SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  103
Télécharger pour lire hors ligne
๑


                               ปริศนาธรรมในพุทธปรั ชญา
                                                                ผศ.ดร.จักรพรรณ วงศ์ พรพวัณ
…………………………………………………………………..………………
ความรู้ ทัวไปเกียวกับปริศนาธรรม
             การศึกษาหลักธรรมคําสอนในทางพระพุทธศาสนานัน มีวธีการศึกษาหลายรู ปแบบด้วยกัน
                                                                 ิ
ขึนอยู่กบความถนัดหรื อจริ ตของผูศึกษาเอง บางคนถนัดศึ กษาทางด้านปริ ยติ บางคนถนัดเรื องการ
           ั                       ้                                    ั
ปฏิบติ บางคนถนัดเรื องการใช้ความคิด หรื อสติปัญญาในการวิเคราะห์หลักธรรมต่างๆ เพือให้เกิด
      ั
กระบวนการตีความหลักคําสอนบางบทหรื อบางหมวดทีดูคลุมเครื อให้ง่ายและชัดเจนยิงขึน วิธีการ
คิดหรื อวิเคราะห์หลักธรรมเพือตีเอาความหมายออกมานันนิยมศึกษากันในประเทศญีปุ่ น ซึงเรารู ้จก  ั
กันในนามพุทธศาสนานิกายเซ็น ซึ งเป็ นวิธีการเรี ยนการสอนทีใช้วตถุหรื ออุปกรณ์ธรรมชาติทวไป
                                                                   ั                      ั
เป็ นสื อในการสอนธรรม หน้าทีของผูเ้ รี ยนนันจะต้องคิดวิเคราะห์หรื อตีความเอาเอง เช่ น การสอน
เรื องชาล้นถ้วย อาจารย์ผูสอนก็ใช้แค่ถวยชาทีใส่ นาจนเต็มแล้ว เอามาตังไว้เพือสอนคนทีอวดรู ้อวด
                          ้            ้         ํ
เก่ งไม่ยอมรับใครว่าเป็ นพวกชาล้นถ้วย เป็ นต้น วิธีการนีก็คล้ายๆ กับปราชญ์ผูสอนธรรมของไทย
                                                                            ้
สมัยก่ อนทีมีวธีการสอนธรรมแบบแยบยนและชวนให้คิด ซึ งมักจะผูก เป็ นหัวข้อธรรมไว้เพือให้
                  ิ
ศิษย์ผูเ้ รี ยนธรรมคิดค้นไตร่ ตรองหาคําตอบโดยการใช้ปัญญาเป็ นหลักในการแก้ขอเงือนงําทังหลาย
                                                                              ้
วิธีการเรี ยนการสอนธรรมแบบนี ได้กลายมาเป็ นมรดกตกทอดทางด้านปริ ศนาธรรมสําหรับอนุช น
รุ่ นหลังได้คิดหาคําตอบกันจนกระทังปัจจุบน  ั

ปริ ศนากับปรั ชญา
         คําว่า "ปริศนา" หมายถึง สิ งหรื อถ้อยคําทีผูกขึนเป็ นเงือนงําเพือให้แก้ให้ทาย๑ เพือขบคิดหา
ข้อ เท็จจริ ง ตามหลัก คําสอนทางพุทธศาสนาที แฝงเร้ นอยู่ ก ับคํา ปริ ศ นานันๆ ถ้า จะกล่ าวในเชิ ง
ขบวนการคิด คํานีมีความหมายคล้ายคลึงกับคําว่า "ปรั ชญา" ซึ งหมายถึง วิชาว่าด้วยหลักแห่งความรู ้
และความจริ ง๒ อันหมายถึง ความรู ้ หรื อ ความจริ งทีเกิดขึนหลังจากการคิดและสิ นความสงสั ยหรื อ
สิ นความแปลกใจแล้ว โดยความหมายทางปรัช ญาตะวันออก เช่ น พุทธปรัช ญา หมายถึงความรู ้ ที
ประจักษ์ แ จ้ง ที สามารถข้ามพ้นแดนแห่ ง ความสงสั ยหรื อความมื ดมนแห่ ง ชี วิต เรี ย กได้ว่าเป็ น



       ป.ธ. ๖, พธ.บ., M.A. (Phil.), M.A. (Bud.), Ph.D. (Phil.)/ อาจารย์ประจําวิทยาลัยสงฆ์เลย
        ๑
         ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ (กรุงเทพ ฯ : อักษรเจริ ญทัศน์
,๒๕๓๙), หน้า ๕๑๖.
       ๒
         เรืองเดียวกัน, หน้า ๕๑๒.
๒

"ความรู้ อันประเสริ ฐ" ทีสามารถยกฐานะของผูรู้ขนสู่ ทีสู ง คือจาก ปุถุชน เป็ น กัลยาณชน และจาก
                                               ้ ึ
กัลยาณชนเป็ น อริ ยชน
          จะเห็นได้วาคําทังสองนีต่างก็มีจุดหมายเพือให้เ กิดความคลุม เครื อมีเงื อนงําทีแฝงไปด้วย
                    ่
หลักแห่ งความจริ ง ทียัวยุให้ผูสงสัยพยายามขบคิด หาคําตอบทีถูกต้อ งจนเป็ นทีพอใจ แต่เ มื อใด
                               ้
คําตอบทีแฝงอยู่ในคําทีเป็ นปริ ศนาถูกเปิ ดเผย หรื อสิ นความสงสัยจากการคิดค้นทางปรัชญาแล้ว คํา
ว่า "ปริ ศนา" และ "ปรัชญา" ก็จะหมดหน้าทีไปทันที ฉะนัน หน้าทีหลักของปริ ศนาและปรั ชญาอยู่ที
การพยายามตังปั ญหาเพือให้เกิดการขบคิดในการแสวงหาความรู ้ หรื อข้อเท็จจริ งทีแฝงอยู่ในหลักสัจ
ธรรมอันลึกซึ ง ทังนีเพือจะดึงเอาศักยภาพทางปัญญาของมนุษย์ออกมานันเอง

พุทธศาสนาเป็ นปรั ชญาหรือไม่
         ยังมีขอถกเถียงกันอยู่บางในหมู่ของนัก ปราชญ์ไทยทีว่า พุทธศาสนาเป็ นปรั ชญาหรื อไม่
                ้              ้
นัก ปราชญ์แ ต่ ล ะท่า นได้แ สดงความคิ ดเห็ นแตกต่ า งกัน ออกไปแต่โ ดยภาพรวมก็ มี ค วามเห็ น
คล้ายคลึงกันเพียงแต่มองคนละด้านเท่านัน ในทีนีขอนําเอาแนวความคิดของนักปราชญ์ผูเ้ ชียวชาญ
ทางพุทธศาสนาและปรัชญาสามท่านมาเป็ นข้อศึ กษา ในการวิเคราะห์หาคําตอบเกี ยวกับเรื องนี คือ
         สนิท ศรีสําแดง๓ กล่าวว่า ปรัชญา หมายถึงความรู ้ทีคลุมเครื อ ยังอยู่ในขันสงสัย ความรู ้ ใด
ทีมีบทสรุ ปชัดเจน ตังเป็ นทฤษฎีได้ จะกลายเป็ นศาสตร์ เ ฉพาะสาขาใดสาขาหนึ ง ความรู ้ ทีสงสัย
ส่ วนมากเกียวกับโลกจักรวาล และเป้ าหมายของปรัช ญาคือรู ้ เพือรู ้ นักปราชญ์จงไม่ยอมรั บว่า พุทธ
                                                                                ึ
ศาสนาเป็ นปรัชญา เพราะความรู้ในพุทธศาสนาทุกเรื องมีความแจ่มแจ้งชัดเจนไม่ค ลุมเครื อ พิ สูจน์
ได้ ทดสอบได้ เพราะพุทธศาสนาไม่ให้ความสําคัญเรื องโลกและจักรวาลอันเป็ น เรื องไกลตัว และ
เพราะพุทธศาสนา ไม่ได้แสวงหาความรู้ เพือรู ้ แต่ให้แ สวงหาความรู ้ เ พือนําไปใช้ดบทุ กข์ในชี วต
                                                                                    ั            ิ
ปั จจุบน
       ั
         อดิ ศัก ดิ ทองบุ ญ๔ กล่ าวว่า พุทธศาสนากับพุทธปรั ช ญาต่างก็เ กิ ดจากคําประศาสน์ข อง
พระพุทธเจ้า พุทธศาสนาดําเนินไปตามหลักคําประศาสน์ คือพระไตรปิ ฎก โดยไม่จาต้องใช้เหตุผล
                                                                                  ํ
ตีความคําประศาสน์เหล่านัน แต่พุทธปรัชญาเกิดจากความจําเป็ นต้องใช้เหตุผ ลตีความคําประศาสน์
เพือให้เข้าใจความหมายอันสลับซับซ้อนอยูในคําประศาสน์นนๆ
                                           ่               ั
         พระราชวรมุ นี (ประยูร ธมฺ มจิตฺโต)๕ กล่ าวว่า ความรู ้ ทางศาสนามีลก ษณะเป็ นปลายปิ ด
                                                                              ั
เพราะสาวกของแต่ละศาสนามีศรัทธาว่า คําสอนของศาสดาทีบรรจุไว้ในพระคัมภี ร์เป็ นความจริ ง

        ๓
        สนิ ท ศรี สําแดง,ปรัชญาเถรวาท (กรุ งเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๔), หน้า ๑๑๗.
      ๔
        อดิศกดิ ทองบุญ,ปรัชญาอินเดียร่ วมสมัย (กรุงเทพ ฯ : เพื อนพิมพ์,๒๕๓๒), หน้า ๔.
             ั
      ๕
        พระราชวรมุนี (ประยูร ธมฺมจิตฺโต),ปรัชญากรีกบ่ อเกิดภูมิปัญญาตะวันตก (กรุ งเทพ ฯ : บริ ษทเคล็ด
                                                                                               ั
 ไทย,๒๕๔๐) หน้า ๘.
๓

สู งสุ ด แต่ก็มีบ้า งทีบรรดาสาวกรุ่ นหลังตี ความพระคัมภี ร์ต่างกัน จนเกิ ดนิ กายหลากหลาย แต่ล ะ
นิกายต่างเสนอคําอธิ บายทีมีเหตุผลขัดแย้งกันและกัน และในกรณี นีศาสนาได้เข้าสู่ พรมแดนของ
ปรัชญา และเกิดปรัชญาแห่งศาสนานันๆ เช่ น พุทธปรัชญา เป็ นต้น
          ตามทัศนะของนักปราชญ์ทงสามท่านทีกล่าวมา ก็พอจะประมวลได้ว่า พุทธศาสนามีหลัก
                                     ั
คําสอนทีจริ งแท้ในแง่ของสัจธรรม และสามารถพิสูจน์ได้โดยการปฏิบติ และผูปฏิบติตามเท่านันจึง
                                                                      ั        ้ ั
จะรู ้ รสแห่ งพระสัทธรรมทีแท้จริ งโดยปราศจากความสงสัยใดๆ ทังสิ น เมื อความสงสั ยหมดไป
ปรัชญาทีทําหน้าทีแบบคลุมเครื อก็พลอยหมดหน้าทีไปด้วย แต่เมือใดเกิ ดความสงสัย ไม่เข้าใจอย่าง
แจ่มแจ้ง หรื อมีความคลุมเครื อในหลัก ธรรม ย่อมจะมีการตีความหรื อวิเ คราะห์หลัก ธรรมนันๆ
เพือให้เกิดความแจ่มแจ้ง ลักษณะของการวิเคราะห์หรื อตีค วามดังกล่าว จึงจําเป็ นอย่างยิงทีจะต้อง
อาศัยแนวความคิดเชิงปรัชญาเข้ามาช่ วยในการหาความรู ้ทีถูกต้องและสมเหตุสมผล การวิเคราะห์
หรื อตีความหมายหลักธรรมตามวิธีการทางปรั ชญาดังกล่ าว ทําให้เกิดคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา
ตามมามากมาย เช่น คัมภีร์อรรถกถา ฎีกา อนุ ฎีกา เป็ นต้น ดังนัน ตราบใดทียังมีการวิเคราะห์ หรื อ
ตีความของนักปราชญ์ผูทียังสงสัยในหลักคําสอนอยู่ ปรัชญาก็ยงคงทําหน้าทีอย่า งไม่ล ดละเช่ นกัน
                          ้                                    ั
คล้ายกับเป็ นปริ ศนาธรรมให้นกคิดค้นหาคําตอบ เพือให้ตวเองพ้นจากความสงสัยให้ได้ ฉันนัน
                               ั                         ั

ความหมายและทีมาของปริศนาธรรม
          คําว่า "ปริ ศนาธรรม" หมายถึง คําสังสอนของพระพุทธเจ้าอันแสดงถึงความจริ ง แท้ข อง
ธรรมชาติทีถูกผูกขึนอย่างเป็ นเงือนงําเพือให้แก้ให้ทายโดยการคิดไตร่ ตรองอย่างมีเหตุผล ปริ ศนา
ธรรมเกิ ดจากนักปราชญ์ผูชาญฉลาดในการนําเอาหลักธรรมของพระพุทธเจ้ามาถ่ายทอดโดยการผูก
                           ้
เป็ นปริ ศนาไว้เพือให้อนุชนรุ่ นหลังได้ขบคิดหาคําตอบ เพือทีจะได้เข้าถึง หลัก คําสอนทีแท้จริ งใน
อีกรู ปแบบหนึง การสอนธรรมแบบปริ ศนาธรรมนี มีลกษณะคล้ายกับการถ่ายทอดธรรมแบบพุทธ
                                                      ั
ศาสนานิ กายเซน (Zen)๖ ของญีปุ่ น คือเน้นให้ผูทีถูกถ่ายทอดขบคิดเพือตีปัญหาข้อธรรมนันๆ ให้
                                               ้
แตก โดยการใช้ปัญญาเป็ นหลัก ในการแก้ขอ เงือนงําตามหลักคําสอนทีผูกเอาไว้โดยนักปราชญ์
                                             ้
ผูสอนธรรม
  ้
          ปริ ศ นาธรรมเป็ นคํา กลางๆ ทีท้า ทายให้ผูคิดหาคําตอบตามสติปัญญาหรื อ ภู มิธรรมของ
                                                   ้
ตนเอง ลักษณะคําตอบหรื อการแก้ทายปริ ศนาธรรมของแต่ละคนไม่จาเป็ นต้องเหมือนกัน เสมอไป
                                                                   ํ
อาจมีความต่างกันบ้าง ทังนีขึนอยู่กบผูตอบ ใครจะตอบอย่างไรก็ไม่ถอว่าผิด เพราะหลักคําสอนทาง
                                    ั ้                          ื

         ๖
          นิกายเซน (Zen) มาจากพุทธศาสนานิ กายฌาน (Chan) ของจี น รากศัพท์ของคําว่า "เซน" หรื อ "ฌาน"
มาจากคําว่า "ธฺ ยานะ" ในภาษาสันสกฤตซึ งแปลว่า "สมาธิ ภาวนา" (Meditation) นิ กายนี มี การสอนโดยใช้
ปริ ศนาธรรมหรื อที เรี ยกกันว่า "โกอาน" (Koan) เป็ นอุบ ายในการปฏิ บติเพื อให้เข้าถึ งธรรม ศึกษาเพิ มเติ มใน
                                                                    ั
ทวีวฒน์ ปุณฑริ กวิวฒน์, ศาสนาและปรัชญาในจีน ทิ เบตและญีปุ่ น. สํานักพิ มพ์สุขภาพใจ,๒๕๔๕.
     ั              ั
๔

พุทธศาสนาเป็ นสิ งสากล สามารถนํา มาประยุก ต์ใช้กับเหตุ การณ์ หรื อ เรื องราวต่า งๆ ได้เ สมอ
เพียงแต่วาผูแก้ทายจะสามารถนําเอาหลักธรรมทีแฝงอยู่ในปริ ศนานันมาอธิ บายได้สมเหตุสมผล
          ่ ้
หรื อไม่เพียงไรเท่านันเอง วิธีการหาคําตอบหลักธรรมในรู ปแบบของปริ ศนานี บางครังมีการตีความ
เพือให้หลักธรรมข้อนันๆ เกิดความชัดเจน วิธีการนีเป็ นวิธีการของปรัชญา ทีพยายามจะชีให้เห็นใน
แต่ละประเด็นทีมนุ ษย์ตองการจะรู ้ คําตอบอยูทีว่าใครจะอธิ บายข้อเท็จจริ งได้ดีกว่า และคําตอบอาจ
                        ้                  ่
แตกต่างกันออกไป

หมวดแห่ งปริ ศนาธรรม
         นักปราชญ์ผูสอนธรรมโบราณ จะเน้นให้ผูศึกษาใช้ความคิดพิจารณาขบคิดในหัวข้อธรรม
                        ้                            ้
ต่างๆ จึงมัก จะผูกหัวข้อ ธรรมเหล่านันเป็ นหลัก ปริ ศนาไว้ในลัก ษณะทีเป็ นหมวดๆ และการผูก
ปั ญหาธรรมแต่ละข้อก็ทีค่ อนข้า งจะลึ ก ซึ ง ผู ้ตอบปั ญหาจะต้องใช้การพิ จารณาโดยการไตร่ ตรอง
พอสมควร เพราะปั ญหาทีนักปราชญ์ผูสอนธรรมผูกไว้ บางปั ญ หาเกี ยวข้องกับหลักธรรมโดยตรง
                                          ้
บางปั ญหาก็มีการเปรี ยบเทียบกับสรรพสิ งภายนอกทีสามารถสัมผัสได้ดวยประสาททังห้า หรื อบาง
                                                                       ้
ปั ญหาดูเ หมือ นหาคําตอบง่ าย แต่แ ฝงไปด้วยหลัก สัจธรรมอัน ลึกซึ ง เช่ น ปั ญหาทีว่า "ไปไม่ กลับ
หลั บไม่ ตืน ฟื นไม่ มี หนี ไม่ พ้น " คือ อะไร เมือพบปั ญหานี ทุกคนแม้แ ต่ เด็ก ก็ สามารถตอบได้ว่า
"ความตาย" เพราะลักษณะของปั ญหาชวนให้ตอบเช่ นนัน หรื ออย่างน้อยก็เ คยเห็นในเวลาไปงาน
ศพ พระผูทาหน้าทีสวดพระอภิธรรม ท่านมักจะนําตาลปั ตรทีสลักข้อความดังกล่าวมาใช้ในเวลาทํา
           ้ ํ
พิธีสวด เราก็เลยตีความหมายเช่ นนัน แต่ แท้จริ งข้อความดัง กล่าวแฝงไปด้วยหลักปรัชญาธรรมที
ลึกซึงชวนให้ขบคิดหาคําตอบยิงนัก ดังจะแก้ทายไขปริ ศนาไปเป็ นหมวดๆ ดังนี

