SlideShare une entreprise Scribd logo
เทคโนโลยีสารสนเทศทาง
การศึกษา
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning)
ภายหลังที่รัฐบาลได ้จัดการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งมีหัวใจสาคัญอยู่ที่ "การ
ยกระดับคุณภาพประชากรของประเทศให ้สูงขึ้น คือ ผู้เรียนทุกคนมี
ความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได ้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด ที่
ต ้องส่งเสริมและพัฒนาให ้เต็มตามศักยภาพ ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การ
ประยุกต์ความรู้ และการแสวงหาความรู้ด ้วยตนเอง สามารถในการคิดวิเคราะห์
และริเริ่มสร ้างสรรค์ มีความสามารถในการแก ้ปัญหา ตลอดจนรู้จักการทางาน
เป็นหมู่คณะ" มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข ้ามาใช ้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ
เรียนรู้ ที่ผู้เรียนสามารถเข ้าถึงได ้อย่างหลากหลาย สามารถเรียนได ้ทุกที่ทุก
เวลา เพื่อที่จะทาให ้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข ้าใจ และเหมาะสมกับยุคแห่ง
ข ้อมูลสารสนเทศที่มีอยู่อย่างมากมาย รวมไปถึงการทาให ้การเรียนรู้นั้นเกิด
ประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งยังเพื่อเป็นการเตรียมพัฒนาผู้เรียน ให ้มีคุณลักษณะที่
เหมาะสมกับสังคมยุคโลกาภิวัตน์
ในฐานะที่ท่านจะเป็นครูพันธ์ใหม่ ท่านจะต ้องปฏิบัติภารกิจต่อไปนี้
1. วิเคราะห์บทบาทและความสาคัญของ
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนา
การศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา
ภารกิจ
บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศกับการ
พัฒนาการศึกษาตามแนวทางปฏิรูป
การศึกษา
เนื่องจากในปัจจุบันเทคโนโลยีมีความก ้าวหน้าไปมาก ทา
ให ้การศึกษาปัจจุบันจาเป็นที่จะต ้องนาเทคโนโลยีเข ้ามาช่วย
ในการเรียนการสอน เทคโนโลยีที่มีบทบาทสาคัญต่อ
การศึกษาประกอบด ้วย
1. เทคโนโลยีที่เข ้ามามีส่วนช่วยในเรื่องการเรียนรู้ เช่น
ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) มีระบบมัลติมีเดีย วิดีโอ
เทเลคอนเฟอเรนซ และอินเตอร์เน็ต เป็นต ้น ระบบเหล่านี้
เป็นระบบสนับสนุนการรับรู้ข่าวสาร และการค ้นหาข ้อมูล
ข่าวสารเพื่อการเรียนรู้
2. เทคโนโลยีที่เข ้ามาสนับสนุนการจัดการศึกษา ในการจัด
การศึกษาสมัยใหม่ จาเป็นต ้องอาศัยข ้อมูลข่าวสารเพื่อการวาง
แผนการดาเนินการ การติดตามและประเมินผลคอมพิวเตอร์และ
ระบบสื่อสารโทรคมนาคม
3. เทคโนโลยีเข ้ามาช่วยให ้การสื่อสารระหว่างบุคคล
ทางด ้านการศึกษาจาเป็นต ้องอาศัยการสื่อสารระหว่างผู้สอนกับ
ผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการ
เรียนการสอนโดยอาศัยเทคโนโลยีการสื่อสารระหว่างบุคคล เช่น
การใช ้โทรศัพท์ โทรสาร เทเลคอนเฟอเรนส์ และไปรษณีย์
อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต ้น
ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศกับ
การพัฒนาการศึกษาตามแนวทางปฏิรูป
การศึกษา
1)ช่วยในการจัดระบบเนื้อหาในการเรียนรู้
2)เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคานวณตัวเลข
ที่ยุ่งยากซับซ ้อน การจัดเรียงลาดับสารสนเทศ ฯลฯ
3)ช่วยให ้สามารถเก็บสารสนเทศไว ้ในรูปที่สามารถเรียกใช ้ได ้ทุก
ครั้งอย่างสะดวก
4) ช่วยให ้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บ
ประมวลผล และเรียกใช ้สารสนเทศ
5)ช่วยในการเข ้าถึงสารสนเทศได ้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ
มากขึ้น
6)ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได ้อย่างสะดวก รวดเร็ว ลด
อุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง
โดยการใช ้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ
2. วิเคราะห์หาวิธีการที่จะประยุกต์
เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช ้ในการ
จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ภารกิจ
ในปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีความเจริญก ้าวหน้าเป็น
อย่างมาก เราจึงควรนาเทคโนโลยีสารสนเทศเหล่านั้น มา
ประยุกต์ใช ้ในการจัดเรียนการสอน เพื่อให ้ผู้เรียนเกิดประโยชน์
สูงสุด ซึ่งสามารถนามาประยุกต์ใช ้ได ้ดังนี้
การใช ้คอมพิวเตอร์ช่วยในการเรียนการสอน
การใช ้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books)
การใช ้ห ้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-library)
