสอน
                   ด้ านคุณลักษณะ                                                    5. แบบสังเกต
                   1. ทํางานอย่างเป็ นระบบ                                              พฤติกรรม
                   2. มีระเบียบวินย ั                                                   การปฏิบติ ั
                   3. มีความรอบคอบ                                                      กิจกรรม
                   4. มีความรับผิดชอบ                                                   กลุ่ม
                   5. มีวจารณญาณ
                          ิ                                                          แหล่ งการเรียนรู้
                   6. มีความเชือมันในตนเอง                                           1. ศูนย์
                   7. มีการช่วยเหลือซึงกัน                                              คณิ ตศาสตร์
                       และกัน                                                        2. ห้องสมุด
                   8. ตระหนักในคุณค่าและมี                                              โรงเรี ยน
                       เจตคติทีดีต่อวิชา                                             3. ข้อมูลจาก
                       คณิ ตศาสตร์                                                      web Guide
                                                                                        http://www.
                                                                                        aksorn.com/
                                                                                        Lib/s/Mat_01
แผนการ                                                             วิธีสอน/
                           จุดประสงค์                                                 สือการเรียนรู้ / จํานวน
 จัดการเรียนรู้ ท/ี                                วิธีวดผล
                                                        ั            กระบวนการ
                           การเรียนรู้                                               แหล่ งการเรียนรู้ ชัวโมง
      เรือง                                                              เรียนรู้
4. การคูณและ ด้ านความรู้                     1. การทําใบงาน        - การถามตอบ      สือการเรียนรู้      2
   การหาร           1. คูณทศนิยมได้           2. การทําแบบฝึ ก      - กิจกรรมกลุ่ม   1. ใบงาน
   ทศนิยม           2. หารทศนิยมได้              ปฏิบติกิจกรรม
                                                       ั            - แข่งขันเกม     2. หนังสื อ
                                              3. สังเกตพฤติกรรม                         สัมฤทธิL
                   ด้ านทักษะ/กระบวนการ          ทางการเรี ยนการ                        มาตรฐาน
                   1. การแก้ปัญหา                สอน                                    คณิ ตศาสตร์
                   2. การให้เหตุผล            4. สังเกตพฤติกรรม                         ม.1 เล่ม 2
                   3. สื อสาร สื อความหมาย       การปฏิบติกิจกรรม
                                                         ั                           3. แบบสังเกต
                       และนําเสนอ                กลุ่ม                                  พฤติกรรม
                   4. เชือมโยงความรู ้ต่างๆ                                             ทางการเรี ยน
                       ทางคณิ ตศาสตร์                                                   การสอน
                                                                                     4. แบบสังเกต
                   ด้ านคุณลักษณะ                                                       พฤติกรรม
                   1. ทํางานอย่างเป็ นระบบ                                              การปฏิบติ ั
                   2. มีระเบียบวินย ั                                                   กิจกรรม
                   3. มีความรอบคอบ                                                      กลุ่ม
                   4. มีความรับผิดชอบ                                                แหล่ งการเรียนรู้
                   5. มีวจารณญาณ
                          ิ                                                          1. ศูนย์
                   6. มีความเชือมันในตนเอง                                              คณิ ตศาสตร์
                   7. มีการช่วยเหลือซึงกัน                                           2. ห้องสมุด
                       และกัน                                                           โรงเรี ยน
                   8. ตระหนักในคุณค่าและมี                                           3. ข้อมูลจาก
                       เจตคติทีดีต่อวิชา                                                web Guide
                       คณิ ตศาสตร์                                                      http://www.
                                                                                        aksorn.com/
                                                                                        Lib/s/Mat_01
แผนการ                                                               วิธีสอน/
                          จุดประสงค์                                                    สือการเรียนรู้ / จํานวน
 จัดการเรียนรู้ ท/ี                                 วิธีวดผล
                                                         ั             กระบวนการ
                           การเรียนรู้                                                 แหล่ งการเรียนรู้ ชัวโมง
      เรือง                                                                เรียนรู้
5. โจทย์ ปัญหา ด้ านความรู้                   1. การทําใบงาน          - การถามตอบ      สือการเรียนรู้      1
   ทศนิยม           แก้โจทย์ปัญหาทศนิยมได้    2. การทําแบบฝึ ก        - กิจกรรมกลุ่ม   1. ใบงาน
                                                 ปฏิบติกิจกรรม
                                                      ั               - กระบวนการ      2. หนังสื อ
                  ด้ านทักษะ/กระบวนการ        3. การทําแบบฝึ ก          แก้ปัญหา          สัมฤทธิL
                  1. การแก้ปัญหา                 ทักษะการ             - แผนผัง            มาตรฐาน
                  2. การให้เหตุผล                พัฒนาการเรี ยนรู ้     ความคิด           คณิ ตศาสตร์
                  3. สื อสาร สื อความหมาย     4. สังเกตพฤติกรรม                           ม.1 เล่ม 2
                      และนําเสนอ                 ทางการเรี ยนการ                       3. แบบสังเกต
                  4. เชือมโยงความรู ้ต่างๆ       สอน                                      พฤติกรรม
                      ทางคณิ ตศาสตร์          5. สังเกตพฤติกรรม                           ทางการเรี ยน
                  5. ความคิดสร้างสรรค์           การปฏิบติั                               การสอน
                                                 กิจกรรมกลุ่ม                          4. แบบสังเกต
                  ด้ านคุณลักษณะ                                                          พฤติกรรม
                  1. ทํางานอย่างเป็ นระบบ                                                 การปฏิบติ ั
                  2. มีระเบียบวินย ั                                                      กิจกรรม
                  3. มีความรอบคอบ                                                         กลุ่ม
                  4. มีความรับผิดชอบ                                                   แหล่ งการเรียนรู้
                  5. มีวจารณญาณ
                         ิ                                                             1. ศูนย์
                  6. มีความเชือมันในตนเอง                                                 คณิ ตศาสตร์
                  7. มีการช่วยเหลือซึงกัน                                              2. ห้องสมุด
                      และกัน                                                              โรงเรี ยน
                  8. ตระหนักในคุณค่าและมี                                              3. ข้อมูลจาก
                      เจตคติทีดีต่อวิชา                                                   web Guide
                      คณิ ตศาสตร์                                                         http://www.
                                                                                          aksorn.com/
                                                                                          Lib/s/Mat_01




หมายเหตุ : เครื องมือและเกณฑ์การวัดและประเมินผลมีรายละเอียดในแผนการจัดการเรี ยนรู ้
หน่ วยการเรียนรู้ ที 1 ทศนิยม
                             แผนการจัดการเรียนรู้ ที 1
                             เรือง เศษส่ วนกับทศนิยม
                     ชั7นมัธยมศึกษาปี ที 1 เวลาเรียน 1 ชัวโมง
1. จุดประสงค์ การเรียนรู้
  1.1 ด้ านความรู้ : นักเรี ยนสามารถ
          1. เขียนทศนิยมแทนเศษส่ วนได้
          2. บอกค่าประจําหลักของทศนิ ยมตําแหน่งต่างๆ ได้
          3. เขียนทศนิยมในรู ปกระจายได้
          4. เขียนเศษส่ วนแทนทศนิยมได้
  1.2 ด้ านทักษะ/กระบวนการ : นักเรี ยนมีความสามารถ
          1. ในการแก้ปัญหา
          2. ในการให้เหตุผล
          3. ในการสื อสาร ในการสื อความหมาย และการนําเสนอ
          4. ในการเชือมโยงความรู ้ต่างๆ ทางคณิ ตศาสตร์ ได้
  1.3 ด้ านคุณลักษณะ : นักเรี ยน
          1. มีระเบียบวินย  ั
          2. มีความรับผิดชอบ
          3. มีความเชือมันในตนเอง
          4. ช่วยเหลือซึ งกันและกัน
2. สาระการเรียนรู้
     การเขียนทศนิยมแทนเศษส่ วน
     ตัวอย่างที 1-2 ในหนังสื อสัมฤทธิLมาตรฐาน คณิ ตศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 หน้า 47-48
     ตําแหน่งและค่าประจําหลักของทศนิยม
     ตัวอย่างที 3 ในหนังสื อสัมฤทธิLมาตรฐาน คณิ ตศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 หน้า 48-49
     การเขียนทศนิยมในรู ปกระจาย
     ตัวอย่างที 3 ในหนังสื อสัมฤทธิLมาตรฐาน คณิ ตศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 หน้า 49-50
     การเขียนเศษส่ วนแทนทศนิยม
     ตัวอย่างที 3 ในหนังสื อสัมฤทธิLมาตรฐาน คณิ ตศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 หน้า 50-51
3. กิจกรรมการเรียนรู้
      1. ครู ย กตัวอย่างเศษส่ วนที มี ส่วนเป็ น 10, 100, 1000,... แล้วใช้ก ารถามตอบให้นักเรี ย นช่ วยกัน
                              ่
อภิปรายสรุ ปการเขียนให้อยูในรู ปทศนิยม
      2. ครู เขียนตัวอย่างที 1-5 ทีละตัวอย่างให้นกเรี ยนช่ วยกันทํา การเขียนทศนิ ยมแทนเศษส่ วนด้วยวิธี
                                                    ั
หารยาว และจากตัวอย่างที 1-2 ครู แนะนําให้นักเรี ยนรู ้ จกทศนิ ยมซํ;า พร้ อมทั;งให้นักเรี ยนศึกษาการอ่าน
                                                           ั
ทศนิยมซํ;า
      3. ครู แบ่งนักเรี ยนเป็ นกลุ่มๆ ละ 5 คน ร่ วมกันวิเคราะห์กิจกรรมในใบงานที 8.1.1 และใบงานที 8.1.2
คนละ 1 ข้อ แล้วให้คนทีทําข้อเดียวกันมารวมกลุ่มกันทํา เมือทําเสร็ จแต่ละข้อให้นกเรี ยนกลับไปเข้ากลุ่มเดิม
                                                                               ั
ของตน ให้นกเรี ยนทุกคนในกลุ่มได้ซกถามข้อสงสัย แล้วช่วยกันอธิ บายให้ทุกคนในกลุ่มเข้าใจโจทย์ทุกข้อ
            ั                          ั
      4. ตัวแทนของแต่ละกลุ่มออกมานําเสนอผลงานทีถูกต้อง กลุ่มละ 1 ข้อ โดยครู เป็ นผูตรวจสอบ้
      5. นักเรี ยนช่วยกันสรุ ปขั;นตอนการดําเนินงาน
      6. นักเรี ยนทําแบบฝึ กปฏิบติกิจกรรมชุดที 1 เป็ นการบ้าน
                                    ั

4. สื อการเรียนรู้ / แหล่ งการเรียนรู้
       4.1 สื อการเรียนรู้
           1. หนังสื อสัมฤทธิL มาตรฐาน คณิ ตศาสตร์ ม.1 เล่ม 2
           2. ใบงาน
           3. แบบสังเกตพฤติกรรมทางการเรี ยนการสอน
           4. แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบติกิจกรรมกลุ่ม
                                            ั
       4.2 แหล่ งการเรียนรู้
           1. ศูนย์คณิ ตศาสตร์
           2. ห้องสมุดโรงเรี ยน
           3. ข้อมูลจาก Web Guide http://www.aksorn.com/Lib/s/mat_01
           4. ข้อมูลจากแหล่งเรี ยนรู ้อืนๆ
5. การวัดและประเมินผล
           วิธีวดผล
                ั                      เครืองมือวัดผล               เกณฑ์ การประเมินผล
1. การทําใบงาน                 ใบงาน                        นักเรี ยนทุกคนทําถูกต้องไม่ตากว่า
                                                                                        ํ
                                                            ร้อยละ 70 ของคะแนนทั;งหมด
2. การทําแบบฝึ กปฏิ บติกิจกรรม แบบฝึ กปฏิบติกิจกรรม ชุดที 1 นักเรี ยนทุกคนทําถูกต้องไม่ตากว่า
                     ั                     ั                                              ํ
   ชุดที 1                                                  ร้อยละ 70 ของคะแนนทั;งหมด
3. สังเกตพฤติกรรมทางการเรี ยน แบบสังเกตพฤติกรรมทาง          นักเรี ยนทุกคนผ่านเกณฑ์
   การสอน                      การเรี ยนการสอน              การประเมินในระดับดีข; ึนไป
4. สังเกตพฤติกรรมการปฏิบติ ั   แบบสั ง เกตพฤติ ก รรมการ นักเรี ยนทุกคนผ่านเกณฑ์
   กิจกรรมกลุ่ม                ปฏิบติกิจกรรมกลุ่ม
                                    ั                       การประเมินในระดับดีข; ึนไป

