SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  110
Télécharger pour lire hors ligne
ก
ชื่อรายงานวิจัย: ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะ
ภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ผูวิจัย : พระมหาสุภวิชญ ปภสฺสโร/ วิราม
สวนงาน : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย
ปงบประมาณ : ๒๕๕๕
ทุนอุดหนุนการวิจัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บทคัดยอ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค ๔ ประการ คือ เพื่อศึกษาทัศนคติของพระนิสิตที่มีตอการ
เรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ ๓, ๕, และ ๗ เพื่อศึกษาทัศนคติของพระนิสิตที่มีตอ
การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ ๓,๕, และ ๗ ของนิสิตชั้นปที่ ๒,๓, และ ๔
เพื่อศึกษาวิเคราะหขอมูลเปรียบเทียบเกี่ยวกับทัศนคติของพระนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอน
ในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ และเพื่อศึกษาปญหาอุปสรรคในการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะ
ภาคปฏิบัติ ๓,๕, และ ๗ ของนิสิตชั้นปที่ ๒,๓, และ ๔
ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนนิสิตภาคปกติและภาคพระสังฆาธิการที่ได
ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา ธรรมภาคปฏิบัติ ๓,๕ และ ๗ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๕ กําลังศึกษาอยูที่
วิทยาลัยสงฆเลย จํานวนทั้งหมด ๑๕๐ รูป
ผลรายงานการวิจัย พบวา
๑. พระนิสิตวิทยาลัยสงฆเลยชั้นปที่ ๒,๓ และ๔ มีความเห็นทั้ง ๔ ดานโดยภาพรวม
อยูในระดับมาก (๓.๗๔) เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ทัศนคติดานการจัดการเรียนการสอนมี
คาเฉลี่ยสูงสุด (๓.๘๔ ) รองลงมาคือ ทัศนคติดานตอเนื้อหาสาระ (๓.๘๓) ทัศนคติดานแรงจูงใจ
(๓.๘๐) สวนดานที่มีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด คือ ทัศนคติดานการปฏิบัติกรรมฐาน (๓.๗๔) ตามลําดับ
๒. พระนิสิตวิทยาลัยสงฆเลยชั้นปที่ ๒,๓ และ๔ มีความคิดเห็นตอเนื้อหาสาระ
รายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ๓,๕,๗ โดยภาพรวม อยูในระดับมาก (๓.๘๓) ) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ
พบวา ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ ขอ ๖ ประโยชนที่ไดรับจากการศึกษารายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ
(๔.๑๒) รองลงมาคือ ขอ ๓ เนื้อหาสอดคลองกับความเปนจริงของโลกปจจุบัน (๓.๙๕) สวนขอที่
มีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด คือขอ ๕ เนื้อหาเคยไดศึกษามากอนแลว (๓.๕๘)
๓. พระนิสิตวิทยาลัยสงฆเลยชั้นปที่ ๒,๓และ๔ มีความคิดเห็นตอแรงจูงใจ
รายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ ๓,๕,๗ โดยภาพรวม อยูในระดับมาก (๓.๘๐) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ
ค
Research Title: An Attitude of Buddhist Students to Learning and Teaching
Buddhist Meditation at Loei Buddhist College
Researcher: Pramaha Supavit Phapatsaro/Wiram
Department: Mahachulalongkornrajadyalaya University,
Loei Buddhist College.
Fiscal Year: 2555
Research Scholarship Sponsor: Mahachulolongkornrajadyalaya University
Abstract
This researchwas aimed at 4 four reasons for; studying the attitude of the Buddhist
students towards teaching and learning in the Buddhist Meditation 3, 5, and 7, studying the
attitude of the 2nd
, 3rd
and 4th
year Buddhist students towardsteachingand learning in the Buddhist
Meditation 3, 5, and 7, analyzing the comparative data concerning the students' attitudes towards
teaching and learning in the Buddhist Meditation, and studying the problems and obstacles of
teaching and learning in the Buddhist Meditation 3,5, and 7 of the 2nd
, 3rd
and 4th
year Buddhist
students.
The population sampling used of this research were 150 Buddhist students who
registered the course of practical Dharma 3, 5, and 7 in the regular term and irregular term of the
first semester/2551 B.E. and they were studying at the Buddhist College of Loei.
The results showed that;
1. The2nd
, 3rd
and 4th
year Buddhist students’ opinions at all 4 aspects, in overall, were
at “High” level (3.74). In regard to considering at each aspect, it showed that the attitude in the
aspect of teaching had highest average score (3.84), followed by the attitude in the aspect of
contents (3.83), motivation (3.80), and the lowest average score was the aspect of meditation
practice (3.74), respectively.
ง
2. The 2nd
, 3rd
and 4th
year- Buddhist students’ opinions in overall at the aspect of
contents in the courses of practical Dharma 3, 5 and 7 were at “High” level (3.83). In regard to
considering at each aspect, it showed that the item 6: the gaining benefit resulted from studying
the course of Buddhist Meditation (4.12), followed by the item 3: the contents being consistent to
the reality of the today world (3.95), and the lowest average score was the item 5: the contents
have been studied ever before (3.58).
3. The 2nd
, 3rd
and 4th
year- Buddhist students’ opinions in overall at the aspect of
motivation in the course of Buddhist Meditation 3, 5 and 7 were at “High” level (3.80). In regard
to considering at each aspect, it showed that the item 4: each Dharma item in the course of
Buddhist Meditation was the motivating media being adapted for use in daily life (4.03),
followed by the item 6: the textbooks of Buddhist Meditation which were used for finding out
and studying in the library were the good motivating media to want to study the courses of
Buddhist Meditation (3.89), and the lowest average score item was the item 2: the classroom
environment condition had atmosphere to be wanted to study the courses of Buddhist Meditation
(3.53).
4. The 2nd
, 3rd
and 4th
year Buddhist students’ opinions in overall towards teaching and
learningin the coursesof Buddhist Meditation 3, 5 and7 were at “High” level (3.84). in regardto
considering at each aspect, it showed that item 5: the teacher openly let the students have chances
to ask for the resolutions, had the highest average score (4.09), followed by the item 2: the
teachers clearly described the contents and well understood (4.05), and the lowest average score
item was the item 1: the teachers cited the introduction of Dharma or the result of Dharma merit
prior to the lesson (3.70).
5. In regard to the comparison concerning the Buddhist students' attitude towards
teaching and learning in the course of Buddhist Meditation in overall, it found that it was not
different, statistically and significantly, at the 0.05 level. When considering at each aspect, it
found that it was not different in all aspects, statistically and significantly, at the 0.05 level.
6. Regarding the problems and obstacles in teaching and learning in the courses of
Buddhist Meditation 3,5, and 7 of the 2nd
, 3rd
and 4th
year Buddhist students, it found that there
were less textbooks of some courses, and there were not enough textbooks for helping the
students to find out and study. Accessing to the internet media was not enough for finding out and
studying. Arrangement of learning and teaching was still the obstacles due to the Buddhist
จ
students stayed away from the college in long distance and in this regard, it let them come to the
class late. As well as due to insufficiency of the buildings, there were not enough classrooms for
students.
In summary from the mentioned above, it indicated that the opinions towards the
teaching and learning in the courses of Buddhist Meditation 3, 5 and 7 of the 2nd
, 3rd
and 4th
year
Buddhist students were not different, statistically and significantly.
ฆ
สารบัญ
บทคัดยอภาษาไทย
บทคัดยอภาษาอังกฤษ
กิตติกรรมประกาศ
สารบัญ
สารบัญตาราง
ก
ข
ค
ง
จ
บทที่ ๑ บทนํา
๑.๑ ความสําคัญและที่มาของปญหาที่ทําการวิจัย ๑
๑.๒ วัตถุประสงคของโครงการวิจัย ๓
๑.๓ ขอบเขตของโครงการวิจัย ๓
๑.๔ กรอบแนวคิด ของโครงการวิจัย ๓
๑.๕ คํานิยามศัพทของโครงการวิจัย ๔
๑.๖ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ และหนวยงานที่นําผลการวิจัยไปใชประโยชน ๕
บทที่ ๒ วรรณกรรม เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
๒.๑ แนวคิดและความหมายเกี่ยวกับทัศนคติ ๖
๒.๑.๑ ความสําคัญของทัศนคติ ๘
๒.๑.๒ ทัศนคติกับพฤติกรรม ๘
๒.๑.๓ องคประกอบและหลักการวัดหรือการสํารวจทัศนคติ ๑๑
๒.๑.๔ ประเภทของ ทัศนคติ ๑๓
๒.๑.๕ การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ๑๔
๒.๒ แนวคิดและความหมายเกี่ยวกับแรงจูงใจ ๑๙
๒.๒.๑ ประเภทของแรงจูงใจ ๒๐
๒.๒.๒ องคประกอบที่ทําใหเกิดแรงจูงใจ ๒๑
๒.๒.๓ ลักษณะของแรงจูงใจ ๒๑
๒.๒.๔ ขบวนการของการเกิดแรงจูงใจ ๒๓
๒.๒.๕ เปาหมายของแรงจูงใจ ๒๕
๒.๒.๖ ทฤษฎีเกี่ยวกับแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ ๒๖
๒.๒.๗ การสรางแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ ๒๗
ฆ
๒.๓ วิธีการจัดการเรียนการสอน ๒๘
๒.๓.๑ วิธีการเรียนการสอน ๓๑
๒.๓.๒ การวัดและประเมินผล ๓๔
๒.๔ ความเปนมาของธรรมะภาคปฏิบัติ ๓๗
๒.๕ วิธีการกําหนดปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน ๔๔
๒.๖ เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของ ๕๖
๒.๗ กรอบแนวคิดของโครงการวิจัย ๕๘
บทที่ ๓ วิธีดําเดินการวิจัย ๕๙
๓.๑ ประชากรที่ใชในการวิจัย ๕๙
๓.๒ เครื่องมือและการพัฒนาเครื่องมือ ๕๙
๓.๓ การเก็บรวบรวมขอมูลการวิจัย ๖๐
๓.๔ การวิเคราะหขอมูล ๖๐
บทที่ ๔ ผลการวิเคราะหขอมูล ๖๑
๔.๑ ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามสถานภาพ อายุ วุฒิ
การศึกษา
๖๒
๔.๒ ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการ
สอนรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ จําแนกตาม สถานภาพ
๖๘
๔.๓ ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการ
สอนรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ จําแนกตาม อายุ วุฒิการศึกษาแผนกธรรม
วุฒิการศึกษาแผนกบาลี และวุฒิการศึกษาแผนกสามัญ
๗๓
บทที่ ๕ สรุปผลการวิจัย ๗๗
๕.๑ บทสรุป ๗๗
๕.๒ อภิปรายผล ๗๘
๕.๓ ขอเสนอแนะ ๗๙
บรรณานุกรม ๘๑
ภาคผนวก ก. แบบสอบถามการวิจัย ๘๖
ภาคผนวก ข. ประวัติผูวิจัย และคณะ ๙๔
ฆ
ง
สารบัญตาราง
ตารางที่ ๑ จํานวนและรอยละของขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม จําแนก
ตามสถานภาพ
๖๒
ตารางที่ ๒ จํานวนและรอยละของขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม จําแนก
ตามอายุ
๖๒
ตารางที่ ๓ จํานวนและรอยละของขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม จําแนก
ตามวุฒิการศึกษาแผนกธรรม
๖๒
ตารางที่ ๔ จํานวนและรอยละของขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม จําแนก
ตามวุฒิการศึกษาแผนกบาลี
๖๓
ตารางที่ ๕ จํานวนและรอยละของขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม จําแนก
ตามวุฒิการศึกษาแผนกสามัญ
๖๓
ตารางที่ ๖ ตารางของการแสดงคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับทัศคติ
ของนิสิตโดยจําแนกเปนรายดาน
๖๓
ตารางที่ ๗ ตารางของการแสดงคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับทัศคติ
ดานเนื้อหาสาระ
๖๔
ตารางที่ ๘ จํานวนและรอยละของการแสดงคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เกี่ยวกับทัศคติดานแรงจูงใจ
๖๕
