SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
Télécharger pour lire hors ligne
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
๑

นายธงชัย สิงอุดม
รองผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ

๑. บทนํา
สังคมปจจุบัน เปนชวงเปลี่ยนผานจากสังคมแบบเกา ที่ยึดมั่นขนบธรรมเนียม ประเพณี
และวัฒนธรรม สูสังคมแบบใหมที่สรรพสิ่งเปลี่ยนแปลงไปตามความกาวหนาของเทคโนโลยีบทบาท
และความสัมพันธระหวางพระสงฆกับฆราวาส จึงเปนไปใน ๒ ลักษณะ คือ สังคมแบบเกา พระสงฆ
เป นผู นําชาวบ านในดานของจิ ตวิญญาณ พิ ธีก รรม และคุณธรรมจริ ยธรรม และ สั ง คมแบบใหม
ชาวบานเปนผูนําในการแสวงหาความรูในเรืองตาง ๆ ที่สนใจ โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ ในดาน
่
ของบทบาทของพระสงฆในปจจุบันก็เปนไปใน ๒ ลักษณะเชนกัน กลาวคือ บทบาทพระสงฆแบบเกา
มุง ศึก ษาเพื่ อ พั ฒ นาตนเอง ใชวัดเป นฐานในการเผยแพร ห ลั ก ธรรมคําสอน ยึดมั่ นในธรรมเนียม
ประเพณี ป ฏิ บั ติ ในขณะที่ บทบาทพระสงฆ แ บบใหม มุ ง ศึ ก ษาเพื่ อ พั ฒ นาสั ง คม นํ า ความรู สู
กลุมเปาหมายดวยวิธีการ และชองทางตางๆ รวมถึงการใชเทคโนโลยีเปนเครื่องมือในการเผยแพร
หลักธรรมคําสอน
๒. คําสําคัญ : การพัฒนา, ภาวะผูนํา
๓. ศาสนาพุทธในประเทศไทย
การก อ เกิ ดศาสนาพุ ท ธในประเทศไทย จากการศึก ษาปรากฏหลั ก ฐานวา ไดมี ก าร
ยอมรับเอาพระพุทธศาสนาเขามาในประเทศตั้งแตเมื่อพุทธศตวรรษที่ ๖ โดยกษัตริยพระองคแรก
ของไทยที่นับถือพระพุทธศาสนามีพระนามวา“ขุนหลวงเมา”ในราชอาณาจักรอายลาวซึ่งตรงกับสมัย
ราชวงศฮั่นของประเทศจีน จากนั้นคนไทยจํานวนมากก็ไดนับถือพระพุทธศาสนาทั้งนิกายเถรวาทและ
นิกายอาจริยวาทสืบมาตั้งแตบัดนั้น กอนที่จะลวงเลยมายังสมัยกรุงสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี
กรุงรัตนโกสินทร และจนถึงปจจุบัน
สวนรูปแบบการปกครองทางคณะสงฆไทยมีหลักฐานเริ่มตนในสมัยสุโขทัย โดยมีการ
จัดรูป แบบการปกครององคกรสงฆออกเปน ๒ คณะ คือ คณะคามวาสีและคณะอรั ญวาสี และ
พระมหากษัตริยทรงแตงตั้งพระสังฆราชประจําตําแหนงหัวเมืองใหญตาง ๆ เชน เมืองศรีสัชชนาลัย
เมืองสองแคว และเมืองนครชุม เปนตน พระสังฆราชตามหัวเมืองทั้งหมดจะขึ้นตรงตอพระสังฆราช
ในราชธานี และพระสังฆราชในราชธานีก็จะขึ้นตรงตอพระมหากษัตริย ตอมาในสมัยกรุงศรีอยุธยา
ตอนตนการปกครองคณะสงฆไทยยึดรูปแบบมากจากสมัยสุโขทัย แตสิ่งที่แตกตางจากการปกครองใน
๑

อาจารยประจําสาขาวิชารัฐศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย
๒

สมัยกรุงสุโขทัยในกาลตอมาคือมีคณะสงฆใหมที่เกิดมาเพิ่มอีกและมีการแบงการปกครองออกเปน ๓
คณะ ซึ่งไดแก คณะคามวาสีฝายซายคณะอรัญญวาสี คณะคามวาสีฝายขวา สวนการปกครองบริหาร
กิจการคณะสงฆ เจาคณะใหญทั้งสามจะแบงเขตรับผิดชอบกัน
ในสมัยกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจาตากสินมหาราชเสด็จขึ้นครองราชย พระองคทรง
ยายราชธานีกรุงศรีอยุธยาเดิมมาที่กรุงธนบุรีซึ่งเปนการตั้งเมืองหลวงใหม การปกครองคณะสงฆก็ยัง
ยึดรูปแบบการปกครองจากกรุงศรีอยุธยาเปนหลักจวบจนสิ้นกรุงธนบุรีเขาสูสมัยกรุงรัตนโกสินทร
รู ป แบบการปกครองคณะสงฆ ไ ทยก็ ยัง ยึ ด รู ป แบบมาจากสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา แต ตอ มามี ก าร
เปลี่ยนแปลงระบบการปกครองในป พ.ศ. ๒๔๗๕ ไดสงผลตอการเปลี่ยนแปลงลักษณะการปกครอง
คณะสงฆขึ้นดวย พรอมกันนั้นก็ไดมีการผลักดันใหเกิดพระราชบัญญัติการปกครองคณะสงฆ ร.ศ.
๑๒๑พระราชบัญญัติการปกครองคณะสงฆ พุทธศักราช ๒๔๘๔และพระราชบัญญัติการปกครองคณะ
สงฆ พุทธศักราช ๒๕๐๕
ปจจุบันโครงสรางการบริหารกิจการคณะสงฆสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช
สกลมหาสังฆปรินายก ทรงเปนองคประมุขแหงคณะสงฆไทย และดํารงตําแหนงประธานกรรมการ
มหาเถรสมาคม นอกจากนั้นยังกระจายการปกครองสงฆไทยออกไปยังสวนภูมิภาคจํานวน ๑๘ ภาค
เพื่อใหเปนไปตามความในมาตรา ๒๒ของพระราชบัญญัติการปกครองคณะสงฆ พุทธศักราช ๒๕๐๕
ที่กําหนดใหตําแหนงพระสังฆาธิการหรือผูปกครองคณะสงฆขยับขยายไปตามลําดับขั้นตอน คือเจา
คณะภาค เจาคณะจังหวัด เจาคณะอําเภอ เจาคณะตําบล และเจาอาวาส๒

๔. ความหมายของการพัฒนา
คําวา “พัฒนา” ตามความหมายของพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๒๕
หมายถึง “ทําใหเจริญ” ดังนั้น การพัฒนา ก็คือ การทําใหเจริญกาวหนา เชน การพัฒนาชุมชนการ
พัฒนาประเทศ หมายถึง การทําสิ่งเหลานั้นใหดีขึ้น เจริญขึ้น สนองความตองการของประชาชนสวน
ใหญใหไดดียิ่งขึ้น
การพัฒนาเปนกระบวนการของการเคลื่อนไหวจากสภาพที่ไมนาพอใจไปสูสภาพที่นา
พอใจ การพัฒนาเปนกระบวนการที่เปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ไมหยุดนิ่งและมีความสัมพันธโดยตรงกับ
ความเปลี่ยนแปลง กลาวคือ การพัฒนาเปนกระบวนการของการเปลี่ยนแปลงที่มีการวางแผนไวแลว
คือ การทําใหลักษณะเดิมเปลี่ยนไป โดยมุงหมายวาลักษณะใหมที่เขามาแทนที่นั้นจะดีกวาลักษณะ
เกาหรือสภาพเกา แตโดยธรรมชาติแลวการเปลี่ยนแปลง ยอมเกิดปญหาในตัวเอง เพียงแตวาจะมี
ปญหามากหรือปญหานอย การพัฒนาสามารถตีความหมายได 2 นัย คือ