      เกณฑ์ การประเมินผลจากการทําใบกิจกรรม ใบงาน แบบฝึ กปฏิบัติกจกรรม ใช้ เกณฑ์ ดังนี7
                                                                ิ

                      80% ขึ;นไป     หมายถึง        ดีมาก
                      70-79%         หมายถึง        ดี
                      60-69%         หมายถึง        ปานกลาง
                      50-59%         หมายถึง        ผ่าน
                      ตํากว่า 50%    หมายถึง        ปรับปรุ ง
แบบสั งเกตพฤติกรรมทางการเรี ยนการสอน

                                    ทํางาน                                          การให้
                                                 ความ      ความตั;งใจ      ความ
            ชือ-สกุลของ            อย่างเป็ น                                        ความ      รวม
เลขที                                           รอบคอบ       เรี ยน     รับผิดชอบ
        ผูรับการประเมิน
          ้                         ระบบ                                            ร่ วมมือ
                                       4          4            4           4            4      20




                                   เกณฑ์ การให้ คะแนน
           พฤติกรรมทีปฏิบติเป็ นประจํา
                          ั                        ให้ 4   คะแนน
           พฤติกรรมทีปฏิบติบ่อยครั;ง
                            ั                      ให้ 3   คะแนน
           พฤติกรรมทีปฏิบติบางครั;ง
                              ั                    ให้ 2   คะแนน
           พฤติกรรมทีปฏิบตินอยครั;ง
                         ั ้                       ให้ 1   คะแนน

                                 เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ

                                ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ
                                    18-20     ดีมาก
                                    13-17       ดี
                                     8-12    ปานกลาง
                                      5-7    ปรับปรุ ง
แบบสั งเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกจกรรมกลุ่ม
                                                                                       ิ

กลุ่มที(ชือกลุ่ม)..............................................................
สมาชิกในกลุ่ม 1.....................................................................................                2......................................................................................
                     3.....................................................................................         4......................................................................................
                     5.....................................................................................         6.......................................................................................

คําชี7แจง ให้ทาเครื องหมาย
              ํ                                                    ในช่องทีตรงกับความเป็ นจริ ง

                                                                                                                                                   คะแนน
                                       พฤติกรรมทีสั งเกต
                                                                                                              4                           3                               2                               1
               1.    การมีส่วนร่ วมในการวางแผน
               2.    การปฏิบติงานตามบทบาทหน้าที
                             ั
               3.    การให้ความร่ วมมือในการทํางาน
               4.    การแสดงความคิดเห็น
               5.    การยอมรับความคิดเห็น
                                    รวม
                                                                                                              ลงชือ............................................................................ผูประเมิน
                                                                                                                                                                                                 ้
                                                                                                                                    .................../................../..................
                                                           เกณฑ์ การให้ คะแนน
                                   พฤติกรรมทีปฏิบติเป็ นประจํา
                                                  ั                        ให้ 4                                                    คะแนน
                                   พฤติกรรมทีปฏิบติบ่อยครั;ง
                                                    ั                      ให้ 3                                                    คะแนน
                                   พฤติกรรมทีปฏิบติบางครั;ง
                                                      ั                    ให้ 2                                                    คะแนน
                                   พฤติกรรมทีปฏิบตินอยครั;ง
                                                 ั ้                       ให้ 1                                                    คะแนน

                                                                                    เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ
                                                                                 ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ
                                                                                     18-20          ดีมาก
                                                                                     13-17            ดี
                                                                                      8-12        ปานกลาง
                                                                                       5-7         ปรับปรุ ง
ใบงาน
คําชี7แจง ให้นกเรี ยนตอบคําถามต่อไปนี;
              ั
                                                  ่
         1. ให้นกเรี ยนเขียนเศษส่ วนต่อไปนี;ให้อยูในรู ปทศนิยม
                ั
              1)    − 14
                      16

              2)    −3 3
                      16

              3)    27
                    50
                        7
              4)    2
                        20
                          13
              5)    −4
                         125


                                                ่
         2. ให้นกเรี ยนเขียนทศนิยมต่อไปนี;ให้อยูในรู ปเศษส่ วน
                ั

              1)    -0.38

              2)    0.45

              3)    305.679

              4)    -3.36

              5)    6.002
ใบงาน

คําชี7แจง ให้นกเรี ยนตอบคําถามต่อไปนี;
              ั
                                         ่
1. ให้นกเรี ยนเขียนเศษส่ วนต่อไปนี;ให้อยูในรู ปทศนิยม
       ั
              1)    − 14
                      16
                                 -0.875

              2)    −3 3
                      16
                                 -3.1875

              3)    27
                    50
                                 0.54
                        7
              4)    2            2.35
                        20
                          13
              5)    −4           -4.104
                         125


                                                ่
         2. ให้นกเรี ยนเขียนทศนิยมต่อไปนี;ให้อยูในรู ปเศษส่ วน
                ั
                                  − 19
              1)    -0.38           50
                                     9
              2)    0.45            20

                                  305 679
              3)    305.679          1000

                                 −3 9
              4)    -3.36          25

                                  6 1
              5)    6.002          500
ใบงาน
คําชี7แจง ให้นกเรี ยนตอบคําถามต่อไปนี;
              ั
                                         ่
         1. จงเขียนเศษส่ วนต่อไปนี;ให้อยูในรู ปทศนิยม
              1)     7 , 7 , −7 , −7
                    10 100 10 100



              2)    28 , 283 , − 33 , − 341
                    10 10       10     10



              3)     578 , 4,231 , − 313 , − 5,214
                    1,000 1,000 100         1,000



              4)    11 , 11 , − 11 , − 11
                    20 4       20     4



              5)    − 1 8 , − 5 18 , − 3 435
                       10      100      1,000



                                       ่
         2. จงเขียนทศนิยมต่อไปนี;ให้อยูในรู ปเศษส่ วน

              1)   0.07                                 2) -0.125

              3)   -1.2                                 4) 21.035

              5)   -6.096

                                       ่
         3. จงเขียนจํานวนต่อไปนี;ให้อยูในรู ปทศนิยม

              1)    1                                   2)   −4
                    8                                        5

              3)    −8                                  4)   − 29
                    11                                        18
ใบงาน

คําชี7แจง ให้นกเรี ยนตอบคําถามต่อไปนี;
              ั
                                         ่
         1. จงเขียนเศษส่ วนต่อไปนี;ให้อยูในรู ปทศนิยม
              1)     7 , 7 , −7 , −7
                    10 100 10 100

                     0.7, 0.07, -0.7, -0.07
              2)    28 , 283 , − 33 , − 341
                    10 10       10     10

                     2.8, 28.3, -3.3, -34.1
              3)     578 , 4,231 , − 313 , − 5,214
                    1,000 1,000 100         1,000

                     0.578, 4.231, -3.13, -5.214
              4)    11 , 11 , − 11 , − 11
                    20 4       20     4

                     0.55, 2.75, -0.55, -2.75
              5)    − 1 8 , − 5 18 , − 3 435
                       10      100      1,000

                     -1.8, -5.18, -3.435

                                       ่
         2. จงเขียนทศนิยมต่อไปนี;ให้อยูในรู ปเศษส่ วน
                                   7                                − 125 = − 1
              1)   0.07           100                   2) -0.125    1,000    8

                                  −11                               21 7
              3)   -1.2             5                   4) 21.035     200

                                  − 6 12
              5)   -6.096             125

                                       ่
         3. จงเขียนจํานวนต่อไปนี;ให้อยูในรู ปทศนิยม

              1)    1            0.125                  2)   −4     -0.8
                    8                                        5

              3)    −8         − 0.72
                                   &&                   4)   − 29   − 1.61
                                                                         &
                    11                                        18
หน่ วยการเรียนรู้ ที 1 ทศนิยมและเศษส่ วน
                             แผนการจัดการเรียนรู้ ที 1
                     เรือง ทศนิยมและ การเปรียบเทียบทศนิยม
                     ชั7นมัธยมศึกษาปี ที 1 เวลาเรียน 2 ชัวโมง
1. จุดประสงค์ การเรียนรู้
   1.1 ด้ านความรู้ : นักเรี ยนสามารถ
                                                ่
           เปรี ยบเทียบจํานวนสองจํานวนทีเขียนอยูในรู ปทศนิยมได้
   1.2 ด้ านทักษะ/กระบวนการ : นักเรี ยนมีความสามารถ
           1. ในการแก้ปัญหา
           2. ในการให้เหตุผล
           3. ในการสื อสาร สื อความหมาย และนําเสนอ
           4. ในการเชือมโยงความรู ้ต่างๆ ทางคณิ ตศาสตร์
   1.3 ด้ านคุณลักษณะ : นักเรี ยน
           1. มีระเบียบวินย  ั
           2. มีความรับผิดชอบ
           3. มีความเชือมันในตนเอง
           4. ช่วยเหลือซึ งกันและกัน
2. สาระการเรียนรู้
      การเปรี ยบเทียบทศนิยม
      ตัวอย่างที 1-2 ในหนังสื อสัมฤทธิLมาตรฐาน คณิ ตศาสตร์ ม.1 เล่ม 2

3. กิจกรรมการเรียนรู้
                                             ชั วโมงที 1-2

       1. ครู ทบทวนการเขี ย นเศษส่ วนเป็ นทศนิ ยม การเขี ยนทศนิ ย มเป็ นเศษส่ วนและการเปรี ย บเที ย บ
เศษส่ วนเพือเชือมโยง เรื องการเปรี ยบเทียบทศนิยม
       2. ครู เขียนเส้นจํานวนบนกระดานให้นกเรี ยนช่วยกันคิดพิจารณาและสังเกตการเปรี ยบเทียบจํานวน
                                                ั
เต็มบนเส้นจํานวน เพือเชือมโยงการเปรี ยบเทียบทศนิยมบนเส้นจํานวน
       3. ครู เขียนตัวอย่างที 1-2 ให้นกเรี ยนช่วยกันคิดพร้อมแสดงเหตุผล ทําไปพร้อมๆ กับครู
                                      ั
4. นัก เรี ยนช่ วยกันทํา ใบงาน ด้วยการช่ วยเหลื อกันภายในกลุ่ ม เสร็ จแล้วนักเรี ย นแลกเปลี ยนกัน
ตรวจสอบความถูกต้องจากใบเฉลยใบงาน ถ้านักเรี ยนคนใดทําใบงานไม่ได้ให้ทบทวนความรู ้จากใบความรู ้
ทีครู แจกให้
        5. นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปการเปรี ยบเทียบทศนิยม
        6. นักเรี ยนทําแบบฝึ กปฏิบติกิจกรรมชุดที 2 เป็ นการบ้าน
                                    ั

4. สื อการเรียนรู้ / แหล่ งการเรียนรู้
       4.1 สื อการเรียนรู้
           1. หนังสื อสัมฤทธิL มาตรฐาน คณิ ตศาสตร์ ม.1 เล่ม 2
           2. ใบงาน
           3. ใบความรู ้
           4. แบบสังเกตพฤติกรรมทางการเรี ยนการสอน
       4.2 แหล่ งการเรียนรู้
           1. ศูนย์คณิ ตศาสตร์
           2. ห้องสมุดโรงเรี ยน
           3. ข้อมูลจาก Web Guide http://www.aksorn.com/Lib/s/mat_01
           4. ข้อมูลจากแหล่งเรี ยนรู ้อืนๆ
5. การวัดและประเมินผล
           วิธีวดผล
                ั                      เครืองมือวัดผล               เกณฑ์ การประเมินผล
1. การทําใบงาน                 ใบงาน                        นักเรี ยนทุกคนทําถูกต้องไม่ตากว่า
                                                                                        ํ
                                                            ร้อยละ 70 ของคะแนนทั;งหมด
2. การทําแบบฝึ กปฏิ บติกิจกรรม แบบฝึ กปฏิบติกิจกรรม ชุดที 2 นักเรี ยนทุกคนทําถูกต้องไม่ตากว่า
                     ั                     ั                                              ํ
   ชุดที 2                                                  ร้อยละ 70 ของคะแนนทั;งหมด
3. สังเกตพฤติกรรมทางการเรี ยน แบบสังเกตพฤติกรรมทาง          นักเรี ยนทุกคนผ่านเกณฑ์
   การสอน                      การเรี ยนการสอน              การประเมินในระดับดีข; ึนไป