ตารางที่ ๙ ตารางของการแสดงคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับทัศคติ
ดานการจัดการเรียนการสอน
๖๖
ตารางที่ ๑๐ ตารางของการแสดงคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับทัศคติ
ดานการปฏิบัติกรรมฐาน
๖๗
ตารางที่ ๑๑ การวิเคราะหเปรียบเทียบทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอน
รายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ จําแนกเปนรายดาน สถานภาพ
๖๘
ตารางที่ ๑๒ การวิเคราะหเปรียบเทียบทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอน
รายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ ทัศนคติดานเนื้อหาสาระ จําแนกเปนรายดาน
สถานภาพ
๖๘
ง
สารบัญ(ตารางตอ)
ตารางที่ ๑๓ การวิเคราะหเปรียบเทียบทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอน
รายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติทัศนคติดานแรงจูงใจ จําแนกเปนรายดาน
สถานภาพ
๖๙
ตารางที่ ๑๔ การวิเคราะหเปรียบเทียบทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอน
รายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ ทัศนคติดานการจัดการเรียนการสอน จําแนก
เปนรายดาน สถานภาพ
๗๐
ตารางที่ ๑๕ การวิเคราะหเปรียบเทียบทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอน
รายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ ทัศนคติดานการปฏิบัติกรรมฐาน จําแนกเปน
รายดาน สถานภาพ
๗๑
ตารางที่ ๑๖ การวิเคราะหเปรียบเทียบทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอน
รายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ จําแนกเปนรายดาน อายุ
๗๓
ตารางที่ ๑๗ การวิเคราะหเปรียบเทียบทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอน
รายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ จําแนกเปนรายดาน วุฒิการศึกษาแผนกธรรม
๗๔
ตารางที่ ๑๘ การวิเคราะหเปรียบเทียบทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอน
รายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ จําแนกเปนรายดาน วุฒิการศึกษาแผนกบาลี
๗๕
ตารางที่ ๑๙ การวิเคราะหเปรียบเทียบทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอน
รายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ จําแนกเปนรายดาน วุฒิการศึกษาแผนกสามัญ
๗๖
บทที่ ๑
บทนํา
๑. ความสําคัญและที่มาของปญหาที่ทําการวิจัย
วิชาธรรมะภาคปฏิบัติเปนรายวิชาหนึ่งในการวัดการเรียนการสอนของหลักสูตร
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และเปนรายวิชาแกนที่สําคัญที่มุงใหเปนวิชาวาดวย
ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติโดยเฉพาะภาคปฏิบัติถือวาเปนวัตถุประสงคหลักที่ตองการใหนิสิตไดลง
มือปฏิบัติจริงและเปนจุดมุงหมายสูงสุดในทางพระพุทธศาสนา ตามที่พระธรรมปฎกไดกลาววา
“เนื่องดวยคําสอนในพระพุทธศาสนาเนนสิ่งที่ปฏิบัติไดจริงและการลงมือปฏิบัติใหรูเห็นประจักษ
บังเกิดผลเปนประโยชนแกชีวิต”๑
วิธีการที่จะนําไปสูเปาหมายหรือจุดมุงหมายสูงสุดในทางพระพุทธศาสนานั้น
พระพุทธเจาไดตรัสแนะแกพระสาวกทั้งหลายถึงธุระในศาสนาใหรูและศึกษาเปนเบื้องตนกอนที่จะ
ลงมือปฏิบัติคือ
๑. คันถธุระ หมายถึง กิจที่พระภิกษุในพระพุทธศาสนาจะตองศึกษาเลาเรียนหลักพุทธ
วจนะของพระพุทธเจา จากพระไตรปฎก อรรถกถาและฎีกาตาง ๆ พระธรรมปฎก “คันถธุระ ธุระ
ฝายคัมภีรกิจดานการเลาเรียน”๒
และสอดคลองกับความหมายของพระธรรมบทฉบับภาษาบาลีวา
“ธุระนี้ คือ การเรียนนิกายหนึ่งก็ดี สองนิกายก็ดี จบพุทธวจนะคือพระไตรปฎกก็ดี ตามสมควรแก
ปญญาของตนแลวทรงไว กลาวบอกพุทธวจนะนั้น ชื่อวา คันถธุระ สวนการเริ่มตั้งความสิ้นและ
ความเสื่อมไวในอัตภาพ ยังวิปสสนาใหเจริญ ดวยอํานาจแหงการติดตอแลว ถือเอาพระอรหัตของ
ภิกษุผูมีความประพฤติแคลวคลอง ยินดียิ่งแลวในเสนาสนะอันสงัด ชื่อวา วิปสสนาธุระ”๓
๒. วิปสสนาธุระ หมายถึง กิจที่พระภิกษุในพุทธศาสนานี้ตองปฏิบัติทั้งสมถกรรมฐาน
และวิปสสนากรรม พระธรรมปฎกกลาววา “วิปสสนาธุระ เปนฝายเจริญวิปสสนา กิจดานการ
๑
พระธรรมปฎก (ป.อ. ประยุทธ ปยุตฺโต), พุทธธรรม, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย, ๒๕๔๒), หนา ๒๔๑.
๒
พระธรรมปฎก, (ป.อ. ประยุทธ ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม,
(กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๘), หนา ๗๖.
๓
ธมฺมปทฏฐกถา (ภาค ๑ ฉบับบาลี), (กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหามกุฎราชวิทยาลัย ๒๕๔๑),
หนา ๗.
๒
บําเพ็ญภาวนาหรือเจริญกรรมฐานซึ่งรวมทั้งสมถะดวย เรียกรวมเขาในวิปสสนาโดยฐานเปนสวน
คลุมยอด” ๑
ดังนั้นวิปสสนาธุระคืองานมุงอบรมปญญาใหเกิดโดยการปลอยวางภาระทั้งปวงทํา
กายใจใหเบายินดีในเสนาสนะที่เงียบสงบพิจารณาถึงความเสื่อมไปในสังขารรางกายจนเห็นสามัญ
ลักษณะ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไดชัดเจน เจริญอบรมวิปสสนาตอเนื่องไปไมขาดสายจนถึง
หลักชัยคืออรหันตผลได จะเห็นวาธุระทั้งสองอยางนี้มีความสําคัญและเกี่ยวเนื่องกันจากคันถธุระ
ศึกษาพระพุทธพจนเขาใจแลวจึงนําไปสูแนวทางปฏิบัติใหบรรลุเปาหมายของการศึกษา การจะ
นําไปสูเปาหมายไดนั้นตองขึ้นอยูกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ดี มีสวนสําคัญและสงผล
ตอการเรียนรูของผูเรียนโดยตรง นอกจากหลักสูตรที่กําหนดขึ้น เพื่อใหผูเรียนไดศึกษาเลาเรียนจน
บรรลุถึงเปาหมายตามที่หลักสูตรกําหนดได แตสิ่งหนึ่งที่จะขาดไมไดคือวิธีการถายทอดของ
ครูผูสอนวาครูจะดําเนินการวิเคราะหปญหา กําหนดทางเลือกในการแกปญหา เลือกทางที่
เหมาะสมกับผูเรียนใหมากที่สุดเทาที่จะทําได เพื่อนําผูเรียนไปสูเปาหมายที่วางเอาไว พระราชวร
มุนีไดกลาวถึงกระบวนการจัดการเรียนการสอนไววา “การศึกษามีหนาที่ ๒ ประการ หนาที่ในการ
ถายทอดศิลปวิทยาหมายถึงการถายทอดรักษาสงเสริมเพิ่มพูนวิชาการและวิชาชีพและหนาที่ในการ
ชี้แนะใหรูจักการดําเนินชีวิตที่ดีงามถูกตองและการฝกฝนพัฒนาจนถึงความสมบูรณอันนี้เปนหนาที่
ซึ่งอาตมาภาพวาเปนเรื่องของการศึกษาแท ๆ เปนเนื้อหาแทของการศึกษา”๒
การจัดหลักสูตรการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยไดจัด
หลักสูตรใหมีการเรียนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติตั้งแตธรรมะภาคปฏิบัติ ๑ ถึงธรรมะภาคปฏิบัติ
๗ ตลอดระยะเวลาที่นิสิตศึกษา ๔ ป ๘ ภาคการศึกษา โดยที่นิสิตจะตองเรียนใหไดครบทั้ง ๗
รายวิชา ใน ๗ รายวิชานั้น จะขาดรายวิชาใดวิชาหนึ่งไมได ถึงแมบางรายวิชาจะไมนับผลการเรียน
หรือไมนับหนวยกิจก็ตาม ใหถือวา ทุกรายวิชามีความสําคัญ บรรดา ๗ รายวิชานั้น รายวิชาธรรมะ
ภาคปฏิบัติ๒ เทานั้นที่นับผลการเรียนเปน๑ หนวยกิจตอ ๑ ชั่วโมง ธรรมะภาคปฏิบัติ๑,๓,๔,๕,๖
และ ๗ ไมนับผลการเรียน ในขณะการทําการเรียนนั้นจะเนนหนักภาคปฏิบัติใหนิสิตลงมือปฏิบัติ
ในหองหรือสถานที่เหมาะสมกับการปฏิบัติโดยเฉพาะวิทยาลัยสงฆเลย ไดสงนิสิตไปปฏิบัติธรรม
ตามสถานที่ปฏิบัติในชวงเดือน ธันวาคมของทุกป รวมระยะเวลา ๑๐ วัน
ผลสําเร็จจากการจัดการเรียนการสอนของรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ เทาที่ผานมาจะเห็น
วามีอุปสรรคปญหาของรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติซึ่งสะทอนจากการตอบคําถามในรายวิชาธรรมะ
ภาคปฏิบัติ ๑,๓,๔,๕,๖, และ ๗ จากพฤติกรรมที่แสดงออกตอรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติพอสมควร
๑
เรื่องเดียวกัน, หนา ๗๖.
๒
พระราชวรมุนี, (ประยุทธ ปยุตฺโต), การศึกษา เครื่องมือพัฒนาที่ยังตองพัฒนา. (กรุงเทพฯ :
อมรินทรพริ้นติ้ง กรป, ๒๕๓๐), หนา ๕๗-๕๘.
๓
ดานตอบคําถามปราฏกวานิสิตตอบคําถามไมตรงประเด็นและบางขอคําถามก็ไมสามารถตอบได
และดานพฤติกรรมที่สะทอนตอรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ ๑,๓,๔,๕,๖, และ๗ ปรากฏวานิสิตให
ความสําคัญนอยมาก เมื่อเทียบกับรายวิชาอื่น ๆ จึงนําสูประเด็นคําถามวาทําไมนิสิตจึงตอบคําถาม
ปญหาต่ํากวาเกณฑวัดผลประเมินผลและทัศนคติที่นิสิตแสดงออกตอรายวิชา ๑,๓,๔,๕,๖,๗
ดังนั้นผูวิจัยจึงตองการจะทราบทัศนคติที่มีตอรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติทั้งดาน เนื้อหา
สาระ รายวิชา ดานการจัดการเรียนการสอนและดานภาคปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน
๒. วัตถุประสงคของโครงการวิจัย
๒.๑ เพื่อศึกษาทัศนคติของพระนิสิตที่มีตอการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะ
ภาคปฏิบัติ ๓,๕, และ ๗ ของนิสิตชั้นปที่ ๒,๓, และ ๔
๒.๒ เพื่อศึกษาทัศนคติของพระนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะ
ภาคปฏิบัติ ๓,๕, และ ๗ ของนิสิตชั้นปที่ ๒,๓, และ ๔
๒.๓ เพื่อศึกษาวิเคราะหขอมูลเปรียบเทียบเกี่ยวกับทัศนคติของพระนิสิตที่มีตอการ
จัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ
๒.๔ เพื่อศึกษาปญหาอุปสรรคในการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ ๓, ๕,
และ ๗ ของนิสิตชั้นปที่ ๒,๓, และ ๔
๒.๕ เพื่อนําผลการวิจัยไปปรับปรุงการสอนรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติตอไป
๓. ขอบเขตของโครงการวิจัย
การวิจัยในครั้งนี้ ผูวิจัยไดกระทําการศึกษาตามขอบเขตดังตอไปนี้
๓.๑ ขอบเขตดานประชากรและกลุมตัวอยาง
ประชากรและกลุมตัวอยาง ที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนนิสิตภาคปกติและภาคพระสังฆาธิ
การที่ไดลงทะเบียนเรียนในรายวิชา ธรรมภาคปฏิบัติ ๓,๕ และ ๗ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๕ และ
กําลังศึกษาอยูที่วิทยาลัยสงฆเลย จํานวน ๑๕๐ รูป
๓.๒ ขอบเขตดานเนื้อหา
การวิจัยครั้งนี้คณะผูวิจัยไดมุงศึกษาเนื้อหาแนวคิดและความหมายเกี่ยวกับทัศนคติ
แนวคิดและความหมายเกี่ยวกับแรงจูงใจ การจัดการเรียนการสอน ความเปนมาของการปฏิบัติ
กรรมฐาน และหลักการและวิธีการปฏิบัติกรรมฐาน ซึ่งเปนแนวคิดหลักที่เกี่ยวของการกับการวิจัย
โดยเฉพาะ
๔
๓.๓ ขอบเขตดานตัวแปร
ตัวแปรอิสระ ไดแก
- สถานภาพ จําแนกออกเปน ๒ สถานภาพ คือ พระภิกษุ และสามเณร
- อายุ
- วุฒิการศึกษา
- แผนกธรรมจําแนกออกเปน ๒ แผนก คือ แผนกบาลี และแผนกสามัญ
ตัวแปรตาม ไดแก ทัศนคติที่มีตอการจัดการเรียนการสอนแยกเปน ๓ ดาน คือ ๑. ดาน
เนื้อหาสาระรายวิชา ๒. ดานการจัดการเรียนการสอน ๓. ปญหาอุปสรรคในการเรียนการสอน
๓.๔ ขอบเขตดานเวลา
ระยะเวลาในการทําวิจัยครั้งนี้ คือ ระหวางเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม ๒๕๕๕
๔. คํานิยามศัพท ของโครงการวิจัย
๕.๑ ทัศนคติ หมายถึง ตอการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ ๓,๕, และ ๗
ของนิสิตชั้นปที่ ๒,๓, และ ๔
๕.๒ การจัดการเรียนการสอน หมายถึง การจัดแผนการเรียน การจัดตารางสอน การ
จัดครูมือเขาสอน การจัดทําโครงการสอน การจัดทําบันทึกการสอนหรือแผนการสอนในรายวิชา
ธรรมะภาคปฏิบัติ ๓,๕, และ ๗ ของนิสิตชั้นปที่ ๒,๓, และ ๔ ประกอบดวย ๓ ดาน คือ ๑. ดาน
เนื้อหาสาระรายวิชา ๒. ดานการจัดการเรียนการสอน ๓. ปญหาอุปสรรคในการเรียนการสอน
๕.๓ การวัดและประเมินผล หมายถึง การนําสิ่งที่วัดไดไปประเมินผลวาผูเรียนควรจะ
ไดหรือตกและสามารถนําไปปรับปรุงแกไขการเรียนการสอนไดเปนอยางดี
๕.๔ ธรรมะภาคปฏิบัติ หมายถึง หลักการและวิธีการปฏิบัติกรรมฐานทั้งสมถะและ
วิปสสนา อารมณสมถกรรมฐาน ตามแนวสติปฏฐานสูตร ใหมีความรูความเขาใจในการปฏิบัติและ
การนําไปใชและประโยชนของกรรมฐาน
๕.๕ คันถะธุระ หมายถึง ธุระของพระภิกษุสงฆจะตองศึกษาพระไตรปฎก
๕.๖ วิปสสนาธุระ หมายถึง ธุระของพระภิกษุสงฆจะตองปฏิบัติตามพระธรรม พระ
วินัย
๕
๕.๗ พระนิสิต หมายถึง ผูที่ไดขึ้นทะเบียนเปนนิสิตระดับปริญญาตรีเรียบรอยแลว๑
๕.๘ วิทยาลัยสงฆ หมายถึง สถานการศึกษาที่ขึ้นตรงวิทยาเขตขอนแกน ของ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๕.๙ แรงจูงใจ หมายถึง แรงผลักดัน แรงกระตุนที่เกิดจากความตองการที่จะไดรับการ
ตอบสนองตอสิ่งกระตุน
๕. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ และหนวยงานที่นําผลการวิจัยไปใชประโยชน
๕.๑ ดานเนื้อหาสาระรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ ๓,๕, และ ๗ ที่พระนิสิตไดศึกษาแลว
ตอบสนองความตองการหรือไม ถาสวนที่พระนิสิตเห็นวา ยาก งาย ซ้ําซอน ควรจะนําไปปรับปรุง
แกไขอยางไร
๕.๒ ดานการจัดการเรียนการสอนรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติพระนิสิตไดรับความรูจาก
อาจารยที่สอน การจัดการเรียนการสอนสอดคลองกับเนื้อหาสาระมากนอยเพียงไร