๒

สายัณห อินนันใจ และคณาจารย, การปกครองคณะสงฆไทย, พิมพครั้งที่ ๓ (กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย,๒๕๕๓), หนา ๖๓-๗๓.
๓

๑. การพัฒนาในความเขาใจแบบสมัยใหม หมายถึง การทําใหเจริญในดานวัตถุ รูปแบบ
และในเชิงปริมาณ เชน ถนน บาน ดัชนีชี้วัดทางเศรษฐกิจ เปนตน
๒. การพัฒนาในแงของพุทธศาสนา หมายถึง การพัฒนาคนทั้งในดานรางกายและจิตใจ
โดยเนนในดานคุณภาพชีวิตและหลักของความถูกตองพอดีซึ่งใหผลประโยชนสูงสุด ความกลมกลืน
และความเกื้อกูลแกสรรพชีวิต โดยไมเบียดเบียนทําลายธรรมชาติและสภาพแวดลอม
๕. ความสําคัญของพุทธศาสนาในการพัฒนาสังคมไทย
สุภาพรรณ ณ บางชาง๓ ไดกลาวถึงความสําคัญของพุทธศาสนาในการพัฒนาวา พุทธ
ศาสนามีความเหมาะสมกับการพัฒนาสังคมไทยเปนอยางยิ่ง เพราะหลักพุทธธรรมเปนการสรางคนที่
มีคุณภาพชีวิต ทําใหคนในสังคมดําเนินชีวิตบนฐานแหงความจริง รูจักพึ่งพาตนเอง ขยัน ประหยัด
เรียบงาย ใฝสันติ มีศีลธรรม เผื่อแผความรักและปราศจากความเห็นแกตัวดังนั้น ในการแกปญหาดาน
ศีลธรรมของชาวชนบท จึงจําเปนตองมีการ นําหลักพุทธศาสนาซึ่งมีหลักการและแนวทางแหงการ
พัฒนาอยางเหมาะสม เขาไปเผยแพร ฟนฟูใหแกชาวชนบท เพื่อที่ใหสังคมชนบทสามารถประสานการ
พัฒนาทางดานวัตถุและจิตใจใหสอดคลองกลมกลืนกันเพื่อเปาหมายแหงความพนทุกขไดอยางหมด
จด ทั้งนี้ตองเนนวาการที่จะมี การพัฒนาทางดานจิตใจมิไดหมายความวาจะตองเลิกละการพัฒนา
ทางดานวัตถุและสังคมซึ่งเปลี่ยนแปลงไปดวย เพื่อที่จะใหการพัฒนาทางใจนั้นไมขัดแยงกับการพัฒนา
ดานวัตถุและสังคม
๖. ความหมายของ ผูนํา (Leader)
คําวา “ผูนํา”มี ผูรูทั้ งในและตางประเทศไดใหนิยามและความหมายมากมายซึ่ง มีทั้ ง
ความเหมื อ นและความแตกต า งกั น ไป ทั้ ง นี้ ผู ศึก ษาจะได นํ าเสนอนิ ย ามความหมายของผู นํ า ที่
นัก วิ ชาการทั้ ง หลายไดแ สดงทั ศ นะต างๆไว เพื่ อ ให เ ขา ใจมากขึ้นและเพื่ อ เป น ประโยชนในการ
ศึกษาวิจัยครั้งนี้
“ผูนํา” คือ บุคคลที่จะมาประสานชวยใหคนทั้งหลายรวมกัน โดยที่วาจะเปนการอยู
รวมกันก็ตาม หรือทําการรวมกันก็ตาม ใหพากันไปดวยดี สูจุดหมายที่ดีงาม ที่วาพากันไป ก็ใหพา
กันไปดวยดีนั้น หมายความวาไปโดยสวัสดี หรือโดยสวัสดิภาพ ผานพนภัยอันตรายอยางเรียบรอยและ
เปนสุข เปนตน แลวก็บรรลุถึงจุดหมายที่ดีงามโดยถูกตองตามธรรม” หมายความวา เปนความจริง
ความแท ความถูกตอง และไดมาโดยธรรม๔ ขณะเดียวกันผูชักพาใหคนอื่นเคลื่อนไหวหรือกระทําการ
ในทิศทางที่ผูนํากําหนดเปาหมายไว มีศิลปะ มีอิทธิพลตอกลุมชน เพื่อใหพวกเขามีความตั้งใจที่จะ
๓

