SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  99
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น 
และการยกเคลื่อนย้าย 
ญานี ทองมณี 
พยาบาลวิชาชีพชานาญการ 
งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน 
โรงพยาบาลปากน้าชุมพร
ทาหน้าที่ 
แจ้งเหตุเพื่อขอความช่วยเหลือ กรณีมีผู้ป่วย 
ฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุ 
 ประเมินอาการ / รู้อาการฉุกเฉินที่จะต้อง 
แจ้งผ่าน สายด่วน 1669 
 ช่วยเหลือปฐมพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉิน 
เบื้องต้น
ประชาชนที่มีจิตอาสา อายุ 7 ปี ขึ้นปป 
ที่ผ่านเกณฑ์ ตาม สพฉ. กาหนด
พบเหตุการณ์ เจ็บป่วยฉุกเฉิน / อุบัติเหตุ 
ต้งัสติ กดโทรศัพท์ 1669 
บอก… เหตุการณ์ ….อุบัติเหตุรถ MC ชน รถกระบะ 
สถานที่เกิดเหตุ…จุดเด่น มองเห็นชัด… หน้าตลาดซีเฟรช 
ความเสี่ยงซา้…อยู่กลางถนนอาจถูกรถชนซา้จา นวน 
ผู้บาดเจ็บกี่ราย อาการ.....รู้สึกตัว? 
การช่วยเหลือ....มีหน่วยงานใดช่วย ?
แจ้งชื่อ – นามสกุล 
และหมายเลขโทรศัพท์ที่สามารถติดต่อกลับปด้ 
รอจนกว่า รพ. ชุดปฏิบัติการฉุกเฉินจะมารับผู้ป่วย
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น 
หมายถึง การให้ความช่วยเหลือต่อผู้บาดเจ็บ หรือผู้ป่วย 
ณ สถานที่เกิดเหตุโดยใช้อุปกรณ์เท่าที่หาได้ในขณะนั้น 
ก่อนที่ผู้บาดเจ็บ จะปด้รับการดูแลรักษาจากบุคลากรทาง 
การแพทย์หรือส่งต่อปปยังโรงพยาบาล
วัตถุประสงค์ ของการปฐมพยาบาล 
 เพื่อช่วยชีวิต 
 ลดความรุนแรงของการบาดเจ็บ หรือการเจ็บป่วย 
ทาให้บรรเทาความเจ็บปวดทรมาน 
 ช่วยให้กลับคืนสู่สภาพเดิมโดยเร็ว 
 ป้องกันความพิการที่จะเกิดขึ้นตามมาภายหลัง
การปฐมพยาบาลที่ดี 
•ให้การปฐมพยาบาล อย่างถูกต้อง รวดเร็ว นุ่มนวล 
• ต้องคา นึงถึงสภาพจิตใจของผู้บาดเจ็บ ควรปด้รับการปลอบ 
ประโลม 
• ให้กา ลังใจเพื่อสร้างความมัน่ใจว่าจะปด้รับการช่วยเหลือ และ 
ปลอดภัย
ช่วยตัวประกัน
การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพืน้ฐาน 
“ CPR ” 
Cardio Pulmonary Resuscitation 
การทาให้ฟื้นคืนชีพจากความตาย โดยการ 
ช่วยแก้ปขระบบการปหลเวียนของโลหิตและระบบการ 
นาออกซิเจนเข้าออกร่างกาย 
โดยปม่ต้องใช้เครื่องมือทางการแพทย์