      เกณฑ์ การประเมินผลจากการทําใบกิจกรรม ใบงาน แบบฝึ กปฏิบัติกจกรรม ใช้ เกณฑ์ ดังนี7
                                                                ิ

                      80% ขึ;นไป     หมายถึง        ดีมาก
                      70-79%         หมายถึง        ดี
                      60-69%         หมายถึง        ปานกลาง
                      50-59%         หมายถึง        ผ่าน
                      ตํากว่า 50%    หมายถึง        ปรับปรุ ง
แบบสั งเกตพฤติกรรมทางการเรี ยนการสอน

                                    ทํางาน                                          การให้
                                                 ความ      ความตั;งใจ      ความ
            ชือ-สกุลของ            อย่างเป็ น                                        ความ      รวม
เลขที                                           รอบคอบ       เรี ยน     รับผิดชอบ
        ผูรับการประเมิน
          ้                         ระบบ                                            ร่ วมมือ
                                       4          4            4           4            4      20




                                   เกณฑ์ การให้ คะแนน
           พฤติกรรมทีปฏิบติเป็ นประจํา
                          ั                        ให้ 4   คะแนน
           พฤติกรรมทีปฏิบติบ่อยครั;ง
                            ั                      ให้ 3   คะแนน
           พฤติกรรมทีปฏิบติบางครั;ง
                              ั                    ให้ 2   คะแนน
           พฤติกรรมทีปฏิบตินอยครั;ง
                         ั ้                       ให้ 1   คะแนน

                                 เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ

                                ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ
                                    18-20     ดีมาก
                                    13-17       ดี
                                     8-12    ปานกลาง
                                      5-7    ปรับปรุ ง
แบบสั งเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกจกรรมกลุ่ม
                                                                                       ิ

กลุ่มที(ชือกลุ่ม)..............................................................
สมาชิกในกลุ่ม 1.....................................................................................                2......................................................................................
                     3.....................................................................................         4......................................................................................
                     5.....................................................................................         6.......................................................................................

คําชี7แจง ให้ทาเครื องหมาย
              ํ                                                    ในช่องทีตรงกับความเป็ นจริ ง

                                                                                                                                                   คะแนน
                                       พฤติกรรมทีสั งเกต
                                                                                                              4                           3                               2                               1
               1.    การมีส่วนร่ วมในการวางแผน
               2.    การปฏิบติงานตามบทบาทหน้าที
                             ั
               3.    การให้ความร่ วมมือในการทํางาน
               4.    การแสดงความคิดเห็น
               5.    การยอมรับความคิดเห็น
                                    รวม
                                                                                                              ลงชือ............................................................................ผูประเมิน
                                                                                                                                                                                                 ้
                                                                                                                                    .................../................../..................
                                                           เกณฑ์ การให้ คะแนน
                                   พฤติกรรมทีปฏิบติเป็ นประจํา
                                                  ั                        ให้ 4                                                    คะแนน
                                   พฤติกรรมทีปฏิบติบ่อยครั;ง
                                                    ั                      ให้ 3                                                    คะแนน
                                   พฤติกรรมทีปฏิบติบางครั;ง
                                                      ั                    ให้ 2                                                    คะแนน
                                   พฤติกรรมทีปฏิบตินอยครั;ง
                                                 ั ้                       ให้ 1                                                    คะแนน

                                                                                    เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ
                                                                                 ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ
                                                                                     18-20          ดีมาก
                                                                                     13-17            ดี
                                                                                      8-12        ปานกลาง
                                                                                       5-7         ปรับปรุ ง
ใบงาน
                           เรือง ทศนิยมและ การเปรียบเทียบทศนิยม
คําชี7แจง จงเติมเครื องหมาย > หรื อ < ลงใน   เพือทําให้ค่าทีได้สอดคล้องกับความเป็ นจริ ง

         1. 1)    0.65              0.47            2)    0.074            0.069
            3)    0.023             0.019           4)    0.06             0.058
            5)    7.8               7.6             6)    -16.23           -16.45
            7)    -29.38            -29.47          8)    -7.045           -7.036
            9)    -5.072            -5.063          10)   -24.923          -24.913

         2. จงเรี ยงลําดับจํานวนต่อไปนี;จากน้อยไปหามาก
            1) 0.6, 0.4, 0.7                       2) 0.69, 0.47, 0.83

              3) 0.83, 0.81, 0.86                   4) 0.04, 0.045, 0.05

              5) -0.07, -0.069, -0.073              6) -0.0303, -0.003, -0.033

              7) -7.2, -7.4, -7.3                   8) -16.86, -16.84, -16.79



         3. จงเรี ยงลําดับสารต่อไปนี;จากจุดหลอมเหลวน้อยไปหามาก
            ไฮโดรเจน            จุดหลอมเหลว       -259.14 Cº
            เอทานอล             จุดหลอมเหลว       -114.1 Cº
            อีเทอร์             จุดหลอมเหลว       -116.2 Cº
            นํ;า                จุดหลอมเหลว       0 Cº
ใบงาน
                           เรือง ทศนิยมและ การเปรียบเทียบทศนิยม
คําชี7แจง จงเติมเครื องหมาย > หรื อ < ลงใน   เพือทําให้ค่าทีได้สอดคล้องกับความเป็ นจริ ง

         1. 1)    0.65       >     0.47             2)    0.074      >     0.069
            3)    0.023      >     0.019            4)    0.06       >     0.058
            5)    7.8        >     7.6              6)    -16.23     >     -16.45
            7)    -29.38     >     -29.47           8)    -7.045     <     -7.036
            9)    -5.072     <     -5.063           10)   -24.923    <     -24.913

         2. จงเรี ยงลําดับจํานวนต่อไปนี;จากน้อยไปหามาก
            1) 0.6, 0.4, 0.7                       2) 0.69, 0.47, 0.83
                   0.4, 0.6, 0.7                       0.47, 0.69, 0.83
            3) 0.83, 0.81, 0.86                    4) 0.04, 0.045, 0.05
                   0.81, 0.83, 0.86                    0.04, 0.045, 0.05
            5) -0.07, -0.069, -0.073               6) -0.0303, -0.003, -0.033
                   -0.073, -0.07, -0.069               -0.033, -0.0303, -0.003
            7) -7.2, -7.4, -7.3                    8) -16.86, -16.84, -16.79
                   -7.4, -7.3, -7.2                    -16.86, -16.84, -16.79

         3. จงเรี ยงลําดับสารต่อไปนี;จากจุดหลอมเหลวน้อยไปหามาก
            ไฮโดรเจน            จุดหลอมเหลว       -259.14 Cº
            เอทานอล             จุดหลอมเหลว       -114.1 Cº
            อีเทอร์             จุดหลอมเหลว       -116.2 Cº
            นํ;า                จุดหลอมเหลว       0 Cº
               ไฮโดรเจน, อี เทอร์ , เอทานอล, นํา
ใบความรู้
                           เรือง ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม
คําชี7แจง ให้นกเรี ยนศึกษาเนื;อหาต่อไปนี;
              ั
          จงพิจารณาเส้นจํานวน
                     | | |        | | | | |              | | |        | |
                    -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1                2 3 4 5 6
                                      ่                        ่
          บนเส้นจํานวน ถ้าจํานวน a อยูทางซ้ายของจํานวน b จะได้วา a < b
          เช่น 1 < 2, -1 < 0, -4 < -2 เป็ นต้น
          สําหรับจํานวนในรู ปทศนิยม ใช้หลักการเดียวกัน เช่น
                     | | |        | | | | |              | | |
                    0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1
          จากเส้นจํานวน จะพบว่า 0.1 < 0.3 และ 0.5 < 0.9 เป็ นต้น
ตัวอย่ าง จงใช้เส้นจํานวนเพือพิจารณาว่า ทศนิยมต่อไปนี;จานวนใดน้อยกว่ากัน
                                                       ํ
          1) -0.3 กับ -0.1
วิธีคิด
                      | | | | | | | |
                   -0.6 -0.5 -0.4 -0.3 -0.2 -0.1 0 0.1
          จากเส้นจํานวน     จะพบว่า                 ่
                                            -0.3 อยูทางซ้ายของ -0.1
                            ดังนั;น         -0.3 < -0.1
          2)     -0.832 กับ -0.836
วิธีคิด
                     |       |         |        |        |     |        |   |   |
                  -0.838 -0.837 -0.836 -0.835 -0.834 -0.833 -0.832 -0.831 -0.830
          จากเส้นจํานวน                             ่
                             จะพบว่า -0.836 อยูทางซ้ายของ -0.832
                             ดังนั;น      -0.836 < -0.832
          การเปรี ยบเทียบทศนิ ยม นอกจากจะใช้เส้นจํานวนช่วยในการพิจารณาแล้ว ยังสามารถใช้วิธีการ
อืนได้อีก ดังนี;
                 จาก -0.3 < -0.1 และ -0.836 < -0.832
                 ถ้าพิจารณาจากค่าสัมบูรณ์ของแต่ละจํานวน จะได้วา   ่
                 ค่าสัมบูรณ์ของ -0.3 มีค่าเท่ากับ 0.3 และค่าสัมบูรณ์ของ -0.1 มีค่าเท่ากับ 0.1
                             แต่ 0.3 > 0.1
ค่าสัมบูรณ์ของ -0.836 มีค่าเท่ากับ 0.836 และค่าสัมบูรณ์ของ -0.832 มีค่าเท่ากับ 0.832
                                  แต่ 0.836 > 0.832
                     ดังนั;น การเปรี ยบเที ยบจํานวนทศนิ ยมที เป็ นลบสองจํานวนใดๆ จํานวนที มี ค่าสัมบูรณ์
มากกว่าจะเป็ นจํานวนทีน้อยกว่า
                     นันคือ ถ้า a และ b เป็ นจํานวนบวกใดๆ และ a < b แล้ว -a > -b
ตัวอย่ าง จงเปรี ยบเทียบจํานวนต่อไปนี;
           1) 0.12853 กับ 0.1292
วิธีทา ขั7นที 1 เขียนจํานวนทั;งสองไว้บรรทัดละ 1 จํานวน โดยให้จุดของแต่ละจํานวนตรงกัน ดังนี;
         ํ
                                  0.12853
                                  0.1292
           ขั7นที 2 พิจารณาเลขโดดแต่ละคู่จากซ้ายไปขวาโดยหาเลขโดดคู่แรกทีไม่เท่ากัน
                                  0.12853
                                  0.1292
           ขั7นที 3 เปรี ยบเทียบตัวเลขทั;งสอง 8 < 9
                       ดังนั;น 0.12853 < 0.1292
           2) -0.234 กับ -0.243
วิธีทา ค่าสัมบูรณ์ของ -0.234 มีค่าเท่ากับ 0.234
       ํ
           ค่าสัมบูรณ์ของ -0.243 มีค่าเท่ากับ 0.243
           ซึ งพบว่า              0.234        < 0.243
           ดังนั;น                -0.234       > -0.243
ตัวอย่ าง จงเรี ยงจํานวนต่อไปนี;จากน้อยไปหามาก
           -1.106, -1.116, -1.108
วิธีทา เนืองจาก
     ํ                            1.106 < 1.108 < 1.116
           จะได้วา ่              -1.106 > -1.108 > -1.116
           ดังนั;น เรี ยงลําดับจํานวนทีกําหนดให้จากน้อยไปหามากได้ดงนี; ั
                                  -1.116, -1.108, -1.106
หน่ วยการเรียนรู้ ที 1 ทศนิยมและเศษส่ วน
                              แผนการจัดการเรียนรู้ ที 2
                          เรือง การบวกและการลบทศนิยม
                     ชั7นมัธยมศึกษาปี ที 1 เวลาเรียน 4 ชัวโมง
1. จุดประสงค์ การเรียนรู้
      1.1 ด้ านความรู้ : นักเรี ยนสามารถ
              บวกและลบทศนิยมได้
      1.2 ด้ านทักษะ/กระบวนการ : นักเรี ยนมีความสามารถ
              1. ในการแก้ปัญหา
              2. ในการให้เหตุผล
              3. ในการสื อสาร สื อความหมาย และนําเสนอ
              4. ในการเชือมโยงความรู ้ต่างๆ ทางคณิ ตศาสตร์
      1.3 ด้ านคุณลักษณะ : นักเรี ยน
              1. ทํางานอย่างเป็ นระบบ
              2. มีระเบียบวินย  ั
              3. มีความรอบคอบ
              4. มีความรับผิดชอบ
              5. มีวจารณญาณ
                    ิ
              6. มีความเชือมันในตนเอง
              7. ช่วยเหลือซึ งกันและกัน
              8. ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติทีดีต่อวิชาคณิ ตศาสตร์
2. สาระการเรียนรู้
                                                      ่
        การบวกและการลบทศนิยมทําได้โดยการนําเลขโดดทีอยูในหลักหรื อตําแหน่งเดียวกันมาบวกหรื อลบ
กัน
        ตัวอย่างที 1-8 ในหนังสื อสัมฤทธิLมาตรฐาน คณิ ตศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 หน้า 57-59
3. กิจกรรมการเรียนรู้
                                                ชั วโมงที 1