สุภาพรรณ ณ บางชาง. “พระสงฆกับการพัฒนาชนบท,” ในการแสวงหาเสนทางการพัฒนาชนบทของ
พระสงฆไทย. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพกรมการศาสนา, ๒๕๒๖), หนา ๘๓-๘๖.
๔

พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต), ภาวะผูนํา : ความสําคัญตอการพัฒนาคน พัฒนาประเทศ,
(กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา, ๒๕๔๖), หนา ๒๕.
๔

ปฏิบัติงานใหบรรลุเปาหมายตามตองการ หลายคนมีบทบาทเปนผูนํากันแลว เชน เปนผูนําองคกร
ผูนําสมาคม ผูนําวัดและแมกระทั่งเปนหัวหนาครอบครัวก็จัดวาเปนผูนํา๕
“ผูนํา” ยัง เป นผู ที่ มี บุ คลิ ก ลั ก ษณะ มี คุณ สมบั ติ เ ดน กวา ผู อื่ น ในกลุ ม และมี อิ ท ธิพ ล
มากกวาบุคคลอื่นในหนวยงาน ทั้งสามารถสรางความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลใหเกิดขึ้นแก
หนวยงานได นอกจากนั้นยังหมายรวมถึงบุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่งรับบทบาทเปนผูบริหารประสาน
ผลประโยชนในกลุมเสมือนเปนสัญลักษณของกลุม มีอิทธิพลและอํานาจ สามารถบังคับบัญชาบุคคล

ในกลุมใหปฏิบัติงานบรรลุผลตามเปาหมายที่องคกรกําหนดไวได ผูนําอาจเปนบุคคลซึ่งถูกแตงตั้ง
ขึ้นมาหรือไดรับการยกยองขึ้นมาเปนหัวหนา มีความสามารถในการปกครองบังคับบัญชาและอาจชัก
พาผูใตบังคับบัญชา หรือหมูชนไปในทางดีหรือชั่วได๖
“ผูนํา” คือ ผูมีอิทธิพลในทางที่ถูกตองตอการกระทําตอผูอื่นมากกวาคนอื่นๆ ในองคกร
หรือกลุมที่เขาปฏิบัติงานอยู เปนผูซึ่งใชอิทธิพลในการกําหนดเปาหมายหรือการปฏิบัติงานใหบรรลุ
เปาหมาย โดยไดรับการเลือกตั้งจากกลุมเพื่อใหเปนผูนําหรือหัวหนา และเปนบุคคลที่มีอิทธิพลตอ
กลุม สามารถนํากลุมปฏิบัติงานตางๆ เพื่อบรรลุเปาหมายขององคกร มีความสามารถในการชักจูง
บุคลากรในองคกรใหทํางานดวยความเต็มใจ แตผูนําทุกคนไมไดเปนผูบริหารและในความเปนจริง
ผูบริหารโดยตําแหนงอาจจะไมใชผูนําก็ได๗
เรยมอนด เจ. เบอรดี้ (Raymond J. Burdy)๘ไดใหความหมายวา ผูนํา คือ บุคคลที่
จะสามารถชัก จู ง ให คนอื่นปฏิบั ติตามดวยความเต็ม ใจ ทํ าให ผู ตามมี ความเชื่อ มั่ นในตนเองและ
สามารถคลี่คลายความตึงเครียดตางๆ ลงได และสามารถนํากลุมใหบรรลุเปาหมายที่ตั้งไว ขณะที่
นอรม อนดแอล. ฟลายกอน (Normond L.Frigon)๙ไดใหคําจํ ากั ดความวา ผู นํา คือ บุคคลที่ มี
ความสามารถในการบังคับบัญชาผูอื่นและประสานใหผูอื่นชวย ชวยทํากิจการงานตางๆ ของตนให
บรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงคดวยความเต็มใจ
จากแนวคิดของนักวิชาการและนักบริหารหลายทานขางตนดังที่ไดกลาวมานั้น สามารถ
สรุปใจความไดวา ผูนํา คือ ผูที่มีความสามารถ มีทักษะ ไดรับการยอมรับ และมีความบุคลิกเฉพาะตัว
๕