การทางานปกติของระบบหายใจ 
และ ระบบปหลเวียน
การตายจะเกิดหลังจากที่ผู้ป่วยหยุดหายใจ 
มีผลทา ให้ร่างกายขาดออกซิเจนทีจ่ะไปเลี้ยง 
อวัยวะทีส่า คัญ โดยเฉพาะ สมอง ซึ่งจะมีผล 
ทาให้ หัวใจหยุดเต้น และ เสียชีวิต ใน 
ทีสุ่ด
หมดสติ ปม่รู้สึกตัว 
ปม่หายใจ หายใจเฮือก
CPR 
ประโยชน์มากที่สุดในการช่วยชีวิตผู้ป่วยที่เสียชีวิตกะทันหัน 
สาเหตุ จมน้า สิ่งแปลกปลอมอุดกัน้ทางเดินหายใจ 
สูดดมควันเข้าปปมาก รับยาเกินขนาด ปฟฟ้าดูด บาดเจ็บ 
กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ฟ้าผ่า ภาวะสมองเสียการ 
ทางาน จนโคม่าจากสาเหตุต่างๆ 
เม่อืไหร่จะทา CPR 
เมื่อผู้ป่วยหยุดหายใจ และหัวใจหยุดเต้น 
ควรรีบทา ภายใน 4 นาทีหลังจากที่ผู้ป่วยหยุดหายใจ
ได้รับการช่วยฟื้นคืนชีพขัน้พื้นฐานที่ถูกต้อง
วางนิ้วชี้นิ้วกลาง นิ้วนาง ของเราลงบน 
ตาแหน่งของชีพจรตรงข้อมือ และวาง 
นิ้วหัวแม่มือไว้ทางด้านหลังข้อมือ 
การจับชีพจรจะช่วยบอก 
1. อัตราการเต้นของหัวใจกี่ครัง้/นาที ; ปกติ 60- 100 ครัง้/นาที 
2. จังหวะการเต้นของหัวใจสม่า เสมอหรือปม่ 
3. ชีพจร 2 ข้างเท่ากันหรือปม่ 
4. ลักษณะของชีพจร เบา , แรง
ตาแหน่งชีพจร 
ลาคอ 
ข้อมือ ข้อพับข้อศอก
ตาแหน่งชีพจร 
ข้อพับขาหลังเข่า หน้าใบหูตาตุ่มเท้าด้านใน 
ขาหนีบ หลังเท้า
ภายใน 4 นาที 
ถ้าปล่อยให้หัวใจหยุดเต้น 
จะทาให้สมองขาดออกซิเจน 
และถูกทาลายอย่างถาวรได้
เขย่าตัว ดูว่าผู้ป่วยรู้สึกตัว มีการตอบสนองหรือปม่
เรียกขอความช่วยเหลือ / โทรแจ้ง 1669
จัดท่า นอนหงายราบ บนพื้นแข็ง
ปม่รู้สึกตัว นอนนิ่ง ให้รีบกดหน้าอกนวดหัวใจทันที 
อัตราอย่างน้อย 100 ครัง้ / นาที 
หรือ 30 ครัง้ต่อเนื่องและกดหน้าอกลึก 2 นิ้วขึ้นปป
เป่าปาก 2 ครัง้ 
ยังนอนนิ่ง 
เปิดทางเดินหายใจ:กดหน้าผาก เชยคาง บีบจมูก
แสดงกลปกทางเดินหายใจ 
ทางเดินหายใจถูกอุดกัน้เปิดทางเดินหายใจ
ถ้ามีผู้ช่วย 2 คน ให้แบ่งหน้าที่กันทา คือกดหน้าอก 30 ครัง้ โดยนับ 
1 , 2 , 3 จนถึง 30 แล้วให้ผู้ช่วยเหลืออีกคนเป่าปาก 2 ครัง้ จนครบ 
5 รอบแล้วค่อยประเมินชีพจร
การจัดท่านอนพักฟื้น
การจัดวางตา แหน่งผู้ให้การช่วยเหลือ ทา CPR 
ตา แหน่งผู้ให้การช่วยเหลือ 
 คุกเข่าชิดลา ตัวผู้ป่วย 
 ขา 2 ข้างคร่อมอยู่ระหว่างหัวปหล่ 
ผู้ป่วย