๕.๓ ดานการเปรียบเทียบทัศนคติ สถานภาพ แรงจูงใจ และการจัดการเรียนการสอน
ในวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ ๓,๕, และ ๗ ของนิสิตชั้นปที่ ๒,๓ และ๔
๑
การประชุมสัมมนาระบบทะเบียนนิสิต, เอกสารประกอบการประชุมโครงการประชุมสัมมนา
ระบบทะเบียน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ต. ลําไทร อ. วังนอย จ. พระนครศรีอยุธยา, (๘-๑๐
กันยายน ๒๕๕๑), หนา ๑๐๘.
บทที่ ๒
วรรณกรรม เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
การวิจัยในครั้งนี้ คณะผูวิจัยไดกําหนดแนวทางการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่
เกี่ยวของกับเรื่องทัศนคติที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของพระ
นิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ในหัวขอตอไปนี้คือ
๒.๑ แนวคิดและความหมายเกี่ยวกับทัศนคติ
๒.๒ แนวคิดและความหมายเกี่ยวกับแรงจูงใจ
๒.๓ แนวคิดการจัดการเรียนการสอน
๒.๔ ความเปนมาของวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ
๒.๕ หลักการและวิธีการปฏิบัติกรรมฐาน
๒.๖ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ
๒.๗ กรอบแนวคิดของโครงการวิจัย
๒.๑ แนวคิดและความหมายเกี่ยวกับทัศนคติ
๒.๑.๑ ความหมายของทัศนคติ
นักสังคมวิทยาและนักจิตวิทยาสังคมทั้งชาวตางประเทศและชาวไทยไดใหคํานิยามของ
ทัศนคติในลักษณะตาง ๆ กัน ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
โสภา ชูพิกุลชัย๑
ทัศนคติเปนการรวบรวมความรูสึกนึกคิด ความเชื่อ ความคิดเห็น
และความจริง รวมทั้งความรูสึกซึ่งเราเรียกเปนการประเมินคาทั้งในทางบวกและทางลบ ซึ่ง
ทั้งหมดจะเกี่ยวพันกัน และจะบรรยายใหทราบถึงจุดแกนกลางของวัตถุนั้น ๆ ความรูและ
ความรูสึกเหลานี้ มีแนวโนมที่จะกอใหเกิดพฤติกรรมชนิดใดชนิดหนึ่งขึ้น
๑
โสภา ชูพิกูลชัย, ความเห็นของครูสังคมศึกษาเกี่ยวกับปญหาการเรียนการสอนวิชา
พระพุทธศาสนาในวิทยาลัยเทคนิค สังกัดกรมอาชีวศึกษาในคูมือพัฒนาจริยศึกษากรมศาสนา. (กรุงเทพฯ : โรง
พิมพการศาสนา, ๒๕๓๙), หนา ๒๔๐.
๗
นิพนธ แจงเอี่ยม๑
ทัศนคติเปนสิ่งที่อยูในจิตใจของบุคคลที่จะตอบสนองตอสิ่งใดสิ่ง
หนึ่งไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง ซึ่งเราไมสามารถสังเกตหรือวัดไดโดยตรง แตเราสามารถรูไดโดย
ดูจากพฤติกรรมของบุคคลวาจะตอบสนองตอสิ่งเราอยางไร
ออมเดือน สดมณี๒
ทัศนคติเปนความรูสึกทางดานบวกและลบของแตละบุคคลที่มีตอ
สิ่งแวดลอมทางสังคม ทําใหบุคคลพรอมที่จะโตตอบออกมาเปนพฤติกรรม
นักวิชาการไดใหความหมายของทัศนคติในลักษณะแตกตางกันไป สรุปไดวา ทัศนคติ
เปนความรูสึกที่แสดงออกของบุคคลตอปรากฏการณทางสังคม โดยความรูสึกดังกลาวมีทิศทางได
ทั่งทางบวกและลบ ซึ่งเกิดจากการเรียนรูและประสบการณของบุคคล และสงผลใหบุคคลนั้น
พรอมที่จะแสดงพฤติกรรม จิระวัตน วงศสวัสดิ์วัฒน ๓
ไดรวบรวมคุณลักษณะของทัศนคติบาง
ดานที่นักทฤษฎีทางทัศนคติจํานวนไมนอยมีความเห็นพองตองกันและเปนคุณลักษณะที่นาสนใจ
ศึกษา เนื่องจากมีสวนเกี่ยวพันกับพฤติกรรมตาง ๆ ของบุคคล ดังนี้
๑. ทัศนคติเปนสิ่งที่เกิดจากการเรียนรู ฉะนั้น การศึกษาและทําความเขาใจทัศนคติ
จําเปนตองอาศัยทฤษฎีการเรียนรูมาอธิบาย
๒. ทัศนคติมีคุณลักษณะของการประเมิน ซึ่งคุณลักษณะขอนี้เปนคุณลักษณะที่สําคัญ
ที่สุดที่ทําใหทัศนคติแตกตางกันอยางแทจริงจากแรงผลักดันภายในอื่น ๆ
๓. ทัศนคติมีคุณภาพและความเขม คุณภาพของทัศนคติเปนสิ่งที่ไดจากการประเมิน
เมื่อบุคคลประเมินสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ผลก็อาจมีทัศนคติทางบวก (ความรูสึกชอบ) หรือทัศนคติทางลบ
(ความรูสึกไมชอบ) สวนความเขมของทัศนคติจะบงบอกถึงความมากนอยของทัศนคติทางบวก
หรือลบนั้น ๆ
๔. ทัศนคติความคงทนไมเปลี่ยนงาย ดวยเหตุนี้เองการเผยแพรวิทยาการเกษตรแผน
ใหมจึงมักประสบปญหาเพราะการเปลี่ยนทัศนคติดังกลาวเปนสิ่งที่ทําไดไมงายนัก
๕. ทัศนคติตองมีสิ่งที่หมายถึง (attitude object) ที่แนนอน นั่นคือ ทัศนคติตออะไร
ตอบุคคล ตอสิ่งของหรือตอสถานการณจะไมมีทัศนคติลอย ๆ ที่ไมหมายถึงสิ่งใด
๖. ทัศนคติมีลักษณะความสัมพันธ เชน ระหวางบุคคลกับสิ่งของบุคคลอื่น ๆ หรือ
สถานการณ และความสัมพันธนี้เปนความรูสึกจูงใจ นอกจากความสัมพันธขางตน ยังมี
๑
นิพนธ แจงเอี่ยม, จิตวิทยาสังคม, (กรุงเทพฯ : เอกมัยการพิมพ, ๒๕๒๕), หนา ๒๓๐.
๒
ออมเดือน สดมณี, เอกสารประกอบการสอนวิชาจิตวิทยาสังคม, (สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร, ๒๕๒๙), หนา ๒๑๓.
๓
จิระวัฒน วงศสวัสดิ์วัฒน, ทัศนคติความเชื่อและพฤติกรรม : การจัดการพยากรณและการ
เปลี่ยนแปลง, (กรุงเทพฯ : อัสสัมชัน, ๒๕๔๗), หนา ๓๕๐.
๘
ความสัมพันธระหวางแตละทัศนคติ ขณะที่ Fran Baines๑
กลาววา ทัศนคติเปนภาวะทางจิต ซึ่ง
ทําใหบุคคลพรอมที่จะโตตอบตอสิ่งแวดลอมเสมอ ลักษณะนี้เกิดขึ้นจากประสบการณ และเปน
ตัวกําหนดทิศทางที่แตละบุคคลจะตอบสนองตอสิ่งของและเหตุการณที่เกี่ยวของ Maslow,
Avraham Harold๒
ไดใหความเห็นวาทัศนคติเปนความคิดที่ประกอบไปดวยอารมณ ซึ่งความคิดที่
ประกอบไปดวยอารมณนี้จะมีแนวโนมใหแสดงออกตอสถานการณทางสังคม ขณะที่ Kretch and
Crutchfield๓
กลาววา ทัศนคติเปนผลรวมของกระบวนการที่กอใหเกิดพลังจูงใจ อารมณ การรับรู
และกระบวนการรูการเขาใจเกี่ยวกับประสบการณรอบตัวของบุคคล
๒.๑.๒ ความสําคัญของทัศนคติ
ความสําคัญของทัศนคติอาจสรุปไดดังนี้
๑) ทัศนคติเปนฐานของปฏิสัมพันธ ทัศนคติเปนฐานสําหรับปฏิสัมพันธระหวางบุคคล
ตอบุคคลและระหวางบุคคลตอสังคม เมื่อบุคคลมีความสัมพันธติดตอกับคนอื่น เขาจะเรียนรูไป
ดวยวาทัศนคติของผูที่ติดตออยูดวยนั้น เหมือนหรือตางไปจากทัศนคติของเขาเอง การประเมิน
ทัศนคติระหวางกันในลักษณะนี้ชวยกําหนดปฏิสัมพันธระหวางบุคคลกับสังคมดวย เชน ทัศนคติ
ที่บุคคลมีตอประเด็นตาง ๆ ในสังคม จะทําใหเขามีแนวโนมที่จะเลือกหรือไมเลือกผูสมัครรับ
เลือกตั้งที่มีนโยบายสนับสนุน
๒) ทัศนคติเปนเครื่องมือในการพยากรณ ทัศนคติยังอาจใชเปนเครื่องมือในการ
พยากรณสังคมไดดวย เชน ทัศนคติที่มีตอการจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบหรือการศึกษาตาม
อัธยาศัย เพื่อสํารวจคนในสังคมมีทาทีตอการจักการศึกษาอยางไรที่จะเปนแนวทางเลือกศึกษาให
สอดคลองตามความตองการของตนเอง
๒.๑.๓ ทัศนคติกับพฤติกรรม
ความสัมพันธระหวางความรูเชิงประเมินคา ความรูสึกตอสิ่งนั้นและความพรอมที่จะมี
ความสัมพันธกันอยางสอดคลอง แตโดยทั่วไปแลวสิ่งที่เราสังเกตได หรือสามารถสะทอนให
๑
Fran Baines, Encyclopedia of Religion, (London : Dorling Kindersley Limited, Penguin
Group, 2004), pp. 224.
๒
Maslow, Avraham Harold, Motivation and Personality, (New York : Harper and
Row,1970), p. 117.
๓
Kretch and Crutchfield, The Achievement Motive, (New York : Appleton Century Crofts,
1973), p. 114.
๙
ทราบถึงทัศนคติของบุคคลตอสิ่งตาง ๆ คือ การแสดงออกของบุคคลหรือพฤติกรรม พฤติกรรมนี้
เปนสวนที่ตอเนื่องจากความพรอมที่จะกระทํา และเชนเดียวกันเรามักจะคาดหมายกันวาพฤติกรรม
ของบุคคลนาจะสอดคลองกับทัศนคติ
วุฒิชัย จํานง๑
ใหความเห็นวา ความหมายของทัศนคตินั้นโดยสามัญสํานึกถือวา
ทัศนคติคือ ภาวะทางจิตหนวยหนึ่งซึ่งถือวาเปนพฤติกรรมประเภทหนึ่งและในกรณีที่ไมมีอิทธิพล
จากทัศนคติอื่น ๆ ประกอบกับบุคคลนั้นอยูในเหตุการณที่สอดคลองกับทัศนคตินั้นแลวก็จะ
สามารถคาดพฤติกรรมได เพราะวาพฤติกรรมเปนผลโดยตรงจากทัศนคตินั้น
พฤติกรรมที่แสดงออกของมนุษยได และผลกระทบที่ผูรับสารเชิงความรูในทฤษฎีการ
สื่อสาร นั้นอาจปรากฏไดจากสาเหตุ ๕ ประการคือ
๑. การตอบขอสงสัย (Ambiguity Resolution)
การสื่อสารมักจะสรางความ สับสนใหสมาชิกในสังคม ผูรับสาร จึงมักแสวงหา
สารสนเทศ โดยการอาศัยสื่อ ทั้งหลาย เพื่อตอบ ขอสงสัย และความสับสนของตน
๒. การสรางทัศนะ (Attitude Formation)
ผลกระทบเชิงความรูตอการปลูกฝงทัศนะนั้น สวนมากนิยมใชกับสารสนเทศที่เปน
นวัตกรรม เพื่อสราง ทัศนคติ ใหคนยอมรับ การแพร นวัตกรรมนั้น ๆ
๓. การกําหนดวาระ (Agenda Setting) เปนผลกระทบเชิงความรูที่สื่อกระจายออกไป
เพื่อใหประชาชนตระหนักและผูกพันกับประเด็นวาระที่สื่อกําหนดขึ้น หากตรงกับภูมิหลัง ของ
ปจเจกชน และคานิยมของสังคมแลว ผูรับสารก็จะเลือกสารสนเทศนั้น
๔. การพอกพูนระบบความเชื่อ (Expansion of Belief System)
การสื่อสารสังคมมักกระจายความเชื่อคานิยม และอุดมการณดานตาง ๆ ไปสูประชาชน
จึงทําให ผูรับสารรับทราบระบบความเชื่อถือ หลากหลาย และลึกซึ้งไวใน ความเชื่อของตนมากขึ้น
ไปเรื่อย ๆ
๕. การรูแจงตอคานิยม (ValueClarification)
ความขัดแยงในเรื่องคานิยมและอุดมการณเปนภาวะปกติของสังคม สื่อมวลชนที่
นําเสนอขอเท็จจริงในประเด็นเหลานี้ ยอมทําให ประชาชน ผูรับสารเขาใจถึงคานิยมเหลานั้นแจง
ชัดขึ้น คารเตอรวี กูด (Carter V.Good) กลาววา ความรูเปนขอเท็จจริง (facts) ความจริง (truth) เปน
ขอมูลที่มนุษยไดรับและเก็บรวบรวมจากประสบการณตาง ๆ การที่บุคคลยอมรับหรือปฏิเสธสิ่งใด
สิ่งหนึ่งไดอยางมีเหตุผล บุคคลควรจะตองรูเรื่องเกี่ยวกับสิ่งนั้นเพื่อประกอบ การตัดสินใจนั่นก็คือ
๑
วุฒิชัย จํานง, พฤติกรรมการตัดสินใจ, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพโอเดียนสโตร, ๒๕๒๓), หนา
๒๒๑.
๑๐
บุคคลจะตองมีขอเท็จจริง หรือขอมูล ตางๆ ที่สนับสนุนและใหคําตอบขอสงสัยที่บุคคลมีอยู ชี้แจง
ใหบุคคลเกิดความเขาใจและ ทัศนคติ ที่ดีตอเรื่องใดเรื่องหนึ่ง รวมทั้งเกิดความตระหนัก ความเชื่อ
และคานิยมตาง ๆ ดวย ขณะที่ ประภาเพ็ญ สุวรรณ๑
กลาววา ความรู เปนพฤติกรรมขั้นตน ซึ่ง
ผูเรียนเพียงแตจําได อาจจะโดยการนึกไดหรือโดยการมองเห็นหรือไดยิน จําได ความรูขั้นนี้ ไดแก
ความรูเกี่ยวกับคําจํากัดความ ความหมาย ขอเท็จจริง ทฤษฎี กฎ โครงสราง และวิธีการแกปญหา
เหลานี้
เบนจามิน เอส บลูม๒
(Benjamin S.Bloom) ไดใหความหมายของความรูวา ความรู
เปนสิ่งที่ เกี่ยวของกับ การระลึกถึง เฉพาะเรื่อง หรือเรื่องทั่วๆไป ระลึกถึงวิธี กระบวนการหรือ
สถานการณตางๆโดยเนนความจํา
๑. ความรูทําใหทราบถึงความสามารถในการจําและการระลึกถึงเหตุการณหรือ
ประสบการณที่เคยพบมาแลว แบงออกเปน
๑) ความรูเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาโดยเฉพาะ
๒) ความรูเกี่ยวกับวิธีและการดําเนินการที่เกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
๓) ความรูเกี่ยวกับการรวบรวมแนวความคิดและโครงสราง
๒. ความเขาใจ ทําใหทราบถึงความสามารถในการใชสติปญญาและทักษะเบื้องตนแบง
ออกเปน การแปลความ คือการแปลจากแบบหนึ่งไปสูอีกแบบหนึ่ง โดยรักษาความหมายไดถูกตอง
๓. การนําไปใช
๔. การวิเคราะห
๕. การสังเคราะห
๖. การประเมินคา
ปรมะ สตะเวทิน๓
ไดกลาวถึง การศึกษาหรือความรู (Knowledge) วาเปนลักษณะ อีก
ประการหนึ่ง ที่มีอิทธิพลตอผูรับสาร ดังนั้น คนที่ไดรับการศึกษาในระดับที่ตางกัน ในยุคสมัยที่
ตางกัน ในระบบการศึกษาที่ตางกันในสาขาวิชาที่ตางกัน จึงยอมมีความรูสึกนึกคิด อุดมการณ และ
ความตองการ ที่แตกตาง กันไป คนที่มี การศึกษาสูงหรือมีความรูดี จะไดเปรียบอยางมากในการที่
๑
ประภาเพ็ญ สุวรรณ, ทัศนคติ : การวัด การเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรมอนามัย, (กรุงเทพ :
บริษัทสํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด, ๒๕๒๐), หนา ๑๖.
๒
Bloom, Benjamin S., Human Characteristics and School Learning, (New York :
McGraw-Hill Book Company, 1976), p. 271.
๓
ปรมะ สตะเวทิน, หลักนิเทศศาสตร, (กรุงเทพฯ : รุงเรืองสาสนการพิมพ, ๒๕๔๐), หนา ๑๑๖-
๑๑๗.
๑๑
จะเปนผูรับสารที่ดีเพราะคนเหลานี้ มีความรูกวางขวาง ในหลายเรื่อง มีความเขาใจ ศัพทมาก และมี
ความเขาใจสารไดดีแตคนเหลานี้ มักจะเปนคนที่ไมคอยเชื่ออะไรงายๆ การเกิดความรูไมวาระดับ
ใดก็ตาม ยอมมีความสัมพันธ กับ ความรูสึกนึกคิด ซึ่งเชื่อมโยงกับ การเปดรับขาวสาร ของบุคคล
นั้นเอง รวมไปถึงประสบการณและลักษณะทาง ประชากร (การศึกษา เพศ อายุ ฯลฯ) ของแตละคน
ที่เปนผูรับขาวสาร ถาประกอบกับการที่บุคคลมีความพรอมในดานตาง ๆ เชน มีการศึกษา มีการ
เปดรับขาวสาร เกี่ยวกับกฎจราจร ก็มีโอกาส ที่จะมี ความรูในเรื่องนี้ และสามารถเชื่อมโยงความรู
นั้นเขากับสภาพแวดลอมได สามารถระลึกได รวบรวมสาระสําคัญ เกี่ยวกับ กฎจราจร รวมทั้ง
สามารถวิเคราะห สังเคราะห รวมทั้งประเมินผลไดตอไป และเมื่อประชาชน เกิดความรูเกี่ยวกับ กฎ
จราจร ไมวาจะในระดับใดก็ตาม สิ่งที่เกิดตามมาก็คือ ทัศนคติ ความคิดเห็นในลักษณะตาง ๆ