        ปริ ศนาธรรมหมวดทีหนึง

                ♣ ไปไม่ กลับ
                ♣ หลับไม่ ตืน
                ♣ ฟื นไม่ มี
                ♣ หนีไม่พ้น
๕

         ♣ ไปไม่ กลับ
          คําว่า “ไปไม่ กลับ” หมายถึง พระอริ ยบุคคลทีสําเร็ จเป็ นพระอรหันต์๗ ดับกิ เลสได้แ ล้ว เมือ
ละสังขาร (นิพพาน) แล้วจะไม่กลับมาเกิดใหม่อีก กล่าวคือเพิกถอนเสี ยได้ซึงการเวียนว่ายตายเกิ ด
เพราะสามารถกําจัดหรื อ ทําลายลงเสี ยได้ซึงอุ ปสรรคศัตรู กล่าวคือ กิ เลส อันได้แก่ ราคะ โทสะ
โมหะ ซึ งเป็ นรากเง้าแห่งอกุศลมูลทังปวง
          คําว่า “อรหัง” ทีแปลว่า พระอรหั นต์ นัน มาจากศัพท์ว่า อรหะ แปลว่า ผูไม่มีค วามลับ ผู ้
                                                                                        ้
บริ สุทธิ พร้ อมทีจะเปิ ดเผยให้โลกทราบ ทนทานต่อการพิสูจน์ในทุกกาลสมัย เป็ นผูหักเสี ยซึ งกง
                                                                                          ้
กรรมแห่ งสังสารวัฏฏ์ ตังอยู่ห่ างไกลจากสรรพกิ เลสและตัณหาทังปวง เพราะเป็ นผูกําจัดเสี ย ซึ ง้
เครื องร้ อ ยรั ดคือห่วง อันเป็ นเครื องยัง สรรพสั ตว์ให้ข้อ งอยู่ในสงสารการเวียนว่ายตายเกิ ด พระ
อริ ยบุคคลผูบริ สุทธิ บริ บูรณ์ ผูละเสี ยซึงภพหน้า (การเกิ ดใหม่) ดังกล่าวนี มีอยูเ่ ฉพาะในพุทธศาสนา
               ้                  ้
เท่านัน
          อีกความหมายหนึงคือ “เวลา” เนืองจากกาลเวลานันมันเป็ นวงจรของตัวมันเอง หมุนเวียน
เปลียนไปแล้วก็กลืนกินสรรพสัตว์ทงหลายให้ล้มหายตายจากไปในขณะเดียวกัน อย่างเช่นในแต่ละ
                                         ั
ปี ทีผ่านไป ถ้าสังเกตตัวเราให้ดี เราจะมีความรู ้สึกว่าเราเสี ยบางสิ งบางอย่างไปอย่างไม่มีวนได้คืนมา
                                                                                                ั
สิ งนันคือ “อายุ” ทีผ่านพ้นไปกับกาลเวลาในแต่ละวัน แต่ละเดือน แต่ละปี เด็กจะมีความรู ้ สึกว่าเสี ย
ความเป็ นเด็กไป เมือเป็ นผูใหญ่วยกลางคน จะมีความรู ้ สึกว่าเสี ยความเป็ นหนุ่ มเป็ นสาว ใกล้ความ
                              ้      ั
เป็ นไม้ใกล้ฝัง (ความตาย) เข้าไปทุกที เราจะมาเรี ยกร้ องเวลาอันสดใสคืนก็ไม่ได้
          เรื องของเวลานีท่านอุปมาเหมือนยักษ์ เรี ยกว่า “กาลยักษ์ ” มัก กลืนกิ นสรรพสัตว์ทงหลาย   ั
อยู่ตลอดเวลา และมิใช่จะกลืนกินแต่ผูอืนเท่านัน แม้แต่ตวมันเองก็ไม่เว้น ดังพระบาลีวา “กาโล ฆส
                                           ้                 ั                                ่
ติ ภูตานิ สพฺพาเนว สหตฺตนา กาลเวลากลืนกินสั ตว์ทงหลายกับทังตัวมันเอง” อย่างเช่นวันเดือนและ
                                                       ั
ปี ทีผ่านมา ก็ถูกกาลยักษ์กลืนไปหมดแล้ว จะย้อนหลังก็ไม่ได้ ดังคํากลอนทีนักปราชญ์ประพันธ์ไว้
เพือเป็ นคติเตือนใจว่า “อันเงินทองหล่ นหายย้ อนไปหา ยังมีท่าหวังพบประสบสม แต่ เวลาผ่ านไปไม่
ปรารมภ์ จะนิยมย้ อนหลังอย่ าหวังเลย”




         ๗
           พระอรหั นต์ คือพระผูบ ริ สุ ทธิ วิเ ศษ ได้แก่ท่านผูทีกําจัดกิเ ลสได้สินเชิง ในพุทธศาสนามี ๔ จําพวก
                                ้                             ้
คือ สุกขวิปัสสโก ผูสาเร็ จโดยการเจริ ญวิปัสสนาล้วน ๑ เตวิชโช ผูสาเร็ จโดยได้วิชชาสาม ๑ ฉฬภิญ โญ ผูสําเร็ จ
                   ้ ํ                                               ้ ํ                                ้
โดยได้ อภิญญาหก ๑ ปฏิสมภิทปปั ตโต ผูสาเร็ จโดยเข้าถึงปฏิสัมภิทาสี
                           ั ั           ้ ํ
๖

         ♣ หลับไม่ตืน
          คําว่า “หลับไม่ ตืน” หมายถึง การมัวเมาหลงใหลตกเป็ น ทาสติดอยู่ในรสแห่ งกามคุ ณ ห้า๘
อย่างไม่มีสติยบยังหรื อควบคุมใจตนเองได้ ผู้ทีตกอยู่ในโลกของกามคุณนี ยิงเสพมาก สัมผัสมากยิง
                  ั
พอใจมาก มีความต้องการเพิมขึนเรื อยๆ โดยไม่รู้จกคําว่าพอ หรื อหลงใหล (โมหะ) อย่างไม่ลืมหูลืม
                                                   ั
ตา เหมื อ นดังคนตาบอดไม่ส ามารถจะมองเห็นสิ งภายนอกได้ ต้อ งตกอยู่ ในโลกแห่ งความมื ด
ตลอดเวลา
          อีกความหมายหนึ งคือผูทีหลงมัวเมาตกเป็ น ทาสของอบายมุข (ปากแห่งความเสื อม) อัน
                                    ้
เป็ นบ่อเกิดสิ งทีไม่ดีงามทังหลาย มีแต่จะทําให้ชีวตตกตําห่างไกลจากความดีและทําจิตใจให้เศร้ า
                                                     ิ
หมองมืดมนอัน ธกาลมองไม่ เ ห็ น ความเจริ ญ ก้ า วหน้า ของชี วิต มีน ัก ปราชญ์บ างท่า นได้ก ล่ า ว
เปรี ยบเทียบอบายมุ ขว่าเป็ น “ผีร้าย” ทีน่ ากลัวมากกว่าผีตนใดๆ ในโลกนี เพราะถ้าผี เหล่านี ได้มา
หลอกหลอนหรื อเข้าสิ งผูใดแล้ว จะทําให้ผูนนถึงความย่อยยับอับจนทันที ผีร้ายดังกล่าวมีหกตัว คือ
                             ้               ้ ั
          “ผีทีหนึงชอบสุ ราเป็ นอาจิณไม่ ชอบกินข้ าวปลาเป็ นอาหาร
          ผีทีสองชอบเทียวยามวิกาลไม่ รักบ้ านรั กลูกเมียตน
          ผีทีสามชอบดูการเล่นไม่ ละเว้นบาร์ คลับละครโขน
          ผีทีสี ชอบเล่ นม้ ากีฬาบัตรสารพัดทัวไปไฮโลสิ น
          ผีทีห้ าคบคนชัวมัวกับโจรหนีไม่ พ้นอาญาตราแผ่ นดิน
          ผีทีหกเกียจคร้ านการทํากินมีทงสินหกผีอัปรีย์เอย”
                                         ั
          ผูทียังหลงมัวเมาอยู่ในรสแห่งกามคุณหรื อตกอยูในหลุ มแห่ งอบายมุขดังกล่าวชื อว่าเป็ นผู ้
            ้                                            ่
มืดบอดทางปั ญญา ชีวตมักจะเต็มไปด้วยปั ญหานานาประการ เพราะขึ นชื อว่าผู ้มืดบอดนันย่อมจะ
                         ิ
ปิ ดหนทางแห่งแสงสว่างเสมอ ดังคําทีว่า “มืด อะไรก็ ไม่ เท่ าปั ญญามืด แสงสว่ างอะไรก็ ไม่ เท่ าแสง
สว่ างแห่ งปั ญญา เพราะปั ญญาคือเครื องวัด ความชัดคื อธรรมชาติ ถ้ าผู้ ใดเอาปั ญญามาพิจ ารณา
ธรรมชาติได้ ผู้นันชือว่ าผู้พ้น” จากความหลับมืดมนจากกิเลสเครื องร้ อยรัดทังหลาย

         ♣ ฟื นไม่ มี
       คําว่า “ฟื นไม่ มี” หมายถึง การกํา จัดกิ เลส ตัณหา อาสวะ ให้ดบสนิ ทแล้วไม่เกิ ดขึนมาอีก
                                                                    ั
เหมือนไฟหมดเชือ ความหมายนีเป็ นลักษณะของจิตพระอริ ยบุคคลทีไม่ตกอยู่ในอํานาจแห่ ง กิ เลส
ตัณหา คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง มีปัญญาสว่างไสวสามารถกําจัดกิ เลสทีเข้า มาทําให้จิต
เศร้าหมอง กล่าวคือความเร่ าร้ อน กระวนกระวาย ขุ่น มัว มัวเมา ทะเยอทะยานไปตามอํานาจของ

         ๘
           กามคุณห้ า (ภาษาทางโลกเรี ยกว่า “วัตถุนิยม”) คื อ รู ป (รู ปะ) ได้แก่สิงที มองเห็ นด้วยตา ๑ เสี ยง (สัท
ทะ) ได้แก่สิงทีได้ยินด้วยหู ๑ กลิน (คันธะ)ได้แก่ สิ งที สูดดมได้ดวยจมูก ๑ รส (รสะ) ได้แก่สิงทีสัมผัสได้ดวยลิ น
                                                                 ้                                          ้
๑ กายสัมผัส (โผฏฐัพพะ) ได้แก่สิงที สัมผัสทางกาย แต่รับรู ้ดวยใจ้
๗

กิเลสตัณหาได้หมดสิ นและเด็ดขาด มีจิตบริ สุทธิ ไม่ยินดียินร้ ายในเวลาเห็นรู ป ฟั งเสี ยง ดมกลิน ลิม
รส ถูกต้องกายสัมผัส
           จิตทีหลุดพ้นจากอาสวะกิเลสดังกล่าวนี เกิ ดขึนครังแรกทีใต้ตนพระศรี มหาโพธิ หลังจากที
                                                                       ้
พระมหาบุรุษทรงบรรลุอาสวักขยญาณ ทรงปรี ชาสามารถทําอาสวะกิ เลสทังหลายให้หมดสิ นไป
ด้วยพระปั ญญา ทรงตรัสรู ้ เป็ นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าในเวลาปั จจุสมัย รุ่ งอรุ โณทัย ทรงเบิก
บานพระหฤทัยอย่างสู งสุ ดในการตรั สรู ้ ถึงกับทรงเปล่งพระอุ ทานเย้ย หยันตัณหาอันเป็ นตัวการ
ก่อให้เกิดสังสารวัฏฏทุกข์แก่พระองค์เป็ นอเนกชาติว่า “อเนกชาติสํส ารํ สนฺ ธาวิสฺสํ อนิ พฺพิสํ ฯลฯ
จิตฺตํ ตณฺหานํ ขยมชฺ ฌคาติ.” ความว่า “นับแต่ ตถาคตท่ องเทียวสื บเสาะหาตัวนายช่ างผู้กระทําเรื อน
คือตัวตัณหา ตลอดชาติสงสารจะนับประมาณมิได้ ก็มิได้ พานพบ ดู กร ตัณหา นายช่ างเรื อน บัด นี
ตถาคตพบท่ านแล้ ว แต่ นีสื บไป ท่ านจะทําเรือนให้ ตถาคตอีกไม่ได้ แล้ ว โครงเรื อนคือตัณหาเราก็รือ
เสี ยแล้ ว ช่ อฟาเราก็หักทําลายเสี ยแล้ ว จิตของเราเข้ าถึงพระนิพพานอันเป็ นธรรมทีปราศจากสั งขาร
                ้
ปรุ งแต่ งใดๆ ได้ ถึงความดับ สู ญสิ นไปแห่ งตัณหา อั นหาส่ ว นเหลือมิได้ แล้ ว”๑๐ เนื อหาในคําเปล่ ง
อุทานของพระพุ ทธองค์ นีแสดงถึ ง จิตที สะอาด สว่าง สงบ ปราศจากกิ เ ลสอาสวะใดๆ ทังสิ น
สามารถปิ ดช่องทางแห่งกิ เลสทังหลายไม่ให้ฟืนกลับคืนมาอีก

        ♣ หนีไม่ พ้น
          คํา ว่า “หนี ไม่ พ้น ” หมายถึ ง ความตาย ๑๑ ซึ งเป็ นสิ งทีทุก คนจะต้อ งได้พ บเสมอภาค
เหมื อ นกัน เพราะเป็ นสิ งทีธรรมชาติ ให้มาตังแต่วน เกิ ด ทุก คนจะต้อ งจนมุม หนี ไ ม่ร อด ไม่ มี
                                                     ั
ข้อยกเว้นและปฏิเสธไม่ได้ เราเกิดมาได้ชือว่ามาเฝ้ าความตาย คอยอยูวามันจะตายวันไหนก็ไม่ทราบ
                                                                     ่่
ดังทีปราชญ์ลิขิตไว้วา “เห็นหน้ ากันเมือเช้ าสายตาย สายอยู่สุขสบายบ่ ายม้ วย บ่ ายยังรื นเริ งกายเย็น
                         ่
ดับชีพนา เย็นอยู่หยอกลูกด้ วยคําม้ วยดับสู ญ” ตามความหมายนี แสดงว่าความตายจัดว่าเป็ นสภาพ
เทียง คื อเป็ นความเทียงแท้แน่ นอนว่าสั ต ว์ทุก จําพวกที เกิดมาในโลกนี ต่างก็จะต้อ งตายด้วยกัน
ทังนัน จะต่างกันก็ชาหรื อเร็ วเท่านัน ไม่มีใครจะป้ องกันได้โดยประการต่างๆ
                           ้
          แท้จริ งชีวตของมนุษย์เราเปรี ยบเหมือนกับละครโรงใหญ่ ที เทียวแสดงบทบาทของตัวเอง
                       ิ
เดียวแสดงเป็ นนันเป็ นนีอยูตลอดเวลา ชี วตแห่งละครของมนุษย์จึงเต็มไปด้วยอรรถรสทีหลากหลาย
                                ่          ิ
นานาประการ มีทงสุ ขทังทุ ก ข์ปะปนกันไปจนกว่าจะถึงกาลอวสานของชี วิต ดังคําประพันธ์ ทีว่า
                     ั
“โลกนีคือโรงละคร ปวงนิกรเราท่ านเกิดมา ต่ างร่ ายรําทําทีท่าตามลีลาของบทละคร บางครั งก็เศร้ า

        ๑๐
             พระวิเ ทศโพธิ คุณ, สู่ แดนพระพุท ธองค์ อิน เดีย - เนปาล (กรุ งเทพ ฯ : ธรรมสภา,๒๕๔๔), หน้า
๑๘๕.
        ๑๑
          สาเหตุแห่ งความตายของสรรพสั ตว์ มี ๔ ลักษณะ คือ ตายเพราะสิ นอายุ คือหมดอายุไข ๑ ตายเพราะ
  สิ นกรรม ๑ ตายเพราะหมดบุญ (ความชรา) ๑ ตายเพราะถูกกรรมตัดรอน เช่น ประสบอุบติเหตุตางๆ ๑
                                                                                 ั     ่
๘