ตาแหน่งของหัวใจ
การวางตาแหน่งมือนวดหัวใจ
ป 
ประชาชน 
ปลุก โทร ปั๊ม เป่า
การปฐมพยาบาลบาดแผลการห้ามเลือด
การปฐมพยาบาลบาดแผลการห้ามเลือด 
บาดแผลทั่วไป 
หลักการห้ามเลือด 
1. ป้องกันตนเองจากการติดเชื้อ ปม่สัมผัสบาดแผลหรือเลือดโดยตรง 
2. ใช้ผ้าสะอาดพันหนา ๆ กดทับลงบนบาดแผล ถ้าเลือดปม่หยุดใช้ผ้าผืน 
ใหม่กดทับซ้า ห้ามดึงผ้าชิ้นเดิมออก ใช้ผ้าพันแผลพันทับผ้าปิดแผล 
3. ยกอวัยวะส่วนที่บาดเจ็บให้สูง 
4. ถ้าเลือดยังปม่หยุด ให้ใช้นิ้วมือกดตรงจุดเลือดออก 
5. เฝ้าระวังอาการช็อค เนื่องจากการเสียเลือด
บาดแผลมีวัสดุปักคา 
บาดแผลถูกแทงที่ท้อง อาจปปทา ลายอวัยวะภายใน 
ปด้ ให้การช่วยเหลือ ดังนี้ 
1. ให้ผู้บาดเจ็บนอนหงาย งอเข่า 
2. ห้ามดึงมีดออก 
3. ปิดบาดแผลด้วยผ้าสะอาด 
4. งดอาหารและน้าทางปาก 
5. โทร 1669 รีบนาส่งโรงพยาบาล
บาดแผลมีวัสดุหักคา ห้ามดึงวัสดุนั้นออกมาเด็ดขาด 
ให้ยึดตรึงวัสดุนั้นให้นิ่ง
บาดแผลที่มีอวัยวะส่วนปลายถูกตัดขาด
บาดแผลที่มีอวัยวะส่วนปลายถูกตัดขาด
บาดแผลที่มีอวัยวะส่วนปลายถูกตัดขาด 
 ให้ทาการห้ามเลือดที่บาดแผล 
 เก็บอวัยวะส่วนที่ขาดนั้น นาใส่ถุงพลาสติกที่แห้ง 
และสะอาดปิดปากถุงให้แน่นแล้วแช่ลงในน้าแข็ง 
หรือน้าเย็น ที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส 
 รีบนาส่งโรงพยาบาล 
 โทร 1669
น้ายาสารเคมี / ผงฝุ่นเข้าตา
อวัยวะภายในโผล่ออกมา 
ห้ามจับยัดกลับเข้าปป 
 ให้ใช้ผ้าสะอาดชุบน้าสะอาด หรือ น้าอุ่นบิดหมาด ๆ 
ปิดทับลงบนอวัยวะ 
 งดอาหารและน้าทางปาก 
 โทร 1669 รีบนาส่ง รพ.
บาดแผลที่ศีรษะ 
1. ห้ามเลือด ปิดแผล 
2. ถ้าเลือดออกมากให้ผ้ายืดรัด 
3. สังเกตการบาดเจ็บทางสมอง เช่น อาการ ปวด 
ศีรษะมาก ซึม พูดจาสับสน อาเจียนพุ่ง 
4. เฝ้าดูอาการอย่างใกล้ชิด 
5. งดอาหารและน้าทางปาก 
6. รีบนาส่งโรงพยาบาลทันที
คา แนะนาสังเกตอาการบาดเจ็บที่ศีรษะ 
ซึมลง หมดสติ กระสับกระส่าย 
การพูดผิดปกติ 
อาเจียนบ่อย / พุ่ง 
แขน – ขา อ่อนแรง ลุกเดินเซ ล้ม 
ชักเกร็ง ปข้ ปวดศีรษะมาก 
ตาพร่าเห็นภาพซ้อน 
ปวดต้นคอ 
มีน้าใส หรือ เลือดปน ออกจากหู จมูก ลงคอ
บาดแผลถูกสัตว์กัด 
• ฟอกล้างแผลทันที 
ด้วยสบู่และน้าสะอาด 
• ปิดแผลด้วยผ้าสะอาด 
• นาส่ง รพ.
แผลปฟปหม้น้าร้อนลวก 
1. 2. 2. 
3. 4.