การเรียนรู้แบบออนไลน์ หรือ E-learning
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใน
การเรียนการสอน ซึ่งเรียกกัน
โดยทั่วไปว่าบทเรียน CAI ( Computer
-Assisted Instruction ) เป็นการนาเอา
เทคโนโลยี รวมกับการออกแบบ
โปรแกรมการสอน มาใช ้ช่วยสอน การ
ใช ้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ในปัจจุบันมัก
อยู่ในรูปของสื่อประสม (Multimedia)
โดยสื่อผสมที่หลากหลายสามารถดึงดูด
ให ้ผู้เรียนมีความสนใจที่จะเรียนรู้มาก
ยิ่งขึ้น
การเรียนรู้แบบออนไลน์ หรือ
E-learning เรียนรู้ผ่านเครือข่าย
คอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ต หรืออินทราเน็ต
เป็นการเรียนรู้ด ้วยตัวเอง ผู้เรียนจะได ้เรียน
ตามความสามารถและความสนใจของตน
โดยเนื้อหาของบทเรียนซึ่งประกอบด ้วย
ข ้อความ รูปภาพ เสียง วิดีโอและ
มัลติมีเดียอื่นๆ จะถูกส่งไปยังผู้เรียนผ่าน
เว็บเบราว์เซอร์ โดยผู้เรียน ผู้สอน และ
เพื่อนร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดต่อ
ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่าง
กันได ้เช่นเดียวกับการเรียนในชั้นเรียนปกติ
โดยอาศัยเครื่องมือการติดต่อสื่อสารที่
ทันสมัย สาหรับทุกคนที่สามารถเรียนรู้ได ้
ทุกเวลา และทุกสถานที่
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-
books) เป็นคาที่ใช ้ในการอธิบาย
ตัวอักษรที่มีลักษณะคล ้ายคลึงกับ
หนังสือ อยู่ในรูปแบบดิจิตอล โดยแสดง
ให ้เห็นบนจอคอมพิวเตอร์ เป็นหนังสือ
ถูกนามาจัดพิมพ์ในรูปแบบดิจิตอล แผ่น
ซีดีรอมสามารถจัดเก็บข ้อมูลได ้จานวน
มากในรูปแบบของตัวอักษร ทั้งลักษณะ
ภาพ ดิจิตอล วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว
ต่อเนื่อง คาพูด เสียงดนตรี และเสียง
อื่นๆ ที่ประกอบตัว อักษรเหล่านั้น
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถทาให ้
ผู้เรียน ฝึกคิดวิเคราะห์ และเกิดการ
เรียนรู้ได ้ด ้วยตนเอง
ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-
library) หมายถึง แหล่งความรู้ที่
บันทึกข ้อมูลไว ้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่
ข่ายและให ้บริการสารสนเทศทาง
อิเล็กทรอนิกส์หรือผ่าน เครือข่าย
อินเทอร์เน็ต ในลักษณะผสมผสานการ
ทางานของระบบห ้องสมุดอัตโนมัติ
ห ้องสมุดดิจิตอลและห ้องสมุดเสมือน
สามารถทาให ้ผู้เรียนได ้ฝึกเคราะห์และ
ได ้เรียนรู้ด ้วยตนเอง
3. ให ้ท่านพิจารณาเลือกใช ้เทคโนโลยี
สารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการ
เรียนรู้ ตามบริบทของโรงเรียนที่กาหนดให ้
ต่อไปนี้ พร ้อมทั้งให ้เหตุผลประกอบการอธิบาย
ภารกิจ
1) โรงเรียนบ ้านหนองงูเห่า เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลในถิ่นธุระ
กันดาร โรงเรียนมีคอมพิวเตอร์สามเครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มี
สัญญาณโทรศัพท์
สื่อสารสนเทศที่เลือกใช้คือ สื่อประเภทวีดีทัศน์ และคอมพิวเตอร์ช่วย
สอน
เพราะโรงเรียนบ ้านหนองงูเห่าอยู่ห่างไกลในถิ่นธุระกันดาร โรงเรียน
มีคอมพิวเตอร์แค่สามเครื่อง และมีโทรทัศน์ แต่ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์ วิธีที่
ดีที่สุด คือ การนาเอาสื่อประเภทวีดีทัศน์ ซึ่งประกอบไปด ้วยภาพเคลื่อนไหว
เสียง เป็นต ้น มาใช ้ในการเรียนการสอน นอกจากวีดีทัศน์แล ้ว ผู้เรียนยัง
สามารถใช ้โปรแกรมต่างๆในคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการเรียนรู้และพัฒนา
ศักยภาพของตนเอง
2) โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเมือง
มีความพร ้อมทางด ้านสื่อ เทคโนโลยี มีห ้องคอมพิวเตอร์
มีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง แต่ครูมีไม่เพียงพอ
เนื่องจากย ้ายหนีเหตุการณ์ความไม่สงบ
สื่อสารสนเทศที่เลือกใช้ คือ การใช้คอมพิวเตอร์เป็ นครู
เพราะโรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง มีความพร ้อมทางด ้านสื่อ
เทคโนโลยี มีห ้องคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง แต่ครูมีไม่
เพียงพอ จึงต ้องนาคอมพิวเตอร์มาใช ้ในการเรียนการสอน เพื่อทดแทนจานวน
ครูที่ไม่เพียงพอ ซึ่งการใช ้คอมพิวเตอร์เป็นครูนั้นคือการถ่ายทอดและนาเสนอ
เนื้อหาการเรียนการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน ซึ่งจะทาให ้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับ
บทเรียนได ้
รายชื่อสมาชิก
นางสาวประกายดาว สืบวงษ์ 533050407-9
นางสาวภัทรศยา รัตนบัณฑิต 533050408-7
นางสาวสุภวรรณ บุดดีคา 533050410-0
สาขาการสอนภาษาจีน