๒.๑.๔ องคประกอบและหลักการวัดหรือการสํารวจทัศนคติ
กรอบแนวความคิดในการวัดหรือการสํารวจทัศนคติมีหลายทฤษฎีที่เปนที่ยอมรับและ
นิยมใชกันอยางแพรหลายในปจจุบัน คือ
๑) ทัศนคติที่มีองคประกอบเดียว (Uni-component view of attitude) ไดแก การวัด
ความรูหรือการประเมินคา (Affection or evaluation) การวัดทัศนคติตามทฤษฎีนี้นิยมใชกัน
แพรหลายมากในอดีต นักจิตวิทยาที่มีชื่อเสียงบางคน ถือวาการวัดความรูสึกหรือประเมินคาของ
บุคคลเพียงอยางเดียวที่ควรเรียกวาเปนทัศนคติของบุคคลนั้น
๒) ทัศนคติที่มีหลายองคประกอบ (Multi-component view of attitude) โดยที่การ
วัดทัศนคติที่มีองคประกอบเดียวมักจะไมไดผลในกรณีที่ทัศนคตินั้นมีกรอบแนวคิดที่คอนขางยุง
ยากและซับซอน ฉะนั้นการวัดทัศนคติในปจจุบันจึงนิยมใชการวัดทัศนคติที่มีหลายองคประกอบ
Rosenberg และคณะไดเสนอองคประกอบของทัศนคติไว ๓ องคประกอบ ไดแก ความรูสึก
(Affect) ความคิดเห็นหรือความเชื่อ(Cognition) และการแสดงออกเกี่ยวกับพฤติกรรม (Behavior)
ดังแสดงในแผนภูมิตอไปนี้
๑๒
ภาพที่ ๑: แสดงองคประกอบของทัศนคติ
ขณะที่นักวิชาการบางทานไดเสนอทัศนคติที่มี ๓ องคประกอบคือ ความตระหนักรู
(Cognition) ความรูสึกผูกพันหรือการประเมินคา (Affection) เจตนาตาง ๆ ทั้งทางดาน
พฤติกรรมและการกระทํา (Conation) ซึ่งองคประกอบทั้งสามสวนนี้จะมีความสัมพันธกันเองและ
มีผลตอการแสดงออกของตัวบุคคล ดังแผนภูมิขางลางนี้
ทัศนคติ (Attitude)
ภาพที่ ๒ : แสดงสัมพันธภาพขององคประกอบของทัศนคติ
จากแผนภูมิจะเห็นไดวา Cognition จะมีอิทธิพลตอ Affection และ Affection ก็มี
อิทธิพลตอ Conation และ Conation จะเปนตัวกําหนดพฤติกรรม (Behavior) และการแสดงออก
ของบุคคล (Action) เวนแตจะมีสิ่งอื่นมาขัดขวาง ทั้งนี้อาจจะอธิบายในรูปของฟงกชั่นไดดังนี้
A = f (b)
I = f (A)
และ B = f (I)
ความรูสึกผูกพัน
(Affection)
ความคิดเห็นหรือ
ความเชื่อ
(Cognition)
ทัศนคติ
(Attitude)
สิ่งกระตุนหรือสิ่งเรา
(Stimuli)
การแสดงออกทาง
พฤติกรรม
(Behavior)
พฤติกรรม
(Behavior)
ความสัมพันธ
(Conation)
อารมณ
(Affection)
การรับรู
(Cognition)
๑๓
เมื่อ b แทนความเชื่อหรือความคิดเห็น = belief
A แทนความรูสึกหรือการประเมินคา = Affection
I แทนเจตนา = Intention
B แทนพฤติกรรมหรือการกระทํา = Behavior
จากความหมายของ ทัศนคติ ดังกลาว สามารถแยกองคประกอบของ ทัศนคติ ได ๓
ประการคือ
๑. องคประกอบดานความรู ( The Cognitive Component) คือ สวนที่เปนความเชื่อของ
บุคคลที่เกี่ยวกับสิ่งตางๆ ทั่วไปทั้งที่ชอบ และไมชอบ หากบุคคลมีความรูหรือคิดวาสิ่งใดดีมักจะ
มี ทัศนคติ ที่ดีตอสิ่งนั้น แตหากมีความรูมากอนวา สิ่งใดไมดี ก็จะมี ทัศนคติ ที่ไมดีตอสิ่งนั้น
๒. องคประกอบดานความรูสึก ( The Affective Component) คือ สวนที่เกี่ยวของกับ
อารมณที่เกี่ยวเนื่องกับสิ่งตาง ๆ ซึ่งมีผลแตกตางกันไปตาม บุคลิกภาพ ของคนนั้น เปนลักษณะที่
เปนคานิยมของแตละบุคคล
๓. องคประกอบดานพฤติกรรม (The Behavioral Component) คือ การแสดงออกของ
บุคคลตอสิ่งหนึ่ง หรือบุคคลหนึ่ง ซึ่งเปนผลมาจาก องคประกอบดานความรู ความคิด และ
ความรูสึกจะเห็นไดวา การที่บุคคลมี ทัศนคติ ตอสิ่งหนึ่งสิ่งใดตางกัน ก็เนื่องมาจาก บุคคลมีความ
เขาใจ มีความรูสึก หรือมี แนวความคิด แตกตางกันนั้นเอง
ดังนั้น สวนประกอบทาง ดานความคิด หรือความรู ความเขาใจ จึงนับไดวาเปน
สวนประกอบ ขั้นพื้นฐานของทัศนคติ และสวนประกอบนี้ จะเกี่ยวของ สัมพันธ กับ ความรูสึกของ
บุคคล อาจออกมาในรูปแบบแตกตางกัน ทั้งในทางบวก และทางลบ ซึ่งขึ้นอยูกับ ประสบการณ
และ การเรียนรู
๒.๑.๕ ประเภทของทัศนคติ
บุคคลสามารถแสดง ทัศนคติ ออกได ๓ ประเภทดวยกัน คือ
๑) ทัศนคติทางเชิงบวก เปน ทัศนคติ ที่ชักนําใหบุคคลแสดงออก มีความรูสึก หรือ
อารมณ จากสภาพจิตใจโตตอบ ในดานดีตอบุคคลอื่น หรือเรื่องราวใดเรื่องราวหนึ่ง รวมทั้ง
หนวยงาน องคกร สถาบัน และการดําเนินกิจการขององคการอื่น ๆ เชน กลุมชาวเกษตรกรยอมมี
ทัศนคติทางบวกหรือมีความรูสึกที่ดีตอสหกรณการเกษตร และใหความสนับสนุนรวมมือดวย การ
เขาเปนสมาชิก และรวมในกิจกรรมตาง ๆ อยูเสมอ เปนตน
๒) ทัศนคติทางลบ หรือไมดี คือ ทัศนคติ ที่สรางความรูสึกเปนไปในทางเสื่อมเสีย
ไมไดรับความเชื่อถือ หรือไววางใจ อาจมีความเคลือบแคลงระแวงสงสัย รวมทั้งเกลียดชังตอบุคคล
๑๔
ใดบุคคลหนึ่ง เรื่องราว หรือปญหาใดปญหาหนึ่ง หรือหนวยงานองคการ สถาบัน และการดําเนิน
กิจการขององคการ และอื่น ๆ เชน พนักงาน เจาหนาที่บางคน อาจมีทัศนคติ เชิงลบตอบริษัท
กอใหเกิดอคติขึ้นในจิตใจของเขาจนพยายามประพฤติ และปฏิบัติตอตาน กฎระเบียบของบริษัท อยู
เสมอ
๓) ประเภทที่สามซึ่งเปนประเภทสุดทาย คือ ทัศนคติที่บุคคลไมแสดงความคิดเห็นใน
เรื่องราวหรือปญหาใดปญหาหนึ่ง หรือตอบุคคล หนวยงาน สถาบัน องคการ และอื่น ๆ โดยสิ้นเชิง
เชน นักศึกษาบางคนอาจมีทัศนคตินิ่งเฉยอยาง ไมมีความคิดเห็นตอปญหาโตเถียงเรื่องกฎระเบียบ
วาดวยเครื่องแบบของนักศึกษา ทัศนคติ ทั้ง ๓ ประเภทนี้ บุคคลอาจจะมีเพียงประการเดียวหรือ
หลายประการก็ได ขึ้นอยูกับความมั่นคงในความรูสึกนึกคิด ความเชื่อ หรือคานิยมอื่น ๆ ที่มีตอ
บุคคล สิ่งของ การกระทํา หรือสถานการณ
ในขณะที่ Daniel Katz๑
ไดอธิบายถึง หนาที่หรือกลไกของ ทัศนคติ ที่สําคัญไว ๔
ประการ ดังนี้คือ
๑. เพื่อใชสําหรับการปรับตัว (Adjustment) หมายความวา ตัวบุคคลทุกคนจะอาศัย
ทัศนคติเปนเครื่องยึดถือสําหรับการปรับพฤติกรรมของตนใหเปนไปในทางที่จะกอใหเกิด
ประโยชนแกตนสูงที่สุด และใหมีผลเสียนอยที่สุด ดังนี้ ทัศนคติจึงสามารถเปนกลไกที่จะสะทอน
ใหเห็นถึงเปาหมายที่พึงประสงคและที่ไมพึงประสงคของเขา และดวยสิ่งเหลานี้เอง ที่จะทําให
แนวโนมของพฤติกรรมเปนไปในทางที่ตองการมากที่สุด
๒. เพื่อปองกันตัว (Ego – Defensive) โดยปกติในทุกขณะคนทั่วไปมักจะมีแนวโนมที่
จะไมยอมรับความจริงในสิ่งซึ่งเปนที่ขัดแยงกับความนึกคิดของตน (Self – Image) ดังนี้ ทัศนคติจึง
สามารถสะทอนออกมาเปนกลไกที่ปองกันตัว โดยการแสดงออกเปนความรูสึกดูถูกเหยียดหยาม
หรือติฉินนินทาคนอื่น และขณะเดียวกันก็จะยกตนเองใหสูงกวาดวยการมีทัศนคติ ที่ถือวาตนนั้น
เหนือกวาผูอื่นการกอตัวที่เกิดขึ้นมาของทัศนคติในลักษณะนี้ จะมีลักษณะแตกตางจากการมี
ทัศนคติเปนเครื่องมือในการปรับตัวดังที่กลาวมาแลวขางตน กลาวคือ ทัศนคติจะมิใชพัฒนาขึ้นมา
จากการมีประสบการณกับสิ่งนั้น ๆ โดยตรง หากแตเปนสิ่งที่เกิดขึ้นจากภายในตัวผูนั้นเอง และสิ่ง
ที่เปนเปาหมายของการแสดงออก มาซึ่งทัศนคตินั้นก็เปนเพียงสิ่งที่เขาผูนั้นหวังใชเพียงเพื่อการ
ระบายความรูสึก เทานั้น
๓. เพื่อการแสดงความหมายของคานิยม (Value Expressive) ทัศนคติ นั้นเปนสวนหนึ่ง
ของคานิยมตาง ๆ และดวยทัศนคตินี้เองที่จะใชสําหรับสะทอนใหเห็นถึงคานิยมตาง ๆ ใน
๑
Daniel Katz, Human Behavior at Work : Human Relations and Organizational Behavior,
(New York : McGraw-Hill Inc, 1972), p. 163-191.
๑๕
ลักษณะที่จําเพาะเจาะจงยิ่งขึ้น ดังนั้นทัศนคติ จึงสามารถใชสําหรับ อรรถาธิบาย และบรรยายความ
เกี่ยวกับคานิยมตาง ๆ ได
๔. เพื่อเปนตัวจัดระเบียบเปนความรู (Knowledge) ทัศนคติจะเปนมาตรฐานที่ตัวบุคคล
จะสามารถใชประเมิน และทําความเขาใจกับสภาพแวดลอมที่มีอยูรอบตัวเขา ดวยกลไกดังกลาวนี้
เองที่ทําใหตัวบุคคลสามารถรู และเขาใจถึงระบบ และระเบียบของสิ่งตาง ๆ ที่อยูในรอบตัวเขาได
๒.๑.๖ การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ (Attitude Change)
Kholberg Lawrence๑
ไดอธิบายถึง การเปลี่ยนแปลง ความคิดนี้และไดแบง
กระบวนการ เปลี่ยนแปลงทัศนคติ ออกเปน ๓ ประการ คือ
๑) การยินยอม (Compliance)
การยินยอม จะเกิดไดเมื่อบุคคลยอมรับสิ่งที่มีอิทธิพลตอตัวเขา และมุงหวังจะไดรับ
ความพอใจ จากบุคคล หรือ กลุมบุคคลที่มีอิทธิพลนั้น การที่บุคคลยอมกระทําตามสิ่งที่อยากใหเขา
กระทํานั้นไมใชเพราะบุคคลเห็นดวยกับสิ่งนั้นแตเปนเพราะเขาคาดหวังวาจะไดรับรางวัล หรือการ
ยอมรับจากผูอื่นในการเห็นดวย และกระทําตาม ดังนั้นความพอใจที่ไดรับจาก การยอมกระทําตาม
นั้น เปนผลมาจากอิทธิพลทางสังคม หรืออิทธิพลของสิ่งที่กอใหเกิดการยอมรับนั้น กลาวไดวาการ
ยอมกระทําตามนี้เปนกระบวนการเปลี่ยนแปลงทัศนคติซึ่งจะมีพลังผลักดันใหบุคคลยอมกระทํา
ตามมากหรือนอยขึ้นอยูกับจํานวน หรือความรุนแรงของรางวัลและ การลงโทษ
๒) การเลียนแบบ (Identification)
การเลียนแบบ เกิดขึ้นเมื่อบุคคลยอมรับสิ่งเรา หรือสิ่งกระตุนซึ่งการยอมรับนี้เปนผลมา
จาก การที่บุคคลตองการจะสรางความสัมพันธที่ดี หรือที่พอใจระหวางตนเองกับผูอื่น หรือกลุม
บุคคลอื่น จากการเลียนแบบนี้ทัศนคติของบุคคลจะเปลี่ยนไปมากหรือนอยขึ้นอยูกับสิ่งเราใหเกิด
การเลียนแบบ กลาวไดวา การเลียนแบบ เปนกระบวน การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ซึ่งพลังผลักดันให
เกิดการเปลี่ยนแปลงนี้จะมากหรือนอยขึ้นอยูกับความนาโนมนาวใจของสิ่งเราที่มีตอบุคคลนั้น การ
เลียนแบบจึงขึ้นอยูกับพลัง (Power) ของผูสงสารบุคคลจะรับเอาบทบาททั้งหมด ของคนอื่นมาเปน
ของตนเอง หรือแลกเปลี่ยนบทบาทซึ่งกันและกัน บุคคลจะเชื่อในสิ่งที่ตัวเอง เลียนแบบ แตไม
รวมถึงเนื้อหาและรายละเอียดในการเลียนแบบทัศนคติของบุคคลจะเปลี่ยนไปมาก หรือนอยขึ้นอยู
กับสิ่งเราที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง
๑
Kholberb Lawrence, Moral Development and Behavior, (New York : Kolt Rinehart and
Winston Co; 1965), p. 469.
๑๖
๓) ความตองการที่อยากจะเปลี่ยน (Internalization)
เปนกระบวนการที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลยอมรับสิ่งที่มีอิทธิพลเหนือกวาซึ่งตรงกับความ
ตองการภายในคานิยมของเขาพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปในลักษณะนี้จะสอดคลองกับคานิยมที่บุคคลมี
อยูเดิม ความพึงพอใจที่ไดจะขึ้นอยูกับเนื้อหารายละเอียดของพฤติกรรมนั้น ๆ การเปลี่ยนแปลง
ดังกลาวถาความคิดความรูสึกและพฤติกรรมถูกกระทบไมวา จะในระดับใดก็ตามจะมีผลตอการ
เปลี่ยน ทัศนคติทั้งสิ้น นอกจากนี้องคประกอบ ตาง ๆ ในกระบวนการสื่อสาร เชน คุณสมบัติของผู
สงสารและผูรับสารลักษณะของขาวสารตลอดจนชองทางในการสื่อสารลวนแลวแตมีผลกระทบตอ
การเปลี่ยนแปลงทัศนคติไดทั้งสิ้น นอกจากนี้ทัศนคติของบุคคล เมื่อเกิดขึ้นแลว แมจะคงทน แตก็
จะสามารถเปลี่ยนไดโดยตัวบุคคล สถานการณขาวสารการชวนเชื่อและสิ่งตาง ๆ ที่ทําใหเกิดการ
ยอมรับในสิ่งใหมแตจะตองมีความสัมพันธกับคานิยมของบุคคลนั้น นอกจากนี้อาจเกิดจากการ
ยอมรับโดยการบังคับ เชน กฎหมาย ขอบังคับ
แนวความคิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทัศนคติโดยใชอิทธิพลทางสังคมเกิดจากความ
เชื่อที่วาบุคคลจะพัฒนาทัศนคติของตนเองในลักษณะใดนั้นขึ้นอยูกับขอมูลที่ไดรับจากผูอื่นใน
สังคม สิ่งที่มีอิทธิพลทางสังคม
กลุมบุคคลที่เราใชเปนมาตรฐานสําหรับประเมินทัศนคติความสามารถของเรา หรือ
สถานการณที่เกิดขึ้นโดยทั่วไปบุคคลจะใชกลุมอางอิงเพื่อประเมินทัศนคติของตน และตัดสินใจวา
ทัศนคติ ของตนถูกตอง เพราะคิดวาคนสวนใหญในกลุมมีทัศนคติเชนเดียวกับตน ขณะที่ เชิดศักดิ์
โฆวาสินธุ๑
ไดกลาววา บุคคลที่เราใชเปนมาตรฐานเพื่อประเมิน ทัศนคติ ความสามารถของเรา
หรือสถานการณที่เกิดขึ้น อิทธิพลของผูอื่นที่มีตอทัศนคติของบุคคลตรงกับกระบวนการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เรียกวา การเลียนแบบ (Identification) ซึ่งเปนกระบวนการที่บุคคลรับเอา
คุณสมบัติของผูอื่น เชน ความคิด ทัศนคติ พฤติกรรม เปนตนมาเปนของตนขอมูลขาวสารที่ไดรับ
จะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงองคประกอบของ ทัศนคติ ในสวนของการรับรูเชิงแนวคิด (Cognitive
Component) และเมื่อองคประกอบสวนใดสวนหนึ่งเปลี่ยนแปลงองคประกอบสวนอื่นจะมี
แนวโนมที่จะเปลี่ยนแปลงดวยบุคลากรทางการแพทยซึ่งทําหนาที่เปนผูสงสารตองมีความเชี่ยวชาญ
(Expertness) และ ความนาไววางใจ (Trustworthiness) จะทําใหมีความนาเชื่อถือสูง สามารถชักจูง
ใจไดดีอีกทั้งมีบุคลิกภาพ (Personality) ดีก็จะมี ความสําคัญตอการยอมรับ นอกจากนี้หากขอมูล
ขาวสาร มีการเตรียมมาเปนอยางดีไมวาจะเปนเนื้อหา, การเรียงลําดับ, ความชัดเจนตลอดจนมีความ
๑
เชิดศักดิ์ โฆวาสินธุ, การวัดทัศนคติและบุคลิกภาพ, (กรุงเทพฯ : สํานักงานทดสอบทางการศึกษา
และจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร, ๒๕๓๐), หนา ๘๐.
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย

Contenu connexe

Tendances

วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558Anusara Sensai
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนsmellangel
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2Aroonswat
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑Rissa Byk
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556Srion Janeprapapong
 
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลกมคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลกChalit Arm'k
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีWichai Likitponrak
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศWichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์Weerachat Martluplao
 
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพวิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพKamolthip Boonpo
 
หลักสูตรปรับปรุง 2553
หลักสูตรปรับปรุง 2553หลักสูตรปรับปรุง 2553
หลักสูตรปรับปรุง 2553weerawat pisurat
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 

Tendances (20)

วิธีสอนวิทยาศาสตร์
วิธีสอนวิทยาศาสตร์วิธีสอนวิทยาศาสตร์
วิธีสอนวิทยาศาสตร์
 
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
 
แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพ
แผนการสอนที่ 2  เรื่อง สัมพันธภาพแผนการสอนที่ 2  เรื่อง สัมพันธภาพ
แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพ
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
 
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบวิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
 
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลกมคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศ
 
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
วิจัยในชั้นเรียนเรื่องการไม่ส่งการบ้านวิชาฟิสิกส์
 
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพวิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
 
หลักสูตรปรับปรุง 2553
หลักสูตรปรับปรุง 2553หลักสูตรปรับปรุง 2553
หลักสูตรปรับปรุง 2553
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
วิชา 4472141
วิชา 4472141วิชา 4472141
วิชา 4472141
 

Similaire à ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย

13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdfssuser49d450
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลWichai Likitponrak
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปWichai Likitponrak
 
วิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัยวิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ
0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ
0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯYota Bhikkhu
 
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์Yota Bhikkhu
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาan1030
 
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์joyzazaz
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คSalisa Khonkhayan
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คSalisa Khonkhayan
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02witthawat silad
 
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยpentanino
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 

Similaire à ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย (20)

รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
 
006
006006
006
 
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูปวิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
วิจัยแบบเรียนสำเร็จรูป
 
วิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัยวิจัยปี 59 ครูวิชัย
วิจัยปี 59 ครูวิชัย
 
0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ
0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ
0.ปก คัดย่อ-กิติกรรมฯ-สารบัญ ฯลฯ
 
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์
งานวิจัยความพึงพอใจ ฉบับสมบูรณ์
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
ตัวอย่างบทคัดย่อวิทยานิพนธ์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
 
5บทที่1
5บทที่1 5บทที่1
5บทที่1
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยา
 

Plus de pentanino

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยpentanino
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมpentanino
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารpentanino
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555pentanino
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555pentanino
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...pentanino
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554pentanino
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมpentanino
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรpentanino
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาpentanino
 

Plus de pentanino (20)