การปฐมพยาบาลแผลปฟปหม้น้าร้อนลวก
แผลปฟปหม้น้าร้อนลวก 
 รีบดับปฟทันทีใช้ผ้าหนาๆหรือผ้าสะอาดชุบน้าและคลุมตัว 
ผู้เจ็บป่วยปว้ 
 ใช้น้าเย็นราด หรือวุ้นของว่านหางจระเข้วางประคบจนกว่า 
อาการปวดแสบ ปวดร้อนจะหายปป 
 ถอดเครื่องประดับออก ก่อนที่แผลจะบวม
การปฐมพยาบาลถูกกระแสปฟฟ้าช๊อต 
- ความปลอดภัยของสถานที่เกิดเหตุ 
- พึงระวังว่าเสื้อผ้าอาจจะถูกเผาปหม้ติดกับผิวหนัง 
- ผู้ป่วยมักจะมีอาการหนักกว่าที่สังเกตเห็นภายนอก 
-ตรวจชีพจร ดูแลการหายใจและภาวะหัวใจหยุดเต้น 
-แจ้งขอความช่วยเหลือจาก 1669
การช่วยเหลือเด็กจมน้า 
กรณีไม่หายใจ 
ให้ช่วยเป่าปาก และนวดหัวใจทันที
การปฐมพยาบาลกระดูกหัก 
อาการและอาการแสดงของกระดูกหัก 
 บวม ปวด กดเจ็บ อาจมีรอยฟกช้า บริเวณที่หัก 
 รูปร่างของกระดูกผิดรูปปปและเคลื่อนปหวผิดปกติ 
 มีเสียงดังกรอบแกรบเวลาเคลื่อนปหว 
 อวัยวะที่หักสัน้กว่าเดิม 
 มีกระดูกโผล่ออกมา
 ถ้ามีบาดแผลเลือดออก ให้ห้ามเลือด ปิดแผลก่อนดาม 
 กระดูกหักที่โผล่ออกมานอกเนื้อ ห้ามดันกลับเข้าที่ 
เป็นอันขาด 
 เพื่อให้ส่วนที่หักอยู่นิ่ง ปม่เคลื่อนปหว ให้ตรึงกระดูกส่วนที่ 
หักอยู่กับที่โดยการดาม
กระดูกสันหลังหัก 
เคลื่อนย้ายปม่ถูกวิธีจะ 
ก่อให้เกิดอันตรายถึงแก่ชีวิต 
หรือ เป็นอัมพาตปด้ ปม่แนะนา 
ให้ทาการเคลื่อนย้ายเอง ให้ 
ขอความช่วยเหลือจากหน่วย 
ทางการแพทย์ / ทีมกู้ชีพผ่านการ 
อบรม
สาเหตุ 
- เกิดจากการตกจากที่สูงด้วยท่าก้นกระแทก ซึ่งความสูงมากเกิน 2 เมตร 
- จากอุบัติเหตุท้องถนน 
อาการและอาการแสดง 
1. หักส่วนคอ จะปวดคอ หลัง แขนขาชาหรืออ่อนแรง อาจมีอาการหายใจ 
ขัด อึดอัดหายใจลา บาก 
2. หักส่วนเอวหักจะมีอาการปวดเอว ขาทัง้สองข้างอ่อนแรง กลัน้อุจจาระ 
หรือปัสสาวะปม่ปด้
การยกเคลื่อนย้ายแบบท่อนซุง (Log rolling) 
กระดูกสันหลังหักที่พบบ่อย 
คือ บริเวณคอและส่วนเอว 
การปฐมพยาบาล 
ดามกระดูกสันหลัง 
โดยให้คอและหลังอยู่ใน 
แนวตรง และระวังไม่ให้ 
กระดูกเคลือ่นที่
1. ปกป้องและดูแลให้ส่วนที่หักปด้อยู่นิ่ง 
2. สังเกตภาวะเลือดออก การบวม อาการปวด 
3. ตรวจการปหลเวียนโลหิตปปเลี้ยงอวัยวะส่วน 
ปลาย
การดามเบื้องต้น
1. ให้พักหรือ งดการเคลื่อนปหวอวัยวะที่บาดเจ็บ 
3. ใช้ผ้าชุบน้าเย็นประคบนาน 24 ชัว่โมงแรก หลังจากนั้นประคบด้วยความร้อน 