พระธรรมโกศาจารย( ประยูร ธมฺมจิ ตฺโต), พุ ทธวิธี บริหาร, พิ มพพิเ ศษ ๕ ธั นวาคม ๒๕๔๙,
(กรุงเทพมหานคร โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๙), หนา ๒๖.
๖
ธรรมรส โชติกุญชร, มนุษยสัมพันธ , (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพพิฆเนศ, ๒๕๑๙), หนา๑๓๑.
๗
ศิริว รรณ เสรีรั ตนแ ละคณะ, พฤติกรรมองคก าร, (กรุงเทพมหานคร : ธีร ะฟล มและโซเทกซ
,๒๕๔๑), หนา ๑๙๗.
๘
Raymond J. Burdy, Funder mental of Leadership Reading,(Massachusetts Addison : Wesley
Publishing Co., ๑๙๖๗), p.๘.
๙
Normond L.Frigon , Sr.& Harry K. Jackson, Jr., The Leader : Developing the Skill &
Personal Qualities You Need to Lead Effectively,(New York : American Management Association, ๑๙๙๖),
p.๘.
๕

ที่สามารถจูงใจใหผูอื่นปฏิบัติภารกิจ การงานของกลุมหรือองคกรใหสําเร็จลุลวงไปตามวัตถุประสงค
หรือเปาหมายที่ผูนําหรือองคกรตั้งไว
๗. ความหมายของ ภาวะผูนํา (Leadership)
ความหมายของภาวะผูนําในทัศนะนักวิชาการที่ใหความหมายของภาวะผูนําไวหลาย
ทัศนะดวยกันที่นาสนใจทั้ง นักวิชาการตางประเทศและภายในประเทศ และเกี่ยวกับ ประเด็นที่ได
ศึกษาในครั้งนี้ดังนั้น เพื่อความเขาใจอันถูกตอง ผูเขียนจึงไดรวบรวมความหมายของภาวะผูนําจาก
ผูรูทั้งหลายดังนี้
พระพุ ท ธองค ต รั ส ไว ว า "เราเป น กั ล ยาณมิ ต ร ของสั ต ว ทั้ ง หลาย อาศั ย เราผู เ ป น
กัลยาณมิตร สัตวทั้งหลายก็พนไปไดจากทุกขทั้งปวง" พุทธพจน นี้เปนเครื่องที่แสดงความเปนผูนํา
ความเปนกัลยาณมิตรนี้แหละคือลักษณะสําคัญที่โดดเดนของความเปนผูนํา สาระสําคัญของพุทธพจน
นี้ก็คือ ผูนํานั้นเปนผูนําเพื่อประโยชนแกเขาโดยเฉพาะ สําหรับพระพุทธเจา ก็คือ เพื่อประโยชนแก
สรรพสัตวทั้งหลาย ในวงแคบผูนําเปนผูที่ตั้งใจทําเพื่อประโยชนแกหมูชนแกญาติมิตร เพื่อนรวมชุมชน
สังคม องคกร หรือชาติ ฉะนั้นหลักสําคัญของกัลยาณมิตรก็คือ “ทําเพื่อประโยชนแกเขา”๑๐
ภาวะผูนํานั้นเปนศิลปะอยางหนึ่งในการบริหารงาน เปนความสามารถของบุคคลที่จะ
สรางอิทธิพล แรงจูงใจใหบุคคลหนึ่งบุคคลใดหรือหลายคนกระทําการอยางหนึ่งอยางเพื่อใหบรรลุ
วัตถุประสงคของกลุมหรือองคการ
ฉายศิลป เชี่ยวชาญพิพัฒน และคณะ ใหคํานิยามวา ภาวะผูนํา คือ ศิลปะในการชักจูง
ผูใตบังคับบัญชาใหปฏิบัติหนาที่อยางเต็มใจ เต็มความสามารถ และกระตือรือรน หรือภาวะผูนํา
คือ ผูที่เปนแบบอยางและมีความสามารถพิเศษ แสดงบทบาทในการสั่งการและออกคําสั่งที่มีอิทธิพล
ตอผูอื่น๑๑ ขณะเดียวกัน ภาวะผูนํายังเปนลักษณะความสัมพันธ รูปแบบหนึ่งระหวางคนในกลุม
เปนความสัมพันธที่บุคคลหนึ่งหรือหลายคน๑๒ เปนกระบวนการในการใชอิทธิพลของผูนําตอการทํา
กิ จ กรรมของแต ล ะบุ คคลในความพยายามที่ จ ะให สั ม ฤทธิผ ลตามเป า หมายในสถานการณ ใ ด
สถานการณหนึ่ง
ภาวะผู นํา ยัง หมายถึง ความสามารถในการจั ดการให บ รรลุ เ ป าหมายของกลุ ม โดย
ทํางานรวมกับกลุมคนและยังหมายความรวมถึงอํานาจหนาที่ที่ติดมากับตําแหนงผูบังคับบัญชานี้ จะ
มี คาเมื่ อ ผู อ ยูใต บั ง คับ บั ญ ชาเคารพและเชื่อ ถือ ในตัวผู บั ง คับ บั ญ ชา๑๓ รวมถึง ยั ง เป นศิ ล ปะหรื อ
๑๐