        1. ครู สนทนากับนักเรี ยนเกี ยวกับเงิ นค่าขนมทีนักเรี ยนได้รับมาแต่ละวันว่าใช้จ่ายอะไรไปบ้าง ครู
ยกตัวอย่างจากข้อมูลของนักเรี ยนสองคนมาประกอบการอธิ บาย ซักถาม เช่น เอกได้รับเงินค่าขนม 40 บาท
นารี รัตน์ได้เงินค่าขนมมา 50 บาท แล้วให้เอกบอกว่าใช้จ่ายอะไรบ้าง และนารี รัตน์ใช้จ่ายอะไรบ้าง
           (1) ครู ให้นกเรี ยนช่วยกันตอบคําถามจากข้อมูลทีได้
                          ั
                  เอกจ่ายค่ารถเมลย์ไป 8.50 บาท ค่าอาหารกลางวัน 28 บาท
                  นารี รัตน์จ่ายค่ารถสองแถวไป 5 บาท ซื; อขนมไป 20.50 บาท
                  เอกและนารี รัตน์จ่ายเงินไปคนละเท่าไร และเหลือเงินคนละเท่าไร
           (2) ครู ซกถามนักเรี ยนว่าหาคําตอบได้โดยวิธีใด เพราะเหตุใด
                       ั
        2. ครู เขียนตัวอย่างที 1, 5, 6 บนกระดานแล้วใช้การถามตอบให้นกเรี ยนทําพร้อมๆ กับครู
                                                                          ั
        3. นักเรี ยนทําแบบฝึ กปฏิบติกิจกรรมชุ ดที 3 ข้อ 1 ข้อย่อย 1, 2, 6 และ 7 ด้วยการช่วยเหลือกันภายใน
                                      ั
กลุ่ม กลุ่มใดเสร็ จก่อนให้ส่งตัวแทนออกเฉลยคําตอบ ครู ตรวจสอบความถูกต้องและประกาศชมเชย ส่ วน
กลุ่มใดหรื อนักเรี ยนคนใดทําไม่เสร็ จไปทําต่อเป็ นการบ้าน
        4. นักเรี ยนช่วยกันสรุ ปหลักการบวกทศนิยม
                                                ชั วโมงที 2

         1. ครู แจกใบงาน ให้นกเรี ยนทุกกลุ่ม โดยให้ผเู ้ รี ยนช่วยกันทํางาน ซึ งแต่ละคนมีบทบาทแตกต่างกัน
                             ั
ดังนี;
                                                        ํ
            คนที 1 อ่านคําถามและแยกแยะคําสังทีโจทย์กาหนดให้
            คนที 2 วิเคราะห์หาแนวทางตอบคําถาม อธิ บายให้ได้มาซึงคําตอบ
            คนที 3 รวบรวมข้อมูลและปฏิบติตามคนที 2 และเขียนคําตอบ
                                          ั
            คนที 4 สรุ ปขั;นตอนการทําทั;งหมด
       2. ให้แข่ ง ขันตอบปั ญหาโดยจัดกลุ่ มใหม่ใ ห้ค นที มี ระดับ ความสามารถเท่ า กัน จากแต่ ละกลุ่ ม มา
รวมตัวอยูในกลุ่มเดียวกัน
          ่
       3. ครู แจกซองคําถามให้ทุกกลุ่ม (ทุกกลุ่มได้คาถามเหมือนกัน) โดยครู เป็ นผูสร้างโจทย์คาถามเอง
                                                   ํ                            ้          ํ
       4. สมาชิ กคนแรกหยิบซองคําถาม 1 ซอง เปิ ดอ่านคําถามแล้ววางลงกลางโต๊ะ สมาชิ ก 3 คนทีเหลื อ
แข่งกันตอบคําถาม โดยเขียนคําตอบลงในกระดาษคําตอบให้ตรงหมายเลขข้อและคนทีอ่านคําถามทําหน้าที
ให้คะแนน โดยมีกติกาดังนี;
            ผูทีตอบถูกคนแรกได้
              ้                          2 คะแนน
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test
Test

Contenu connexe

Tendances

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
Aon Narinchoti
 
แผนการวัดผล(ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังม.4)
แผนการวัดผล(ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังม.4)แผนการวัดผล(ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังม.4)
แผนการวัดผล(ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังม.4)
ทับทิม เจริญตา
 
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ทับทิม เจริญตา
 
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
srkschool
 
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 101 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
Siwaphon Tonpui
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155
wongsrida
 
Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552
wongsrida
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
phachanee boonyuen
 
Plan series
Plan  seriesPlan  series
Plan series
seelopa
 

Tendances (19)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงการออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
 
แผนการวัดผล(ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังม.4)
แผนการวัดผล(ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังม.4)แผนการวัดผล(ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังม.4)
แผนการวัดผล(ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังม.4)
 
Ex
ExEx
Ex
 
Set2555
Set2555Set2555
Set2555
 
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
แผน5 คณฺตศาสตร์เพิ่มเติมม3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 101 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
 
Pro1
Pro1Pro1
Pro1
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน8
 
Reasoning155
Reasoning155Reasoning155
Reasoning155
 
Reasoning1552
Reasoning1552Reasoning1552
Reasoning1552
 
คำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึก
คำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึกคำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึก
คำอธิบายรายวิชาม.2ปรับอ.สมนึก
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
9789740329497
97897403294979789740329497
9789740329497
 
Plan series
Plan  seriesPlan  series
Plan series
 
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงแผน10 นวัตกรรม  บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
แผน10 นวัตกรรม บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 

Similaire à Test

บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
noi1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
Aon Narinchoti
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
Duangnapa Jangmoraka
 
ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะ
ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะ
ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะ
krupornpana55
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
krusongkran
 

Similaire à Test (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยวแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดี่ยว
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษาแผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะ
ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะ
ส่วนหน้าแบบฝึกเสริมทักษะ
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).docคณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
คณิตศาสตร์_ป.5_หน่วยที่ 6_การบวก_การลบ_การคูณ_การหารเศษส่วน (1).doc
 
Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
 
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
 
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบชุดที่ 1 ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 ตัวประกอบ
 