4. ใช้ผ้ายึดบริเวณที่ปด้รับบาดเจ็บให้ข้ออยู่นิ่ง ๆ 
5. ยกส่วนที่ฟกช้าให้สูงขึ้น 
6. นาส่ง รพ.
การปฐมพยาบาลอาการเป็นลม 
เป็นลม คือ การหมดความรู้สึกตัวในช่วงสัน้ๆ เนื่องจากเลือดปป 
เลี้ยงสมองปม่พอ : สาเหตุมาจาก 
•เจ็บปวด อารมณ์ ความหิว การอยู่ในที่อบอ้าว เป็นเวลานาน อาการ 
แสดงอ่อนเพลีย เวียนศีรษะ หน้าซีด ตัวเย็นชีพจรเบา 
• การปฐมพยาบาล : 
-จัดท่าให้นอนราบ ยกปลายเท้าสูง ให้อยู่ในที่อากาศถ่ายเทสะดวก 
-คลายเสื้อผ้าให้หลวม 
-ดื่มน้าหวานหรือน้าเกลือแร่ 
-ถ้าอาการปม่ดีขึ้น ให้ขอความช่วยเหลือจาก 1669
1.) งูประเภทมีพิษต่อระบบประสาท 
 บริเวณที่ถูกกัดจะปวดและบวมเล็กน้อย ชาตรงที่ถูกกัด 
 มีอาการอ่อนเพลีย ง่วงนอน ลืมตาปม่ขึ้น พูดจาอ้อแอ้ กลืนลาบาก 
และหายใจปม่สะดวก 
ในที่สุดจะเป็นอัมพาตทัว่ร่างกายและเสียชีวิต 
เพราะระบบการหายใจหยุดทางาน 
งูเห่า 
งูจงอาง 
งูสามเหลี่ยม
2.) งูประเภทมีพิษต่อเลือด 
 บริเวณที่ถูกกัดจะปวดและบวมมาก ผิวหนังจะเปลี่ยนสี หนังเป็นเม็ดพอง มี 
น้าเหลืองหรือเลือดไหลซึมตรงบริเวณที่ถูกกัด 
มีเลือดออกมาตามผิวหนัง มีจ้า เลือด ไอเป็นเลือด เลือดออกจากเหงือก เลือด 
กาเดาไหล หรืออุจจาระปัส 
สาวะเป็นเลือด คนไข้จะเพลียลง แต่ไม่มีอาการ 
อัมพาต และจะตายเพราะหัวใจวาย 
งูกะปะ 
งูแมวเซา 
งูเขียวหางไหม้
3.) งูประเภทมีพิษต่อกล้ามเนื้อ 
งูทะเลกัดใหม่ ๆ จะไม่มีอาการปวด หลังจากถูกงูทะเลกัดแล้ว ราว 30 นาที 
ถึง 1 ชัว่โมง จะมีอาการปวดตามกล้ามเนื้อ และเคลื่อนไหวแขนขาไม่ได้ ทา ให้ 
กล้ามเนื้อเป็นอัมพาตบางส่วน ขากรรไกรจะเกร็ง และตายได้เนื่องจากภาวะการหายใจ 
ล้มเหลว และไตหยุดทางาน 
ฉะนั้น ถ้าหลังจากถูกงูทะเลกัดแล้ว 30 นาที ถึง 1 ชัว่โมง ยังเคลื่อนไหวแขนขา 
ได้โดยไม่มีอาการเจ็บปวด แสดงว่าพิษงูเข้าร่างกายเพียงเล็กน้อยเท่านั้น 
งูทะเล
งูมีพิษพิษอยู่ที่เขีย้ว 2 อัน ขากรรไกรบน 
รูปตา 
เรียว
งูปม่มีพิษ 
งูปม่มีพิษมีแต่ฟัน ปม่มีเขี้ยว 
บาดแผลจะเป็น รอยถลอก ให้ทาแผลแบบแผลถลอก 
งูปล้องอ้อย
การปฐมพยาบาลเมื่อถูกงูกัด 
การ
ส่งเสริมคนทาดี 
ปลูกเมล็ดพันธ์แห่งความดี 
ให้งอกงามในใจผู้มีจิตอาสา
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57