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
 

ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย

  • 1. ก ชื่อรายงานวิจัย: ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะ ภาคปฏิบัติของวิทยาลัยสงฆเลย ผูวิจัย : พระมหาสุภวิชญ ปภสฺสโร/ วิราม สวนงาน : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ปงบประมาณ : ๒๕๕๕ ทุนอุดหนุนการวิจัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย บทคัดยอ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค ๔ ประการ คือ เพื่อศึกษาทัศนคติของพระนิสิตที่มีตอการ เรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ ๓, ๕, และ ๗ เพื่อศึกษาทัศนคติของพระนิสิตที่มีตอ การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ ๓,๕, และ ๗ ของนิสิตชั้นปที่ ๒,๓, และ ๔ เพื่อศึกษาวิเคราะหขอมูลเปรียบเทียบเกี่ยวกับทัศนคติของพระนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอน ในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ และเพื่อศึกษาปญหาอุปสรรคในการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะ ภาคปฏิบัติ ๓,๕, และ ๗ ของนิสิตชั้นปที่ ๒,๓, และ ๔ ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนนิสิตภาคปกติและภาคพระสังฆาธิการที่ได ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา ธรรมภาคปฏิบัติ ๓,๕ และ ๗ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๕ กําลังศึกษาอยูที่ วิทยาลัยสงฆเลย จํานวนทั้งหมด ๑๕๐ รูป ผลรายงานการวิจัย พบวา ๑. พระนิสิตวิทยาลัยสงฆเลยชั้นปที่ ๒,๓ และ๔ มีความเห็นทั้ง ๔ ดานโดยภาพรวม อยูในระดับมาก (๓.๗๔) เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา ทัศนคติดานการจัดการเรียนการสอนมี คาเฉลี่ยสูงสุด (๓.๘๔ ) รองลงมาคือ ทัศนคติดานตอเนื้อหาสาระ (๓.๘๓) ทัศนคติดานแรงจูงใจ (๓.๘๐) สวนดานที่มีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด คือ ทัศนคติดานการปฏิบัติกรรมฐาน (๓.๗๔) ตามลําดับ ๒. พระนิสิตวิทยาลัยสงฆเลยชั้นปที่ ๒,๓ และ๔ มีความคิดเห็นตอเนื้อหาสาระ รายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ๓,๕,๗ โดยภาพรวม อยูในระดับมาก (๓.๘๓) ) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ ขอ ๖ ประโยชนที่ไดรับจากการศึกษารายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ (๔.๑๒) รองลงมาคือ ขอ ๓ เนื้อหาสอดคลองกับความเปนจริงของโลกปจจุบัน (๓.๙๕) สวนขอที่ มีคาเฉลี่ยต่ําที่สุด คือขอ ๕ เนื้อหาเคยไดศึกษามากอนแลว (๓.๕๘) ๓. พระนิสิตวิทยาลัยสงฆเลยชั้นปที่ ๒,๓และ๔ มีความคิดเห็นตอแรงจูงใจ รายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ ๓,๕,๗ โดยภาพรวม อยูในระดับมาก (๓.๘๐) เมื่อพิจารณาเปนรายขอ
  • 2. ค Research Title: An Attitude of Buddhist Students to Learning and Teaching Buddhist Meditation at Loei Buddhist College Researcher: Pramaha Supavit Phapatsaro/Wiram Department: Mahachulalongkornrajadyalaya University, Loei Buddhist College. Fiscal Year: 2555 Research Scholarship Sponsor: Mahachulolongkornrajadyalaya University Abstract This researchwas aimed at 4 four reasons for; studying the attitude of the Buddhist students towards teaching and learning in the Buddhist Meditation 3, 5, and 7, studying the attitude of the 2nd , 3rd and 4th year Buddhist students towardsteachingand learning in the Buddhist Meditation 3, 5, and 7, analyzing the comparative data concerning the students' attitudes towards teaching and learning in the Buddhist Meditation, and studying the problems and obstacles of teaching and learning in the Buddhist Meditation 3,5, and 7 of the 2nd , 3rd and 4th year Buddhist students. The population sampling used of this research were 150 Buddhist students who registered the course of practical Dharma 3, 5, and 7 in the regular term and irregular term of the first semester/2551 B.E. and they were studying at the Buddhist College of Loei. The results showed that; 1. The2nd , 3rd and 4th year Buddhist students’ opinions at all 4 aspects, in overall, were at “High” level (3.74). In regard to considering at each aspect, it showed that the attitude in the aspect of teaching had highest average score (3.84), followed by the attitude in the aspect of contents (3.83), motivation (3.80), and the lowest average score was the aspect of meditation practice (3.74), respectively.
  • 3. ง 2. The 2nd , 3rd and 4th year- Buddhist students’ opinions in overall at the aspect of contents in the courses of practical Dharma 3, 5 and 7 were at “High” level (3.83). In regard to considering at each aspect, it showed that the item 6: the gaining benefit resulted from studying the course of Buddhist Meditation (4.12), followed by the item 3: the contents being consistent to the reality of the today world (3.95), and the lowest average score was the item 5: the contents have been studied ever before (3.58). 3. The 2nd , 3rd and 4th year- Buddhist students’ opinions in overall at the aspect of motivation in the course of Buddhist Meditation 3, 5 and 7 were at “High” level (3.80). In regard to considering at each aspect, it showed that the item 4: each Dharma item in the course of Buddhist Meditation was the motivating media being adapted for use in daily life (4.03), followed by the item 6: the textbooks of Buddhist Meditation which were used for finding out and studying in the library were the good motivating media to want to study the courses of Buddhist Meditation (3.89), and the lowest average score item was the item 2: the classroom environment condition had atmosphere to be wanted to study the courses of Buddhist Meditation (3.53). 4. The 2nd , 3rd and 4th year Buddhist students’ opinions in overall towards teaching and learningin the coursesof Buddhist Meditation 3, 5 and7 were at “High” level (3.84). in regardto considering at each aspect, it showed that item 5: the teacher openly let the students have chances to ask for the resolutions, had the highest average score (4.09), followed by the item 2: the teachers clearly described the contents and well understood (4.05), and the lowest average score item was the item 1: the teachers cited the introduction of Dharma or the result of Dharma merit prior to the lesson (3.70). 5. In regard to the comparison concerning the Buddhist students' attitude towards teaching and learning in the course of Buddhist Meditation in overall, it found that it was not different, statistically and significantly, at the 0.05 level. When considering at each aspect, it found that it was not different in all aspects, statistically and significantly, at the 0.05 level. 6. Regarding the problems and obstacles in teaching and learning in the courses of Buddhist Meditation 3,5, and 7 of the 2nd , 3rd and 4th year Buddhist students, it found that there were less textbooks of some courses, and there were not enough textbooks for helping the students to find out and study. Accessing to the internet media was not enough for finding out and studying. Arrangement of learning and teaching was still the obstacles due to the Buddhist
  • 4. จ students stayed away from the college in long distance and in this regard, it let them come to the class late. As well as due to insufficiency of the buildings, there were not enough classrooms for students. In summary from the mentioned above, it indicated that the opinions towards the teaching and learning in the courses of Buddhist Meditation 3, 5 and 7 of the 2nd , 3rd and 4th year Buddhist students were not different, statistically and significantly.
  • 5. ฆ สารบัญ บทคัดยอภาษาไทย บทคัดยอภาษาอังกฤษ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง ก ข ค ง จ บทที่ ๑ บทนํา ๑.๑ ความสําคัญและที่มาของปญหาที่ทําการวิจัย ๑ ๑.๒ วัตถุประสงคของโครงการวิจัย ๓ ๑.๓ ขอบเขตของโครงการวิจัย ๓ ๑.๔ กรอบแนวคิด ของโครงการวิจัย ๓ ๑.๕ คํานิยามศัพทของโครงการวิจัย ๔ ๑.๖ ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ และหนวยงานที่นําผลการวิจัยไปใชประโยชน ๕ บทที่ ๒ วรรณกรรม เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ๒.๑ แนวคิดและความหมายเกี่ยวกับทัศนคติ ๖ ๒.๑.๑ ความสําคัญของทัศนคติ ๘ ๒.๑.๒ ทัศนคติกับพฤติกรรม ๘ ๒.๑.๓ องคประกอบและหลักการวัดหรือการสํารวจทัศนคติ ๑๑ ๒.๑.๔ ประเภทของ ทัศนคติ ๑๓ ๒.๑.๕ การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ๑๔ ๒.๒ แนวคิดและความหมายเกี่ยวกับแรงจูงใจ ๑๙ ๒.๒.๑ ประเภทของแรงจูงใจ ๒๐ ๒.๒.๒ องคประกอบที่ทําใหเกิดแรงจูงใจ ๒๑ ๒.๒.๓ ลักษณะของแรงจูงใจ ๒๑ ๒.๒.๔ ขบวนการของการเกิดแรงจูงใจ ๒๓ ๒.๒.๕ เปาหมายของแรงจูงใจ ๒๕ ๒.๒.๖ ทฤษฎีเกี่ยวกับแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ ๒๖ ๒.๒.๗ การสรางแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ ๒๗
  • 6. ฆ ๒.๓ วิธีการจัดการเรียนการสอน ๒๘ ๒.๓.๑ วิธีการเรียนการสอน ๓๑ ๒.๓.๒ การวัดและประเมินผล ๓๔ ๒.๔ ความเปนมาของธรรมะภาคปฏิบัติ ๓๗ ๒.๕ วิธีการกําหนดปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน ๔๔ ๒.๖ เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของ ๕๖ ๒.๗ กรอบแนวคิดของโครงการวิจัย ๕๘ บทที่ ๓ วิธีดําเดินการวิจัย ๕๙ ๓.๑ ประชากรที่ใชในการวิจัย ๕๙ ๓.๒ เครื่องมือและการพัฒนาเครื่องมือ ๕๙ ๓.๓ การเก็บรวบรวมขอมูลการวิจัย ๖๐ ๓.๔ การวิเคราะหขอมูล ๖๐ บทที่ ๔ ผลการวิเคราะหขอมูล ๖๑ ๔.๑ ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม จําแนกตามสถานภาพ อายุ วุฒิ การศึกษา ๖๒ ๔.๒ ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการ สอนรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ จําแนกตาม สถานภาพ ๖๘ ๔.๓ ผลการวิเคราะหเปรียบเทียบทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการ สอนรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ จําแนกตาม อายุ วุฒิการศึกษาแผนกธรรม วุฒิการศึกษาแผนกบาลี และวุฒิการศึกษาแผนกสามัญ ๗๓ บทที่ ๕ สรุปผลการวิจัย ๗๗ ๕.๑ บทสรุป ๗๗ ๕.๒ อภิปรายผล ๗๘ ๕.๓ ขอเสนอแนะ ๗๙ บรรณานุกรม ๘๑ ภาคผนวก ก. แบบสอบถามการวิจัย ๘๖ ภาคผนวก ข. ประวัติผูวิจัย และคณะ ๙๔
  • 7.
  • 8. ง สารบัญตาราง ตารางที่ ๑ จํานวนและรอยละของขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม จําแนก ตามสถานภาพ ๖๒ ตารางที่ ๒ จํานวนและรอยละของขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม จําแนก ตามอายุ ๖๒ ตารางที่ ๓ จํานวนและรอยละของขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม จําแนก ตามวุฒิการศึกษาแผนกธรรม ๖๒ ตารางที่ ๔ จํานวนและรอยละของขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม จําแนก ตามวุฒิการศึกษาแผนกบาลี ๖๓ ตารางที่ ๕ จํานวนและรอยละของขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับผูตอบแบบสอบถาม จําแนก ตามวุฒิการศึกษาแผนกสามัญ ๖๓ ตารางที่ ๖ ตารางของการแสดงคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับทัศคติ ของนิสิตโดยจําแนกเปนรายดาน ๖๓ ตารางที่ ๗ ตารางของการแสดงคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับทัศคติ ดานเนื้อหาสาระ ๖๔ ตารางที่ ๘ จํานวนและรอยละของการแสดงคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับทัศคติดานแรงจูงใจ ๖๕ ตารางที่ ๙ ตารางของการแสดงคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับทัศคติ ดานการจัดการเรียนการสอน ๖๖ ตารางที่ ๑๐ ตารางของการแสดงคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับทัศคติ ดานการปฏิบัติกรรมฐาน ๖๗ ตารางที่ ๑๑ การวิเคราะหเปรียบเทียบทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอน รายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ จําแนกเปนรายดาน สถานภาพ ๖๘ ตารางที่ ๑๒ การวิเคราะหเปรียบเทียบทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอน รายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ ทัศนคติดานเนื้อหาสาระ จําแนกเปนรายดาน สถานภาพ ๖๘
  • 9. ง สารบัญ(ตารางตอ) ตารางที่ ๑๓ การวิเคราะหเปรียบเทียบทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอน รายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติทัศนคติดานแรงจูงใจ จําแนกเปนรายดาน สถานภาพ ๖๙ ตารางที่ ๑๔ การวิเคราะหเปรียบเทียบทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอน รายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ ทัศนคติดานการจัดการเรียนการสอน จําแนก เปนรายดาน สถานภาพ ๗๐ ตารางที่ ๑๕ การวิเคราะหเปรียบเทียบทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอน รายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ ทัศนคติดานการปฏิบัติกรรมฐาน จําแนกเปน รายดาน สถานภาพ ๗๑ ตารางที่ ๑๖ การวิเคราะหเปรียบเทียบทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอน รายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ จําแนกเปนรายดาน อายุ ๗๓ ตารางที่ ๑๗ การวิเคราะหเปรียบเทียบทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอน รายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ จําแนกเปนรายดาน วุฒิการศึกษาแผนกธรรม ๗๔ ตารางที่ ๑๘ การวิเคราะหเปรียบเทียบทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอน รายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ จําแนกเปนรายดาน วุฒิการศึกษาแผนกบาลี ๗๕ ตารางที่ ๑๙ การวิเคราะหเปรียบเทียบทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอน รายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ จําแนกเปนรายดาน วุฒิการศึกษาแผนกสามัญ ๗๖
  • 10. บทที่ ๑ บทนํา ๑. ความสําคัญและที่มาของปญหาที่ทําการวิจัย วิชาธรรมะภาคปฏิบัติเปนรายวิชาหนึ่งในการวัดการเรียนการสอนของหลักสูตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และเปนรายวิชาแกนที่สําคัญที่มุงใหเปนวิชาวาดวย ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติโดยเฉพาะภาคปฏิบัติถือวาเปนวัตถุประสงคหลักที่ตองการใหนิสิตไดลง มือปฏิบัติจริงและเปนจุดมุงหมายสูงสุดในทางพระพุทธศาสนา ตามที่พระธรรมปฎกไดกลาววา “เนื่องดวยคําสอนในพระพุทธศาสนาเนนสิ่งที่ปฏิบัติไดจริงและการลงมือปฏิบัติใหรูเห็นประจักษ บังเกิดผลเปนประโยชนแกชีวิต”๑ วิธีการที่จะนําไปสูเปาหมายหรือจุดมุงหมายสูงสุดในทางพระพุทธศาสนานั้น พระพุทธเจาไดตรัสแนะแกพระสาวกทั้งหลายถึงธุระในศาสนาใหรูและศึกษาเปนเบื้องตนกอนที่จะ ลงมือปฏิบัติคือ ๑. คันถธุระ หมายถึง กิจที่พระภิกษุในพระพุทธศาสนาจะตองศึกษาเลาเรียนหลักพุทธ วจนะของพระพุทธเจา จากพระไตรปฎก อรรถกถาและฎีกาตาง ๆ พระธรรมปฎก “คันถธุระ ธุระ ฝายคัมภีรกิจดานการเลาเรียน”๒ และสอดคลองกับความหมายของพระธรรมบทฉบับภาษาบาลีวา “ธุระนี้ คือ การเรียนนิกายหนึ่งก็ดี สองนิกายก็ดี จบพุทธวจนะคือพระไตรปฎกก็ดี ตามสมควรแก ปญญาของตนแลวทรงไว กลาวบอกพุทธวจนะนั้น ชื่อวา คันถธุระ สวนการเริ่มตั้งความสิ้นและ ความเสื่อมไวในอัตภาพ ยังวิปสสนาใหเจริญ ดวยอํานาจแหงการติดตอแลว ถือเอาพระอรหัตของ ภิกษุผูมีความประพฤติแคลวคลอง ยินดียิ่งแลวในเสนาสนะอันสงัด ชื่อวา วิปสสนาธุระ”๓ ๒. วิปสสนาธุระ หมายถึง กิจที่พระภิกษุในพุทธศาสนานี้ตองปฏิบัติทั้งสมถกรรมฐาน และวิปสสนากรรม พระธรรมปฎกกลาววา “วิปสสนาธุระ เปนฝายเจริญวิปสสนา กิจดานการ ๑ พระธรรมปฎก (ป.อ. ประยุทธ ปยุตฺโต), พุทธธรรม, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย, ๒๕๔๒), หนา ๒๔๑. ๒ พระธรรมปฎก, (ป.อ. ประยุทธ ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๘), หนา ๗๖. ๓ ธมฺมปทฏฐกถา (ภาค ๑ ฉบับบาลี), (กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหามกุฎราชวิทยาลัย ๒๕๔๑), หนา ๗.