บางคราวก็ สุขหั วอกสะท้ อน มีร้างมี รักมีจากมีจร พอจบละครชี วิตก็ลา” ไปสู่ จุดหมายปลายทาง
เดียวกันคือความตาย ซึ งเป็ นสิ งทีไม่สามารถจะหลีกลีหนีพนได้ จะหอบหิวเอาอะไรไปด้วยก็ไม่ได้
                                                             ้
แม้แต่คนรักทีห่วงนักหวงหนา ต่างก็อางสิ ทธิ ว่านีของมึงนันของกู ก็เอาไปด้วยไม่ได้ทงนัน
                                              ้                                         ั
          เมื อรู ้ วาชี วิตต้องตกอยู่ในกฎของธรรมชาติ (ไตรลัก ษณ์) เช่ นนี ท่านจึงสอนให้ระลึก ถึ ง
                     ่
ความตายเป็ นอารมณ์อยู่เสมอ ซึ งจัดเป็ นมรณานุ สสติ จักได้คลายความประมาทมัวเมา ความยึดมัน
ถือ มัน ฝึ กจิตให้คุ้น ชิ น กับความตาย จนกระทังมองเห็นเป็ นเรื องธรรมดา จัดเป็ นผู ้มีขวัญดี ไม่
หวันไหวเมือยามร้ ายคือมรณะมาถึง ดังคติเตือนใจตอนหนึ งว่า “คิดถึงความตายสบายนัก มั นหั กรั ก
หักหลงในสงสาร บรรเทามืดโมหันต์ อันธกาล ทําให้ หาญหายสะดุ้งไม่ ย่งใจ”    ุ
           อีกความหมายหนึงของคําว่า “หนีไม่พน” คือ กฎแห่งกรรม พระพุทธศาสนาได้ส อนเรื อง
                                                   ้
กรรมไว้วา กรรมเป็ นเครื องบันดาล กรรมเป็ นเครื องสร้ างทุกอย่าง กรรมคือ การกระทํา กระทําไว้
           ่
อย่างไร ย่อมเกิดผลแห่งการกระทําเช่ นนัน เหมือนชาวนาหว่านพืชไว้เช่ นไร ย่อมไร้รับผลแห่ งการ
หว่านพืชนัน ดังปรากฏในหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนาดังนี
          ๑. กมฺมสฺ สโกมฺหิ เรามีกรรมเป็ นของตน หมายความว่า การกระทําต่างๆ ที จะเกิ ดผลดีหรื อ
ชัวแก่ ตวเรา เป็ นการกระทําทีเกิ ดจากเจตนาของเราทังสิ น ไม่มีผู ้ใดมาทําแทนได้ เช่น สมมุติวาเรา
        ั                                                                                         ่
ใช้คนไปฆ่าศัตรู ของเรา เท่ากับว่าเจตนานันเป็ นของเรา ในกรณีนีแม้จะไม่ได้กระทําทางกาย แต่ ถือ
ว่ามโนกรรมและวจีกรรมเป็ นของเรา จึงเรี ยกว่า เรามีกรรมเป็ นของตน
          ๒. กมฺมทายาโท เราเป็ นผูรับผลของกรรมหรื อเป็ นทายาทของกรรม หมายความว่า เราเป็ น
                                        ้
ผูรับผลของกรรมด้วยตนเองไม่มีผูอืนมารับแทนได้ ไม่วากรรมนันเราจะทําไว้ตงแต่เมือใด จะเป็ น
   ้                                      ้                ่                     ั
กรรมดีหรื อกรรมชัว เราก็ตองเป็ นผูรับผลของกรรมนัน
                                  ้         ้
          ๓. กมฺมโยนิ เรามีกรรมเป็ นกําเนิด หมายความว่า กรรมเป็ น สิ งทีทําให้เราเกิ ดมา กรรมจะ
ส่ งผลให้เราเกิดอย่างไรก็ได้ การเกิ ดในตระกู ลสู งหรื อในตระกูล ตํา หรื อเกิ ดในฐานะอย่างไรเป็ น
เรื องของชนกกรรมเท่านัน
          ๔. กมฺมพัน ธุ เรามีก รรมเป็ นเผ่า พันธุ์ หมายความว่า บุค คลที ทํากรรมอันใดไว้จะต้อ ง
สื บเนืองในกรรมนันต่อไป เปรี ยบเหมื อนกับเผ่าพันธุ์ มนุ ษย์หรื อสัตว์ต่างๆ เช่ น ผูเ้ กิ ดเป็ นมนุ ษย์
ทางทีจะต้องสื บเนื องไปในกรรมนัน เช่ น กรรมชัวก็จะต้องสื บเนืองไปในกรรมชัว กรรมดีก็จะต้อง
สื บเนืองไปในกรรมดี
          ๕. กมฺมปฏิสรโณ เรามีกรรมเป็ นทีอาศัย หมายความว่า ผูทีทํากรรมดีก็อาศัยกรรมดีนนเอง
                                                                  ้                             ั
เพือดํารงความดีต่อ ไป ดังพุทธภาษิตว่า “ธมฺ โม หเว รกฺ ขติ ธมฺ มจารี ” ความว่า “ธรรมย่อมรั กษาผู ้
ประพฤติธรรม”
          ๖. ยํ กมฺมํ กริสฺสามิ กลฺยาณํ วา ปาปกํ วา ตสฺ ส ทายาโก ภวิสฺสามิ เราทํากรรมใดไว้ ดีหรื อ
ชัวก็ตาม เราจะต้องเป็ นผูรับผลของกรรมนัน
                                ้
๙

          ดังทีกล่าวมาทัง ๖ ข้อนี ชี ให้เห็นว่า เราไม่สามารถจะหลีกหนี กรรมของเราพ้น ทํากรรม
อย่างไรก็ตองรับผลอย่างนันเสมอ แม้แต่พระอริ ยสาวกผูเ้ ลิศทางด้านอภินิหารอย่างพระมหาโมคคัล
             ้
ลานะ ก็หนีกฎแห่งกรรมทีท่านเคยสร้างมาในอดีตชาติไม่ได้ ดังจะเห็นได้จากท่านถูกพวกโจรรุ มตี
ทุบทําร้ ายจนกระทังแหลกเป็ นจุณ ก็ผลจากการทีท่านเคยทุบตีมารดาผูบงเกิดเกล้าในชาตินนเอง
                                                                   ้ ั              ั

         ปริ ศนาธรรมหมวดทีสอง
                  ♣ สี คนหาม
                  ♣ สามคนแห่
                  ♣ หนึงคนนังแคร่
                  ♣ สองคนพาไป


         ♣ สีคนหาม
           คําว่า “สี คนหาม” หมายถึง การประชุมลงของธาตุสี๑๒ ประกอบกันเข้าอย่างพอเหมาะทําให้
เกิ ดเป็ นรู ปร่ างหรื อร่ างกายขึนมา ธาตุสีเป็ นวัตถุธรรมชาติดงเดิมของสรี ระร่ างกายของมวลสรรพสิ ง
                                                               ั
ทีมีชีวต สามารถสัมผัสได้ดวยประสาททังห้า การผสมของธาตุสี อยู่ในสภาวะทีเกิ ดขึ น ตังอยู่ และ
         ิ                       ้
สลายตัว ใครก็หามไม่ได้ เพราะไม่ ใช่ ของเรา ไม่อยู่ในอํานาจของเรา วันหนึ งต้องทรุ ดโทรมแตก
                    ้
สลายไป แล้วธาตุทงสี ก็จะกลับคืนไปสู่ สภาพเดิม๑๓ เพราะว่าธาตุทงสี นีเป็ นสิ งทีทรงสภาวะของตน
                        ั                                             ั
อยู่เอง คือมีอยู่โดยธรรมดา เป็ นไปตามเหตุปัจจัย ไม่มีผูสร้ าง ไม่มีอตตา มิใช่ สัตว์ มิใช่ ชีวะ๑๔ เกิ ดมี
                                                            ้           ั
เองและแตกสลายไปเองโดยธรรมชาติของมัน
           แนวความคิดเรื องธาตุสีในพุทธศาสนาคล้ายกับทัศ นะเรื องต้นกําเนิ ดของสรรพสิ ง (ปฐม
ธาตุของโลก) ของเอมเปโดเคลส (Empedocles) นักปรัชญากรี กโบราณ เขากล่าวว่า "ร่ างกายของ
คนเราเกิดจากการรวมตัวของธาตุทงสี การทีเรารู ้ จกธาตุสีในโลกรอบๆ ตัวเรา ก็เพราะมีธาตุทงสี อยู่
                                        ั               ั                                        ั
ในตัวเราก่ อ นแล้ว เพราะเรามีธ าตุดิน เราจึง เห็น ดิน เนื องจากอนุ ภ าคของธาตุดิน ในวัต ถุ มาทํา

         ๑๒
              ธาตุสี คือ ปฐวีธาตุ (ธาตุดิน) มีลกษณะแข็งที มองเห็ นเป็ นรู ป สามารถสัมผัส ได้ เช่น ผม ขน เล็บ
                                               ั
ฟั น หนังเป็ นต้น ๑ อาโปธาตุ (ธาตุนํา) มี ลกษณะเหลวไหลถ่ายเท ทําให้อ่อนนุ่ มผสมผสานกัน เช่น นําเลือด
                                             ั
นําลาย นําดี เป็ นต้น ๑ เตโชธาตุ (ธาตุไฟ) มีลกษณะร้อน ยังกายให้อบอุ่น ย่อยอาหาร ทําให้ร่างกายไม่เปื อยเน่ า
                                                 ั
วาโยธาตุ (ธาตุลม) มีลกษณะกระพือพัด ลอยตัว พัดไปทัวร่ างกายทําให้ร่างกายเคลือนไหว ๑
                         ั
          ๑๓
              พระมหา ดร.สุ ขพัฒ น์ อนนท์จ ารย์,ปริศนาปรัชญาธรรม (กรุ งเทพ ฯ : ลูก ส.ธรรมภักดี ,๒๕๔๖),
หน้า ๘๘.
          ๑๔
              พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต),พจนานุ กรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (กรุ งเทพ ฯ : มหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๒๘), หน้า ๑๓๙.
๑๐

ปฏิกิริยากับธาตุดินในตัวเรา จึงเกิ ดเป็ นจินตภาพของดินขึนมา โดยนัยนี เพราะเรามี ธ าตุน า เราจึง
                                                                                         ํ
เห็นนํา เพราะมีธาตุไฟ เราจึงเห็นไฟ และเพราะมีธาตุลม เราจึงเห็นลม"๑๕ ก่อนกําเนิ ดสรรพสิ ง ธาตุ
เหล่านี มีก ารผสมปะปนกัน อย่างได้ระเบียบจนกลายเป็ น มวลสารมหึ มา ธาตุดินไปอยู่ก ับธาตุดิน
ธาตุนาก็ไปอยู่กบธาตุนา ธาตุต่างๆ ผสมกันโดยนัยนีอย่างได้สัดส่ วนมีระเบียบจนกลายเป็ นสรรพ
       ํ         ั      ํ
สิ งในโลกดังทีเราเห็นอยู่นี โลกหรื อสรรพสิ งดังกล่าวจะถึงกาลแตกสลายก็ต่อ เมื อธาตุ เหล่ านี แยก
ออกจากกัน สลายไปสู่ ธาตุเดิมของตน
          คําสอนทางพุทธศาสนากําหนดให้เราพิจารณาธาตุสีนี เป็ นอารมณ์ คือกํา หนดพิจารณากาย
นีแยกเป็ นส่ วนๆ ให้เห็นว่าเป็ นเพียงธาตุสี คือ ดิน นํา ไฟ ลม แต่ละอย่างประกอบกันขึนเป็ นร่ างกาย
เท่านัน ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ เรา ไม่ใช่ตวตนของเรา การกําหนดพิจารณาธาตุสีนี จะต้องกําหนดด้วย
                                        ั
สติสัมปชัญญะโดยความแยบคาย จนมองเห็นความเกิ ดขึ นและความเสื อมไปในกาย ตระหนักว่า
กายนีก็สักแต่วากาย มิใช่สัตว์ บุคคล ตัวตน เราเขา สักวันหนึ งเมื อธาตุ เหล่านีถึ งการแตกสลายไป
               ่
ตามสภาวะของธรรมชาติ ชีวตคือไออุ่นก็จะถึงกาลอวสานเช่นกัน ฉะนัน ชีวตหรื อ ร่ างกายจะดํารง
                               ิ                                           ิ
อยู่ได้ก็เพราะการหามหรื อการประครองไว้ของธาตุทงสี นีเอง ั

         ♣ สามคนแห่
          คําว่า "สามคนแห่ " หมายถึง ไตรลักษณ์ หรื อลักษณะสามประการแห่งสังขารธรรมทังหลาย
อันประกอบด้วยความไม่คงที (อนิ จจตา) ความแปรปรวน (ทุก ขตา) และความไม่มีตวตน (อนัตต ั
ตา) ไตรลักษณ์ เรี ยกอีกอย่างหนึ งว่า สามัญลักษณ์ คื อลัก ษณะอัน เป็ นสากล ครอบงําสรรพสิ งใน
จักรวาล จักรวาลในทีนี หมายถึง เบญจขันธ์ อันได้แ ก่ รู ป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ที
พระพุทธเจ้าทรงเรี ยกว่า "โลก" โดยทรงเน้นที "สั งขารโลก" ได้แก่ ชุมชนแห่งสังขารทังปวงอันเกิ ด
จากเหตุปัจจัย ดํารงอยู่ โดยเหตุปัจจัย และดับไปเพราะเหตุ ปัจจัย ๑๖ สภาพของสั ง ขารทัวไปมี
ปรากฏการณ์ธรรมชาติอยู่อย่างหนึง คือซ่ อนความเร้ นลับคือการผันแปรและสลายตัวเอาไว้ภ ายใน
ตัว เปิ ดเผยตัวเองออกมาให้เ ห็ นเสมอกันทังหมด เรี ยกว่า "ธรรมนิ ยาม"๑๗ เพราะกําหนดรู ้ ได้ถึ ง
ธรรมชาติทีเปลียนแปลง
          สังขารโลกหรื อสรรพสิ งรวมทังร่ า งกายของคนเราตกอยู่ในหลักแห่ งความจริ งของไตร
ลักษณ์ เป็ นความจริ งทีมีอยู่ เป็ นอยูโดยธรรมชาติของมัน พระพุทธเจ้าจะเสด็จอุบติขึนหรื อไม่ก็ตาม
                                      ่                                      ั

         ๑๕
            พระมหาจักรชัย มหาวีโร, เอกสารประกอบการสอนวิชาปรั ชญาตะวันตกสมัยโบราณ (เลย ฯ :
มจร. วิทยาลัยสงฆ์เลย,๒๕๔๖), หน้า ๑๖ - ๑๗.
         ๑๖
            สนิ ท ศรี ส ําแดง,ปรัชญาเถรวาท (กรุ งเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๔), หน้า ๑๘๒.
         ๑๗
             ธรรมนิยาม หมายถึง การตังอยู่แห่ งสิ งที เป็ นเองโดยธรรมชาติ (ธรรมฐิ ติ) มี อยู่ส ามประการ คือ
สังขารทังปวงไม่เทียง ๑ สังขารทังปวงเป็ นทุกข์ ๑ ธรรมทังปวงเป็ นอนัตตา ๑
๑๑

สิ งนันก็คงตังอยู่ตามธรรมดาและก็อยูในเงือนไขของธรรมดามีธรรมชาติเป็ นอย่างนัน มีภาวะอย่าง
                                    ่
นัน ไม่ลวงพ้นความเป็ นอย่างนันไปได้ พระพุทธเจ้าเพียงแต่ตรัสรู ้ เปิ ดเผย ชี แจงแสดงถึงความจริ ง
         ้
แห่ งสัตว์และสังขารทังหลายว่า เป็ นของไม่เทียง (เป็ นอนิจจัง) ทนอยูในสภาพเดิมไม่ได้ (เป็ นทุกข์)
                                                                    ่
และแปรผันไปในทีสุ ด (เป็ นอนัตตา) ลักษณะทังสามประการนีได้แห่แหนเราไปทุกย่างก้าว และทุก
ขณะจิตอย่างไม่ลดละ

         ♣ หนึงคนนังแคร่
         คํา ว่า "หนึ งคนนั งแคร่ " หมายถึ ง จิต กับ ร่ า งกาย นันคื อหนึ งคนหมายถึง จิต ส่ วนแคร่
หมายถึงร่ างกาย จิตนังอยูบนร่ างกาย ทําหน้าทีคอยควบคุมบัญชาการของอวัยยะทุกส่ วน กล่าวคือ ผู ้
                               ่
เป็ นใหญ่ ทําหน้าทีเป็ นนาย ในทางธรรมถือว่า จิตสําคัญที สุ ด คือ เป็ นใหญ่กว่ากาย ดังคําทีว่า "ใจ
เป็ นนาย กายเป็ นบ่าว" เมือร่ างกายอยู่ในฐานะผูตามจิตใจเช่นนี จึงปรากฏว่า บุคคลในโลกนี ถ้าใจดี
                                                          ้
สักอย่างแล้ว อย่างอืนก็จะดีไปด้วย เพราะทุกสิ งทุกอย่างอยู่ภายใต้จิตใจทังสิ น แม้แต่ความเจริ ญและ
ความเสื อมของชีวตก็เช่นกันล้วนมีพนฐานมาจากจิตทังนัน
                     ิ                      ื
         ฉะนัน หากผูใดต้องการพบกับความสุ ขทีสงบเยือกเย็น ต้องหัดฝึ กจิต คือการทําจิตให้หมด
                          ้
พยศ ให้ตรง ให้มีคุ ณ ธรรม ไม่ให้ยิน ดี ยิน ร้ ายในเวลาเห็น รู ป ฟั ง เสี ย ง ดมกลิ น ลิ มรส ถู ก ต้อ ง
โผฏฐัพพะ รู ้ ธรรมารมณ์ดวยใจ แต่การฝึ กจิตนีเป็ นของยาก เพราะจิตเป็ นสภาพทีกลับกลอก รัก ษา
                                 ้
ยาก ห้ามยาก หวันไหว โดนเอนง่าย และมักใฝ่ ตํา เหมือนนํามัก ไหลจากทีสู งลงสู่ ทีตําเสมอ แต่ถา             ้
ผูใดผ่านการฝึ กจิตแล้วก็จะพบกับความสุ ขทีแท้จริ ง ดัง คําทีว่า "สุ ขทุกข์ อยู่ทีใจมิใช่ หรื อ ถ้ าใจถื อก็
  ้
เป็ นทุกข์ ไม่ สุกใส ถ้ าไม่ ถือก็เป็ นสุ ขไม่ ทุกข์ ใจ เราอยากได้ ความสุ ขหรื อทุกข์ เอย"