Contenu connexe

Tendances

เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เกวลิน แก้ววิจิตร
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
Suphot Chaichana
 
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
devilp Nnop
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
krupornpana55
 
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ดร.ภูดิท กรรณิการ์
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ดร.ภูดิท  กรรณิการ์การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ดร.ภูดิท  กรรณิการ์
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ดร.ภูดิท กรรณิการ์
Prachyanun Nilsook
 
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
SophinyaDara
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
Proud N. Boonrak
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
Ariaty KiKi Sang
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
Rainbow Tiwa
 
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานการสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
Taraya Srivilas
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
poms0077
 

Tendances (20)

Chapter 2 the root of design thinking
Chapter 2 the root of design thinkingChapter 2 the root of design thinking
Chapter 2 the root of design thinking
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketingบทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketing
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ดร.ภูดิท กรรณิการ์
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ดร.ภูดิท  กรรณิการ์การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ดร.ภูดิท  กรรณิการ์
การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ ดร.ภูดิท กรรณิการ์
 
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
 
5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
Digital leadership 2022
Digital leadership 2022Digital leadership 2022
Digital leadership 2022
 
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงานการสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
การสร้างเครือข่ายและการประสานงาน
 
งานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sarงานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sar
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 

En vedette

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
Chantana Papattha
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
janepi49
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
ณัฐะ หิรัญ
 
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยแบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
ศุภเชษฐ์ สีหาราช
 
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
Thidarat Termphon
 
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
Worapon Masee
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
NGamtip
 
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพอช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
peter dontoom
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
Thidarat Termphon
 
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001
Thidarat Termphon
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
Thidarat Termphon
 