Test

  • 1. โครงสร้ างหน่ วยการเรียนรู้ ตามแนว Backward Design หน่ วยการเรียนรู้ ที 8 เรือง ทศนิยม ชันมัธยมศึกษาปี ที 1 เวลาเรียน 9 ชัวโมง หลักฐานการเรียนรู้ เป้ าหมายการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ทคาดหวัง ี วิธีสอน/กระบวนการเรียนรู้ (ชินงาน/ภาระงาน/ร่ องรอย) ความเข้ าใจทีคงทน 1. เขียนเศษส่วนในรู ป - ใบงาน - การถามตอบแสดงเหตุผล สามารถสื อสาร นําเสนอ ทศนิยมและเขียนทศนิยม - แบบฝึ กปฏิบติกิจกรรม ั - จับคู่เพือนคู่คิด และเชือมโยงในการบวก ลบ ในรู ปเศษส่วนได้ - แบบฝึ กทักษะพัฒนา - กระบวนการกลุ่ม คูณ และหารทศนิยมได้ 2. เปรี ยบเทียบทศนิยมได้ การเรี ยนรู ้ - แข่งขันเกม ถูกต้อง 3. บวก ลบ คูณ และหาร - แบบทดสอบประจําหน่วย - การเรี ยนรู ้แบบร่ วมมือ สามารถแก้ปัญหา ทศนิยมได้ - โจทย์ปัญหาทีนักเรี ยน - กระบวนการแก้ปัญหา ให้เหตุผล มีความคิด 4. อธิบายผลทีเกิดขึ;นจาก สร้างขึ;นทีเกียวกับ สร้างสรรค์ในการนําความรู ้ การบวก ลบ คูณ และ ชีวตประจําวัน ิ เรื องการบวก ลบ คูณ และ หารทศนิยม พร้อมทั;ง - แบบสังเกตพฤติกรรม หารทศนิยมไปใช้แก้ปัญหา บอกความสัมพันธ์ของ ทางการเรี ยนการสอน ในชีวตจริ งได้ ิ การดําเนินการได้ - แบบสังเกตพฤติกรรม 5. นําความรู ้เรื อง ทศนิยม การปฏิบติกิจกรรมกลุ่ม ั คุณลักษณะ ไปใช้แก้โจทย์ปัญหาได้ 1. ทํางานอย่างเป็ นระบบ 6. ตระหนักถึงความ 2. มีระเบียบวินย ั สมเหตุสมผลของคําตอบ 3. มีความรอบคอบ ทีได้ 4. มีความรับผิดชอบ 7. มีความคิดริ เริ ม 5. มีวจารณญาณ ิ สร้างสรรค์ในการทํางาน 6. มีความเชือมันในตนเอง 7. ช่วยเหลือซึงกันและกัน 8. ตระหนักในคุณค่าและ มีเจตคติทีดีต่อวิชา คณิ ตศาสตร์
  • 2. หลักฐานการเรียนรู้ เป้ าหมายการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ทคาดหวัง ี วิธีสอน/กระบวนการเรียนรู้ (ชินงาน/ภาระงาน/ร่ องรอย) ทักษะเฉพาะวิชา 1. การแก้ปัญหา 2. การให้เหตุผล 3. การสื อสาร การสื อ ความหมายทาง คณิ ตศาสตร์ และการ นําเสนอ 4. การเชือมโยงความรู ้ต่างๆ ทางคณิ ตศาสตร์และ เชือมโยงคณิ ตศาสตร์กบ ั ศาสตร์อืน 5. ความคิดริ เริ มสร้างสรรค์ ทักษะร่ วมวิชา 1. ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน 2. ทักษะกระบวนการกลุ่ม 3. ทักษะการทํางานเป็ นทีม 4. กระบวนการคิดวิเคราะห์ 5. กระบวนการแก้ปัญหา
  • 3. แผนผังมโนทัศน์ หน่ วยการเรียนรู้ ที 8 เรือง ทศนิยม กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชั7นมัธยมศึกษาปี ที 1 1. เศษส่ วนกับทศนิยม 5. โจทย์ปัญหา 2. การเปรี ยบเทียบ ทศนิยม ทศนิยม ทศนิยม 4. การคูณและ 3. การบวกและ การหารทศนิยม การลบทศนิยม
  • 4. แผนการจัดการเรียนรู้ หน่ วยการเรียนรู้ ที 1 เรือง ทศนิยมและเศษส่ วน ชั7นมัธยมศึกษาปี ที 1 เวลาเรียน 21 ชัวโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ค 1.1.1 มีความคิดรวบยอดเกียวกับจํานวนเต็มบวก จํานวนเต็มลบ ศูนย์ และจํานวนตรรกยะ ค 1.2.1 บวก ลบ คูณ และหารจํานวนเต็ม เศษส่ วน ทศนิยม เลขยกกําลัง และนําไปใช้แก้ปัญหาได้ ค 6.1.1 ใช้วธีการทีหลากหลายแก้ปัญหาได้ ิ ค 6.1.2 ใช้ ค วามรู ้ ทัก ษะ กระบวนการทางคณิ ต ศาสตร์ และเทคโนโลยี ใ นการแก้ปั ญ หาใน สถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม ค 6.2.1 สามารถแสดงเหตุผลโดยการอ้างอิงความรู ้ ข้อมูล หรื อข้อเท็จจริ ง หรื อสร้างแผนภาพ ค 6.3.1 ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ ในการสื อสาร สื อความหมาย และนําเสนอได้อย่าง ถูกต้อง ชัดเจน และรัดกุม ค 6.4.1 เชื อมโยงความรู ้ เนื; อหาต่ างๆ ในคณิ ตศาสตร์ และนํา ความรู ้ หลักการ กระบวนการทาง คณิ ตศาสตร์ ไปเชือมโยงกับศาสตร์ อืน ค 6.4.2 นําความรู ้ และทักษะทีได้จากการเรี ยนคณิ ตศาสตร์ ไปประยุกต์ในการเรี ยนรู ้สิงต่างๆ และ ในการดํารงชีวต ิ ค 6.5.1 มีความคิดริ เริ มสร้างสรรค์ในการทํางาน 2. ความคิดรวบยอดหลัก (Core Concept) ่ ทศนิยม การบวกและการลบทศนิ ยม ทําได้โดยนําเลขโดดทีอยูในหลักหรื อตําแหน่งเดียวกันมาบวก หรื อลบกัน การหาผลบวกของทศนิ ย มที เป็ นลบ ให้นา ค่ า สั ม บู รณ์ ของแต่ ล ะจํา นวนมาบวกกัน แล้วตอบเป็ น ํ จํานวนลบ การหาผลบวกของทศนิยมทีเป็ นบวกกับทศนิยมทีเป็ นลบ ให้นาค่าสัมบูรณ์ของแต่ละจํานวนมาลบกัน ํ แล้วตอบเป็ นจํานวนบวกหรื อจํานวนลบตามจํานวนทีมีค่าสัมบูรณ์มากกว่า หลักการคูณทศนิยม 1. ใช้หลักและวิธีการเหมือนการหาผลคูณจํานวนเต็ม 2. จํานวนตําแหน่งทศนิยมของผลคูณเท่ากับผลรวมของจํานวนตําแหน่งทศนิยมของตัวตั;งและตัวคูณ หลักการหารทศนิยม 1. ถ้าตัวหารเป็ นทศนิยม ทําตัวหารให้เป็ นจํานวนเต็มเสี ยก่อน
  • 5. 2. นําตัวหารทีเป็ นจํานวนเต็มไปหารตัวตั;ง ซึ งวิธีการหารเหมือนการหารจํานวนเต็ม เศษส่ วน เศษส่ วน เป็ นการเขียนแทนจํานวนทีไม่ใช่จานวนเต็มบนเส้นจํานวนซึ งเป็ นการแบ่งจํานวนเต็ม ํ ออกเป็ นส่ วนๆ โดยแต่ละส่ วนทีแบ่งนั;นจะต้องเท่ากัน การเปรี ยบเทียบเศษส่ วนทีมีตวส่ วนเท่ากัน ถ้าตัวเศษของจํานวนหนึ งมากกว่าตัวเศษของอีกจํานวน ั หนึงแล้ว เศษส่ วนทีมีตวเศษมากกว่าจะมีค่ามากกว่าเศษส่ วนทีมีตวเศษน้อยกว่า ั ั การเปรี ยบเทียบเศษส่ วนทีมีตวส่ วนไม่เท่ากัน ให้ทาเศษส่ วนทั;งสองเป็ นเศษส่ วนทีมีตวส่ วนเท่ากัน ั ํ ั โดยใช้ความรู ้เรื อง ค.ร.น. แล้วเปรี ยบเทียบตัวเศษ การบวกและการลบเศษส่ วนในกรณี ทีเศษส่ วนมีตวส่ วนเท่ากัน ให้นาตัวเศษมาบวกหรื อลบกัน โดยที ั ํ ตัวส่ วนยังคงเดิม ในกรณี ทีเศษส่ วนมีตวส่ วนไม่เท่ากัน จะต้องทําให้เป็ นเศษส่ วนทีมีตวส่ วนเท่ากันก่อน โดยใช้ความรู ้ ั ั เรื อง ค.ร.น. จากนั;นนําตัวเศษของเศษส่ วนบวกหรื อลบกัน การคูณเศษส่ วน a c a c a×c ถ้า และ เป็ นเศษส่ วนโดย b ≠ 0 และ d ≠ 0 แล้ว × = b d b d b×d การหารเศษส่ วน a c ถ้า และ เป็ นเศษส่ วนใดๆ เมือ a, b, c และ d เป็ นจํานวนเต็ม โดยที b, c, d ≠ 0 b d a c a d แล้ว ÷ = × b d b c 3. ความเข้ าใจทีคงทน (Enduring Understanding) สามารถสื อสาร นําเสนอและเชือมโยงในการบวก ลบ คูณ และหารทศนิยม และเศษส่ วน ได้ถูกต้อง สามารถแก้ปัญหา ให้เหตุผล มีความคิดสร้างสรรค์ในการนําความรู ้เรื องการบวก ลบ คูณ และหาร ทศนิยม และเศษส่ วน ไปใช้แก้ปัญหาในชีวตจริ งได้ ิ 4. คุณลักษณะ (Disposition standards) 1. ทํางานอย่างเป็ นระบบ 2. มีระเบียบวินยั 3. มีความรอบคอบ 4. มีความรับผิดชอบ 5. มีวจารณญาณ ิ 6. มีความเชือมันในตนเอง 7. ช่วยเหลือซึ งกันและกัน
  • 6. 8. ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติทีดีต่อวิชาคณิ ตศาสตร์ 5. ทักษะเฉพาะวิชา (Subject-specific standards) 1. การแก้ปัญหา 2. การให้เหตุผล 3. การสื อสาร การสื อความหมายทางคณิ ตศาสตร์ และการนําเสนอ 4. การเชือมโยงความรู ้ต่างๆ ทางคณิ ตศาสตร์ และเชือมโยงคณิ ตศาสตร์ กบศาสตร์ อืนๆ ั 5. ความคิดริ เริ มสร้างสรรค์ 6. ทักษะร่ วมวิชา (Trans-disciplinary standards) 1. ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน 2. ทักษะกระบวนการกลุ่ม 3. ทักษะการทํางานเป็ นทีม 4. กระบวนการคิดวิเคราะห์ 5. กระบวนการแก้ปัญหา
  • 7. การวางแผนการจัดการเรียนรู้ เพือพัฒนาคุณภาพผู้เรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที 1 เรือง ทศนิยม ชันมัธยมศึกษาปี ที 1 เวลาเรียน 9 ชัวโมง แผนการ วิธีสอน/ จุดประสงค์ สือการเรียนรู้ / จํานวน จัดการเรียนรู้ ท/ี วิธีวดผล ั กระบวนการ การเรียนรู้ แหล่ งการเรียนรู้ ชัวโมง เรือง เรียนรู้ 1. เศษส่ วนกับ ด้ านความรู้ 1. การทําใบงาน - การถามตอบ สือการเรียนรู้ 1 ทศนิยม 1. เขียนทศนิยมแทน 2. การทําแบบฝึ ก - การเรี ยน 1. ใบงาน เศษส่วนได้ ปฏิบติกิจกรรม ั แบบร่ วมมือ 2. หนังสื อ 2. บอกค่าประจําหลักของ 3. สังเกตพฤติกรรม สัมฤทธิL ทศนิยมตําแหน่งต่างๆ ทางการเรี ยนการ มาตรฐาน ได้ สอน คณิ ตศาสตร์ 3. เขียนทศนิยมในรู ปการ 4. สังเกตพฤติกรรม ม.1 เล่ม 2 กระจายได้ การปฏิบติั 3. แบบสังเกต 4. เขียนเศษส่วนแทน กิจกรรมกลุ่ม พฤติกรรม ทศนิยมได้ ทางการเรี ยน การสอน ด้ านทักษะ/กระบวนการ 4. แบบสังเกต 1. การแก้ปัญหา พฤติกรรม 2. การให้เหตุผล การปฏิบติ ั 3. สื อสาร สื อความหมาย กิจกรรม และนําเสนอ กลุ่ม 4. เชือมโยงความรู ้ต่างๆ แหล่ งการเรียนรู้ ทางคณิ ตศาสตร์ 1. ศูนย์ คณิ ตศาสตร์ ด้ านคุณลักษณะ 2. ห้องสมุด 1. มีระเบียบวินย ั โรงเรี ยน 2. มีความรับผิดชอบ 3. ข้อมูลจาก 3. มีความเชือมันในตนเอง web Guide 4. มีการช่วยเหลือซึงกัน http://www. และกัน aksorn.com/ Lib/s/Mat_01