         ♣ สองคนพาไป
          คําว่า "สองคนพาไป" หมายถึง บุญและบาป ทีเกิดจากการกระทําโดยการรับรู ้ ของจิต นําพา
จิตให้ไปเกิดเป็ นเทวดาบ้าง เป็ นมนุษย์บาง เป็ นสัตว์บาง นําเทียวไปอยู่ในนรกและสวรรค์แล้วแต่
                                          ้             ้
ทุนทีเป็ น ปั จจัยเกื อหนุ น ในรู ปแบบของกิ จกรรมซึ งมีอยู่ส องอย่า ง คือทําดีจดเป็ นบุ ญ กุศล ทําชัว
                                                                               ั
จัดเป็ นบาป ทําสิ งไหนมากก็จะไปตามทางของสิ งนันๆ
          คําว่า "บุญ" เป็ นชือของความสุ ข ความดี เป็ นทีพึงของสัตว์ทงหลายทังในโลกนี และ โลก
                                                                      ั
หน้า การสังสมบุญเป็ นเหตุนามาซึงความสุ ข ชีวตจะราบรื นหรื อล้มลุกก็เพราะบุญทีทํากรรมทีสร้าง
                                ํ               ิ
ดังคําทีท่านกล่าวว่า "ยามบุญมาวาสนาช่ วย ทีป่ วยก็หายทีหน่ ายก็รัก หากบุญไม่ มาวาสนาไม่ ช่วย ที
ป่ วยก็หนั กทีรั กก็หน่ าย" ฉะนัน ถ้าอยากเป็ นคนมีบุญ พึงขวานขวายในกุ ศลกรรม คือ ความดีงาม
โจรก็ลกเอาไปไม่ได้ แต่สามารถนําติดตัวไปได้เมือถึ งคราวตาย ไม่เหมื อนทรั พย์สมบัติศฤงคาร
        ั
ทังหลาย ต้อ งทิงไว้ให้ต กเป็ นสมบัติข องคนอื น จะนําติ ดตัวไปด้วยก็ ไ ม่ไ ด้ ไปแต่ ตวเปล่ า ดัง
                                                                                           ั
๑๒

ประพันธ์ทีว่า "เมือเจ้ ามามีอะไรมากับเจ้ า เจ้ าจะเอาแต่ สุขสนุกไฉน เมือเจ้ ามามือเปล่ าจะเอาอะไรไป
เจ้ าก็จงไปมือเปล่ าเหมือนเจ้ ามา"
          คําว่า "บาป" เป็ นชือของความทุกข์ ทีเกิดจากความประพฤติชวทางกาย วาจา และใจ บาปนี
                                                                       ั
เมือบุคคลสังสมหรื อทําเข้าแม้เพียงเล็กน้อยโดยคิดว่าจะไม่อานวยผลอะไร แต่เมือทําบ่อยๆ มันก็จะ
                                                              ํ
สังสมมากขึนตามลําดับ เปรี ยบเหมือนภาชนะทีเขาเปิ ดปากตังไว้ในทีกลางแจ้งไม่มีทีบังเมือฝนเท
ตกลงมาทีละครังสองครัง หรื อมากกว่านัน นําอาจจะยังไม่เต็ม เมื อหลายครังเข้า ภาชนะนันก็ เต็ม
ด้วยนําฝน บาปก็เช่ นนัน อาจเป็ นเหตุใหญ่โต นําความทุกข์มาให้ทงในโลกนี และโลกหน้า ดังพุทธ
                                                                    ั
สุ ภาษิตทีว่า "ทุกฺโข ปาปสฺส อุจฺจโย" ความว่า "การสั งสมบาปนําทุกข์ มาให้ " ฉะนันมรดกทีแท้จริ งที
เป็ นสมบัติติดตัวเราไปทุกหนทุกแห่งก็คือบุญและบาป ดังคํากลอนทีว่า "สิ งใดในโลกล้ วนอนิ จ จัง
คงแต่ บาปบุ ญยังเทียงแท้ คือเงาติดตัวตรั งตรึงแน่ นอยู่นา ตามแต่ บุญบาปแลก่ อเกือรั กษา"

         ปริ ศนาธรรมหมวดทีสาม

                   ♣ บ้ านใกล้ท่าไม่ มีนํากิน
                   ♣ ช่ างปันดินไม่ มีหม้ อใช้
                   ♣ เลียงไก่ ไว้ ไม่ มีเสี ยงขัน
                   ♣ อยากขึนสวรรค์ ให้ ไปแก้ ผ้าซิ นทีวัด

         ♣ บ้ านใกล้ ท่าไม่มีนํากิน
            คําว่า "บ้ านใกล้ ท่าไม่ มีนํากิน" หมายถึง คนทีมีบานเรื อนตังอยู่ใกล้วด แต่ไ ม่เคยรั บรู ้ หรื อมี
                                                              ้                   ั
ความสัมพันธ์อะไรกับวัดหรื อพระศาสนาเลย หรื อแม้บางคนอาจจะมีความสัมพันธ์ กบวัดวาอาราม        ั
รู ้ จกหรื อใกล้ชิดกับพระสงฆ์เป็ นอย่างดี ประกาศตนว่านับถือพุทธศาสนา มีพระรัตนตรัยเป็ นทีพึงที
      ั
ระลึก แต่ไม่เคยรับรู้ รสแห่งธรรมะ ไม่ คิด จะน้อมนําหลักพระธรรมคําสังสอนไปเป็ น ยาใจในการ
ประพฤติปฏิ บติ ทังทีเมืองไทยเป็ นเมืองพุทธ แต่คนในชาติกลับเป็ นคนใจดําอํามหิ ตเบี ยดเบียนทํา
                   ั
ร้ ายซึ งกันและกันไม่เว้นแต่ละวัน ผิดศีลผิดธรรมกันเป็ นแฟชัน
            นีแสดงให้เห็นว่า แม้เราจะมีบานใกล้วด แต่ไม่เคยสนใจเกี ยวกับเรื องของวัด ใกล้ชิดพระ
                                               ้      ั
พุทธ (พระพุทธรู ป) แต่ไม่เคยเข้าถึงคุณพระพุทธเจ้า เรี ยนรู ้ ธรรมะ แต่ไม่เคยนําเอาหลักธรรมไป
ปฏิบติ อุปัฏฐากอุปถัมภ์พระสงฆ์ แต่ไม่เคยยึดหลักคําสอนของท่าน เข้าตําราทีว่า "สั ปเหร่ อชิน ผี
        ั
สั งฆการี ชินพระ" หรื อ "มดแดงเฝ้ าผลมะม่ วง ไม่ ร้ ู เลยว่ ามะม่ วงมีรสชาติเป็ นอย่ างไร" เหมื อนมีท่า
นําติดกับบ้าน แต่ไม่ได้ดืมนําจากลําคลอง ใจคอเหือดแห้งอยูตลอดเวลา ยังโหดร้ ายทําลายกัน ขาด
                                                                   ่
เมตตากรุ ณาต่อกัน
๑๓

         ♣ ช่ างปันดินไม่ มีหม้ อใช้
          คําว่า "ช่ างปันดินไม่ มีหม้ อใช้ " หมายถึง การทําพิธีกรรมต่างๆ ทางด้านพุทธศาสนา แล้วติด
เป็ นเจ้าพิธีรีตอง คือติดเพียงรู ปแบบในพิธีกรรมนันๆ เช่น จุดธู ปจะจุดอย่างไร ใช้ธูปกี ดอก จุดข้าง
ซ้ายหรื อข้างขวาก่อน เทียนนํามนต์จะต้องใช้กีเล่ม บาตรนํามนต์จะต้องใส่ อะไรบ้าง ใบนาก เงิ น
ทอง ส้มโอ ผิวมะกรู ด ใบมะยม ใบส้ มป่ อย แม้กระทังใบทับทิม ใส่ สารพัดหนักๆ เข้าดูไม่อ อกว่า
บาตรนํามนต์หรื อว่าหม้อต้มยํา๑๘ กันแน่ พิธีกรรมเหล่านีเป็ นแค่เปลือก ถ้าเราไม่รู้จกกลันกลองเอา
                                                                                     ั
แก่ นธรรมทีเกิดจากพิธีกรรมนันๆ มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดกับชีวตได้ ก็ชือว่ายังติดอยู่
                                                                                 ิ
แค่เปลือกของศาสนาเท่านัน เหมือ นกับช่ างปั นดินแต่ ไม่ มีหม้อใช้ คนปั นหม้อขายแต่ ตวเองกลับ
                                                                                         ั
ต้องใช้กะลา ฉันนัน

         ♣ เลียงไก่ ไว้ ไม่ มีเสี ยงขัน
          คําว่า "เลียงไก่ ไว้ไม่ มีเสี ยงขัน" หมายถึง ทายก อุบาสก อุบาสิ กา หรื อพุทธศาสนิกชนทัวไป
ได้ให้การอุปถัมภ์บารุ งพระสงฆ์ทุกๆ ด้าน มีปัจจัยสี เป็ นต้น แต่พระสงฆ์ไม่เคยเทศน์อบรมสังสอน
                       ํ
ให้ชาวบ้านได้รับรู ้รสแห่งพระสัทธรรมเลย หน้าทีของพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนา คือ การเรี ยน
ธรรม และนําเอาหลักธรรมมาปฏิบติ เมือเกิดผลจากการเรี ยนและการปฏิบติแล้ว หน้าทีสําคัญต่อไป
                                           ั                                    ั
ของพระสงฆ์ คื อ การแนะนํา สังสอนผู ้อื นให้รู้ ตามสิ งทีตนรู ้ น ัน คื อ ให้รู้ จก บาป บุ ญ คุ ณ โทษ
                                                                                  ั
ประโยชน์และสิ งไม่ใช่ประโยชน์
          แต่ ถ ้าพระสงฆ์ไม่ปฏิ บติห น้าทีดัง กล่ า ว เป็ นเพียงพระนัก บิน (บิณฑบาต) บัง สั ง สวด
                                         ั
เท่านัน ก็จะไม่เกิดประโยชน์ต่อพระศาสนาแต่อ ย่างไร บางครั งถึงกับมี คาล้อเลียนจากชาวบ้านว่า
                                                                              ํ
"บวชหาใช้ หนี บวชหนี ตํารวจ บวชสวดพระมาลัย บวชไกลกังวน บวชแก้ บนเจ้ าพ่ อ บวชล่ อข้ าวเย็น
และบวชเล่ นล็อตเตอรี ฯลฯ" เมื อพระสงฆ์มีหน้าทีบกพร่ องเช่ นนี ท่านจึง เปรี ยบถึ งการอุ ปถัมภ์
พระสงฆ์เหมือนกับการเลียงไก่ ซึ งนอกจากจะต้องการกินเนื อกินไข่แล้ว ทีสําคัญคือ ต้อ งการเสี ยง
ขัน คือเทศนาสังสอนอบรมธรรมได้ดวย              ้
          การบอุปถัมภ์บารุ งพระศาสนานันมี ๒ อย่าง คือ การทําให้พระศาสนาเจริ ญมันคง สามารถ
                            ํ
เป็ นทีพึงแก่ สัตว์โลกได้ การอุปถัมภ์เช่ นนีจะเน้นการนําหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนามาปฏิ บติ         ั
เพือให้เกิดสันติสุขและปั ญญาอย่างแท้จริ ง ส่ วนประการทีสอง คือการช่วยเหลือกิจการพระศาสนา
ในลักษณะต่างๆ เช่น การบํารุ งวัดวาอาราม และการอุปัฏฐากพระสงฆ์ เป็ นต้น
          ปั จจุบนทายกทายิกาโดยส่ วนมากเน้นการบํารุ งวัดวาอารามทางด้านศาสนวัตถุเสี ยเป็ นส่ วน
                  ั
ใหญ่ หรื อบางแห่งให้ก ารเลียงดู พระเณรให้อยู่ดีกิ นดี แต่ไม่เข้าใจเนื อแท้ข องศาสนาเลย ถ้าเป็ น

          พระครู วิวิธธรรมโกศล (ชัยวัฒ น์ ธมฺ มวฑฺ ฒโน),มุทิตานุ สรณ์ พระครู วิวิธธรรมโกศล (กรุ งเทพ ฯ :
         ๑๘

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๓๔), หน้า ๑๖๘.
๑๔

ลักษณะนีท่านเปรี ยบเหมือนกับการเลียงไก่ไว้ไข่ให้สุนขกิน คือ การทีเรามีแต่วดวาอารามทีสวยงาม
                                                        ั                        ั
แต่ ไ ม่ มีพระสงฆ์ทีเป็ น เหมือ นหมอ ไม่ มีธ รรมะทีเป็ นเหมือ นยา มัน ก็ไม่มี ประโยชน์ อ ะไร มีค่ า
เท่ากับรู ปสวยๆ ทีติดอยู่ขางฝาคนมีปัญหาเดินผ่านไปผ่านมารู ปนันก็ช่วยอะไรไม่ได้
                              ้
           การเลี ยงดูหรื ออุ ปัฏฐากพระสงฆ์นน ถ้าเลี ยงให้อ ยู่ดีกิน ดีเกิ นไป โดยไม่ตอ งทําอะไร ก็
                                              ั                                       ้
กลายเป็ นว่าเลียงพระให้กลาย เป็ นหมู ถ้าเลียงไว้สําหรับเป็ นพ่อสื อแม่ช ก ก็กลายเป็ นเลียงพระให้
                                                                            ั
กลาย เป็ นม้ า บางทีใช้ให้พระเณรทําประโยชน์แก่ตนทางวัตถุ อย่างนีก็เท่ากับเลียงพระให้กลาย เป็ น
วัวเป็ นควาย บางทีเลียงพระให้ เป็ นนกเขา คือเลียงไว้ให้ขนเพราะๆ เพือให้ทายกทายิกาสบายใจ
                                                           ั
หรื อบางทีก็เอาแต่บารุ งบํา เรอกันเกิ นไป คือ เอาแต่สนุ กสนานอย่างเดียว อย่างนี เรี ยกว่า การเลียง
                      ํ
พระให้กลาย เป็ นเทวดาไป บางทีก็เลียงพระให้กลาย เป็ นยักษ์ เป็ นมาร คื อ กลายเป็ นคนเจ้าอารมณ์
(ตัดตอนมาจากหนังสื อการบํารุ งพระศาสนาของท่านพุทธทาส) ถ้าเป็ นลักษณะเช่นนีก็กลายเป็ นว่า
พระสงฆ์ได้ลืมหน้าทีของตัวเอง ซึ งก็ตรงกับคําเปรี ยบเปรยของชาวบ้านทีว่าเลียงไก่ไว้ไม่มีเสี ยงขัน
นันเอง กล่าวคือไม่ได้ตงใจเรี ยนธรรมและปฏิบติเพือสังสอนชาวบ้านเลย
                           ั                     ั

         ♣ อยากขึนสวรรค์ ให้ ไปแก้ ผ้าซิ นทีวัด
         คําว่า "อยากขึนสวรรค์ ให้ ไปแก้ ผ้าซิ นทีวัด" หมายถึง ถ้าต้อ งการทีจะให้บุญกุศ ลกล่าวคือ
ความสุ ขเกิดขึนแก่ตนเองแล้ว ให้ไปแก้ผาซิ น๑๙ กํามะหยีทีห่อพระคัมภีร์๒๐ ทีวัด แล้วคลีออกมาอ่าน
                                          ้
ให้เกิ ดความเข้าใจในหลักธรรมนันๆ แล้วนําพระธรรมคําสังสอนของพระพุทธเจ้าทีจารึ ก ไว้ในใบ
ลานนันไปเป็ นหลักปฏิบติ ก็จะพบความสุ ขคือทางแห่งสวรรค์และพระนิพพาน
                         ั
         คนสมัยก่อนมักชอบไปวัด ชี วตทังชี วิตจะผูกพันอยู่ก ับวัด ทังนี เพราะวัดเป็ น จุดศู นย์รวม
                                       ิ
ของชุมชนอย่างแท้จริ ง วัดจึงเป็ นทังลานบุญลานกุศลสําหรับชุมชนนันๆ ดังนัน บุญ (ความสุ ขใจ)

         ๑๙
              คําว่า "ผ้ าซิน" ในทีนี โบราณท่านหมายถึงผ้าห่ อคัมภีร์ แต่ก่อนใช้ผาสวย ๆ ผ้าลูกไม้สีสรรต่าง ๆ กันดู
                                                                                  ้
สวยงามมาก คล้ายผ้าถุงทีผูหญิงนุ่งทุ กวันนี มีไว้สําหรั บ ห่ อพระคัมภีร์ท างศาสนา ซึ งบันทึ กพระธรรมคําสัง
                                ้
สอนทางพระพุทธศาสนาไว้
           ๒๐
              คําว่า "คัมภีร์" ในที นี หมายถึง "พระไตรปิ ฎก" ซึ งใช้ชื อเรี ยกคัมภี ร์ทางพุท ธศาสนา เกิ ดขึ นในตอน
หลัง เมือพระพุทธเจ้าตรัสรู ้ใหม่ ๆ ก็ทรงใช้คาว่า "พุทธศาสนา" ต่อจากนันก็ทรงใช้คาว่า "สั ทธรรม" และก่อนทีจะ
                                                ํ                                        ํ
เสด็จดับขันธปริ นิพพานก็ได้รับสังแก่พระอานนท์พร้อมด้วยหมูพระเถระว่า "พระธรรมและพระวินัยทีได้บัญญัติ
                                                                  ่
แสดงแล้ วจักเป็ นศาสดาแทนเรา" ในคราวนันก็ใช้คาว่า "ธรรมวินัย" หลังพุทธปริ นิพพานแล้ว พระสังคีติ
                                                     ํ
กาจารย์ ทําการสังคายนาพระวินัยครังทีหนึ ง และที สองก็ยงใช้คาว่า "พระธรรมวินัย" ครังที สาม สมัยพระเจ้า
                                                            ั ํ
อโศกมหาราช พระสังคติกาจารย์ได้จาแนกแยกแยะ พระวินัย พระสู ตร และพระอภิธรรม จัดไว้เป็ นหมวดหมู่
                                         ํ
เรี ยกว่า "พระไตรปิ ฎก" กล่า วคื อ เหมื อ นกับ ตระกร้ า หรื อกระจาดสามใบ สําหรั บใส่ พ ระไตรปิ ฎกทังสาม
หมวดหมู่ แยกไว้ดงนี คือ พระวินยปิ ฎก พระสุตตันตปิ ฎก และพระอภิธรรมปิ ฎก
                      ั               ั
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา

Contenu connexe

Tendances

ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาPadvee Academy
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุPadvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะPadvee Academy
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔Padvee Academy
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากลThanaponSuwan
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานOnpa Akaradech
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาศศิพร แซ่เฮ้ง
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 

Tendances (20)

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๓ การเจริญวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน ๔
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
 

Similaire à ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา

สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) niralai
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555Panda Jing
 
9789740330349
97897403303499789740330349
9789740330349CUPress
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีPa'rig Prig
 
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา solarcell2
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารJack Like
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธprimpatcha
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 

Similaire à ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา (20)

Random 121010032208-phpapp01
Random 121010032208-phpapp01Random 121010032208-phpapp01
Random 121010032208-phpapp01
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
9789740330349
97897403303499789740330349
9789740330349
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
 
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
บทวิจารณ์หนังสือลักษณะแห่งพระพุทธศาสนา
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
 
งาน
งานงาน
งาน
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 

Plus de pentanino

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยpentanino
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมpentanino
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารpentanino
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555pentanino
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555pentanino
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...pentanino
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...pentanino
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554pentanino
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมpentanino
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรpentanino
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาpentanino
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองpentanino
 
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทยสาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทยpentanino
 

Plus de pentanino (20)

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
 
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทยสาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
 

ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา

  • 1. ปริศนาธรรมในพุทธปรั ชญา ผศ.ดร.จักรพรรณ วงศ์ พรพวัณ …………………………………………………………………..……………… ความรู้ ทัวไปเกียวกับปริศนาธรรม การศึกษาหลักธรรมคําสอนในทางพระพุทธศาสนานัน มีวธีการศึกษาหลายรู ปแบบด้วยกัน ิ ขึนอยู่กบความถนัดหรื อจริ ตของผูศึกษาเอง บางคนถนัดศึ กษาทางด้านปริ ยติ บางคนถนัดเรื องการ ั ้ ั ปฏิบติ บางคนถนัดเรื องการใช้ความคิด หรื อสติปัญญาในการวิเคราะห์หลักธรรมต่างๆ เพือให้เกิด ั กระบวนการตีความหลักคําสอนบางบทหรื อบางหมวดทีดูคลุมเครื อให้ง่ายและชัดเจนยิงขึน วิธีการ คิดหรื อวิเคราะห์หลักธรรมเพือตีเอาความหมายออกมานันนิยมศึกษากันในประเทศญีปุ่ น ซึงเรารู ้จก ั กันในนามพุทธศาสนานิกายเซ็น ซึ งเป็ นวิธีการเรี ยนการสอนทีใช้วตถุหรื ออุปกรณ์ธรรมชาติทวไป ั ั เป็ นสื อในการสอนธรรม หน้าทีของผูเ้ รี ยนนันจะต้องคิดวิเคราะห์หรื อตีความเอาเอง เช่ น การสอน เรื องชาล้นถ้วย อาจารย์ผูสอนก็ใช้แค่ถวยชาทีใส่ นาจนเต็มแล้ว เอามาตังไว้เพือสอนคนทีอวดรู ้อวด ้ ้ ํ เก่ งไม่ยอมรับใครว่าเป็ นพวกชาล้นถ้วย เป็ นต้น วิธีการนีก็คล้ายๆ กับปราชญ์ผูสอนธรรมของไทย ้ สมัยก่ อนทีมีวธีการสอนธรรมแบบแยบยนและชวนให้คิด ซึ งมักจะผูก เป็ นหัวข้อธรรมไว้เพือให้ ิ ศิษย์ผูเ้ รี ยนธรรมคิดค้นไตร่ ตรองหาคําตอบโดยการใช้ปัญญาเป็ นหลักในการแก้ขอเงือนงําทังหลาย ้ วิธีการเรี ยนการสอนธรรมแบบนี ได้กลายมาเป็ นมรดกตกทอดทางด้านปริ ศนาธรรมสําหรับอนุช น รุ่ นหลังได้คิดหาคําตอบกันจนกระทังปัจจุบน ั ปริ ศนากับปรั ชญา คําว่า "ปริศนา" หมายถึง สิ งหรื อถ้อยคําทีผูกขึนเป็ นเงือนงําเพือให้แก้ให้ทาย๑ เพือขบคิดหา ข้อ เท็จจริ ง ตามหลัก คําสอนทางพุทธศาสนาที แฝงเร้ นอยู่ ก ับคํา ปริ ศ นานันๆ ถ้า จะกล่ าวในเชิ ง ขบวนการคิด คํานีมีความหมายคล้ายคลึงกับคําว่า "ปรั ชญา" ซึ งหมายถึง วิชาว่าด้วยหลักแห่งความรู ้ และความจริ ง๒ อันหมายถึง ความรู ้ หรื อ ความจริ งทีเกิดขึนหลังจากการคิดและสิ นความสงสั ยหรื อ สิ นความแปลกใจแล้ว โดยความหมายทางปรัช ญาตะวันออก เช่ น พุทธปรัช ญา หมายถึงความรู ้ ที ประจักษ์ แ จ้ง ที สามารถข้ามพ้นแดนแห่ ง ความสงสั ยหรื อความมื ดมนแห่ ง ชี วิต เรี ย กได้ว่าเป็ น ป.ธ. ๖, พธ.บ., M.A. (Phil.), M.A. (Bud.), Ph.D. (Phil.)/ อาจารย์ประจําวิทยาลัยสงฆ์เลย ๑ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ (กรุงเทพ ฯ : อักษรเจริ ญทัศน์ ,๒๕๓๙), หน้า ๕๑๖. ๒ เรืองเดียวกัน, หน้า ๕๑๒.
  • 2. ๒ "ความรู้ อันประเสริ ฐ" ทีสามารถยกฐานะของผูรู้ขนสู่ ทีสู ง คือจาก ปุถุชน เป็ น กัลยาณชน และจาก ้ ึ กัลยาณชนเป็ น อริ ยชน จะเห็นได้วาคําทังสองนีต่างก็มีจุดหมายเพือให้เ กิดความคลุม เครื อมีเงื อนงําทีแฝงไปด้วย ่ หลักแห่ งความจริ ง ทียัวยุให้ผูสงสัยพยายามขบคิด หาคําตอบทีถูกต้อ งจนเป็ นทีพอใจ แต่เ มื อใด ้ คําตอบทีแฝงอยู่ในคําทีเป็ นปริ ศนาถูกเปิ ดเผย หรื อสิ นความสงสัยจากการคิดค้นทางปรัชญาแล้ว คํา ว่า "ปริ ศนา" และ "ปรัชญา" ก็จะหมดหน้าทีไปทันที ฉะนัน หน้าทีหลักของปริ ศนาและปรั ชญาอยู่ที การพยายามตังปั ญหาเพือให้เกิดการขบคิดในการแสวงหาความรู ้ หรื อข้อเท็จจริ งทีแฝงอยู่ในหลักสัจ ธรรมอันลึกซึ ง ทังนีเพือจะดึงเอาศักยภาพทางปัญญาของมนุษย์ออกมานันเอง พุทธศาสนาเป็ นปรั ชญาหรือไม่ ยังมีขอถกเถียงกันอยู่บางในหมู่ของนัก ปราชญ์ไทยทีว่า พุทธศาสนาเป็ นปรั ชญาหรื อไม่ ้ ้ นัก ปราชญ์แ ต่ ล ะท่า นได้แ สดงความคิ ดเห็ นแตกต่ า งกัน ออกไปแต่โ ดยภาพรวมก็ มี ค วามเห็ น คล้ายคลึงกันเพียงแต่มองคนละด้านเท่านัน ในทีนีขอนําเอาแนวความคิดของนักปราชญ์ผูเ้ ชียวชาญ ทางพุทธศาสนาและปรัชญาสามท่านมาเป็ นข้อศึ กษา ในการวิเคราะห์หาคําตอบเกี ยวกับเรื องนี คือ สนิท ศรีสําแดง๓ กล่าวว่า ปรัชญา หมายถึงความรู ้ทีคลุมเครื อ ยังอยู่ในขันสงสัย ความรู ้ ใด ทีมีบทสรุ ปชัดเจน ตังเป็ นทฤษฎีได้ จะกลายเป็ นศาสตร์ เ ฉพาะสาขาใดสาขาหนึ ง ความรู ้ ทีสงสัย ส่ วนมากเกียวกับโลกจักรวาล และเป้ าหมายของปรัช ญาคือรู ้ เพือรู ้ นักปราชญ์จงไม่ยอมรั บว่า พุทธ ึ ศาสนาเป็ นปรัชญา เพราะความรู้ในพุทธศาสนาทุกเรื องมีความแจ่มแจ้งชัดเจนไม่ค ลุมเครื อ พิ สูจน์ ได้ ทดสอบได้ เพราะพุทธศาสนาไม่ให้ความสําคัญเรื องโลกและจักรวาลอันเป็ น เรื องไกลตัว และ เพราะพุทธศาสนา ไม่ได้แสวงหาความรู้ เพือรู ้ แต่ให้แ สวงหาความรู ้ เ พือนําไปใช้ดบทุ กข์ในชี วต ั ิ ปั จจุบน ั อดิ ศัก ดิ ทองบุ ญ๔ กล่ าวว่า พุทธศาสนากับพุทธปรั ช ญาต่างก็เ กิ ดจากคําประศาสน์ข อง พระพุทธเจ้า พุทธศาสนาดําเนินไปตามหลักคําประศาสน์ คือพระไตรปิ ฎก โดยไม่จาต้องใช้เหตุผล ํ ตีความคําประศาสน์เหล่านัน แต่พุทธปรัชญาเกิดจากความจําเป็ นต้องใช้เหตุผ ลตีความคําประศาสน์ เพือให้เข้าใจความหมายอันสลับซับซ้อนอยูในคําประศาสน์นนๆ ่ ั พระราชวรมุ นี (ประยูร ธมฺ มจิตฺโต)๕ กล่ าวว่า ความรู ้ ทางศาสนามีลก ษณะเป็ นปลายปิ ด ั เพราะสาวกของแต่ละศาสนามีศรัทธาว่า คําสอนของศาสดาทีบรรจุไว้ในพระคัมภี ร์เป็ นความจริ ง ๓ สนิ ท ศรี สําแดง,ปรัชญาเถรวาท (กรุ งเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๔), หน้า ๑๑๗. ๔ อดิศกดิ ทองบุญ,ปรัชญาอินเดียร่ วมสมัย (กรุงเทพ ฯ : เพื อนพิมพ์,๒๕๓๒), หน้า ๔. ั ๕ พระราชวรมุนี (ประยูร ธมฺมจิตฺโต),ปรัชญากรีกบ่ อเกิดภูมิปัญญาตะวันตก (กรุ งเทพ ฯ : บริ ษทเคล็ด ั ไทย,๒๕๔๐) หน้า ๘.
  • 3. ๓ สู งสุ ด แต่ก็มีบ้า งทีบรรดาสาวกรุ่ นหลังตี ความพระคัมภี ร์ต่างกัน จนเกิ ดนิ กายหลากหลาย แต่ล ะ นิกายต่างเสนอคําอธิ บายทีมีเหตุผลขัดแย้งกันและกัน และในกรณี นีศาสนาได้เข้าสู่ พรมแดนของ ปรัชญา และเกิดปรัชญาแห่งศาสนานันๆ เช่ น พุทธปรัชญา เป็ นต้น ตามทัศนะของนักปราชญ์ทงสามท่านทีกล่าวมา ก็พอจะประมวลได้ว่า พุทธศาสนามีหลัก ั คําสอนทีจริ งแท้ในแง่ของสัจธรรม และสามารถพิสูจน์ได้โดยการปฏิบติ และผูปฏิบติตามเท่านันจึง ั ้ ั จะรู ้ รสแห่ งพระสัทธรรมทีแท้จริ งโดยปราศจากความสงสัยใดๆ ทังสิ น เมื อความสงสั ยหมดไป ปรัชญาทีทําหน้าทีแบบคลุมเครื อก็พลอยหมดหน้าทีไปด้วย แต่เมือใดเกิ ดความสงสัย ไม่เข้าใจอย่าง แจ่มแจ้ง หรื อมีความคลุมเครื อในหลัก ธรรม ย่อมจะมีการตีความหรื อวิเ คราะห์หลัก ธรรมนันๆ เพือให้เกิดความแจ่มแจ้ง ลักษณะของการวิเคราะห์หรื อตีค วามดังกล่าว จึงจําเป็ นอย่างยิงทีจะต้อง อาศัยแนวความคิดเชิงปรัชญาเข้ามาช่ วยในการหาความรู ้ทีถูกต้องและสมเหตุสมผล การวิเคราะห์ หรื อตีความหมายหลักธรรมตามวิธีการทางปรั ชญาดังกล่ าว ทําให้เกิดคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ตามมามากมาย เช่น คัมภีร์อรรถกถา ฎีกา อนุ ฎีกา เป็ นต้น ดังนัน ตราบใดทียังมีการวิเคราะห์ หรื อ ตีความของนักปราชญ์ผูทียังสงสัยในหลักคําสอนอยู่ ปรัชญาก็ยงคงทําหน้าทีอย่า งไม่ล ดละเช่ นกัน ้ ั คล้ายกับเป็ นปริ ศนาธรรมให้นกคิดค้นหาคําตอบ เพือให้ตวเองพ้นจากความสงสัยให้ได้ ฉันนัน ั ั ความหมายและทีมาของปริศนาธรรม คําว่า "ปริ ศนาธรรม" หมายถึง คําสังสอนของพระพุทธเจ้าอันแสดงถึงความจริ ง แท้ข อง ธรรมชาติทีถูกผูกขึนอย่างเป็ นเงือนงําเพือให้แก้ให้ทายโดยการคิดไตร่ ตรองอย่างมีเหตุผล ปริ ศนา ธรรมเกิ ดจากนักปราชญ์ผูชาญฉลาดในการนําเอาหลักธรรมของพระพุทธเจ้ามาถ่ายทอดโดยการผูก ้ เป็ นปริ ศนาไว้เพือให้อนุชนรุ่ นหลังได้ขบคิดหาคําตอบ เพือทีจะได้เข้าถึง หลัก คําสอนทีแท้จริ งใน อีกรู ปแบบหนึง การสอนธรรมแบบปริ ศนาธรรมนี มีลกษณะคล้ายกับการถ่ายทอดธรรมแบบพุทธ ั ศาสนานิ กายเซน (Zen)๖ ของญีปุ่ น คือเน้นให้ผูทีถูกถ่ายทอดขบคิดเพือตีปัญหาข้อธรรมนันๆ ให้ ้ แตก โดยการใช้ปัญญาเป็ นหลัก ในการแก้ขอ เงือนงําตามหลักคําสอนทีผูกเอาไว้โดยนักปราชญ์ ้ ผูสอนธรรม ้ ปริ ศ นาธรรมเป็ นคํา กลางๆ ทีท้า ทายให้ผูคิดหาคําตอบตามสติปัญญาหรื อ ภู มิธรรมของ ้ ตนเอง ลักษณะคําตอบหรื อการแก้ทายปริ ศนาธรรมของแต่ละคนไม่จาเป็ นต้องเหมือนกัน เสมอไป ํ อาจมีความต่างกันบ้าง ทังนีขึนอยู่กบผูตอบ ใครจะตอบอย่างไรก็ไม่ถอว่าผิด เพราะหลักคําสอนทาง ั ้ ื ๖ นิกายเซน (Zen) มาจากพุทธศาสนานิ กายฌาน (Chan) ของจี น รากศัพท์ของคําว่า "เซน" หรื อ "ฌาน" มาจากคําว่า "ธฺ ยานะ" ในภาษาสันสกฤตซึ งแปลว่า "สมาธิ ภาวนา" (Meditation) นิ กายนี มี การสอนโดยใช้ ปริ ศนาธรรมหรื อที เรี ยกกันว่า "โกอาน" (Koan) เป็ นอุบ ายในการปฏิ บติเพื อให้เข้าถึ งธรรม ศึกษาเพิ มเติ มใน ั ทวีวฒน์ ปุณฑริ กวิวฒน์, ศาสนาและปรัชญาในจีน ทิ เบตและญีปุ่ น. สํานักพิ มพ์สุขภาพใจ,๒๕๔๕. ั ั
  • 4. ๔ พุทธศาสนาเป็ นสิ งสากล สามารถนํา มาประยุก ต์ใช้กับเหตุ การณ์ หรื อ เรื องราวต่า งๆ ได้เ สมอ เพียงแต่วาผูแก้ทายจะสามารถนําเอาหลักธรรมทีแฝงอยู่ในปริ ศนานันมาอธิ บายได้สมเหตุสมผล ่ ้ หรื อไม่เพียงไรเท่านันเอง วิธีการหาคําตอบหลักธรรมในรู ปแบบของปริ ศนานี บางครังมีการตีความ เพือให้หลักธรรมข้อนันๆ เกิดความชัดเจน วิธีการนีเป็ นวิธีการของปรัชญา ทีพยายามจะชีให้เห็นใน แต่ละประเด็นทีมนุ ษย์ตองการจะรู ้ คําตอบอยูทีว่าใครจะอธิ บายข้อเท็จจริ งได้ดีกว่า และคําตอบอาจ ้ ่ แตกต่างกันออกไป หมวดแห่ งปริ ศนาธรรม นักปราชญ์ผูสอนธรรมโบราณ จะเน้นให้ผูศึกษาใช้ความคิดพิจารณาขบคิดในหัวข้อธรรม ้ ้ ต่างๆ จึงมัก จะผูกหัวข้อ ธรรมเหล่านันเป็ นหลัก ปริ ศนาไว้ในลัก ษณะทีเป็ นหมวดๆ และการผูก ปั ญหาธรรมแต่ละข้อก็ทีค่ อนข้า งจะลึ ก ซึ ง ผู ้ตอบปั ญหาจะต้องใช้การพิ จารณาโดยการไตร่ ตรอง พอสมควร เพราะปั ญหาทีนักปราชญ์ผูสอนธรรมผูกไว้ บางปั ญ หาเกี ยวข้องกับหลักธรรมโดยตรง ้ บางปั ญหาก็มีการเปรี ยบเทียบกับสรรพสิ งภายนอกทีสามารถสัมผัสได้ดวยประสาททังห้า หรื อบาง ้ ปั ญหาดูเ หมือ นหาคําตอบง่ าย แต่แ ฝงไปด้วยหลัก สัจธรรมอัน ลึกซึ ง เช่ น ปั ญหาทีว่า "ไปไม่ กลับ หลั บไม่ ตืน ฟื นไม่ มี หนี ไม่ พ้น " คือ อะไร เมือพบปั ญหานี ทุกคนแม้แ ต่ เด็ก ก็ สามารถตอบได้ว่า "ความตาย" เพราะลักษณะของปั ญหาชวนให้ตอบเช่ นนัน หรื ออย่างน้อยก็เ คยเห็นในเวลาไปงาน ศพ พระผูทาหน้าทีสวดพระอภิธรรม ท่านมักจะนําตาลปั ตรทีสลักข้อความดังกล่าวมาใช้ในเวลาทํา ้ ํ พิธีสวด เราก็เลยตีความหมายเช่ นนัน แต่ แท้จริ งข้อความดัง กล่าวแฝงไปด้วยหลักปรัชญาธรรมที ลึกซึงชวนให้ขบคิดหาคําตอบยิงนัก ดังจะแก้ทายไขปริ ศนาไปเป็ นหมวดๆ ดังนี ปริ ศนาธรรมหมวดทีหนึง ♣ ไปไม่ กลับ ♣ หลับไม่ ตืน ♣ ฟื นไม่ มี ♣ หนีไม่พ้น
  • 5. ♣ ไปไม่ กลับ คําว่า “ไปไม่ กลับ” หมายถึง พระอริ ยบุคคลทีสําเร็ จเป็ นพระอรหันต์๗ ดับกิ เลสได้แ ล้ว เมือ ละสังขาร (นิพพาน) แล้วจะไม่กลับมาเกิดใหม่อีก กล่าวคือเพิกถอนเสี ยได้ซึงการเวียนว่ายตายเกิ ด เพราะสามารถกําจัดหรื อ ทําลายลงเสี ยได้ซึงอุ ปสรรคศัตรู กล่าวคือ กิ เลส อันได้แก่ ราคะ โทสะ โมหะ ซึ งเป็ นรากเง้าแห่งอกุศลมูลทังปวง คําว่า “อรหัง” ทีแปลว่า พระอรหั นต์ นัน มาจากศัพท์ว่า อรหะ แปลว่า ผูไม่มีค วามลับ ผู ้ ้ บริ สุทธิ พร้ อมทีจะเปิ ดเผยให้โลกทราบ ทนทานต่อการพิสูจน์ในทุกกาลสมัย เป็ นผูหักเสี ยซึ งกง ้ กรรมแห่ งสังสารวัฏฏ์ ตังอยู่ห่ างไกลจากสรรพกิ เลสและตัณหาทังปวง เพราะเป็ นผูกําจัดเสี ย ซึ ง้ เครื องร้ อ ยรั ดคือห่วง อันเป็ นเครื องยัง สรรพสั ตว์ให้ข้อ งอยู่ในสงสารการเวียนว่ายตายเกิ ด พระ อริ ยบุคคลผูบริ สุทธิ บริ บูรณ์ ผูละเสี ยซึงภพหน้า (การเกิ ดใหม่) ดังกล่าวนี มีอยูเ่ ฉพาะในพุทธศาสนา ้ ้ เท่านัน อีกความหมายหนึงคือ “เวลา” เนืองจากกาลเวลานันมันเป็ นวงจรของตัวมันเอง หมุนเวียน เปลียนไปแล้วก็กลืนกินสรรพสัตว์ทงหลายให้ล้มหายตายจากไปในขณะเดียวกัน อย่างเช่นในแต่ละ ั ปี ทีผ่านไป ถ้าสังเกตตัวเราให้ดี เราจะมีความรู ้สึกว่าเราเสี ยบางสิ งบางอย่างไปอย่างไม่มีวนได้คืนมา ั สิ งนันคือ “อายุ” ทีผ่านพ้นไปกับกาลเวลาในแต่ละวัน แต่ละเดือน แต่ละปี เด็กจะมีความรู ้ สึกว่าเสี ย ความเป็ นเด็กไป เมือเป็ นผูใหญ่วยกลางคน จะมีความรู ้ สึกว่าเสี ยความเป็ นหนุ่ มเป็ นสาว ใกล้ความ ้ ั เป็ นไม้ใกล้ฝัง (ความตาย) เข้าไปทุกที เราจะมาเรี ยกร้ องเวลาอันสดใสคืนก็ไม่ได้ เรื องของเวลานีท่านอุปมาเหมือนยักษ์ เรี ยกว่า “กาลยักษ์ ” มัก กลืนกิ นสรรพสัตว์ทงหลาย ั อยู่ตลอดเวลา และมิใช่จะกลืนกินแต่ผูอืนเท่านัน แม้แต่ตวมันเองก็ไม่เว้น ดังพระบาลีวา “กาโล ฆส ้ ั ่ ติ ภูตานิ สพฺพาเนว สหตฺตนา กาลเวลากลืนกินสั ตว์ทงหลายกับทังตัวมันเอง” อย่างเช่นวันเดือนและ ั ปี ทีผ่านมา ก็ถูกกาลยักษ์กลืนไปหมดแล้ว จะย้อนหลังก็ไม่ได้ ดังคํากลอนทีนักปราชญ์ประพันธ์ไว้ เพือเป็ นคติเตือนใจว่า “อันเงินทองหล่ นหายย้ อนไปหา ยังมีท่าหวังพบประสบสม แต่ เวลาผ่ านไปไม่ ปรารมภ์ จะนิยมย้ อนหลังอย่ าหวังเลย” ๗ พระอรหั นต์ คือพระผูบ ริ สุ ทธิ วิเ ศษ ได้แก่ท่านผูทีกําจัดกิเ ลสได้สินเชิง ในพุทธศาสนามี ๔ จําพวก ้ ้ คือ สุกขวิปัสสโก ผูสาเร็ จโดยการเจริ ญวิปัสสนาล้วน ๑ เตวิชโช ผูสาเร็ จโดยได้วิชชาสาม ๑ ฉฬภิญ โญ ผูสําเร็ จ ้ ํ ้ ํ ้ โดยได้ อภิญญาหก ๑ ปฏิสมภิทปปั ตโต ผูสาเร็ จโดยเข้าถึงปฏิสัมภิทาสี ั ั ้ ํ