En vedette (20)

นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (Information and Communication Te...
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Ppt เทคโนโลยีสารสนเทศ
Ppt เทคโนโลยีสารสนเทศPpt เทคโนโลยีสารสนเทศ
Ppt เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
 
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยแบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
 
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
ศิลปศึกษา ม.ปลาย ทช31003
 
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
 
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธPPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
 
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพอช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
อช31001 ช่องทางขยายอาชีพ
 
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
การพัฒนอาชีพให้มีความมั่่นคง ม.ปลาย อช31003
 
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001
ช่่องทางการขยายอาชีพ ม.ปลาย อช31001
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย ทร31001
 

Similaire à Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้

Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational media
pompompam
 
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
Naparat Sriton
 
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศInnovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Teerasak Nantasan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Fern's Supakyada
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Aa-bb Sangwut
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Wuth Chokcharoen
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
Pari Za
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
N'Fern White-Choc
 
chapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learningchapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learning
Pacharaporn087-3
 

Similaire à Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ (20)

Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational media
 
งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6งานกลุ่ม Chapter 6
งานกลุ่ม Chapter 6
 
บทท 6
บทท   6บทท   6
บทท 6
 
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
 
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศInnovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Innovation Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Lesson6
Lesson6Lesson6
Lesson6
 
presentation 6
presentation 6presentation 6
presentation 6
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
นวัต6เทคโนโลยีการศึกษา
นวัต6เทคโนโลยีการศึกษานวัต6เทคโนโลยีการศึกษา
นวัต6เทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
chapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learningchapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learning
 
Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
 

Plus de Prakaidao Suebwong

Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Prakaidao Suebwong
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Prakaidao Suebwong
 
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Prakaidao Suebwong
 
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4  สื่อการเรียนรู้Chapter4  สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Prakaidao Suebwong
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Prakaidao Suebwong
 

Plus de Prakaidao Suebwong (6)

Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9  การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและวิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter 8
Chapter  8Chapter  8
Chapter 8
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
Chapter4  สื่อการเรียนรู้Chapter4  สื่อการเรียนรู้
Chapter4 สื่อการเรียนรู้
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
 

Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้

  • 2. สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning) ภายหลังที่รัฐบาลได ้จัดการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งมีหัวใจสาคัญอยู่ที่ "การ ยกระดับคุณภาพประชากรของประเทศให ้สูงขึ้น คือ ผู้เรียนทุกคนมี ความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได ้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด ที่ ต ้องส่งเสริมและพัฒนาให ้เต็มตามศักยภาพ ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การ ประยุกต์ความรู้ และการแสวงหาความรู้ด ้วยตนเอง สามารถในการคิดวิเคราะห์ และริเริ่มสร ้างสรรค์ มีความสามารถในการแก ้ปัญหา ตลอดจนรู้จักการทางาน เป็นหมู่คณะ" มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข ้ามาใช ้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ เรียนรู้ ที่ผู้เรียนสามารถเข ้าถึงได ้อย่างหลากหลาย สามารถเรียนได ้ทุกที่ทุก เวลา เพื่อที่จะทาให ้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข ้าใจ และเหมาะสมกับยุคแห่ง ข ้อมูลสารสนเทศที่มีอยู่อย่างมากมาย รวมไปถึงการทาให ้การเรียนรู้นั้นเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งยังเพื่อเป็นการเตรียมพัฒนาผู้เรียน ให ้มีคุณลักษณะที่ เหมาะสมกับสังคมยุคโลกาภิวัตน์ ในฐานะที่ท่านจะเป็นครูพันธ์ใหม่ ท่านจะต ้องปฏิบัติภารกิจต่อไปนี้
  • 4. บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศกับการ พัฒนาการศึกษาตามแนวทางปฏิรูป การศึกษา เนื่องจากในปัจจุบันเทคโนโลยีมีความก ้าวหน้าไปมาก ทา ให ้การศึกษาปัจจุบันจาเป็นที่จะต ้องนาเทคโนโลยีเข ้ามาช่วย ในการเรียนการสอน เทคโนโลยีที่มีบทบาทสาคัญต่อ การศึกษาประกอบด ้วย 1. เทคโนโลยีที่เข ้ามามีส่วนช่วยในเรื่องการเรียนรู้ เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) มีระบบมัลติมีเดีย วิดีโอ เทเลคอนเฟอเรนซ และอินเตอร์เน็ต เป็นต ้น ระบบเหล่านี้ เป็นระบบสนับสนุนการรับรู้ข่าวสาร และการค ้นหาข ้อมูล ข่าวสารเพื่อการเรียนรู้
  • 5. 2. เทคโนโลยีที่เข ้ามาสนับสนุนการจัดการศึกษา ในการจัด การศึกษาสมัยใหม่ จาเป็นต ้องอาศัยข ้อมูลข่าวสารเพื่อการวาง แผนการดาเนินการ การติดตามและประเมินผลคอมพิวเตอร์และ ระบบสื่อสารโทรคมนาคม 3. เทคโนโลยีเข ้ามาช่วยให ้การสื่อสารระหว่างบุคคล ทางด ้านการศึกษาจาเป็นต ้องอาศัยการสื่อสารระหว่างผู้สอนกับ ผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการ เรียนการสอนโดยอาศัยเทคโนโลยีการสื่อสารระหว่างบุคคล เช่น การใช ้โทรศัพท์ โทรสาร เทเลคอนเฟอเรนส์ และไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต ้น
  • 6. ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศกับ การพัฒนาการศึกษาตามแนวทางปฏิรูป การศึกษา 1)ช่วยในการจัดระบบเนื้อหาในการเรียนรู้ 2)เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคานวณตัวเลข ที่ยุ่งยากซับซ ้อน การจัดเรียงลาดับสารสนเทศ ฯลฯ 3)ช่วยให ้สามารถเก็บสารสนเทศไว ้ในรูปที่สามารถเรียกใช ้ได ้ทุก ครั้งอย่างสะดวก
  • 7. 4) ช่วยให ้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บ ประมวลผล และเรียกใช ้สารสนเทศ 5)ช่วยในการเข ้าถึงสารสนเทศได ้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ มากขึ้น 6)ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได ้อย่างสะดวก รวดเร็ว ลด อุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง โดยการใช ้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ
  • 9. ในปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศมีความเจริญก ้าวหน้าเป็น อย่างมาก เราจึงควรนาเทคโนโลยีสารสนเทศเหล่านั้น มา ประยุกต์ใช ้ในการจัดเรียนการสอน เพื่อให ้ผู้เรียนเกิดประโยชน์ สูงสุด ซึ่งสามารถนามาประยุกต์ใช ้ได ้ดังนี้ การใช ้คอมพิวเตอร์ช่วยในการเรียนการสอน การใช ้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books) การใช ้ห ้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-library) การเรียนรู้แบบออนไลน์ หรือ E-learning