  • 11. ๒ บําเพ็ญภาวนาหรือเจริญกรรมฐานซึ่งรวมทั้งสมถะดวย เรียกรวมเขาในวิปสสนาโดยฐานเปนสวน คลุมยอด” ๑ ดังนั้นวิปสสนาธุระคืองานมุงอบรมปญญาใหเกิดโดยการปลอยวางภาระทั้งปวงทํา กายใจใหเบายินดีในเสนาสนะที่เงียบสงบพิจารณาถึงความเสื่อมไปในสังขารรางกายจนเห็นสามัญ ลักษณะ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ไดชัดเจน เจริญอบรมวิปสสนาตอเนื่องไปไมขาดสายจนถึง หลักชัยคืออรหันตผลได จะเห็นวาธุระทั้งสองอยางนี้มีความสําคัญและเกี่ยวเนื่องกันจากคันถธุระ ศึกษาพระพุทธพจนเขาใจแลวจึงนําไปสูแนวทางปฏิบัติใหบรรลุเปาหมายของการศึกษา การจะ นําไปสูเปาหมายไดนั้นตองขึ้นอยูกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ดี มีสวนสําคัญและสงผล ตอการเรียนรูของผูเรียนโดยตรง นอกจากหลักสูตรที่กําหนดขึ้น เพื่อใหผูเรียนไดศึกษาเลาเรียนจน บรรลุถึงเปาหมายตามที่หลักสูตรกําหนดได แตสิ่งหนึ่งที่จะขาดไมไดคือวิธีการถายทอดของ ครูผูสอนวาครูจะดําเนินการวิเคราะหปญหา กําหนดทางเลือกในการแกปญหา เลือกทางที่ เหมาะสมกับผูเรียนใหมากที่สุดเทาที่จะทําได เพื่อนําผูเรียนไปสูเปาหมายที่วางเอาไว พระราชวร มุนีไดกลาวถึงกระบวนการจัดการเรียนการสอนไววา “การศึกษามีหนาที่ ๒ ประการ หนาที่ในการ ถายทอดศิลปวิทยาหมายถึงการถายทอดรักษาสงเสริมเพิ่มพูนวิชาการและวิชาชีพและหนาที่ในการ ชี้แนะใหรูจักการดําเนินชีวิตที่ดีงามถูกตองและการฝกฝนพัฒนาจนถึงความสมบูรณอันนี้เปนหนาที่ ซึ่งอาตมาภาพวาเปนเรื่องของการศึกษาแท ๆ เปนเนื้อหาแทของการศึกษา”๒ การจัดหลักสูตรการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยไดจัด หลักสูตรใหมีการเรียนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติตั้งแตธรรมะภาคปฏิบัติ ๑ ถึงธรรมะภาคปฏิบัติ ๗ ตลอดระยะเวลาที่นิสิตศึกษา ๔ ป ๘ ภาคการศึกษา โดยที่นิสิตจะตองเรียนใหไดครบทั้ง ๗ รายวิชา ใน ๗ รายวิชานั้น จะขาดรายวิชาใดวิชาหนึ่งไมได ถึงแมบางรายวิชาจะไมนับผลการเรียน หรือไมนับหนวยกิจก็ตาม ใหถือวา ทุกรายวิชามีความสําคัญ บรรดา ๗ รายวิชานั้น รายวิชาธรรมะ ภาคปฏิบัติ๒ เทานั้นที่นับผลการเรียนเปน๑ หนวยกิจตอ ๑ ชั่วโมง ธรรมะภาคปฏิบัติ๑,๓,๔,๕,๖ และ ๗ ไมนับผลการเรียน ในขณะการทําการเรียนนั้นจะเนนหนักภาคปฏิบัติใหนิสิตลงมือปฏิบัติ ในหองหรือสถานที่เหมาะสมกับการปฏิบัติโดยเฉพาะวิทยาลัยสงฆเลย ไดสงนิสิตไปปฏิบัติธรรม ตามสถานที่ปฏิบัติในชวงเดือน ธันวาคมของทุกป รวมระยะเวลา ๑๐ วัน ผลสําเร็จจากการจัดการเรียนการสอนของรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ เทาที่ผานมาจะเห็น วามีอุปสรรคปญหาของรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติซึ่งสะทอนจากการตอบคําถามในรายวิชาธรรมะ ภาคปฏิบัติ ๑,๓,๔,๕,๖, และ ๗ จากพฤติกรรมที่แสดงออกตอรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติพอสมควร ๑ เรื่องเดียวกัน, หนา ๗๖. ๒ พระราชวรมุนี, (ประยุทธ ปยุตฺโต), การศึกษา เครื่องมือพัฒนาที่ยังตองพัฒนา. (กรุงเทพฯ : อมรินทรพริ้นติ้ง กรป, ๒๕๓๐), หนา ๕๗-๕๘.
  • 12. ๓ ดานตอบคําถามปราฏกวานิสิตตอบคําถามไมตรงประเด็นและบางขอคําถามก็ไมสามารถตอบได และดานพฤติกรรมที่สะทอนตอรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ ๑,๓,๔,๕,๖, และ๗ ปรากฏวานิสิตให ความสําคัญนอยมาก เมื่อเทียบกับรายวิชาอื่น ๆ จึงนําสูประเด็นคําถามวาทําไมนิสิตจึงตอบคําถาม ปญหาต่ํากวาเกณฑวัดผลประเมินผลและทัศนคติที่นิสิตแสดงออกตอรายวิชา ๑,๓,๔,๕,๖,๗ ดังนั้นผูวิจัยจึงตองการจะทราบทัศนคติที่มีตอรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติทั้งดาน เนื้อหา สาระ รายวิชา ดานการจัดการเรียนการสอนและดานภาคปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน ๒. วัตถุประสงคของโครงการวิจัย ๒.๑ เพื่อศึกษาทัศนคติของพระนิสิตที่มีตอการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะ ภาคปฏิบัติ ๓,๕, และ ๗ ของนิสิตชั้นปที่ ๒,๓, และ ๔ ๒.๒ เพื่อศึกษาทัศนคติของพระนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะ ภาคปฏิบัติ ๓,๕, และ ๗ ของนิสิตชั้นปที่ ๒,๓, และ ๔ ๒.๓ เพื่อศึกษาวิเคราะหขอมูลเปรียบเทียบเกี่ยวกับทัศนคติของพระนิสิตที่มีตอการ จัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ ๒.๔ เพื่อศึกษาปญหาอุปสรรคในการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ ๓, ๕, และ ๗ ของนิสิตชั้นปที่ ๒,๓, และ ๔ ๒.๕ เพื่อนําผลการวิจัยไปปรับปรุงการสอนรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติตอไป ๓. ขอบเขตของโครงการวิจัย การวิจัยในครั้งนี้ ผูวิจัยไดกระทําการศึกษาตามขอบเขตดังตอไปนี้ ๓.๑ ขอบเขตดานประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรและกลุมตัวอยาง ที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนนิสิตภาคปกติและภาคพระสังฆาธิ การที่ไดลงทะเบียนเรียนในรายวิชา ธรรมภาคปฏิบัติ ๓,๕ และ ๗ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๕๕ และ กําลังศึกษาอยูที่วิทยาลัยสงฆเลย จํานวน ๑๕๐ รูป ๓.๒ ขอบเขตดานเนื้อหา การวิจัยครั้งนี้คณะผูวิจัยไดมุงศึกษาเนื้อหาแนวคิดและความหมายเกี่ยวกับทัศนคติ แนวคิดและความหมายเกี่ยวกับแรงจูงใจ การจัดการเรียนการสอน ความเปนมาของการปฏิบัติ กรรมฐาน และหลักการและวิธีการปฏิบัติกรรมฐาน ซึ่งเปนแนวคิดหลักที่เกี่ยวของการกับการวิจัย โดยเฉพาะ
  • 13. ๔ ๓.๓ ขอบเขตดานตัวแปร ตัวแปรอิสระ ไดแก - สถานภาพ จําแนกออกเปน ๒ สถานภาพ คือ พระภิกษุ และสามเณร - อายุ - วุฒิการศึกษา - แผนกธรรมจําแนกออกเปน ๒ แผนก คือ แผนกบาลี และแผนกสามัญ ตัวแปรตาม ไดแก ทัศนคติที่มีตอการจัดการเรียนการสอนแยกเปน ๓ ดาน คือ ๑. ดาน เนื้อหาสาระรายวิชา ๒. ดานการจัดการเรียนการสอน ๓. ปญหาอุปสรรคในการเรียนการสอน ๓.๔ ขอบเขตดานเวลา ระยะเวลาในการทําวิจัยครั้งนี้ คือ ระหวางเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม ๒๕๕๕ ๔. คํานิยามศัพท ของโครงการวิจัย ๕.๑ ทัศนคติ หมายถึง ตอการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ ๓,๕, และ ๗ ของนิสิตชั้นปที่ ๒,๓, และ ๔ ๕.๒ การจัดการเรียนการสอน หมายถึง การจัดแผนการเรียน การจัดตารางสอน การ จัดครูมือเขาสอน การจัดทําโครงการสอน การจัดทําบันทึกการสอนหรือแผนการสอนในรายวิชา ธรรมะภาคปฏิบัติ ๓,๕, และ ๗ ของนิสิตชั้นปที่ ๒,๓, และ ๔ ประกอบดวย ๓ ดาน คือ ๑. ดาน เนื้อหาสาระรายวิชา ๒. ดานการจัดการเรียนการสอน ๓. ปญหาอุปสรรคในการเรียนการสอน ๕.๓ การวัดและประเมินผล หมายถึง การนําสิ่งที่วัดไดไปประเมินผลวาผูเรียนควรจะ ไดหรือตกและสามารถนําไปปรับปรุงแกไขการเรียนการสอนไดเปนอยางดี ๕.๔ ธรรมะภาคปฏิบัติ หมายถึง หลักการและวิธีการปฏิบัติกรรมฐานทั้งสมถะและ วิปสสนา อารมณสมถกรรมฐาน ตามแนวสติปฏฐานสูตร ใหมีความรูความเขาใจในการปฏิบัติและ การนําไปใชและประโยชนของกรรมฐาน ๕.๕ คันถะธุระ หมายถึง ธุระของพระภิกษุสงฆจะตองศึกษาพระไตรปฎก ๕.๖ วิปสสนาธุระ หมายถึง ธุระของพระภิกษุสงฆจะตองปฏิบัติตามพระธรรม พระ วินัย
  • 14. ๕ ๕.๗ พระนิสิต หมายถึง ผูที่ไดขึ้นทะเบียนเปนนิสิตระดับปริญญาตรีเรียบรอยแลว๑ ๕.๘ วิทยาลัยสงฆ หมายถึง สถานการศึกษาที่ขึ้นตรงวิทยาเขตขอนแกน ของ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๕.๙ แรงจูงใจ หมายถึง แรงผลักดัน แรงกระตุนที่เกิดจากความตองการที่จะไดรับการ ตอบสนองตอสิ่งกระตุน ๕. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ และหนวยงานที่นําผลการวิจัยไปใชประโยชน ๕.๑ ดานเนื้อหาสาระรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ ๓,๕, และ ๗ ที่พระนิสิตไดศึกษาแลว ตอบสนองความตองการหรือไม ถาสวนที่พระนิสิตเห็นวา ยาก งาย ซ้ําซอน ควรจะนําไปปรับปรุง แกไขอยางไร ๕.๒ ดานการจัดการเรียนการสอนรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติพระนิสิตไดรับความรูจาก อาจารยที่สอน การจัดการเรียนการสอนสอดคลองกับเนื้อหาสาระมากนอยเพียงไร ๕.๓ ดานการเปรียบเทียบทัศนคติ สถานภาพ แรงจูงใจ และการจัดการเรียนการสอน ในวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ ๓,๕, และ ๗ ของนิสิตชั้นปที่ ๒,๓ และ๔ ๑ การประชุมสัมมนาระบบทะเบียนนิสิต, เอกสารประกอบการประชุมโครงการประชุมสัมมนา ระบบทะเบียน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ต. ลําไทร อ. วังนอย จ. พระนครศรีอยุธยา, (๘-๑๐ กันยายน ๒๕๕๑), หนา ๑๐๘.
  • 15. บทที่ ๒ วรรณกรรม เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ การวิจัยในครั้งนี้ คณะผูวิจัยไดกําหนดแนวทางการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่ เกี่ยวของกับเรื่องทัศนคติที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของพระ นิสิตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ในหัวขอตอไปนี้คือ ๒.๑ แนวคิดและความหมายเกี่ยวกับทัศนคติ ๒.๒ แนวคิดและความหมายเกี่ยวกับแรงจูงใจ ๒.๓ แนวคิดการจัดการเรียนการสอน ๒.๔ ความเปนมาของวิชาธรรมะภาคปฏิบัติ ๒.๕ หลักการและวิธีการปฏิบัติกรรมฐาน ๒.๖ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ๒.๗ กรอบแนวคิดของโครงการวิจัย ๒.๑ แนวคิดและความหมายเกี่ยวกับทัศนคติ ๒.๑.๑ ความหมายของทัศนคติ นักสังคมวิทยาและนักจิตวิทยาสังคมทั้งชาวตางประเทศและชาวไทยไดใหคํานิยามของ ทัศนคติในลักษณะตาง ๆ กัน ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ โสภา ชูพิกุลชัย๑ ทัศนคติเปนการรวบรวมความรูสึกนึกคิด ความเชื่อ ความคิดเห็น และความจริง รวมทั้งความรูสึกซึ่งเราเรียกเปนการประเมินคาทั้งในทางบวกและทางลบ ซึ่ง ทั้งหมดจะเกี่ยวพันกัน และจะบรรยายใหทราบถึงจุดแกนกลางของวัตถุนั้น ๆ ความรูและ ความรูสึกเหลานี้ มีแนวโนมที่จะกอใหเกิดพฤติกรรมชนิดใดชนิดหนึ่งขึ้น ๑ โสภา ชูพิกูลชัย, ความเห็นของครูสังคมศึกษาเกี่ยวกับปญหาการเรียนการสอนวิชา พระพุทธศาสนาในวิทยาลัยเทคนิค สังกัดกรมอาชีวศึกษาในคูมือพัฒนาจริยศึกษากรมศาสนา. (กรุงเทพฯ : โรง พิมพการศาสนา, ๒๕๓๙), หนา ๒๔๐.
  • 16. ๗ นิพนธ แจงเอี่ยม๑ ทัศนคติเปนสิ่งที่อยูในจิตใจของบุคคลที่จะตอบสนองตอสิ่งใดสิ่ง หนึ่งไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง ซึ่งเราไมสามารถสังเกตหรือวัดไดโดยตรง แตเราสามารถรูไดโดย ดูจากพฤติกรรมของบุคคลวาจะตอบสนองตอสิ่งเราอยางไร ออมเดือน สดมณี๒ ทัศนคติเปนความรูสึกทางดานบวกและลบของแตละบุคคลที่มีตอ สิ่งแวดลอมทางสังคม ทําใหบุคคลพรอมที่จะโตตอบออกมาเปนพฤติกรรม นักวิชาการไดใหความหมายของทัศนคติในลักษณะแตกตางกันไป สรุปไดวา ทัศนคติ เปนความรูสึกที่แสดงออกของบุคคลตอปรากฏการณทางสังคม โดยความรูสึกดังกลาวมีทิศทางได ทั่งทางบวกและลบ ซึ่งเกิดจากการเรียนรูและประสบการณของบุคคล และสงผลใหบุคคลนั้น พรอมที่จะแสดงพฤติกรรม จิระวัตน วงศสวัสดิ์วัฒน ๓ ไดรวบรวมคุณลักษณะของทัศนคติบาง ดานที่นักทฤษฎีทางทัศนคติจํานวนไมนอยมีความเห็นพองตองกันและเปนคุณลักษณะที่นาสนใจ ศึกษา เนื่องจากมีสวนเกี่ยวพันกับพฤติกรรมตาง ๆ ของบุคคล ดังนี้ ๑. ทัศนคติเปนสิ่งที่เกิดจากการเรียนรู ฉะนั้น การศึกษาและทําความเขาใจทัศนคติ จําเปนตองอาศัยทฤษฎีการเรียนรูมาอธิบาย ๒. ทัศนคติมีคุณลักษณะของการประเมิน ซึ่งคุณลักษณะขอนี้เปนคุณลักษณะที่สําคัญ ที่สุดที่ทําใหทัศนคติแตกตางกันอยางแทจริงจากแรงผลักดันภายในอื่น ๆ ๓. ทัศนคติมีคุณภาพและความเขม คุณภาพของทัศนคติเปนสิ่งที่ไดจากการประเมิน เมื่อบุคคลประเมินสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ผลก็อาจมีทัศนคติทางบวก (ความรูสึกชอบ) หรือทัศนคติทางลบ (ความรูสึกไมชอบ) สวนความเขมของทัศนคติจะบงบอกถึงความมากนอยของทัศนคติทางบวก หรือลบนั้น ๆ ๔. ทัศนคติความคงทนไมเปลี่ยนงาย ดวยเหตุนี้เองการเผยแพรวิทยาการเกษตรแผน ใหมจึงมักประสบปญหาเพราะการเปลี่ยนทัศนคติดังกลาวเปนสิ่งที่ทําไดไมงายนัก ๕. ทัศนคติตองมีสิ่งที่หมายถึง (attitude object) ที่แนนอน นั่นคือ ทัศนคติตออะไร ตอบุคคล ตอสิ่งของหรือตอสถานการณจะไมมีทัศนคติลอย ๆ ที่ไมหมายถึงสิ่งใด ๖. ทัศนคติมีลักษณะความสัมพันธ เชน ระหวางบุคคลกับสิ่งของบุคคลอื่น ๆ หรือ สถานการณ และความสัมพันธนี้เปนความรูสึกจูงใจ นอกจากความสัมพันธขางตน ยังมี ๑ นิพนธ แจงเอี่ยม, จิตวิทยาสังคม, (กรุงเทพฯ : เอกมัยการพิมพ, ๒๕๒๕), หนา ๒๓๐. ๒ ออมเดือน สดมณี, เอกสารประกอบการสอนวิชาจิตวิทยาสังคม, (สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร, ๒๕๒๙), หนา ๒๑๓. ๓ จิระวัฒน วงศสวัสดิ์วัฒน, ทัศนคติความเชื่อและพฤติกรรม : การจัดการพยากรณและการ เปลี่ยนแปลง, (กรุงเทพฯ : อัสสัมชัน, ๒๕๔๗), หนา ๓๕๐.
  • 17. ๘ ความสัมพันธระหวางแตละทัศนคติ ขณะที่ Fran Baines๑ กลาววา ทัศนคติเปนภาวะทางจิต ซึ่ง ทําใหบุคคลพรอมที่จะโตตอบตอสิ่งแวดลอมเสมอ ลักษณะนี้เกิดขึ้นจากประสบการณ และเปน ตัวกําหนดทิศทางที่แตละบุคคลจะตอบสนองตอสิ่งของและเหตุการณที่เกี่ยวของ Maslow, Avraham Harold๒ ไดใหความเห็นวาทัศนคติเปนความคิดที่ประกอบไปดวยอารมณ ซึ่งความคิดที่ ประกอบไปดวยอารมณนี้จะมีแนวโนมใหแสดงออกตอสถานการณทางสังคม ขณะที่ Kretch and Crutchfield๓ กลาววา ทัศนคติเปนผลรวมของกระบวนการที่กอใหเกิดพลังจูงใจ อารมณ การรับรู และกระบวนการรูการเขาใจเกี่ยวกับประสบการณรอบตัวของบุคคล ๒.๑.๒ ความสําคัญของทัศนคติ ความสําคัญของทัศนคติอาจสรุปไดดังนี้ ๑) ทัศนคติเปนฐานของปฏิสัมพันธ ทัศนคติเปนฐานสําหรับปฏิสัมพันธระหวางบุคคล ตอบุคคลและระหวางบุคคลตอสังคม เมื่อบุคคลมีความสัมพันธติดตอกับคนอื่น เขาจะเรียนรูไป ดวยวาทัศนคติของผูที่ติดตออยูดวยนั้น เหมือนหรือตางไปจากทัศนคติของเขาเอง การประเมิน ทัศนคติระหวางกันในลักษณะนี้ชวยกําหนดปฏิสัมพันธระหวางบุคคลกับสังคมดวย เชน ทัศนคติ ที่บุคคลมีตอประเด็นตาง ๆ ในสังคม จะทําใหเขามีแนวโนมที่จะเลือกหรือไมเลือกผูสมัครรับ เลือกตั้งที่มีนโยบายสนับสนุน ๒) ทัศนคติเปนเครื่องมือในการพยากรณ ทัศนคติยังอาจใชเปนเครื่องมือในการ พยากรณสังคมไดดวย เชน ทัศนคติที่มีตอการจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบหรือการศึกษาตาม อัธยาศัย เพื่อสํารวจคนในสังคมมีทาทีตอการจักการศึกษาอยางไรที่จะเปนแนวทางเลือกศึกษาให สอดคลองตามความตองการของตนเอง ๒.๑.๓ ทัศนคติกับพฤติกรรม ความสัมพันธระหวางความรูเชิงประเมินคา ความรูสึกตอสิ่งนั้นและความพรอมที่จะมี ความสัมพันธกันอยางสอดคลอง แตโดยทั่วไปแลวสิ่งที่เราสังเกตได หรือสามารถสะทอนให ๑ Fran Baines, Encyclopedia of Religion, (London : Dorling Kindersley Limited, Penguin Group, 2004), pp. 224. ๒ Maslow, Avraham Harold, Motivation and Personality, (New York : Harper and Row,1970), p. 117. ๓ Kretch and Crutchfield, The Achievement Motive, (New York : Appleton Century Crofts, 1973), p. 114.
  • 18. ๙ ทราบถึงทัศนคติของบุคคลตอสิ่งตาง ๆ คือ การแสดงออกของบุคคลหรือพฤติกรรม พฤติกรรมนี้ เปนสวนที่ตอเนื่องจากความพรอมที่จะกระทํา และเชนเดียวกันเรามักจะคาดหมายกันวาพฤติกรรม ของบุคคลนาจะสอดคลองกับทัศนคติ วุฒิชัย จํานง๑ ใหความเห็นวา ความหมายของทัศนคตินั้นโดยสามัญสํานึกถือวา ทัศนคติคือ ภาวะทางจิตหนวยหนึ่งซึ่งถือวาเปนพฤติกรรมประเภทหนึ่งและในกรณีที่ไมมีอิทธิพล จากทัศนคติอื่น ๆ ประกอบกับบุคคลนั้นอยูในเหตุการณที่สอดคลองกับทัศนคตินั้นแลวก็จะ สามารถคาดพฤติกรรมได เพราะวาพฤติกรรมเปนผลโดยตรงจากทัศนคตินั้น พฤติกรรมที่แสดงออกของมนุษยได และผลกระทบที่ผูรับสารเชิงความรูในทฤษฎีการ สื่อสาร นั้นอาจปรากฏไดจากสาเหตุ ๕ ประการคือ ๑. การตอบขอสงสัย (Ambiguity Resolution) การสื่อสารมักจะสรางความ สับสนใหสมาชิกในสังคม ผูรับสาร จึงมักแสวงหา สารสนเทศ โดยการอาศัยสื่อ ทั้งหลาย เพื่อตอบ ขอสงสัย และความสับสนของตน ๒. การสรางทัศนะ (Attitude Formation) ผลกระทบเชิงความรูตอการปลูกฝงทัศนะนั้น สวนมากนิยมใชกับสารสนเทศที่เปน นวัตกรรม เพื่อสราง ทัศนคติ ใหคนยอมรับ การแพร นวัตกรรมนั้น ๆ ๓. การกําหนดวาระ (Agenda Setting) เปนผลกระทบเชิงความรูที่สื่อกระจายออกไป เพื่อใหประชาชนตระหนักและผูกพันกับประเด็นวาระที่สื่อกําหนดขึ้น หากตรงกับภูมิหลัง ของ ปจเจกชน และคานิยมของสังคมแลว ผูรับสารก็จะเลือกสารสนเทศนั้น ๔. การพอกพูนระบบความเชื่อ (Expansion of Belief System) การสื่อสารสังคมมักกระจายความเชื่อคานิยม และอุดมการณดานตาง ๆ ไปสูประชาชน จึงทําให ผูรับสารรับทราบระบบความเชื่อถือ หลากหลาย และลึกซึ้งไวใน ความเชื่อของตนมากขึ้น ไปเรื่อย ๆ ๕. การรูแจงตอคานิยม (ValueClarification) ความขัดแยงในเรื่องคานิยมและอุดมการณเปนภาวะปกติของสังคม สื่อมวลชนที่ นําเสนอขอเท็จจริงในประเด็นเหลานี้ ยอมทําให ประชาชน ผูรับสารเขาใจถึงคานิยมเหลานั้นแจง ชัดขึ้น คารเตอรวี กูด (Carter V.Good) กลาววา ความรูเปนขอเท็จจริง (facts) ความจริง (truth) เปน ขอมูลที่มนุษยไดรับและเก็บรวบรวมจากประสบการณตาง ๆ การที่บุคคลยอมรับหรือปฏิเสธสิ่งใด สิ่งหนึ่งไดอยางมีเหตุผล บุคคลควรจะตองรูเรื่องเกี่ยวกับสิ่งนั้นเพื่อประกอบ การตัดสินใจนั่นก็คือ ๑ วุฒิชัย จํานง, พฤติกรรมการตัดสินใจ, (กรุงเทพฯ : โรงพิมพโอเดียนสโตร, ๒๕๒๓), หนา ๒๒๑.