  • 6. ♣ หลับไม่ตืน คําว่า “หลับไม่ ตืน” หมายถึง การมัวเมาหลงใหลตกเป็ น ทาสติดอยู่ในรสแห่ งกามคุ ณ ห้า๘ อย่างไม่มีสติยบยังหรื อควบคุมใจตนเองได้ ผู้ทีตกอยู่ในโลกของกามคุณนี ยิงเสพมาก สัมผัสมากยิง ั พอใจมาก มีความต้องการเพิมขึนเรื อยๆ โดยไม่รู้จกคําว่าพอ หรื อหลงใหล (โมหะ) อย่างไม่ลืมหูลืม ั ตา เหมื อ นดังคนตาบอดไม่ส ามารถจะมองเห็นสิ งภายนอกได้ ต้อ งตกอยู่ ในโลกแห่ งความมื ด ตลอดเวลา อีกความหมายหนึ งคือผูทีหลงมัวเมาตกเป็ น ทาสของอบายมุข (ปากแห่งความเสื อม) อัน ้ เป็ นบ่อเกิดสิ งทีไม่ดีงามทังหลาย มีแต่จะทําให้ชีวตตกตําห่างไกลจากความดีและทําจิตใจให้เศร้ า ิ หมองมืดมนอัน ธกาลมองไม่ เ ห็ น ความเจริ ญ ก้ า วหน้า ของชี วิต มีน ัก ปราชญ์บ างท่า นได้ก ล่ า ว เปรี ยบเทียบอบายมุ ขว่าเป็ น “ผีร้าย” ทีน่ ากลัวมากกว่าผีตนใดๆ ในโลกนี เพราะถ้าผี เหล่านี ได้มา หลอกหลอนหรื อเข้าสิ งผูใดแล้ว จะทําให้ผูนนถึงความย่อยยับอับจนทันที ผีร้ายดังกล่าวมีหกตัว คือ ้ ้ ั “ผีทีหนึงชอบสุ ราเป็ นอาจิณไม่ ชอบกินข้ าวปลาเป็ นอาหาร ผีทีสองชอบเทียวยามวิกาลไม่ รักบ้ านรั กลูกเมียตน ผีทีสามชอบดูการเล่นไม่ ละเว้นบาร์ คลับละครโขน ผีทีสี ชอบเล่ นม้ ากีฬาบัตรสารพัดทัวไปไฮโลสิ น ผีทีห้ าคบคนชัวมัวกับโจรหนีไม่ พ้นอาญาตราแผ่ นดิน ผีทีหกเกียจคร้ านการทํากินมีทงสินหกผีอัปรีย์เอย” ั ผูทียังหลงมัวเมาอยู่ในรสแห่งกามคุณหรื อตกอยูในหลุ มแห่ งอบายมุขดังกล่าวชื อว่าเป็ นผู ้ ้ ่ มืดบอดทางปั ญญา ชีวตมักจะเต็มไปด้วยปั ญหานานาประการ เพราะขึ นชื อว่าผู ้มืดบอดนันย่อมจะ ิ ปิ ดหนทางแห่งแสงสว่างเสมอ ดังคําทีว่า “มืด อะไรก็ ไม่ เท่ าปั ญญามืด แสงสว่ างอะไรก็ ไม่ เท่ าแสง สว่ างแห่ งปั ญญา เพราะปั ญญาคือเครื องวัด ความชัดคื อธรรมชาติ ถ้ าผู้ ใดเอาปั ญญามาพิจ ารณา ธรรมชาติได้ ผู้นันชือว่ าผู้พ้น” จากความหลับมืดมนจากกิเลสเครื องร้ อยรัดทังหลาย ♣ ฟื นไม่ มี คําว่า “ฟื นไม่ มี” หมายถึง การกํา จัดกิ เลส ตัณหา อาสวะ ให้ดบสนิ ทแล้วไม่เกิ ดขึนมาอีก ั เหมือนไฟหมดเชือ ความหมายนีเป็ นลักษณะของจิตพระอริ ยบุคคลทีไม่ตกอยู่ในอํานาจแห่ ง กิ เลส ตัณหา คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง มีปัญญาสว่างไสวสามารถกําจัดกิ เลสทีเข้า มาทําให้จิต เศร้าหมอง กล่าวคือความเร่ าร้ อน กระวนกระวาย ขุ่น มัว มัวเมา ทะเยอทะยานไปตามอํานาจของ ๘ กามคุณห้ า (ภาษาทางโลกเรี ยกว่า “วัตถุนิยม”) คื อ รู ป (รู ปะ) ได้แก่สิงที มองเห็ นด้วยตา ๑ เสี ยง (สัท ทะ) ได้แก่สิงทีได้ยินด้วยหู ๑ กลิน (คันธะ)ได้แก่ สิ งที สูดดมได้ดวยจมูก ๑ รส (รสะ) ได้แก่สิงทีสัมผัสได้ดวยลิ น ้ ้ ๑ กายสัมผัส (โผฏฐัพพะ) ได้แก่สิงที สัมผัสทางกาย แต่รับรู ้ดวยใจ้
  • 7. ๗ กิเลสตัณหาได้หมดสิ นและเด็ดขาด มีจิตบริ สุทธิ ไม่ยินดียินร้ ายในเวลาเห็นรู ป ฟั งเสี ยง ดมกลิน ลิม รส ถูกต้องกายสัมผัส จิตทีหลุดพ้นจากอาสวะกิเลสดังกล่าวนี เกิ ดขึนครังแรกทีใต้ตนพระศรี มหาโพธิ หลังจากที ้ พระมหาบุรุษทรงบรรลุอาสวักขยญาณ ทรงปรี ชาสามารถทําอาสวะกิ เลสทังหลายให้หมดสิ นไป ด้วยพระปั ญญา ทรงตรัสรู ้ เป็ นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าในเวลาปั จจุสมัย รุ่ งอรุ โณทัย ทรงเบิก บานพระหฤทัยอย่างสู งสุ ดในการตรั สรู ้ ถึงกับทรงเปล่งพระอุ ทานเย้ย หยันตัณหาอันเป็ นตัวการ ก่อให้เกิดสังสารวัฏฏทุกข์แก่พระองค์เป็ นอเนกชาติว่า “อเนกชาติสํส ารํ สนฺ ธาวิสฺสํ อนิ พฺพิสํ ฯลฯ จิตฺตํ ตณฺหานํ ขยมชฺ ฌคาติ.” ความว่า “นับแต่ ตถาคตท่ องเทียวสื บเสาะหาตัวนายช่ างผู้กระทําเรื อน คือตัวตัณหา ตลอดชาติสงสารจะนับประมาณมิได้ ก็มิได้ พานพบ ดู กร ตัณหา นายช่ างเรื อน บัด นี ตถาคตพบท่ านแล้ ว แต่ นีสื บไป ท่ านจะทําเรือนให้ ตถาคตอีกไม่ได้ แล้ ว โครงเรื อนคือตัณหาเราก็รือ เสี ยแล้ ว ช่ อฟาเราก็หักทําลายเสี ยแล้ ว จิตของเราเข้ าถึงพระนิพพานอันเป็ นธรรมทีปราศจากสั งขาร ้ ปรุ งแต่ งใดๆ ได้ ถึงความดับ สู ญสิ นไปแห่ งตัณหา อั นหาส่ ว นเหลือมิได้ แล้ ว”๑๐ เนื อหาในคําเปล่ ง อุทานของพระพุ ทธองค์ นีแสดงถึ ง จิตที สะอาด สว่าง สงบ ปราศจากกิ เ ลสอาสวะใดๆ ทังสิ น สามารถปิ ดช่องทางแห่งกิ เลสทังหลายไม่ให้ฟืนกลับคืนมาอีก ♣ หนีไม่ พ้น คํา ว่า “หนี ไม่ พ้น ” หมายถึ ง ความตาย ๑๑ ซึ งเป็ นสิ งทีทุก คนจะต้อ งได้พ บเสมอภาค เหมื อ นกัน เพราะเป็ นสิ งทีธรรมชาติ ให้มาตังแต่วน เกิ ด ทุก คนจะต้อ งจนมุม หนี ไ ม่ร อด ไม่ มี ั ข้อยกเว้นและปฏิเสธไม่ได้ เราเกิดมาได้ชือว่ามาเฝ้ าความตาย คอยอยูวามันจะตายวันไหนก็ไม่ทราบ ่่ ดังทีปราชญ์ลิขิตไว้วา “เห็นหน้ ากันเมือเช้ าสายตาย สายอยู่สุขสบายบ่ ายม้ วย บ่ ายยังรื นเริ งกายเย็น ่ ดับชีพนา เย็นอยู่หยอกลูกด้ วยคําม้ วยดับสู ญ” ตามความหมายนี แสดงว่าความตายจัดว่าเป็ นสภาพ เทียง คื อเป็ นความเทียงแท้แน่ นอนว่าสั ต ว์ทุก จําพวกที เกิดมาในโลกนี ต่างก็จะต้อ งตายด้วยกัน ทังนัน จะต่างกันก็ชาหรื อเร็ วเท่านัน ไม่มีใครจะป้ องกันได้โดยประการต่างๆ ้ แท้จริ งชีวตของมนุษย์เราเปรี ยบเหมือนกับละครโรงใหญ่ ที เทียวแสดงบทบาทของตัวเอง ิ เดียวแสดงเป็ นนันเป็ นนีอยูตลอดเวลา ชี วตแห่งละครของมนุษย์จึงเต็มไปด้วยอรรถรสทีหลากหลาย ่ ิ นานาประการ มีทงสุ ขทังทุ ก ข์ปะปนกันไปจนกว่าจะถึงกาลอวสานของชี วิต ดังคําประพันธ์ ทีว่า ั “โลกนีคือโรงละคร ปวงนิกรเราท่ านเกิดมา ต่ างร่ ายรําทําทีท่าตามลีลาของบทละคร บางครั งก็เศร้ า ๑๐ พระวิเ ทศโพธิ คุณ, สู่ แดนพระพุท ธองค์ อิน เดีย - เนปาล (กรุ งเทพ ฯ : ธรรมสภา,๒๕๔๔), หน้า ๑๘๕. ๑๑ สาเหตุแห่ งความตายของสรรพสั ตว์ มี ๔ ลักษณะ คือ ตายเพราะสิ นอายุ คือหมดอายุไข ๑ ตายเพราะ สิ นกรรม ๑ ตายเพราะหมดบุญ (ความชรา) ๑ ตายเพราะถูกกรรมตัดรอน เช่น ประสบอุบติเหตุตางๆ ๑ ั ่
  • 8. ๘ บางคราวก็ สุขหั วอกสะท้ อน มีร้างมี รักมีจากมีจร พอจบละครชี วิตก็ลา” ไปสู่ จุดหมายปลายทาง เดียวกันคือความตาย ซึ งเป็ นสิ งทีไม่สามารถจะหลีกลีหนีพนได้ จะหอบหิวเอาอะไรไปด้วยก็ไม่ได้ ้ แม้แต่คนรักทีห่วงนักหวงหนา ต่างก็อางสิ ทธิ ว่านีของมึงนันของกู ก็เอาไปด้วยไม่ได้ทงนัน ้ ั เมื อรู ้ วาชี วิตต้องตกอยู่ในกฎของธรรมชาติ (ไตรลัก ษณ์) เช่ นนี ท่านจึงสอนให้ระลึก ถึ ง ่ ความตายเป็ นอารมณ์อยู่เสมอ ซึ งจัดเป็ นมรณานุ สสติ จักได้คลายความประมาทมัวเมา ความยึดมัน ถือ มัน ฝึ กจิตให้คุ้น ชิ น กับความตาย จนกระทังมองเห็นเป็ นเรื องธรรมดา จัดเป็ นผู ้มีขวัญดี ไม่ หวันไหวเมือยามร้ ายคือมรณะมาถึง ดังคติเตือนใจตอนหนึ งว่า “คิดถึงความตายสบายนัก มั นหั กรั ก หักหลงในสงสาร บรรเทามืดโมหันต์ อันธกาล ทําให้ หาญหายสะดุ้งไม่ ย่งใจ” ุ อีกความหมายหนึงของคําว่า “หนีไม่พน” คือ กฎแห่งกรรม พระพุทธศาสนาได้ส อนเรื อง ้ กรรมไว้วา กรรมเป็ นเครื องบันดาล กรรมเป็ นเครื องสร้ างทุกอย่าง กรรมคือ การกระทํา กระทําไว้ ่ อย่างไร ย่อมเกิดผลแห่งการกระทําเช่ นนัน เหมือนชาวนาหว่านพืชไว้เช่ นไร ย่อมไร้รับผลแห่ งการ หว่านพืชนัน ดังปรากฏในหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนาดังนี ๑. กมฺมสฺ สโกมฺหิ เรามีกรรมเป็ นของตน หมายความว่า การกระทําต่างๆ ที จะเกิ ดผลดีหรื อ ชัวแก่ ตวเรา เป็ นการกระทําทีเกิ ดจากเจตนาของเราทังสิ น ไม่มีผู ้ใดมาทําแทนได้ เช่น สมมุติวาเรา ั ่ ใช้คนไปฆ่าศัตรู ของเรา เท่ากับว่าเจตนานันเป็ นของเรา ในกรณีนีแม้จะไม่ได้กระทําทางกาย แต่ ถือ ว่ามโนกรรมและวจีกรรมเป็ นของเรา จึงเรี ยกว่า เรามีกรรมเป็ นของตน ๒. กมฺมทายาโท เราเป็ นผูรับผลของกรรมหรื อเป็ นทายาทของกรรม หมายความว่า เราเป็ น ้ ผูรับผลของกรรมด้วยตนเองไม่มีผูอืนมารับแทนได้ ไม่วากรรมนันเราจะทําไว้ตงแต่เมือใด จะเป็ น ้ ้ ่ ั กรรมดีหรื อกรรมชัว เราก็ตองเป็ นผูรับผลของกรรมนัน ้ ้ ๓. กมฺมโยนิ เรามีกรรมเป็ นกําเนิด หมายความว่า กรรมเป็ น สิ งทีทําให้เราเกิ ดมา กรรมจะ ส่ งผลให้เราเกิดอย่างไรก็ได้ การเกิ ดในตระกู ลสู งหรื อในตระกูล ตํา หรื อเกิ ดในฐานะอย่างไรเป็ น เรื องของชนกกรรมเท่านัน ๔. กมฺมพัน ธุ เรามีก รรมเป็ นเผ่า พันธุ์ หมายความว่า บุค คลที ทํากรรมอันใดไว้จะต้อ ง สื บเนืองในกรรมนันต่อไป เปรี ยบเหมื อนกับเผ่าพันธุ์ มนุ ษย์หรื อสัตว์ต่างๆ เช่ น ผูเ้ กิ ดเป็ นมนุ ษย์ ทางทีจะต้องสื บเนื องไปในกรรมนัน เช่ น กรรมชัวก็จะต้องสื บเนืองไปในกรรมชัว กรรมดีก็จะต้อง สื บเนืองไปในกรรมดี ๕. กมฺมปฏิสรโณ เรามีกรรมเป็ นทีอาศัย หมายความว่า ผูทีทํากรรมดีก็อาศัยกรรมดีนนเอง ้ ั เพือดํารงความดีต่อ ไป ดังพุทธภาษิตว่า “ธมฺ โม หเว รกฺ ขติ ธมฺ มจารี ” ความว่า “ธรรมย่อมรั กษาผู ้ ประพฤติธรรม” ๖. ยํ กมฺมํ กริสฺสามิ กลฺยาณํ วา ปาปกํ วา ตสฺ ส ทายาโก ภวิสฺสามิ เราทํากรรมใดไว้ ดีหรื อ ชัวก็ตาม เราจะต้องเป็ นผูรับผลของกรรมนัน ้
  • 9. ดังทีกล่าวมาทัง ๖ ข้อนี ชี ให้เห็นว่า เราไม่สามารถจะหลีกหนี กรรมของเราพ้น ทํากรรม อย่างไรก็ตองรับผลอย่างนันเสมอ แม้แต่พระอริ ยสาวกผูเ้ ลิศทางด้านอภินิหารอย่างพระมหาโมคคัล ้ ลานะ ก็หนีกฎแห่งกรรมทีท่านเคยสร้างมาในอดีตชาติไม่ได้ ดังจะเห็นได้จากท่านถูกพวกโจรรุ มตี ทุบทําร้ ายจนกระทังแหลกเป็ นจุณ ก็ผลจากการทีท่านเคยทุบตีมารดาผูบงเกิดเกล้าในชาตินนเอง ้ ั ั ปริ ศนาธรรมหมวดทีสอง ♣ สี คนหาม ♣ สามคนแห่ ♣ หนึงคนนังแคร่ ♣ สองคนพาไป ♣ สีคนหาม คําว่า “สี คนหาม” หมายถึง การประชุมลงของธาตุสี๑๒ ประกอบกันเข้าอย่างพอเหมาะทําให้ เกิ ดเป็ นรู ปร่ างหรื อร่ างกายขึนมา ธาตุสีเป็ นวัตถุธรรมชาติดงเดิมของสรี ระร่ างกายของมวลสรรพสิ ง ั ทีมีชีวต สามารถสัมผัสได้ดวยประสาททังห้า การผสมของธาตุสี อยู่ในสภาวะทีเกิ ดขึ น ตังอยู่ และ ิ ้ สลายตัว ใครก็หามไม่ได้ เพราะไม่ ใช่ ของเรา ไม่อยู่ในอํานาจของเรา วันหนึ งต้องทรุ ดโทรมแตก ้ สลายไป แล้วธาตุทงสี ก็จะกลับคืนไปสู่ สภาพเดิม๑๓ เพราะว่าธาตุทงสี นีเป็ นสิ งทีทรงสภาวะของตน ั ั อยู่เอง คือมีอยู่โดยธรรมดา เป็ นไปตามเหตุปัจจัย ไม่มีผูสร้ าง ไม่มีอตตา มิใช่ สัตว์ มิใช่ ชีวะ๑๔ เกิ ดมี ้ ั เองและแตกสลายไปเองโดยธรรมชาติของมัน แนวความคิดเรื องธาตุสีในพุทธศาสนาคล้ายกับทัศ นะเรื องต้นกําเนิ ดของสรรพสิ ง (ปฐม ธาตุของโลก) ของเอมเปโดเคลส (Empedocles) นักปรัชญากรี กโบราณ เขากล่าวว่า "ร่ างกายของ คนเราเกิดจากการรวมตัวของธาตุทงสี การทีเรารู ้ จกธาตุสีในโลกรอบๆ ตัวเรา ก็เพราะมีธาตุทงสี อยู่ ั ั ั ในตัวเราก่ อ นแล้ว เพราะเรามีธ าตุดิน เราจึง เห็น ดิน เนื องจากอนุ ภ าคของธาตุดิน ในวัต ถุ มาทํา ๑๒ ธาตุสี คือ ปฐวีธาตุ (ธาตุดิน) มีลกษณะแข็งที มองเห็ นเป็ นรู ป สามารถสัมผัส ได้ เช่น ผม ขน เล็บ ั ฟั น หนังเป็ นต้น ๑ อาโปธาตุ (ธาตุนํา) มี ลกษณะเหลวไหลถ่ายเท ทําให้อ่อนนุ่ มผสมผสานกัน เช่น นําเลือด ั นําลาย นําดี เป็ นต้น ๑ เตโชธาตุ (ธาตุไฟ) มีลกษณะร้อน ยังกายให้อบอุ่น ย่อยอาหาร ทําให้ร่างกายไม่เปื อยเน่ า ั วาโยธาตุ (ธาตุลม) มีลกษณะกระพือพัด ลอยตัว พัดไปทัวร่ างกายทําให้ร่างกายเคลือนไหว ๑ ั ๑๓ พระมหา ดร.สุ ขพัฒ น์ อนนท์จ ารย์,ปริศนาปรัชญาธรรม (กรุ งเทพ ฯ : ลูก ส.ธรรมภักดี ,๒๕๔๖), หน้า ๘๘. ๑๔ พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต),พจนานุ กรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (กรุ งเทพ ฯ : มหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๒๘), หน้า ๑๓๙.
  • 10. ๑๐ ปฏิกิริยากับธาตุดินในตัวเรา จึงเกิ ดเป็ นจินตภาพของดินขึนมา โดยนัยนี เพราะเรามี ธ าตุน า เราจึง ํ เห็นนํา เพราะมีธาตุไฟ เราจึงเห็นไฟ และเพราะมีธาตุลม เราจึงเห็นลม"๑๕ ก่อนกําเนิ ดสรรพสิ ง ธาตุ เหล่านี มีก ารผสมปะปนกัน อย่างได้ระเบียบจนกลายเป็ น มวลสารมหึ มา ธาตุดินไปอยู่ก ับธาตุดิน ธาตุนาก็ไปอยู่กบธาตุนา ธาตุต่างๆ ผสมกันโดยนัยนีอย่างได้สัดส่ วนมีระเบียบจนกลายเป็ นสรรพ ํ ั ํ สิ งในโลกดังทีเราเห็นอยู่นี โลกหรื อสรรพสิ งดังกล่าวจะถึงกาลแตกสลายก็ต่อ เมื อธาตุ เหล่ านี แยก ออกจากกัน สลายไปสู่ ธาตุเดิมของตน คําสอนทางพุทธศาสนากําหนดให้เราพิจารณาธาตุสีนี เป็ นอารมณ์ คือกํา หนดพิจารณากาย นีแยกเป็ นส่ วนๆ ให้เห็นว่าเป็ นเพียงธาตุสี คือ ดิน นํา ไฟ ลม แต่ละอย่างประกอบกันขึนเป็ นร่ างกาย เท่านัน ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ เรา ไม่ใช่ตวตนของเรา การกําหนดพิจารณาธาตุสีนี จะต้องกําหนดด้วย ั สติสัมปชัญญะโดยความแยบคาย จนมองเห็นความเกิ ดขึ นและความเสื อมไปในกาย ตระหนักว่า กายนีก็สักแต่วากาย มิใช่สัตว์ บุคคล ตัวตน เราเขา สักวันหนึ งเมื อธาตุ เหล่านีถึ งการแตกสลายไป ่ ตามสภาวะของธรรมชาติ ชีวตคือไออุ่นก็จะถึงกาลอวสานเช่นกัน ฉะนัน ชีวตหรื อ ร่ างกายจะดํารง ิ ิ อยู่ได้ก็เพราะการหามหรื อการประครองไว้ของธาตุทงสี นีเอง ั ♣ สามคนแห่ คําว่า "สามคนแห่ " หมายถึง ไตรลักษณ์ หรื อลักษณะสามประการแห่งสังขารธรรมทังหลาย อันประกอบด้วยความไม่คงที (อนิ จจตา) ความแปรปรวน (ทุก ขตา) และความไม่มีตวตน (อนัตต ั ตา) ไตรลักษณ์ เรี ยกอีกอย่างหนึ งว่า สามัญลักษณ์ คื อลัก ษณะอัน เป็ นสากล ครอบงําสรรพสิ งใน จักรวาล จักรวาลในทีนี หมายถึง เบญจขันธ์ อันได้แ ก่ รู ป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ ที พระพุทธเจ้าทรงเรี ยกว่า "โลก" โดยทรงเน้นที "สั งขารโลก" ได้แก่ ชุมชนแห่งสังขารทังปวงอันเกิ ด จากเหตุปัจจัย ดํารงอยู่ โดยเหตุปัจจัย และดับไปเพราะเหตุ ปัจจัย ๑๖ สภาพของสั ง ขารทัวไปมี ปรากฏการณ์ธรรมชาติอยู่อย่างหนึง คือซ่ อนความเร้ นลับคือการผันแปรและสลายตัวเอาไว้ภ ายใน ตัว เปิ ดเผยตัวเองออกมาให้เ ห็ นเสมอกันทังหมด เรี ยกว่า "ธรรมนิ ยาม"๑๗ เพราะกําหนดรู ้ ได้ถึ ง ธรรมชาติทีเปลียนแปลง สังขารโลกหรื อสรรพสิ งรวมทังร่ า งกายของคนเราตกอยู่ในหลักแห่ งความจริ งของไตร ลักษณ์ เป็ นความจริ งทีมีอยู่ เป็ นอยูโดยธรรมชาติของมัน พระพุทธเจ้าจะเสด็จอุบติขึนหรื อไม่ก็ตาม ่ ั ๑๕ พระมหาจักรชัย มหาวีโร, เอกสารประกอบการสอนวิชาปรั ชญาตะวันตกสมัยโบราณ (เลย ฯ : มจร. วิทยาลัยสงฆ์เลย,๒๕๔๖), หน้า ๑๖ - ๑๗. ๑๖ สนิ ท ศรี ส ําแดง,ปรัชญาเถรวาท (กรุ งเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๔), หน้า ๑๘๒. ๑๗ ธรรมนิยาม หมายถึง การตังอยู่แห่ งสิ งที เป็ นเองโดยธรรมชาติ (ธรรมฐิ ติ) มี อยู่ส ามประการ คือ สังขารทังปวงไม่เทียง ๑ สังขารทังปวงเป็ นทุกข์ ๑ ธรรมทังปวงเป็ นอนัตตา ๑