  • 10. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใน การเรียนการสอน ซึ่งเรียกกัน โดยทั่วไปว่าบทเรียน CAI ( Computer -Assisted Instruction ) เป็นการนาเอา เทคโนโลยี รวมกับการออกแบบ โปรแกรมการสอน มาใช ้ช่วยสอน การ ใช ้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ในปัจจุบันมัก อยู่ในรูปของสื่อประสม (Multimedia) โดยสื่อผสมที่หลากหลายสามารถดึงดูด ให ้ผู้เรียนมีความสนใจที่จะเรียนรู้มาก ยิ่งขึ้น
  • 11. การเรียนรู้แบบออนไลน์ หรือ E-learning เรียนรู้ผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ต หรืออินทราเน็ต เป็นการเรียนรู้ด ้วยตัวเอง ผู้เรียนจะได ้เรียน ตามความสามารถและความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรียนซึ่งประกอบด ้วย ข ้อความ รูปภาพ เสียง วิดีโอและ มัลติมีเดียอื่นๆ จะถูกส่งไปยังผู้เรียนผ่าน เว็บเบราว์เซอร์ โดยผู้เรียน ผู้สอน และ เพื่อนร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดต่อ ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่าง กันได ้เช่นเดียวกับการเรียนในชั้นเรียนปกติ โดยอาศัยเครื่องมือการติดต่อสื่อสารที่ ทันสมัย สาหรับทุกคนที่สามารถเรียนรู้ได ้ ทุกเวลา และทุกสถานที่
  • 12. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E- books) เป็นคาที่ใช ้ในการอธิบาย ตัวอักษรที่มีลักษณะคล ้ายคลึงกับ หนังสือ อยู่ในรูปแบบดิจิตอล โดยแสดง ให ้เห็นบนจอคอมพิวเตอร์ เป็นหนังสือ ถูกนามาจัดพิมพ์ในรูปแบบดิจิตอล แผ่น ซีดีรอมสามารถจัดเก็บข ้อมูลได ้จานวน มากในรูปแบบของตัวอักษร ทั้งลักษณะ ภาพ ดิจิตอล วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว ต่อเนื่อง คาพูด เสียงดนตรี และเสียง อื่นๆ ที่ประกอบตัว อักษรเหล่านั้น หนังสืออิเล็กทรอนิกส์สามารถทาให ้ ผู้เรียน ฝึกคิดวิเคราะห์ และเกิดการ เรียนรู้ได ้ด ้วยตนเอง
  • 13. ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E- library) หมายถึง แหล่งความรู้ที่ บันทึกข ้อมูลไว ้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ ข่ายและให ้บริการสารสนเทศทาง อิเล็กทรอนิกส์หรือผ่าน เครือข่าย อินเทอร์เน็ต ในลักษณะผสมผสานการ ทางานของระบบห ้องสมุดอัตโนมัติ ห ้องสมุดดิจิตอลและห ้องสมุดเสมือน สามารถทาให ้ผู้เรียนได ้ฝึกเคราะห์และ ได ้เรียนรู้ด ้วยตนเอง
  • 14. 3. ให ้ท่านพิจารณาเลือกใช ้เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการ เรียนรู้ ตามบริบทของโรงเรียนที่กาหนดให ้ ต่อไปนี้ พร ้อมทั้งให ้เหตุผลประกอบการอธิบาย ภารกิจ
  • 15. 1) โรงเรียนบ ้านหนองงูเห่า เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลในถิ่นธุระ กันดาร โรงเรียนมีคอมพิวเตอร์สามเครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มี สัญญาณโทรศัพท์ สื่อสารสนเทศที่เลือกใช้คือ สื่อประเภทวีดีทัศน์ และคอมพิวเตอร์ช่วย สอน เพราะโรงเรียนบ ้านหนองงูเห่าอยู่ห่างไกลในถิ่นธุระกันดาร โรงเรียน มีคอมพิวเตอร์แค่สามเครื่อง และมีโทรทัศน์ แต่ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์ วิธีที่ ดีที่สุด คือ การนาเอาสื่อประเภทวีดีทัศน์ ซึ่งประกอบไปด ้วยภาพเคลื่อนไหว เสียง เป็นต ้น มาใช ้ในการเรียนการสอน นอกจากวีดีทัศน์แล ้ว ผู้เรียนยัง สามารถใช ้โปรแกรมต่างๆในคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการเรียนรู้และพัฒนา ศักยภาพของตนเอง
  • 16. 2) โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเมือง มีความพร ้อมทางด ้านสื่อ เทคโนโลยี มีห ้องคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง แต่ครูมีไม่เพียงพอ เนื่องจากย ้ายหนีเหตุการณ์ความไม่สงบ สื่อสารสนเทศที่เลือกใช้ คือ การใช้คอมพิวเตอร์เป็ นครู เพราะโรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง มีความพร ้อมทางด ้านสื่อ เทคโนโลยี มีห ้องคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง แต่ครูมีไม่ เพียงพอ จึงต ้องนาคอมพิวเตอร์มาใช ้ในการเรียนการสอน เพื่อทดแทนจานวน ครูที่ไม่เพียงพอ ซึ่งการใช ้คอมพิวเตอร์เป็นครูนั้นคือการถ่ายทอดและนาเสนอ เนื้อหาการเรียนการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน ซึ่งจะทาให ้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับ บทเรียนได ้
  • 17. รายชื่อสมาชิก นางสาวประกายดาว สืบวงษ์ 533050407-9 นางสาวภัทรศยา รัตนบัณฑิต 533050408-7 นางสาวสุภวรรณ บุดดีคา 533050410-0 สาขาการสอนภาษาจีน