  • 8. แผนการ วิธีสอน/ จุดประสงค์ สือการเรียนรู้ / จํานวน จัดการเรียนรู้ ท/ี วิธีวดผล ั กระบวนการ การเรียนรู้ แหล่ งการเรียนรู้ ชัวโมง เรือง เรียนรู้ 2. การ ด้ านความรู้ 1. การทําใบงาน - การถามตอบ สือการเรียนรู้ 1 เปรียบเทียบ เปรี ยบเทียบจํานวนสอง 2. การทําแบบฝึ ก - การเรี ยน 1. ใบงาน ทศนิยม ่ จํานวนทีเขียนอยูในรู ป ปฏิบติกิจกรรม ั แบบร่ วมมือ 2. แผ่นโปร่ งใส ทศนิยมได้ 3. สังเกตพฤติกรรม 3. หนังสื อ ทางการเรี ยนการ สัมฤทธิL ด้ านทักษะ/กระบวนการ สอน มาตรฐาน 1. การแก้ปัญหา คณิ ตศาสตร์ 2. การให้เหตุผล ม.1 เล่ม 2 3. สื อสาร สื อความหมาย 4. แบบสังเกต และนําเสนอ พฤติกรรม 4. เชือมโยงความรู ้ต่างๆ ทางการเรี ยน ทางคณิ ตศาสตร์ การสอน แหล่ งการเรียนรู้ ด้ านคุณลักษณะ 1. ศูนย์ 1. มีระเบียบวินย ั คณิ ตศาสตร์ 2. มีความรับผิดชอบ 2. ห้องสมุด 3. มีความเชือมันในตนเอง โรงเรี ยน 4. มีการช่วยเหลือซึงกัน 3. ข้อมูลจาก และกัน web Guide http://www. aksorn.com/ Lib/s/Mat_01
  • 9. แผนการ วิธีสอน/ จุดประสงค์ สือการเรียนรู้ / จํานวน จัดการเรียนรู้ ท/ี วิธีวดผล ั กระบวนการ การเรียนรู้ แหล่ งการเรียนรู้ ชัวโมง เรือง เรียนรู้ 3. การบวกและ ด้ านความรู้ 1. การทําใบงาน - การถามตอบ สือการเรียนรู้ 4 การลบ บวกและลบทศนิยมได้ 2. การทําแบบฝึ ก - กิจกรรมกลุ่ม 1. ใบงาน ทศนิยม ปฏิบติกิจกรรม ั - แข่งขันเกม 2. แผ่นโปร่ งใส ด้ านทักษะ/กระบวนการ 3. สังเกตพฤติกรรม - การเรี ยน 3. หนังสื อ 1. การแก้ปัญหา ทางการเรี ยนการ แบบร่ วมมือ สัมฤทธิL 2. การให้เหตุผล สอน มาตรฐาน 3. สื อสาร สื อความหมาย 4. สังเกตพฤติกรรม คณิ ตศาสตร์ และนําเสนอ การปฏิบติั ม.1 เล่ม 2 4. เชือมโยงความรู ้ต่างๆ กิจกรรมกลุ่ม 4. แบบสังเกต ทางคณิ ตศาสตร์ พฤติกรรม 5. ความคิดสร้างสรรค์ ทางการเรี ยน การสอน ด้ านคุณลักษณะ 5. แบบสังเกต 1. ทํางานอย่างเป็ นระบบ พฤติกรรม 2. มีระเบียบวินย ั การปฏิบติ ั 3. มีความรอบคอบ กิจกรรม 4. มีความรับผิดชอบ กลุ่ม 5. มีวจารณญาณ ิ แหล่ งการเรียนรู้ 6. มีความเชือมันในตนเอง 1. ศูนย์ 7. มีการช่วยเหลือซึงกัน คณิ ตศาสตร์ และกัน 2. ห้องสมุด 8. ตระหนักในคุณค่าและมี โรงเรี ยน เจตคติทีดีต่อวิชา 3. ข้อมูลจาก คณิ ตศาสตร์ web Guide http://www. aksorn.com/ Lib/s/Mat_01
  • 10. แผนการ วิธีสอน/ จุดประสงค์ สือการเรียนรู้ / จํานวน จัดการเรียนรู้ ท/ี วิธีวดผล ั กระบวนการ การเรียนรู้ แหล่ งการเรียนรู้ ชัวโมง เรือง เรียนรู้ 4. การคูณและ ด้ านความรู้ 1. การทําใบงาน - การถามตอบ สือการเรียนรู้ 2 การหาร 1. คูณทศนิยมได้ 2. การทําแบบฝึ ก - กิจกรรมกลุ่ม 1. ใบงาน ทศนิยม 2. หารทศนิยมได้ ปฏิบติกิจกรรม ั - แข่งขันเกม 2. หนังสื อ 3. สังเกตพฤติกรรม สัมฤทธิL ด้ านทักษะ/กระบวนการ ทางการเรี ยนการ มาตรฐาน 1. การแก้ปัญหา สอน คณิ ตศาสตร์ 2. การให้เหตุผล 4. สังเกตพฤติกรรม ม.1 เล่ม 2 3. สื อสาร สื อความหมาย การปฏิบติกิจกรรม ั 3. แบบสังเกต และนําเสนอ กลุ่ม พฤติกรรม 4. เชือมโยงความรู ้ต่างๆ ทางการเรี ยน ทางคณิ ตศาสตร์ การสอน 4. แบบสังเกต ด้ านคุณลักษณะ พฤติกรรม 1. ทํางานอย่างเป็ นระบบ การปฏิบติ ั 2. มีระเบียบวินย ั กิจกรรม 3. มีความรอบคอบ กลุ่ม 4. มีความรับผิดชอบ แหล่ งการเรียนรู้ 5. มีวจารณญาณ ิ 1. ศูนย์ 6. มีความเชือมันในตนเอง คณิ ตศาสตร์ 7. มีการช่วยเหลือซึงกัน 2. ห้องสมุด และกัน โรงเรี ยน 8. ตระหนักในคุณค่าและมี 3. ข้อมูลจาก เจตคติทีดีต่อวิชา web Guide คณิ ตศาสตร์ http://www. aksorn.com/ Lib/s/Mat_01
  • 11. แผนการ วิธีสอน/ จุดประสงค์ สือการเรียนรู้ / จํานวน จัดการเรียนรู้ ท/ี วิธีวดผล ั กระบวนการ การเรียนรู้ แหล่ งการเรียนรู้ ชัวโมง เรือง เรียนรู้ 5. โจทย์ ปัญหา ด้ านความรู้ 1. การทําใบงาน - การถามตอบ สือการเรียนรู้ 1 ทศนิยม แก้โจทย์ปัญหาทศนิยมได้ 2. การทําแบบฝึ ก - กิจกรรมกลุ่ม 1. ใบงาน ปฏิบติกิจกรรม ั - กระบวนการ 2. หนังสื อ ด้ านทักษะ/กระบวนการ 3. การทําแบบฝึ ก แก้ปัญหา สัมฤทธิL 1. การแก้ปัญหา ทักษะการ - แผนผัง มาตรฐาน 2. การให้เหตุผล พัฒนาการเรี ยนรู ้ ความคิด คณิ ตศาสตร์ 3. สื อสาร สื อความหมาย 4. สังเกตพฤติกรรม ม.1 เล่ม 2 และนําเสนอ ทางการเรี ยนการ 3. แบบสังเกต 4. เชือมโยงความรู ้ต่างๆ สอน พฤติกรรม ทางคณิ ตศาสตร์ 5. สังเกตพฤติกรรม ทางการเรี ยน 5. ความคิดสร้างสรรค์ การปฏิบติั การสอน กิจกรรมกลุ่ม 4. แบบสังเกต ด้ านคุณลักษณะ พฤติกรรม 1. ทํางานอย่างเป็ นระบบ การปฏิบติ ั 2. มีระเบียบวินย ั กิจกรรม 3. มีความรอบคอบ กลุ่ม 4. มีความรับผิดชอบ แหล่ งการเรียนรู้ 5. มีวจารณญาณ ิ 1. ศูนย์ 6. มีความเชือมันในตนเอง คณิ ตศาสตร์ 7. มีการช่วยเหลือซึงกัน 2. ห้องสมุด และกัน โรงเรี ยน 8. ตระหนักในคุณค่าและมี 3. ข้อมูลจาก เจตคติทีดีต่อวิชา web Guide คณิ ตศาสตร์ http://www. aksorn.com/ Lib/s/Mat_01 หมายเหตุ : เครื องมือและเกณฑ์การวัดและประเมินผลมีรายละเอียดในแผนการจัดการเรี ยนรู ้
  • 12. หน่ วยการเรียนรู้ ที 1 ทศนิยม แผนการจัดการเรียนรู้ ที 1 เรือง เศษส่ วนกับทศนิยม ชั7นมัธยมศึกษาปี ที 1 เวลาเรียน 1 ชัวโมง 1. จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1.1 ด้ านความรู้ : นักเรี ยนสามารถ 1. เขียนทศนิยมแทนเศษส่ วนได้ 2. บอกค่าประจําหลักของทศนิ ยมตําแหน่งต่างๆ ได้ 3. เขียนทศนิยมในรู ปกระจายได้ 4. เขียนเศษส่ วนแทนทศนิยมได้ 1.2 ด้ านทักษะ/กระบวนการ : นักเรี ยนมีความสามารถ 1. ในการแก้ปัญหา 2. ในการให้เหตุผล 3. ในการสื อสาร ในการสื อความหมาย และการนําเสนอ 4. ในการเชือมโยงความรู ้ต่างๆ ทางคณิ ตศาสตร์ ได้ 1.3 ด้ านคุณลักษณะ : นักเรี ยน 1. มีระเบียบวินย ั 2. มีความรับผิดชอบ 3. มีความเชือมันในตนเอง 4. ช่วยเหลือซึ งกันและกัน 2. สาระการเรียนรู้ การเขียนทศนิยมแทนเศษส่ วน ตัวอย่างที 1-2 ในหนังสื อสัมฤทธิLมาตรฐาน คณิ ตศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 หน้า 47-48 ตําแหน่งและค่าประจําหลักของทศนิยม ตัวอย่างที 3 ในหนังสื อสัมฤทธิLมาตรฐาน คณิ ตศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 หน้า 48-49 การเขียนทศนิยมในรู ปกระจาย ตัวอย่างที 3 ในหนังสื อสัมฤทธิLมาตรฐาน คณิ ตศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 หน้า 49-50 การเขียนเศษส่ วนแทนทศนิยม ตัวอย่างที 3 ในหนังสื อสัมฤทธิLมาตรฐาน คณิ ตศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 หน้า 50-51
  • 13. 3. กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ครู ย กตัวอย่างเศษส่ วนที มี ส่วนเป็ น 10, 100, 1000,... แล้วใช้ก ารถามตอบให้นักเรี ย นช่ วยกัน ่ อภิปรายสรุ ปการเขียนให้อยูในรู ปทศนิยม 2. ครู เขียนตัวอย่างที 1-5 ทีละตัวอย่างให้นกเรี ยนช่ วยกันทํา การเขียนทศนิ ยมแทนเศษส่ วนด้วยวิธี ั หารยาว และจากตัวอย่างที 1-2 ครู แนะนําให้นักเรี ยนรู ้ จกทศนิ ยมซํ;า พร้ อมทั;งให้นักเรี ยนศึกษาการอ่าน ั ทศนิยมซํ;า 3. ครู แบ่งนักเรี ยนเป็ นกลุ่มๆ ละ 5 คน ร่ วมกันวิเคราะห์กิจกรรมในใบงานที 8.1.1 และใบงานที 8.1.2 คนละ 1 ข้อ แล้วให้คนทีทําข้อเดียวกันมารวมกลุ่มกันทํา เมือทําเสร็ จแต่ละข้อให้นกเรี ยนกลับไปเข้ากลุ่มเดิม ั ของตน ให้นกเรี ยนทุกคนในกลุ่มได้ซกถามข้อสงสัย แล้วช่วยกันอธิ บายให้ทุกคนในกลุ่มเข้าใจโจทย์ทุกข้อ ั ั 4. ตัวแทนของแต่ละกลุ่มออกมานําเสนอผลงานทีถูกต้อง กลุ่มละ 1 ข้อ โดยครู เป็ นผูตรวจสอบ้ 5. นักเรี ยนช่วยกันสรุ ปขั;นตอนการดําเนินงาน 6. นักเรี ยนทําแบบฝึ กปฏิบติกิจกรรมชุดที 1 เป็ นการบ้าน ั 4. สื อการเรียนรู้ / แหล่ งการเรียนรู้ 4.1 สื อการเรียนรู้ 1. หนังสื อสัมฤทธิL มาตรฐาน คณิ ตศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 2. ใบงาน 3. แบบสังเกตพฤติกรรมทางการเรี ยนการสอน 4. แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบติกิจกรรมกลุ่ม ั 4.2 แหล่ งการเรียนรู้ 1. ศูนย์คณิ ตศาสตร์ 2. ห้องสมุดโรงเรี ยน 3. ข้อมูลจาก Web Guide http://www.aksorn.com/Lib/s/mat_01 4. ข้อมูลจากแหล่งเรี ยนรู ้อืนๆ
  • 14. 5. การวัดและประเมินผล วิธีวดผล ั เครืองมือวัดผล เกณฑ์ การประเมินผล 1. การทําใบงาน ใบงาน นักเรี ยนทุกคนทําถูกต้องไม่ตากว่า ํ ร้อยละ 70 ของคะแนนทั;งหมด 2. การทําแบบฝึ กปฏิ บติกิจกรรม แบบฝึ กปฏิบติกิจกรรม ชุดที 1 นักเรี ยนทุกคนทําถูกต้องไม่ตากว่า ั ั ํ ชุดที 1 ร้อยละ 70 ของคะแนนทั;งหมด 3. สังเกตพฤติกรรมทางการเรี ยน แบบสังเกตพฤติกรรมทาง นักเรี ยนทุกคนผ่านเกณฑ์ การสอน การเรี ยนการสอน การประเมินในระดับดีข; ึนไป 4. สังเกตพฤติกรรมการปฏิบติ ั แบบสั ง เกตพฤติ ก รรมการ นักเรี ยนทุกคนผ่านเกณฑ์ กิจกรรมกลุ่ม ปฏิบติกิจกรรมกลุ่ม ั การประเมินในระดับดีข; ึนไป เกณฑ์ การประเมินผลจากการทําใบกิจกรรม ใบงาน แบบฝึ กปฏิบัติกจกรรม ใช้ เกณฑ์ ดังนี7 ิ 80% ขึ;นไป หมายถึง ดีมาก 70-79% หมายถึง ดี 60-69% หมายถึง ปานกลาง 50-59% หมายถึง ผ่าน ตํากว่า 50% หมายถึง ปรับปรุ ง