  • 19. ๑๐ บุคคลจะตองมีขอเท็จจริง หรือขอมูล ตางๆ ที่สนับสนุนและใหคําตอบขอสงสัยที่บุคคลมีอยู ชี้แจง ใหบุคคลเกิดความเขาใจและ ทัศนคติ ที่ดีตอเรื่องใดเรื่องหนึ่ง รวมทั้งเกิดความตระหนัก ความเชื่อ และคานิยมตาง ๆ ดวย ขณะที่ ประภาเพ็ญ สุวรรณ๑ กลาววา ความรู เปนพฤติกรรมขั้นตน ซึ่ง ผูเรียนเพียงแตจําได อาจจะโดยการนึกไดหรือโดยการมองเห็นหรือไดยิน จําได ความรูขั้นนี้ ไดแก ความรูเกี่ยวกับคําจํากัดความ ความหมาย ขอเท็จจริง ทฤษฎี กฎ โครงสราง และวิธีการแกปญหา เหลานี้ เบนจามิน เอส บลูม๒ (Benjamin S.Bloom) ไดใหความหมายของความรูวา ความรู เปนสิ่งที่ เกี่ยวของกับ การระลึกถึง เฉพาะเรื่อง หรือเรื่องทั่วๆไป ระลึกถึงวิธี กระบวนการหรือ สถานการณตางๆโดยเนนความจํา ๑. ความรูทําใหทราบถึงความสามารถในการจําและการระลึกถึงเหตุการณหรือ ประสบการณที่เคยพบมาแลว แบงออกเปน ๑) ความรูเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาโดยเฉพาะ ๒) ความรูเกี่ยวกับวิธีและการดําเนินการที่เกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ๓) ความรูเกี่ยวกับการรวบรวมแนวความคิดและโครงสราง ๒. ความเขาใจ ทําใหทราบถึงความสามารถในการใชสติปญญาและทักษะเบื้องตนแบง ออกเปน การแปลความ คือการแปลจากแบบหนึ่งไปสูอีกแบบหนึ่ง โดยรักษาความหมายไดถูกตอง ๓. การนําไปใช ๔. การวิเคราะห ๕. การสังเคราะห ๖. การประเมินคา ปรมะ สตะเวทิน๓ ไดกลาวถึง การศึกษาหรือความรู (Knowledge) วาเปนลักษณะ อีก ประการหนึ่ง ที่มีอิทธิพลตอผูรับสาร ดังนั้น คนที่ไดรับการศึกษาในระดับที่ตางกัน ในยุคสมัยที่ ตางกัน ในระบบการศึกษาที่ตางกันในสาขาวิชาที่ตางกัน จึงยอมมีความรูสึกนึกคิด อุดมการณ และ ความตองการ ที่แตกตาง กันไป คนที่มี การศึกษาสูงหรือมีความรูดี จะไดเปรียบอยางมากในการที่ ๑ ประภาเพ็ญ สุวรรณ, ทัศนคติ : การวัด การเปลี่ยนแปลงและพฤติกรรมอนามัย, (กรุงเทพ : บริษัทสํานักพิมพวัฒนาพานิช จํากัด, ๒๕๒๐), หนา ๑๖. ๒ Bloom, Benjamin S., Human Characteristics and School Learning, (New York : McGraw-Hill Book Company, 1976), p. 271. ๓ ปรมะ สตะเวทิน, หลักนิเทศศาสตร, (กรุงเทพฯ : รุงเรืองสาสนการพิมพ, ๒๕๔๐), หนา ๑๑๖- ๑๑๗.
  • 20. ๑๑ จะเปนผูรับสารที่ดีเพราะคนเหลานี้ มีความรูกวางขวาง ในหลายเรื่อง มีความเขาใจ ศัพทมาก และมี ความเขาใจสารไดดีแตคนเหลานี้ มักจะเปนคนที่ไมคอยเชื่ออะไรงายๆ การเกิดความรูไมวาระดับ ใดก็ตาม ยอมมีความสัมพันธ กับ ความรูสึกนึกคิด ซึ่งเชื่อมโยงกับ การเปดรับขาวสาร ของบุคคล นั้นเอง รวมไปถึงประสบการณและลักษณะทาง ประชากร (การศึกษา เพศ อายุ ฯลฯ) ของแตละคน ที่เปนผูรับขาวสาร ถาประกอบกับการที่บุคคลมีความพรอมในดานตาง ๆ เชน มีการศึกษา มีการ เปดรับขาวสาร เกี่ยวกับกฎจราจร ก็มีโอกาส ที่จะมี ความรูในเรื่องนี้ และสามารถเชื่อมโยงความรู นั้นเขากับสภาพแวดลอมได สามารถระลึกได รวบรวมสาระสําคัญ เกี่ยวกับ กฎจราจร รวมทั้ง สามารถวิเคราะห สังเคราะห รวมทั้งประเมินผลไดตอไป และเมื่อประชาชน เกิดความรูเกี่ยวกับ กฎ จราจร ไมวาจะในระดับใดก็ตาม สิ่งที่เกิดตามมาก็คือ ทัศนคติ ความคิดเห็นในลักษณะตาง ๆ ๒.๑.๔ องคประกอบและหลักการวัดหรือการสํารวจทัศนคติ กรอบแนวความคิดในการวัดหรือการสํารวจทัศนคติมีหลายทฤษฎีที่เปนที่ยอมรับและ นิยมใชกันอยางแพรหลายในปจจุบัน คือ ๑) ทัศนคติที่มีองคประกอบเดียว (Uni-component view of attitude) ไดแก การวัด ความรูหรือการประเมินคา (Affection or evaluation) การวัดทัศนคติตามทฤษฎีนี้นิยมใชกัน แพรหลายมากในอดีต นักจิตวิทยาที่มีชื่อเสียงบางคน ถือวาการวัดความรูสึกหรือประเมินคาของ บุคคลเพียงอยางเดียวที่ควรเรียกวาเปนทัศนคติของบุคคลนั้น ๒) ทัศนคติที่มีหลายองคประกอบ (Multi-component view of attitude) โดยที่การ วัดทัศนคติที่มีองคประกอบเดียวมักจะไมไดผลในกรณีที่ทัศนคตินั้นมีกรอบแนวคิดที่คอนขางยุง ยากและซับซอน ฉะนั้นการวัดทัศนคติในปจจุบันจึงนิยมใชการวัดทัศนคติที่มีหลายองคประกอบ Rosenberg และคณะไดเสนอองคประกอบของทัศนคติไว ๓ องคประกอบ ไดแก ความรูสึก (Affect) ความคิดเห็นหรือความเชื่อ(Cognition) และการแสดงออกเกี่ยวกับพฤติกรรม (Behavior) ดังแสดงในแผนภูมิตอไปนี้
  • 21. ๑๒ ภาพที่ ๑: แสดงองคประกอบของทัศนคติ ขณะที่นักวิชาการบางทานไดเสนอทัศนคติที่มี ๓ องคประกอบคือ ความตระหนักรู (Cognition) ความรูสึกผูกพันหรือการประเมินคา (Affection) เจตนาตาง ๆ ทั้งทางดาน พฤติกรรมและการกระทํา (Conation) ซึ่งองคประกอบทั้งสามสวนนี้จะมีความสัมพันธกันเองและ มีผลตอการแสดงออกของตัวบุคคล ดังแผนภูมิขางลางนี้ ทัศนคติ (Attitude) ภาพที่ ๒ : แสดงสัมพันธภาพขององคประกอบของทัศนคติ จากแผนภูมิจะเห็นไดวา Cognition จะมีอิทธิพลตอ Affection และ Affection ก็มี อิทธิพลตอ Conation และ Conation จะเปนตัวกําหนดพฤติกรรม (Behavior) และการแสดงออก ของบุคคล (Action) เวนแตจะมีสิ่งอื่นมาขัดขวาง ทั้งนี้อาจจะอธิบายในรูปของฟงกชั่นไดดังนี้ A = f (b) I = f (A) และ B = f (I) ความรูสึกผูกพัน (Affection) ความคิดเห็นหรือ ความเชื่อ (Cognition) ทัศนคติ (Attitude) สิ่งกระตุนหรือสิ่งเรา (Stimuli) การแสดงออกทาง พฤติกรรม (Behavior) พฤติกรรม (Behavior) ความสัมพันธ (Conation) อารมณ (Affection) การรับรู (Cognition)
  • 22. ๑๓ เมื่อ b แทนความเชื่อหรือความคิดเห็น = belief A แทนความรูสึกหรือการประเมินคา = Affection I แทนเจตนา = Intention B แทนพฤติกรรมหรือการกระทํา = Behavior จากความหมายของ ทัศนคติ ดังกลาว สามารถแยกองคประกอบของ ทัศนคติ ได ๓ ประการคือ ๑. องคประกอบดานความรู ( The Cognitive Component) คือ สวนที่เปนความเชื่อของ บุคคลที่เกี่ยวกับสิ่งตางๆ ทั่วไปทั้งที่ชอบ และไมชอบ หากบุคคลมีความรูหรือคิดวาสิ่งใดดีมักจะ มี ทัศนคติ ที่ดีตอสิ่งนั้น แตหากมีความรูมากอนวา สิ่งใดไมดี ก็จะมี ทัศนคติ ที่ไมดีตอสิ่งนั้น ๒. องคประกอบดานความรูสึก ( The Affective Component) คือ สวนที่เกี่ยวของกับ อารมณที่เกี่ยวเนื่องกับสิ่งตาง ๆ ซึ่งมีผลแตกตางกันไปตาม บุคลิกภาพ ของคนนั้น เปนลักษณะที่ เปนคานิยมของแตละบุคคล ๓. องคประกอบดานพฤติกรรม (The Behavioral Component) คือ การแสดงออกของ บุคคลตอสิ่งหนึ่ง หรือบุคคลหนึ่ง ซึ่งเปนผลมาจาก องคประกอบดานความรู ความคิด และ ความรูสึกจะเห็นไดวา การที่บุคคลมี ทัศนคติ ตอสิ่งหนึ่งสิ่งใดตางกัน ก็เนื่องมาจาก บุคคลมีความ เขาใจ มีความรูสึก หรือมี แนวความคิด แตกตางกันนั้นเอง ดังนั้น สวนประกอบทาง ดานความคิด หรือความรู ความเขาใจ จึงนับไดวาเปน สวนประกอบ ขั้นพื้นฐานของทัศนคติ และสวนประกอบนี้ จะเกี่ยวของ สัมพันธ กับ ความรูสึกของ บุคคล อาจออกมาในรูปแบบแตกตางกัน ทั้งในทางบวก และทางลบ ซึ่งขึ้นอยูกับ ประสบการณ และ การเรียนรู ๒.๑.๕ ประเภทของทัศนคติ บุคคลสามารถแสดง ทัศนคติ ออกได ๓ ประเภทดวยกัน คือ ๑) ทัศนคติทางเชิงบวก เปน ทัศนคติ ที่ชักนําใหบุคคลแสดงออก มีความรูสึก หรือ อารมณ จากสภาพจิตใจโตตอบ ในดานดีตอบุคคลอื่น หรือเรื่องราวใดเรื่องราวหนึ่ง รวมทั้ง หนวยงาน องคกร สถาบัน และการดําเนินกิจการขององคการอื่น ๆ เชน กลุมชาวเกษตรกรยอมมี ทัศนคติทางบวกหรือมีความรูสึกที่ดีตอสหกรณการเกษตร และใหความสนับสนุนรวมมือดวย การ เขาเปนสมาชิก และรวมในกิจกรรมตาง ๆ อยูเสมอ เปนตน ๒) ทัศนคติทางลบ หรือไมดี คือ ทัศนคติ ที่สรางความรูสึกเปนไปในทางเสื่อมเสีย ไมไดรับความเชื่อถือ หรือไววางใจ อาจมีความเคลือบแคลงระแวงสงสัย รวมทั้งเกลียดชังตอบุคคล
  • 23. ๑๔ ใดบุคคลหนึ่ง เรื่องราว หรือปญหาใดปญหาหนึ่ง หรือหนวยงานองคการ สถาบัน และการดําเนิน กิจการขององคการ และอื่น ๆ เชน พนักงาน เจาหนาที่บางคน อาจมีทัศนคติ เชิงลบตอบริษัท กอใหเกิดอคติขึ้นในจิตใจของเขาจนพยายามประพฤติ และปฏิบัติตอตาน กฎระเบียบของบริษัท อยู เสมอ ๓) ประเภทที่สามซึ่งเปนประเภทสุดทาย คือ ทัศนคติที่บุคคลไมแสดงความคิดเห็นใน เรื่องราวหรือปญหาใดปญหาหนึ่ง หรือตอบุคคล หนวยงาน สถาบัน องคการ และอื่น ๆ โดยสิ้นเชิง เชน นักศึกษาบางคนอาจมีทัศนคตินิ่งเฉยอยาง ไมมีความคิดเห็นตอปญหาโตเถียงเรื่องกฎระเบียบ วาดวยเครื่องแบบของนักศึกษา ทัศนคติ ทั้ง ๓ ประเภทนี้ บุคคลอาจจะมีเพียงประการเดียวหรือ หลายประการก็ได ขึ้นอยูกับความมั่นคงในความรูสึกนึกคิด ความเชื่อ หรือคานิยมอื่น ๆ ที่มีตอ บุคคล สิ่งของ การกระทํา หรือสถานการณ ในขณะที่ Daniel Katz๑ ไดอธิบายถึง หนาที่หรือกลไกของ ทัศนคติ ที่สําคัญไว ๔ ประการ ดังนี้คือ ๑. เพื่อใชสําหรับการปรับตัว (Adjustment) หมายความวา ตัวบุคคลทุกคนจะอาศัย ทัศนคติเปนเครื่องยึดถือสําหรับการปรับพฤติกรรมของตนใหเปนไปในทางที่จะกอใหเกิด ประโยชนแกตนสูงที่สุด และใหมีผลเสียนอยที่สุด ดังนี้ ทัศนคติจึงสามารถเปนกลไกที่จะสะทอน ใหเห็นถึงเปาหมายที่พึงประสงคและที่ไมพึงประสงคของเขา และดวยสิ่งเหลานี้เอง ที่จะทําให แนวโนมของพฤติกรรมเปนไปในทางที่ตองการมากที่สุด ๒. เพื่อปองกันตัว (Ego – Defensive) โดยปกติในทุกขณะคนทั่วไปมักจะมีแนวโนมที่ จะไมยอมรับความจริงในสิ่งซึ่งเปนที่ขัดแยงกับความนึกคิดของตน (Self – Image) ดังนี้ ทัศนคติจึง สามารถสะทอนออกมาเปนกลไกที่ปองกันตัว โดยการแสดงออกเปนความรูสึกดูถูกเหยียดหยาม หรือติฉินนินทาคนอื่น และขณะเดียวกันก็จะยกตนเองใหสูงกวาดวยการมีทัศนคติ ที่ถือวาตนนั้น เหนือกวาผูอื่นการกอตัวที่เกิดขึ้นมาของทัศนคติในลักษณะนี้ จะมีลักษณะแตกตางจากการมี ทัศนคติเปนเครื่องมือในการปรับตัวดังที่กลาวมาแลวขางตน กลาวคือ ทัศนคติจะมิใชพัฒนาขึ้นมา จากการมีประสบการณกับสิ่งนั้น ๆ โดยตรง หากแตเปนสิ่งที่เกิดขึ้นจากภายในตัวผูนั้นเอง และสิ่ง ที่เปนเปาหมายของการแสดงออก มาซึ่งทัศนคตินั้นก็เปนเพียงสิ่งที่เขาผูนั้นหวังใชเพียงเพื่อการ ระบายความรูสึก เทานั้น ๓. เพื่อการแสดงความหมายของคานิยม (Value Expressive) ทัศนคติ นั้นเปนสวนหนึ่ง ของคานิยมตาง ๆ และดวยทัศนคตินี้เองที่จะใชสําหรับสะทอนใหเห็นถึงคานิยมตาง ๆ ใน ๑ Daniel Katz, Human Behavior at Work : Human Relations and Organizational Behavior, (New York : McGraw-Hill Inc, 1972), p. 163-191.
  • 24. ๑๕ ลักษณะที่จําเพาะเจาะจงยิ่งขึ้น ดังนั้นทัศนคติ จึงสามารถใชสําหรับ อรรถาธิบาย และบรรยายความ เกี่ยวกับคานิยมตาง ๆ ได ๔. เพื่อเปนตัวจัดระเบียบเปนความรู (Knowledge) ทัศนคติจะเปนมาตรฐานที่ตัวบุคคล จะสามารถใชประเมิน และทําความเขาใจกับสภาพแวดลอมที่มีอยูรอบตัวเขา ดวยกลไกดังกลาวนี้ เองที่ทําใหตัวบุคคลสามารถรู และเขาใจถึงระบบ และระเบียบของสิ่งตาง ๆ ที่อยูในรอบตัวเขาได ๒.๑.๖ การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ (Attitude Change) Kholberg Lawrence๑ ไดอธิบายถึง การเปลี่ยนแปลง ความคิดนี้และไดแบง กระบวนการ เปลี่ยนแปลงทัศนคติ ออกเปน ๓ ประการ คือ ๑) การยินยอม (Compliance) การยินยอม จะเกิดไดเมื่อบุคคลยอมรับสิ่งที่มีอิทธิพลตอตัวเขา และมุงหวังจะไดรับ ความพอใจ จากบุคคล หรือ กลุมบุคคลที่มีอิทธิพลนั้น การที่บุคคลยอมกระทําตามสิ่งที่อยากใหเขา กระทํานั้นไมใชเพราะบุคคลเห็นดวยกับสิ่งนั้นแตเปนเพราะเขาคาดหวังวาจะไดรับรางวัล หรือการ ยอมรับจากผูอื่นในการเห็นดวย และกระทําตาม ดังนั้นความพอใจที่ไดรับจาก การยอมกระทําตาม นั้น เปนผลมาจากอิทธิพลทางสังคม หรืออิทธิพลของสิ่งที่กอใหเกิดการยอมรับนั้น กลาวไดวาการ ยอมกระทําตามนี้เปนกระบวนการเปลี่ยนแปลงทัศนคติซึ่งจะมีพลังผลักดันใหบุคคลยอมกระทํา ตามมากหรือนอยขึ้นอยูกับจํานวน หรือความรุนแรงของรางวัลและ การลงโทษ ๒) การเลียนแบบ (Identification) การเลียนแบบ เกิดขึ้นเมื่อบุคคลยอมรับสิ่งเรา หรือสิ่งกระตุนซึ่งการยอมรับนี้เปนผลมา จาก การที่บุคคลตองการจะสรางความสัมพันธที่ดี หรือที่พอใจระหวางตนเองกับผูอื่น หรือกลุม บุคคลอื่น จากการเลียนแบบนี้ทัศนคติของบุคคลจะเปลี่ยนไปมากหรือนอยขึ้นอยูกับสิ่งเราใหเกิด การเลียนแบบ กลาวไดวา การเลียนแบบ เปนกระบวน การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ ซึ่งพลังผลักดันให เกิดการเปลี่ยนแปลงนี้จะมากหรือนอยขึ้นอยูกับความนาโนมนาวใจของสิ่งเราที่มีตอบุคคลนั้น การ เลียนแบบจึงขึ้นอยูกับพลัง (Power) ของผูสงสารบุคคลจะรับเอาบทบาททั้งหมด ของคนอื่นมาเปน ของตนเอง หรือแลกเปลี่ยนบทบาทซึ่งกันและกัน บุคคลจะเชื่อในสิ่งที่ตัวเอง เลียนแบบ แตไม รวมถึงเนื้อหาและรายละเอียดในการเลียนแบบทัศนคติของบุคคลจะเปลี่ยนไปมาก หรือนอยขึ้นอยู กับสิ่งเราที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ๑ Kholberb Lawrence, Moral Development and Behavior, (New York : Kolt Rinehart and Winston Co; 1965), p. 469.
  • 25. ๑๖ ๓) ความตองการที่อยากจะเปลี่ยน (Internalization) เปนกระบวนการที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลยอมรับสิ่งที่มีอิทธิพลเหนือกวาซึ่งตรงกับความ ตองการภายในคานิยมของเขาพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปในลักษณะนี้จะสอดคลองกับคานิยมที่บุคคลมี อยูเดิม ความพึงพอใจที่ไดจะขึ้นอยูกับเนื้อหารายละเอียดของพฤติกรรมนั้น ๆ การเปลี่ยนแปลง ดังกลาวถาความคิดความรูสึกและพฤติกรรมถูกกระทบไมวา จะในระดับใดก็ตามจะมีผลตอการ เปลี่ยน ทัศนคติทั้งสิ้น นอกจากนี้องคประกอบ ตาง ๆ ในกระบวนการสื่อสาร เชน คุณสมบัติของผู สงสารและผูรับสารลักษณะของขาวสารตลอดจนชองทางในการสื่อสารลวนแลวแตมีผลกระทบตอ การเปลี่ยนแปลงทัศนคติไดทั้งสิ้น นอกจากนี้ทัศนคติของบุคคล เมื่อเกิดขึ้นแลว แมจะคงทน แตก็ จะสามารถเปลี่ยนไดโดยตัวบุคคล สถานการณขาวสารการชวนเชื่อและสิ่งตาง ๆ ที่ทําใหเกิดการ ยอมรับในสิ่งใหมแตจะตองมีความสัมพันธกับคานิยมของบุคคลนั้น นอกจากนี้อาจเกิดจากการ ยอมรับโดยการบังคับ เชน กฎหมาย ขอบังคับ แนวความคิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทัศนคติโดยใชอิทธิพลทางสังคมเกิดจากความ เชื่อที่วาบุคคลจะพัฒนาทัศนคติของตนเองในลักษณะใดนั้นขึ้นอยูกับขอมูลที่ไดรับจากผูอื่นใน สังคม สิ่งที่มีอิทธิพลทางสังคม กลุมบุคคลที่เราใชเปนมาตรฐานสําหรับประเมินทัศนคติความสามารถของเรา หรือ สถานการณที่เกิดขึ้นโดยทั่วไปบุคคลจะใชกลุมอางอิงเพื่อประเมินทัศนคติของตน และตัดสินใจวา ทัศนคติ ของตนถูกตอง เพราะคิดวาคนสวนใหญในกลุมมีทัศนคติเชนเดียวกับตน ขณะที่ เชิดศักดิ์ โฆวาสินธุ๑ ไดกลาววา บุคคลที่เราใชเปนมาตรฐานเพื่อประเมิน ทัศนคติ ความสามารถของเรา หรือสถานการณที่เกิดขึ้น อิทธิพลของผูอื่นที่มีตอทัศนคติของบุคคลตรงกับกระบวนการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เรียกวา การเลียนแบบ (Identification) ซึ่งเปนกระบวนการที่บุคคลรับเอา คุณสมบัติของผูอื่น เชน ความคิด ทัศนคติ พฤติกรรม เปนตนมาเปนของตนขอมูลขาวสารที่ไดรับ จะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงองคประกอบของ ทัศนคติ ในสวนของการรับรูเชิงแนวคิด (Cognitive Component) และเมื่อองคประกอบสวนใดสวนหนึ่งเปลี่ยนแปลงองคประกอบสวนอื่นจะมี แนวโนมที่จะเปลี่ยนแปลงดวยบุคลากรทางการแพทยซึ่งทําหนาที่เปนผูสงสารตองมีความเชี่ยวชาญ (Expertness) และ ความนาไววางใจ (Trustworthiness) จะทําใหมีความนาเชื่อถือสูง สามารถชักจูง ใจไดดีอีกทั้งมีบุคลิกภาพ (Personality) ดีก็จะมี ความสําคัญตอการยอมรับ นอกจากนี้หากขอมูล ขาวสาร มีการเตรียมมาเปนอยางดีไมวาจะเปนเนื้อหา, การเรียงลําดับ, ความชัดเจนตลอดจนมีความ ๑ เชิดศักดิ์ โฆวาสินธุ, การวัดทัศนคติและบุคลิกภาพ, (กรุงเทพฯ : สํานักงานทดสอบทางการศึกษา และจิตวิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร, ๒๕๓๐), หนา ๘๐.