  • 11. ๑๑ สิ งนันก็คงตังอยู่ตามธรรมดาและก็อยูในเงือนไขของธรรมดามีธรรมชาติเป็ นอย่างนัน มีภาวะอย่าง ่ นัน ไม่ลวงพ้นความเป็ นอย่างนันไปได้ พระพุทธเจ้าเพียงแต่ตรัสรู ้ เปิ ดเผย ชี แจงแสดงถึงความจริ ง ้ แห่ งสัตว์และสังขารทังหลายว่า เป็ นของไม่เทียง (เป็ นอนิจจัง) ทนอยูในสภาพเดิมไม่ได้ (เป็ นทุกข์) ่ และแปรผันไปในทีสุ ด (เป็ นอนัตตา) ลักษณะทังสามประการนีได้แห่แหนเราไปทุกย่างก้าว และทุก ขณะจิตอย่างไม่ลดละ ♣ หนึงคนนังแคร่ คํา ว่า "หนึ งคนนั งแคร่ " หมายถึ ง จิต กับ ร่ า งกาย นันคื อหนึ งคนหมายถึง จิต ส่ วนแคร่ หมายถึงร่ างกาย จิตนังอยูบนร่ างกาย ทําหน้าทีคอยควบคุมบัญชาการของอวัยยะทุกส่ วน กล่าวคือ ผู ้ ่ เป็ นใหญ่ ทําหน้าทีเป็ นนาย ในทางธรรมถือว่า จิตสําคัญที สุ ด คือ เป็ นใหญ่กว่ากาย ดังคําทีว่า "ใจ เป็ นนาย กายเป็ นบ่าว" เมือร่ างกายอยู่ในฐานะผูตามจิตใจเช่นนี จึงปรากฏว่า บุคคลในโลกนี ถ้าใจดี ้ สักอย่างแล้ว อย่างอืนก็จะดีไปด้วย เพราะทุกสิ งทุกอย่างอยู่ภายใต้จิตใจทังสิ น แม้แต่ความเจริ ญและ ความเสื อมของชีวตก็เช่นกันล้วนมีพนฐานมาจากจิตทังนัน ิ ื ฉะนัน หากผูใดต้องการพบกับความสุ ขทีสงบเยือกเย็น ต้องหัดฝึ กจิต คือการทําจิตให้หมด ้ พยศ ให้ตรง ให้มีคุ ณ ธรรม ไม่ให้ยิน ดี ยิน ร้ ายในเวลาเห็น รู ป ฟั ง เสี ย ง ดมกลิ น ลิ มรส ถู ก ต้อ ง โผฏฐัพพะ รู ้ ธรรมารมณ์ดวยใจ แต่การฝึ กจิตนีเป็ นของยาก เพราะจิตเป็ นสภาพทีกลับกลอก รัก ษา ้ ยาก ห้ามยาก หวันไหว โดนเอนง่าย และมักใฝ่ ตํา เหมือนนํามัก ไหลจากทีสู งลงสู่ ทีตําเสมอ แต่ถา ้ ผูใดผ่านการฝึ กจิตแล้วก็จะพบกับความสุ ขทีแท้จริ ง ดัง คําทีว่า "สุ ขทุกข์ อยู่ทีใจมิใช่ หรื อ ถ้ าใจถื อก็ ้ เป็ นทุกข์ ไม่ สุกใส ถ้ าไม่ ถือก็เป็ นสุ ขไม่ ทุกข์ ใจ เราอยากได้ ความสุ ขหรื อทุกข์ เอย" ♣ สองคนพาไป คําว่า "สองคนพาไป" หมายถึง บุญและบาป ทีเกิดจากการกระทําโดยการรับรู ้ ของจิต นําพา จิตให้ไปเกิดเป็ นเทวดาบ้าง เป็ นมนุษย์บาง เป็ นสัตว์บาง นําเทียวไปอยู่ในนรกและสวรรค์แล้วแต่ ้ ้ ทุนทีเป็ น ปั จจัยเกื อหนุ น ในรู ปแบบของกิ จกรรมซึ งมีอยู่ส องอย่า ง คือทําดีจดเป็ นบุ ญ กุศล ทําชัว ั จัดเป็ นบาป ทําสิ งไหนมากก็จะไปตามทางของสิ งนันๆ คําว่า "บุญ" เป็ นชือของความสุ ข ความดี เป็ นทีพึงของสัตว์ทงหลายทังในโลกนี และ โลก ั หน้า การสังสมบุญเป็ นเหตุนามาซึงความสุ ข ชีวตจะราบรื นหรื อล้มลุกก็เพราะบุญทีทํากรรมทีสร้าง ํ ิ ดังคําทีท่านกล่าวว่า "ยามบุญมาวาสนาช่ วย ทีป่ วยก็หายทีหน่ ายก็รัก หากบุญไม่ มาวาสนาไม่ ช่วย ที ป่ วยก็หนั กทีรั กก็หน่ าย" ฉะนัน ถ้าอยากเป็ นคนมีบุญ พึงขวานขวายในกุ ศลกรรม คือ ความดีงาม โจรก็ลกเอาไปไม่ได้ แต่สามารถนําติดตัวไปได้เมือถึ งคราวตาย ไม่เหมื อนทรั พย์สมบัติศฤงคาร ั ทังหลาย ต้อ งทิงไว้ให้ต กเป็ นสมบัติข องคนอื น จะนําติ ดตัวไปด้วยก็ ไ ม่ไ ด้ ไปแต่ ตวเปล่ า ดัง ั
  • 12. ๑๒ ประพันธ์ทีว่า "เมือเจ้ ามามีอะไรมากับเจ้ า เจ้ าจะเอาแต่ สุขสนุกไฉน เมือเจ้ ามามือเปล่ าจะเอาอะไรไป เจ้ าก็จงไปมือเปล่ าเหมือนเจ้ ามา" คําว่า "บาป" เป็ นชือของความทุกข์ ทีเกิดจากความประพฤติชวทางกาย วาจา และใจ บาปนี ั เมือบุคคลสังสมหรื อทําเข้าแม้เพียงเล็กน้อยโดยคิดว่าจะไม่อานวยผลอะไร แต่เมือทําบ่อยๆ มันก็จะ ํ สังสมมากขึนตามลําดับ เปรี ยบเหมือนภาชนะทีเขาเปิ ดปากตังไว้ในทีกลางแจ้งไม่มีทีบังเมือฝนเท ตกลงมาทีละครังสองครัง หรื อมากกว่านัน นําอาจจะยังไม่เต็ม เมื อหลายครังเข้า ภาชนะนันก็ เต็ม ด้วยนําฝน บาปก็เช่ นนัน อาจเป็ นเหตุใหญ่โต นําความทุกข์มาให้ทงในโลกนี และโลกหน้า ดังพุทธ ั สุ ภาษิตทีว่า "ทุกฺโข ปาปสฺส อุจฺจโย" ความว่า "การสั งสมบาปนําทุกข์ มาให้ " ฉะนันมรดกทีแท้จริ งที เป็ นสมบัติติดตัวเราไปทุกหนทุกแห่งก็คือบุญและบาป ดังคํากลอนทีว่า "สิ งใดในโลกล้ วนอนิ จ จัง คงแต่ บาปบุ ญยังเทียงแท้ คือเงาติดตัวตรั งตรึงแน่ นอยู่นา ตามแต่ บุญบาปแลก่ อเกือรั กษา" ปริ ศนาธรรมหมวดทีสาม ♣ บ้ านใกล้ท่าไม่ มีนํากิน ♣ ช่ างปันดินไม่ มีหม้ อใช้ ♣ เลียงไก่ ไว้ ไม่ มีเสี ยงขัน ♣ อยากขึนสวรรค์ ให้ ไปแก้ ผ้าซิ นทีวัด ♣ บ้ านใกล้ ท่าไม่มีนํากิน คําว่า "บ้ านใกล้ ท่าไม่ มีนํากิน" หมายถึง คนทีมีบานเรื อนตังอยู่ใกล้วด แต่ไ ม่เคยรั บรู ้ หรื อมี ้ ั ความสัมพันธ์อะไรกับวัดหรื อพระศาสนาเลย หรื อแม้บางคนอาจจะมีความสัมพันธ์ กบวัดวาอาราม ั รู ้ จกหรื อใกล้ชิดกับพระสงฆ์เป็ นอย่างดี ประกาศตนว่านับถือพุทธศาสนา มีพระรัตนตรัยเป็ นทีพึงที ั ระลึก แต่ไม่เคยรับรู้ รสแห่งธรรมะ ไม่ คิด จะน้อมนําหลักพระธรรมคําสังสอนไปเป็ น ยาใจในการ ประพฤติปฏิ บติ ทังทีเมืองไทยเป็ นเมืองพุทธ แต่คนในชาติกลับเป็ นคนใจดําอํามหิ ตเบี ยดเบียนทํา ั ร้ ายซึ งกันและกันไม่เว้นแต่ละวัน ผิดศีลผิดธรรมกันเป็ นแฟชัน นีแสดงให้เห็นว่า แม้เราจะมีบานใกล้วด แต่ไม่เคยสนใจเกี ยวกับเรื องของวัด ใกล้ชิดพระ ้ ั พุทธ (พระพุทธรู ป) แต่ไม่เคยเข้าถึงคุณพระพุทธเจ้า เรี ยนรู ้ ธรรมะ แต่ไม่เคยนําเอาหลักธรรมไป ปฏิบติ อุปัฏฐากอุปถัมภ์พระสงฆ์ แต่ไม่เคยยึดหลักคําสอนของท่าน เข้าตําราทีว่า "สั ปเหร่ อชิน ผี ั สั งฆการี ชินพระ" หรื อ "มดแดงเฝ้ าผลมะม่ วง ไม่ ร้ ู เลยว่ ามะม่ วงมีรสชาติเป็ นอย่ างไร" เหมื อนมีท่า นําติดกับบ้าน แต่ไม่ได้ดืมนําจากลําคลอง ใจคอเหือดแห้งอยูตลอดเวลา ยังโหดร้ ายทําลายกัน ขาด ่ เมตตากรุ ณาต่อกัน
  • 13. ๑๓ ♣ ช่ างปันดินไม่ มีหม้ อใช้ คําว่า "ช่ างปันดินไม่ มีหม้ อใช้ " หมายถึง การทําพิธีกรรมต่างๆ ทางด้านพุทธศาสนา แล้วติด เป็ นเจ้าพิธีรีตอง คือติดเพียงรู ปแบบในพิธีกรรมนันๆ เช่น จุดธู ปจะจุดอย่างไร ใช้ธูปกี ดอก จุดข้าง ซ้ายหรื อข้างขวาก่อน เทียนนํามนต์จะต้องใช้กีเล่ม บาตรนํามนต์จะต้องใส่ อะไรบ้าง ใบนาก เงิ น ทอง ส้มโอ ผิวมะกรู ด ใบมะยม ใบส้ มป่ อย แม้กระทังใบทับทิม ใส่ สารพัดหนักๆ เข้าดูไม่อ อกว่า บาตรนํามนต์หรื อว่าหม้อต้มยํา๑๘ กันแน่ พิธีกรรมเหล่านีเป็ นแค่เปลือก ถ้าเราไม่รู้จกกลันกลองเอา ั แก่ นธรรมทีเกิดจากพิธีกรรมนันๆ มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดกับชีวตได้ ก็ชือว่ายังติดอยู่ ิ แค่เปลือกของศาสนาเท่านัน เหมือ นกับช่ างปั นดินแต่ ไม่ มีหม้อใช้ คนปั นหม้อขายแต่ ตวเองกลับ ั ต้องใช้กะลา ฉันนัน ♣ เลียงไก่ ไว้ ไม่ มีเสี ยงขัน คําว่า "เลียงไก่ ไว้ไม่ มีเสี ยงขัน" หมายถึง ทายก อุบาสก อุบาสิ กา หรื อพุทธศาสนิกชนทัวไป ได้ให้การอุปถัมภ์บารุ งพระสงฆ์ทุกๆ ด้าน มีปัจจัยสี เป็ นต้น แต่พระสงฆ์ไม่เคยเทศน์อบรมสังสอน ํ ให้ชาวบ้านได้รับรู ้รสแห่งพระสัทธรรมเลย หน้าทีของพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนา คือ การเรี ยน ธรรม และนําเอาหลักธรรมมาปฏิบติ เมือเกิดผลจากการเรี ยนและการปฏิบติแล้ว หน้าทีสําคัญต่อไป ั ั ของพระสงฆ์ คื อ การแนะนํา สังสอนผู ้อื นให้รู้ ตามสิ งทีตนรู ้ น ัน คื อ ให้รู้ จก บาป บุ ญ คุ ณ โทษ ั ประโยชน์และสิ งไม่ใช่ประโยชน์ แต่ ถ ้าพระสงฆ์ไม่ปฏิ บติห น้าทีดัง กล่ า ว เป็ นเพียงพระนัก บิน (บิณฑบาต) บัง สั ง สวด ั เท่านัน ก็จะไม่เกิดประโยชน์ต่อพระศาสนาแต่อ ย่างไร บางครั งถึงกับมี คาล้อเลียนจากชาวบ้านว่า ํ "บวชหาใช้ หนี บวชหนี ตํารวจ บวชสวดพระมาลัย บวชไกลกังวน บวชแก้ บนเจ้ าพ่ อ บวชล่ อข้ าวเย็น และบวชเล่ นล็อตเตอรี ฯลฯ" เมื อพระสงฆ์มีหน้าทีบกพร่ องเช่ นนี ท่านจึง เปรี ยบถึ งการอุ ปถัมภ์ พระสงฆ์เหมือนกับการเลียงไก่ ซึ งนอกจากจะต้องการกินเนื อกินไข่แล้ว ทีสําคัญคือ ต้อ งการเสี ยง ขัน คือเทศนาสังสอนอบรมธรรมได้ดวย ้ การบอุปถัมภ์บารุ งพระศาสนานันมี ๒ อย่าง คือ การทําให้พระศาสนาเจริ ญมันคง สามารถ ํ เป็ นทีพึงแก่ สัตว์โลกได้ การอุปถัมภ์เช่ นนีจะเน้นการนําหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนามาปฏิ บติ ั เพือให้เกิดสันติสุขและปั ญญาอย่างแท้จริ ง ส่ วนประการทีสอง คือการช่วยเหลือกิจการพระศาสนา ในลักษณะต่างๆ เช่น การบํารุ งวัดวาอาราม และการอุปัฏฐากพระสงฆ์ เป็ นต้น ปั จจุบนทายกทายิกาโดยส่ วนมากเน้นการบํารุ งวัดวาอารามทางด้านศาสนวัตถุเสี ยเป็ นส่ วน ั ใหญ่ หรื อบางแห่งให้ก ารเลียงดู พระเณรให้อยู่ดีกิ นดี แต่ไม่เข้าใจเนื อแท้ข องศาสนาเลย ถ้าเป็ น พระครู วิวิธธรรมโกศล (ชัยวัฒ น์ ธมฺ มวฑฺ ฒโน),มุทิตานุ สรณ์ พระครู วิวิธธรรมโกศล (กรุ งเทพ ฯ : ๑๘ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๓๔), หน้า ๑๖๘.
  • 14. ๑๔ ลักษณะนีท่านเปรี ยบเหมือนกับการเลียงไก่ไว้ไข่ให้สุนขกิน คือ การทีเรามีแต่วดวาอารามทีสวยงาม ั ั แต่ ไ ม่ มีพระสงฆ์ทีเป็ น เหมือ นหมอ ไม่ มีธ รรมะทีเป็ นเหมือ นยา มัน ก็ไม่มี ประโยชน์ อ ะไร มีค่ า เท่ากับรู ปสวยๆ ทีติดอยู่ขางฝาคนมีปัญหาเดินผ่านไปผ่านมารู ปนันก็ช่วยอะไรไม่ได้ ้ การเลี ยงดูหรื ออุ ปัฏฐากพระสงฆ์นน ถ้าเลี ยงให้อ ยู่ดีกิน ดีเกิ นไป โดยไม่ตอ งทําอะไร ก็ ั ้ กลายเป็ นว่าเลียงพระให้กลาย เป็ นหมู ถ้าเลียงไว้สําหรับเป็ นพ่อสื อแม่ช ก ก็กลายเป็ นเลียงพระให้ ั กลาย เป็ นม้ า บางทีใช้ให้พระเณรทําประโยชน์แก่ตนทางวัตถุ อย่างนีก็เท่ากับเลียงพระให้กลาย เป็ น วัวเป็ นควาย บางทีเลียงพระให้ เป็ นนกเขา คือเลียงไว้ให้ขนเพราะๆ เพือให้ทายกทายิกาสบายใจ ั หรื อบางทีก็เอาแต่บารุ งบํา เรอกันเกิ นไป คือ เอาแต่สนุ กสนานอย่างเดียว อย่างนี เรี ยกว่า การเลียง ํ พระให้กลาย เป็ นเทวดาไป บางทีก็เลียงพระให้กลาย เป็ นยักษ์ เป็ นมาร คื อ กลายเป็ นคนเจ้าอารมณ์ (ตัดตอนมาจากหนังสื อการบํารุ งพระศาสนาของท่านพุทธทาส) ถ้าเป็ นลักษณะเช่นนีก็กลายเป็ นว่า พระสงฆ์ได้ลืมหน้าทีของตัวเอง ซึ งก็ตรงกับคําเปรี ยบเปรยของชาวบ้านทีว่าเลียงไก่ไว้ไม่มีเสี ยงขัน นันเอง กล่าวคือไม่ได้ตงใจเรี ยนธรรมและปฏิบติเพือสังสอนชาวบ้านเลย ั ั ♣ อยากขึนสวรรค์ ให้ ไปแก้ ผ้าซิ นทีวัด คําว่า "อยากขึนสวรรค์ ให้ ไปแก้ ผ้าซิ นทีวัด" หมายถึง ถ้าต้อ งการทีจะให้บุญกุศ ลกล่าวคือ ความสุ ขเกิดขึนแก่ตนเองแล้ว ให้ไปแก้ผาซิ น๑๙ กํามะหยีทีห่อพระคัมภีร์๒๐ ทีวัด แล้วคลีออกมาอ่าน ้ ให้เกิ ดความเข้าใจในหลักธรรมนันๆ แล้วนําพระธรรมคําสังสอนของพระพุทธเจ้าทีจารึ ก ไว้ในใบ ลานนันไปเป็ นหลักปฏิบติ ก็จะพบความสุ ขคือทางแห่งสวรรค์และพระนิพพาน ั คนสมัยก่อนมักชอบไปวัด ชี วตทังชี วิตจะผูกพันอยู่ก ับวัด ทังนี เพราะวัดเป็ น จุดศู นย์รวม ิ ของชุมชนอย่างแท้จริ ง วัดจึงเป็ นทังลานบุญลานกุศลสําหรับชุมชนนันๆ ดังนัน บุญ (ความสุ ขใจ) ๑๙ คําว่า "ผ้ าซิน" ในทีนี โบราณท่านหมายถึงผ้าห่ อคัมภีร์ แต่ก่อนใช้ผาสวย ๆ ผ้าลูกไม้สีสรรต่าง ๆ กันดู ้ สวยงามมาก คล้ายผ้าถุงทีผูหญิงนุ่งทุ กวันนี มีไว้สําหรั บ ห่ อพระคัมภีร์ท างศาสนา ซึ งบันทึ กพระธรรมคําสัง ้ สอนทางพระพุทธศาสนาไว้ ๒๐ คําว่า "คัมภีร์" ในที นี หมายถึง "พระไตรปิ ฎก" ซึ งใช้ชื อเรี ยกคัมภี ร์ทางพุท ธศาสนา เกิ ดขึ นในตอน หลัง เมือพระพุทธเจ้าตรัสรู ้ใหม่ ๆ ก็ทรงใช้คาว่า "พุทธศาสนา" ต่อจากนันก็ทรงใช้คาว่า "สั ทธรรม" และก่อนทีจะ ํ ํ เสด็จดับขันธปริ นิพพานก็ได้รับสังแก่พระอานนท์พร้อมด้วยหมูพระเถระว่า "พระธรรมและพระวินัยทีได้บัญญัติ ่ แสดงแล้ วจักเป็ นศาสดาแทนเรา" ในคราวนันก็ใช้คาว่า "ธรรมวินัย" หลังพุทธปริ นิพพานแล้ว พระสังคีติ ํ กาจารย์ ทําการสังคายนาพระวินัยครังทีหนึ ง และที สองก็ยงใช้คาว่า "พระธรรมวินัย" ครังที สาม สมัยพระเจ้า ั ํ อโศกมหาราช พระสังคติกาจารย์ได้จาแนกแยกแยะ พระวินัย พระสู ตร และพระอภิธรรม จัดไว้เป็ นหมวดหมู่ ํ เรี ยกว่า "พระไตรปิ ฎก" กล่า วคื อ เหมื อ นกับ ตระกร้ า หรื อกระจาดสามใบ สําหรั บใส่ พ ระไตรปิ ฎกทังสาม หมวดหมู่ แยกไว้ดงนี คือ พระวินยปิ ฎก พระสุตตันตปิ ฎก และพระอภิธรรมปิ ฎก ั ั