  • 15. แบบสั งเกตพฤติกรรมทางการเรี ยนการสอน ทํางาน การให้ ความ ความตั;งใจ ความ ชือ-สกุลของ อย่างเป็ น ความ รวม เลขที รอบคอบ เรี ยน รับผิดชอบ ผูรับการประเมิน ้ ระบบ ร่ วมมือ 4 4 4 4 4 20 เกณฑ์ การให้ คะแนน พฤติกรรมทีปฏิบติเป็ นประจํา ั ให้ 4 คะแนน พฤติกรรมทีปฏิบติบ่อยครั;ง ั ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมทีปฏิบติบางครั;ง ั ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมทีปฏิบตินอยครั;ง ั ้ ให้ 1 คะแนน เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ 18-20 ดีมาก 13-17 ดี 8-12 ปานกลาง 5-7 ปรับปรุ ง
  • 16. แบบสั งเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกจกรรมกลุ่ม ิ กลุ่มที(ชือกลุ่ม).............................................................. สมาชิกในกลุ่ม 1..................................................................................... 2...................................................................................... 3..................................................................................... 4...................................................................................... 5..................................................................................... 6....................................................................................... คําชี7แจง ให้ทาเครื องหมาย ํ ในช่องทีตรงกับความเป็ นจริ ง คะแนน พฤติกรรมทีสั งเกต 4 3 2 1 1. การมีส่วนร่ วมในการวางแผน 2. การปฏิบติงานตามบทบาทหน้าที ั 3. การให้ความร่ วมมือในการทํางาน 4. การแสดงความคิดเห็น 5. การยอมรับความคิดเห็น รวม ลงชือ............................................................................ผูประเมิน ้ .................../................../.................. เกณฑ์ การให้ คะแนน พฤติกรรมทีปฏิบติเป็ นประจํา ั ให้ 4 คะแนน พฤติกรรมทีปฏิบติบ่อยครั;ง ั ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมทีปฏิบติบางครั;ง ั ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมทีปฏิบตินอยครั;ง ั ้ ให้ 1 คะแนน เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ 18-20 ดีมาก 13-17 ดี 8-12 ปานกลาง 5-7 ปรับปรุ ง
  • 17. ใบงาน คําชี7แจง ให้นกเรี ยนตอบคําถามต่อไปนี; ั ่ 1. ให้นกเรี ยนเขียนเศษส่ วนต่อไปนี;ให้อยูในรู ปทศนิยม ั 1) − 14 16 2) −3 3 16 3) 27 50 7 4) 2 20 13 5) −4 125 ่ 2. ให้นกเรี ยนเขียนทศนิยมต่อไปนี;ให้อยูในรู ปเศษส่ วน ั 1) -0.38 2) 0.45 3) 305.679 4) -3.36 5) 6.002
  • 18. ใบงาน คําชี7แจง ให้นกเรี ยนตอบคําถามต่อไปนี; ั ่ 1. ให้นกเรี ยนเขียนเศษส่ วนต่อไปนี;ให้อยูในรู ปทศนิยม ั 1) − 14 16 -0.875 2) −3 3 16 -3.1875 3) 27 50 0.54 7 4) 2 2.35 20 13 5) −4 -4.104 125 ่ 2. ให้นกเรี ยนเขียนทศนิยมต่อไปนี;ให้อยูในรู ปเศษส่ วน ั − 19 1) -0.38 50 9 2) 0.45 20 305 679 3) 305.679 1000 −3 9 4) -3.36 25 6 1 5) 6.002 500
  • 19. ใบงาน คําชี7แจง ให้นกเรี ยนตอบคําถามต่อไปนี; ั ่ 1. จงเขียนเศษส่ วนต่อไปนี;ให้อยูในรู ปทศนิยม 1) 7 , 7 , −7 , −7 10 100 10 100 2) 28 , 283 , − 33 , − 341 10 10 10 10 3) 578 , 4,231 , − 313 , − 5,214 1,000 1,000 100 1,000 4) 11 , 11 , − 11 , − 11 20 4 20 4 5) − 1 8 , − 5 18 , − 3 435 10 100 1,000 ่ 2. จงเขียนทศนิยมต่อไปนี;ให้อยูในรู ปเศษส่ วน 1) 0.07 2) -0.125 3) -1.2 4) 21.035 5) -6.096 ่ 3. จงเขียนจํานวนต่อไปนี;ให้อยูในรู ปทศนิยม 1) 1 2) −4 8 5 3) −8 4) − 29 11 18
  • 20. ใบงาน คําชี7แจง ให้นกเรี ยนตอบคําถามต่อไปนี; ั ่ 1. จงเขียนเศษส่ วนต่อไปนี;ให้อยูในรู ปทศนิยม 1) 7 , 7 , −7 , −7 10 100 10 100 0.7, 0.07, -0.7, -0.07 2) 28 , 283 , − 33 , − 341 10 10 10 10 2.8, 28.3, -3.3, -34.1 3) 578 , 4,231 , − 313 , − 5,214 1,000 1,000 100 1,000 0.578, 4.231, -3.13, -5.214 4) 11 , 11 , − 11 , − 11 20 4 20 4 0.55, 2.75, -0.55, -2.75 5) − 1 8 , − 5 18 , − 3 435 10 100 1,000 -1.8, -5.18, -3.435 ่ 2. จงเขียนทศนิยมต่อไปนี;ให้อยูในรู ปเศษส่ วน 7 − 125 = − 1 1) 0.07 100 2) -0.125 1,000 8 −11 21 7 3) -1.2 5 4) 21.035 200 − 6 12 5) -6.096 125 ่ 3. จงเขียนจํานวนต่อไปนี;ให้อยูในรู ปทศนิยม 1) 1 0.125 2) −4 -0.8 8 5 3) −8 − 0.72 && 4) − 29 − 1.61 & 11 18
  • 21. หน่ วยการเรียนรู้ ที 1 ทศนิยมและเศษส่ วน แผนการจัดการเรียนรู้ ที 1 เรือง ทศนิยมและ การเปรียบเทียบทศนิยม ชั7นมัธยมศึกษาปี ที 1 เวลาเรียน 2 ชัวโมง 1. จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1.1 ด้ านความรู้ : นักเรี ยนสามารถ ่ เปรี ยบเทียบจํานวนสองจํานวนทีเขียนอยูในรู ปทศนิยมได้ 1.2 ด้ านทักษะ/กระบวนการ : นักเรี ยนมีความสามารถ 1. ในการแก้ปัญหา 2. ในการให้เหตุผล 3. ในการสื อสาร สื อความหมาย และนําเสนอ 4. ในการเชือมโยงความรู ้ต่างๆ ทางคณิ ตศาสตร์ 1.3 ด้ านคุณลักษณะ : นักเรี ยน 1. มีระเบียบวินย ั 2. มีความรับผิดชอบ 3. มีความเชือมันในตนเอง 4. ช่วยเหลือซึ งกันและกัน 2. สาระการเรียนรู้ การเปรี ยบเทียบทศนิยม ตัวอย่างที 1-2 ในหนังสื อสัมฤทธิLมาตรฐาน คณิ ตศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 3. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั วโมงที 1-2 1. ครู ทบทวนการเขี ย นเศษส่ วนเป็ นทศนิ ยม การเขี ยนทศนิ ย มเป็ นเศษส่ วนและการเปรี ย บเที ย บ เศษส่ วนเพือเชือมโยง เรื องการเปรี ยบเทียบทศนิยม 2. ครู เขียนเส้นจํานวนบนกระดานให้นกเรี ยนช่วยกันคิดพิจารณาและสังเกตการเปรี ยบเทียบจํานวน ั เต็มบนเส้นจํานวน เพือเชือมโยงการเปรี ยบเทียบทศนิยมบนเส้นจํานวน 3. ครู เขียนตัวอย่างที 1-2 ให้นกเรี ยนช่วยกันคิดพร้อมแสดงเหตุผล ทําไปพร้อมๆ กับครู ั
  • 22. 4. นัก เรี ยนช่ วยกันทํา ใบงาน ด้วยการช่ วยเหลื อกันภายในกลุ่ ม เสร็ จแล้วนักเรี ย นแลกเปลี ยนกัน ตรวจสอบความถูกต้องจากใบเฉลยใบงาน ถ้านักเรี ยนคนใดทําใบงานไม่ได้ให้ทบทวนความรู ้จากใบความรู ้ ทีครู แจกให้ 5. นักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปการเปรี ยบเทียบทศนิยม 6. นักเรี ยนทําแบบฝึ กปฏิบติกิจกรรมชุดที 2 เป็ นการบ้าน ั 4. สื อการเรียนรู้ / แหล่ งการเรียนรู้ 4.1 สื อการเรียนรู้ 1. หนังสื อสัมฤทธิL มาตรฐาน คณิ ตศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 2. ใบงาน 3. ใบความรู ้ 4. แบบสังเกตพฤติกรรมทางการเรี ยนการสอน 4.2 แหล่ งการเรียนรู้ 1. ศูนย์คณิ ตศาสตร์ 2. ห้องสมุดโรงเรี ยน 3. ข้อมูลจาก Web Guide http://www.aksorn.com/Lib/s/mat_01 4. ข้อมูลจากแหล่งเรี ยนรู ้อืนๆ
  • 23. 5. การวัดและประเมินผล วิธีวดผล ั เครืองมือวัดผล เกณฑ์ การประเมินผล 1. การทําใบงาน ใบงาน นักเรี ยนทุกคนทําถูกต้องไม่ตากว่า ํ ร้อยละ 70 ของคะแนนทั;งหมด 2. การทําแบบฝึ กปฏิ บติกิจกรรม แบบฝึ กปฏิบติกิจกรรม ชุดที 2 นักเรี ยนทุกคนทําถูกต้องไม่ตากว่า ั ั ํ ชุดที 2 ร้อยละ 70 ของคะแนนทั;งหมด 3. สังเกตพฤติกรรมทางการเรี ยน แบบสังเกตพฤติกรรมทาง นักเรี ยนทุกคนผ่านเกณฑ์ การสอน การเรี ยนการสอน การประเมินในระดับดีข; ึนไป เกณฑ์ การประเมินผลจากการทําใบกิจกรรม ใบงาน แบบฝึ กปฏิบัติกจกรรม ใช้ เกณฑ์ ดังนี7 ิ 80% ขึ;นไป หมายถึง ดีมาก 70-79% หมายถึง ดี 60-69% หมายถึง ปานกลาง 50-59% หมายถึง ผ่าน ตํากว่า 50% หมายถึง ปรับปรุ ง
  • 24. แบบสั งเกตพฤติกรรมทางการเรี ยนการสอน ทํางาน การให้ ความ ความตั;งใจ ความ ชือ-สกุลของ อย่างเป็ น ความ รวม เลขที รอบคอบ เรี ยน รับผิดชอบ ผูรับการประเมิน ้ ระบบ ร่ วมมือ 4 4 4 4 4 20 เกณฑ์ การให้ คะแนน พฤติกรรมทีปฏิบติเป็ นประจํา ั ให้ 4 คะแนน พฤติกรรมทีปฏิบติบ่อยครั;ง ั ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมทีปฏิบติบางครั;ง ั ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมทีปฏิบตินอยครั;ง ั ้ ให้ 1 คะแนน เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ 18-20 ดีมาก 13-17 ดี 8-12 ปานกลาง 5-7 ปรับปรุ ง