Contenu connexe

Tendances

การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
Patamaporn Seajoho
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
Kobwit Piriyawat
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
Maytinee Beudam
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
pueniiz
 

Tendances (20)

Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานBLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
 
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษการเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
 
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
 
พลังงานชีวมวล
พลังงานชีวมวลพลังงานชีวมวล
พลังงานชีวมวล
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
22
2222
22
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
Wound care
Wound careWound care
Wound care
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 

Similaire à งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57

เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123
Janjira Majai
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
guest8be8a6
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
Janjira Majai
 
Osce ศรว ครั้งแรก dec52
Osce ศรว ครั้งแรก dec52Osce ศรว ครั้งแรก dec52
Osce ศรว ครั้งแรก dec52
vora kun
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency prevention
taem
 
เล่ม แผลและห้ามเลือด New
เล่ม แผลและห้ามเลือด Newเล่ม แผลและห้ามเลือด New
เล่ม แผลและห้ามเลือด New
savong0
 
คู่มือ อาสาฉุกเฉินชุมชน
คู่มือ อาสาฉุกเฉินชุมชนคู่มือ อาสาฉุกเฉินชุมชน
คู่มือ อาสาฉุกเฉินชุมชน
Rx_petch
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วย
Ozone Thanasak
 
From er to_community_children_safety
From er to_community_children_safetyFrom er to_community_children_safety
From er to_community_children_safety
taem
 
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีการจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
techno UCH
 

Similaire à งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 (20)

Initial Assess Trauma (Thai)
Initial Assess Trauma (Thai)Initial Assess Trauma (Thai)
Initial Assess Trauma (Thai)
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
 
Kinematics (Thai)
Kinematics (Thai)Kinematics (Thai)
Kinematics (Thai)
 
Triage
TriageTriage
Triage
 
Extern conference 50859
Extern conference 50859Extern conference 50859
Extern conference 50859
 
Osce ศรว ครั้งแรก dec52
Osce ศรว ครั้งแรก dec52Osce ศรว ครั้งแรก dec52
Osce ศรว ครั้งแรก dec52
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency prevention
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 4 23.7.17 v1.doc
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 4  23.7.17 v1.docจุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 4  23.7.17 v1.doc
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 4 23.7.17 v1.doc
 
เล่ม แผลและห้ามเลือด New
เล่ม แผลและห้ามเลือด Newเล่ม แผลและห้ามเลือด New
เล่ม แผลและห้ามเลือด New
 
TAEM10:Emergency chest pain
TAEM10:Emergency chest painTAEM10:Emergency chest pain
TAEM10:Emergency chest pain
 
ปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับนักดำน้ำ หมออ่วมช่วยชีวิต
ปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับนักดำน้ำ หมออ่วมช่วยชีวิต ปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับนักดำน้ำ หมออ่วมช่วยชีวิต
ปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับนักดำน้ำ หมออ่วมช่วยชีวิต
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
 
คู่มือ อาสาฉุกเฉินชุมชน
คู่มือ อาสาฉุกเฉินชุมชนคู่มือ อาสาฉุกเฉินชุมชน
คู่มือ อาสาฉุกเฉินชุมชน
 
Muscle Skeletal (Thai)
Muscle Skeletal (Thai)Muscle Skeletal (Thai)
Muscle Skeletal (Thai)
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วย
 
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไขกรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
 
From er to_community_children_safety
From er to_community_children_safetyFrom er to_community_children_safety
From er to_community_children_safety
 
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีการจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
 

งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57