  • 25. แบบสั งเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกจกรรมกลุ่ม ิ กลุ่มที(ชือกลุ่ม).............................................................. สมาชิกในกลุ่ม 1..................................................................................... 2...................................................................................... 3..................................................................................... 4...................................................................................... 5..................................................................................... 6....................................................................................... คําชี7แจง ให้ทาเครื องหมาย ํ ในช่องทีตรงกับความเป็ นจริ ง คะแนน พฤติกรรมทีสั งเกต 4 3 2 1 1. การมีส่วนร่ วมในการวางแผน 2. การปฏิบติงานตามบทบาทหน้าที ั 3. การให้ความร่ วมมือในการทํางาน 4. การแสดงความคิดเห็น 5. การยอมรับความคิดเห็น รวม ลงชือ............................................................................ผูประเมิน ้ .................../................../.................. เกณฑ์ การให้ คะแนน พฤติกรรมทีปฏิบติเป็ นประจํา ั ให้ 4 คะแนน พฤติกรรมทีปฏิบติบ่อยครั;ง ั ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมทีปฏิบติบางครั;ง ั ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมทีปฏิบตินอยครั;ง ั ้ ให้ 1 คะแนน เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ 18-20 ดีมาก 13-17 ดี 8-12 ปานกลาง 5-7 ปรับปรุ ง
  • 26. ใบงาน เรือง ทศนิยมและ การเปรียบเทียบทศนิยม คําชี7แจง จงเติมเครื องหมาย > หรื อ < ลงใน เพือทําให้ค่าทีได้สอดคล้องกับความเป็ นจริ ง 1. 1) 0.65 0.47 2) 0.074 0.069 3) 0.023 0.019 4) 0.06 0.058 5) 7.8 7.6 6) -16.23 -16.45 7) -29.38 -29.47 8) -7.045 -7.036 9) -5.072 -5.063 10) -24.923 -24.913 2. จงเรี ยงลําดับจํานวนต่อไปนี;จากน้อยไปหามาก 1) 0.6, 0.4, 0.7 2) 0.69, 0.47, 0.83 3) 0.83, 0.81, 0.86 4) 0.04, 0.045, 0.05 5) -0.07, -0.069, -0.073 6) -0.0303, -0.003, -0.033 7) -7.2, -7.4, -7.3 8) -16.86, -16.84, -16.79 3. จงเรี ยงลําดับสารต่อไปนี;จากจุดหลอมเหลวน้อยไปหามาก ไฮโดรเจน จุดหลอมเหลว -259.14 Cº เอทานอล จุดหลอมเหลว -114.1 Cº อีเทอร์ จุดหลอมเหลว -116.2 Cº นํ;า จุดหลอมเหลว 0 Cº
  • 27. ใบงาน เรือง ทศนิยมและ การเปรียบเทียบทศนิยม คําชี7แจง จงเติมเครื องหมาย > หรื อ < ลงใน เพือทําให้ค่าทีได้สอดคล้องกับความเป็ นจริ ง 1. 1) 0.65 > 0.47 2) 0.074 > 0.069 3) 0.023 > 0.019 4) 0.06 > 0.058 5) 7.8 > 7.6 6) -16.23 > -16.45 7) -29.38 > -29.47 8) -7.045 < -7.036 9) -5.072 < -5.063 10) -24.923 < -24.913 2. จงเรี ยงลําดับจํานวนต่อไปนี;จากน้อยไปหามาก 1) 0.6, 0.4, 0.7 2) 0.69, 0.47, 0.83 0.4, 0.6, 0.7 0.47, 0.69, 0.83 3) 0.83, 0.81, 0.86 4) 0.04, 0.045, 0.05 0.81, 0.83, 0.86 0.04, 0.045, 0.05 5) -0.07, -0.069, -0.073 6) -0.0303, -0.003, -0.033 -0.073, -0.07, -0.069 -0.033, -0.0303, -0.003 7) -7.2, -7.4, -7.3 8) -16.86, -16.84, -16.79 -7.4, -7.3, -7.2 -16.86, -16.84, -16.79 3. จงเรี ยงลําดับสารต่อไปนี;จากจุดหลอมเหลวน้อยไปหามาก ไฮโดรเจน จุดหลอมเหลว -259.14 Cº เอทานอล จุดหลอมเหลว -114.1 Cº อีเทอร์ จุดหลอมเหลว -116.2 Cº นํ;า จุดหลอมเหลว 0 Cº ไฮโดรเจน, อี เทอร์ , เอทานอล, นํา
  • 28. ใบความรู้ เรือง ทศนิยมและการเปรียบเทียบทศนิยม คําชี7แจง ให้นกเรี ยนศึกษาเนื;อหาต่อไปนี; ั จงพิจารณาเส้นจํานวน | | | | | | | | | | | | | -6 -5 -4 -3 -2 -1 0 1 2 3 4 5 6 ่ ่ บนเส้นจํานวน ถ้าจํานวน a อยูทางซ้ายของจํานวน b จะได้วา a < b เช่น 1 < 2, -1 < 0, -4 < -2 เป็ นต้น สําหรับจํานวนในรู ปทศนิยม ใช้หลักการเดียวกัน เช่น | | | | | | | | | | | 0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1 จากเส้นจํานวน จะพบว่า 0.1 < 0.3 และ 0.5 < 0.9 เป็ นต้น ตัวอย่ าง จงใช้เส้นจํานวนเพือพิจารณาว่า ทศนิยมต่อไปนี;จานวนใดน้อยกว่ากัน ํ 1) -0.3 กับ -0.1 วิธีคิด | | | | | | | | -0.6 -0.5 -0.4 -0.3 -0.2 -0.1 0 0.1 จากเส้นจํานวน จะพบว่า ่ -0.3 อยูทางซ้ายของ -0.1 ดังนั;น -0.3 < -0.1 2) -0.832 กับ -0.836 วิธีคิด | | | | | | | | | -0.838 -0.837 -0.836 -0.835 -0.834 -0.833 -0.832 -0.831 -0.830 จากเส้นจํานวน ่ จะพบว่า -0.836 อยูทางซ้ายของ -0.832 ดังนั;น -0.836 < -0.832 การเปรี ยบเทียบทศนิ ยม นอกจากจะใช้เส้นจํานวนช่วยในการพิจารณาแล้ว ยังสามารถใช้วิธีการ อืนได้อีก ดังนี; จาก -0.3 < -0.1 และ -0.836 < -0.832 ถ้าพิจารณาจากค่าสัมบูรณ์ของแต่ละจํานวน จะได้วา ่ ค่าสัมบูรณ์ของ -0.3 มีค่าเท่ากับ 0.3 และค่าสัมบูรณ์ของ -0.1 มีค่าเท่ากับ 0.1 แต่ 0.3 > 0.1
  • 29. ค่าสัมบูรณ์ของ -0.836 มีค่าเท่ากับ 0.836 และค่าสัมบูรณ์ของ -0.832 มีค่าเท่ากับ 0.832 แต่ 0.836 > 0.832 ดังนั;น การเปรี ยบเที ยบจํานวนทศนิ ยมที เป็ นลบสองจํานวนใดๆ จํานวนที มี ค่าสัมบูรณ์ มากกว่าจะเป็ นจํานวนทีน้อยกว่า นันคือ ถ้า a และ b เป็ นจํานวนบวกใดๆ และ a < b แล้ว -a > -b ตัวอย่ าง จงเปรี ยบเทียบจํานวนต่อไปนี; 1) 0.12853 กับ 0.1292 วิธีทา ขั7นที 1 เขียนจํานวนทั;งสองไว้บรรทัดละ 1 จํานวน โดยให้จุดของแต่ละจํานวนตรงกัน ดังนี; ํ 0.12853 0.1292 ขั7นที 2 พิจารณาเลขโดดแต่ละคู่จากซ้ายไปขวาโดยหาเลขโดดคู่แรกทีไม่เท่ากัน 0.12853 0.1292 ขั7นที 3 เปรี ยบเทียบตัวเลขทั;งสอง 8 < 9 ดังนั;น 0.12853 < 0.1292 2) -0.234 กับ -0.243 วิธีทา ค่าสัมบูรณ์ของ -0.234 มีค่าเท่ากับ 0.234 ํ ค่าสัมบูรณ์ของ -0.243 มีค่าเท่ากับ 0.243 ซึ งพบว่า 0.234 < 0.243 ดังนั;น -0.234 > -0.243 ตัวอย่ าง จงเรี ยงจํานวนต่อไปนี;จากน้อยไปหามาก -1.106, -1.116, -1.108 วิธีทา เนืองจาก ํ 1.106 < 1.108 < 1.116 จะได้วา ่ -1.106 > -1.108 > -1.116 ดังนั;น เรี ยงลําดับจํานวนทีกําหนดให้จากน้อยไปหามากได้ดงนี; ั -1.116, -1.108, -1.106
  • 30. หน่ วยการเรียนรู้ ที 1 ทศนิยมและเศษส่ วน แผนการจัดการเรียนรู้ ที 2 เรือง การบวกและการลบทศนิยม ชั7นมัธยมศึกษาปี ที 1 เวลาเรียน 4 ชัวโมง 1. จุดประสงค์ การเรียนรู้ 1.1 ด้ านความรู้ : นักเรี ยนสามารถ บวกและลบทศนิยมได้ 1.2 ด้ านทักษะ/กระบวนการ : นักเรี ยนมีความสามารถ 1. ในการแก้ปัญหา 2. ในการให้เหตุผล 3. ในการสื อสาร สื อความหมาย และนําเสนอ 4. ในการเชือมโยงความรู ้ต่างๆ ทางคณิ ตศาสตร์ 1.3 ด้ านคุณลักษณะ : นักเรี ยน 1. ทํางานอย่างเป็ นระบบ 2. มีระเบียบวินย ั 3. มีความรอบคอบ 4. มีความรับผิดชอบ 5. มีวจารณญาณ ิ 6. มีความเชือมันในตนเอง 7. ช่วยเหลือซึ งกันและกัน 8. ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติทีดีต่อวิชาคณิ ตศาสตร์ 2. สาระการเรียนรู้ ่ การบวกและการลบทศนิยมทําได้โดยการนําเลขโดดทีอยูในหลักหรื อตําแหน่งเดียวกันมาบวกหรื อลบ กัน ตัวอย่างที 1-8 ในหนังสื อสัมฤทธิLมาตรฐาน คณิ ตศาสตร์ ม.1 เล่ม 2 หน้า 57-59
  • 31. 3. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั วโมงที 1 1. ครู สนทนากับนักเรี ยนเกี ยวกับเงิ นค่าขนมทีนักเรี ยนได้รับมาแต่ละวันว่าใช้จ่ายอะไรไปบ้าง ครู ยกตัวอย่างจากข้อมูลของนักเรี ยนสองคนมาประกอบการอธิ บาย ซักถาม เช่น เอกได้รับเงินค่าขนม 40 บาท นารี รัตน์ได้เงินค่าขนมมา 50 บาท แล้วให้เอกบอกว่าใช้จ่ายอะไรบ้าง และนารี รัตน์ใช้จ่ายอะไรบ้าง (1) ครู ให้นกเรี ยนช่วยกันตอบคําถามจากข้อมูลทีได้ ั เอกจ่ายค่ารถเมลย์ไป 8.50 บาท ค่าอาหารกลางวัน 28 บาท นารี รัตน์จ่ายค่ารถสองแถวไป 5 บาท ซื; อขนมไป 20.50 บาท เอกและนารี รัตน์จ่ายเงินไปคนละเท่าไร และเหลือเงินคนละเท่าไร (2) ครู ซกถามนักเรี ยนว่าหาคําตอบได้โดยวิธีใด เพราะเหตุใด ั 2. ครู เขียนตัวอย่างที 1, 5, 6 บนกระดานแล้วใช้การถามตอบให้นกเรี ยนทําพร้อมๆ กับครู ั 3. นักเรี ยนทําแบบฝึ กปฏิบติกิจกรรมชุ ดที 3 ข้อ 1 ข้อย่อย 1, 2, 6 และ 7 ด้วยการช่วยเหลือกันภายใน ั กลุ่ม กลุ่มใดเสร็ จก่อนให้ส่งตัวแทนออกเฉลยคําตอบ ครู ตรวจสอบความถูกต้องและประกาศชมเชย ส่ วน กลุ่มใดหรื อนักเรี ยนคนใดทําไม่เสร็ จไปทําต่อเป็ นการบ้าน 4. นักเรี ยนช่วยกันสรุ ปหลักการบวกทศนิยม ชั วโมงที 2 1. ครู แจกใบงาน ให้นกเรี ยนทุกกลุ่ม โดยให้ผเู ้ รี ยนช่วยกันทํางาน ซึ งแต่ละคนมีบทบาทแตกต่างกัน ั ดังนี; ํ คนที 1 อ่านคําถามและแยกแยะคําสังทีโจทย์กาหนดให้ คนที 2 วิเคราะห์หาแนวทางตอบคําถาม อธิ บายให้ได้มาซึงคําตอบ คนที 3 รวบรวมข้อมูลและปฏิบติตามคนที 2 และเขียนคําตอบ ั คนที 4 สรุ ปขั;นตอนการทําทั;งหมด 2. ให้แข่ ง ขันตอบปั ญหาโดยจัดกลุ่ มใหม่ใ ห้ค นที มี ระดับ ความสามารถเท่ า กัน จากแต่ ละกลุ่ ม มา รวมตัวอยูในกลุ่มเดียวกัน ่ 3. ครู แจกซองคําถามให้ทุกกลุ่ม (ทุกกลุ่มได้คาถามเหมือนกัน) โดยครู เป็ นผูสร้างโจทย์คาถามเอง ํ ้ ํ 4. สมาชิ กคนแรกหยิบซองคําถาม 1 ซอง เปิ ดอ่านคําถามแล้ววางลงกลางโต๊ะ สมาชิ ก 3 คนทีเหลื อ แข่งกันตอบคําถาม โดยเขียนคําตอบลงในกระดาษคําตอบให้ตรงหมายเลขข้อและคนทีอ่านคําถามทําหน้าที ให้คะแนน โดยมีกติกาดังนี; ผูทีตอบถูกคนแรกได้ ้ 2 คะแนน