พระพรหมคุณาภรณ(ป.อ.ปยุตฺโต), ภาวะผูนํา, พิมพครั้งที่ ๔ (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพสุขภาพใจ,

๒๕๔๙), หนา ๗.
๑๑

ฉายศิลป เชี่ยวชาญพิพัฒน,การบริหาร, (กรุงเทพมหานคร:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,๒๕๒๗), หนา ๒๗.
ปรัชญา เวสารัชช , ผูนําองคการ, (กรุงเทพมหานคร : รัฐศาสตรสาร, ๒๕๒๗), หนา ๒๗.
๑๓
วิฑูรย สิมะโชคดี, ทฤษฎีและเทคนิคปฏิบัติสําหรับยอดหัวหนางาน, (กรุงเทพมหานคร : บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น
จํากัด (มหาชน), ๒๕๓๘), หนา ๑๐๔.
๑๒
๖

ความสามารถของบุ ค คลหนึ่ ง ที่ จู ง ใจหรื อ ใช อิ ท ธิ พ ลต อ บุ ค คลอื่ น ไม ว า จะเป น ผู ร ว มงานหรื อ
ผูใตบัง คับบัญชา ในสถานการณตาง ๆ เพื่อ ปฏิบัติก ารและอํานวยการโดยการใชก ระบวนการสื่ อ
ความหมายหรื อ ติดตอ กั นและกั น ให ร วมใจกั บ ตน ดําเนินการจนกระทั่ ง บรรลุ วั ตถุป ระสงคและ
เปาหมายที่กําหนดไว การดําเนินจะเปนไปในทางที่ดีหรือชั่วก็ได๑๔ และพฤติกรรมสวนตัวของบุคคล
หนึ่งที่จะชักนํากิจกรรมของกลุมใหบรรลุเปาหมายรวมกัน หรือเปนความสัมพันธที่มีอิทธิพลระหวาง
ผูนํา และผูตาม ซึ่งทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อใหบรรลุจดมุงหมายรวมกัน หรือเปนความสามารถ
ุ
ที่จะสรางความเชื่อมั่นและใหการสนับสนุนบุคคลเพื่อใหบรรลุเปาหมายองคการ
ยัง มี ห ลายคนมองวา ภาวะผู นํานั้นมี ความหมายครอบคลุ ม ในมิ ติที่ ก วางขวางและ
หลากหลายกวาเรื่ องความกลาหาญ และการตัดสินใจ การเปนผู นําตองมี ความสามารถในการนํา
ผลักดัน และสั่งการใหกิจกรรมทุกอยางดําเนินไปตามเปาหมายและการบรรลุเปาหมายและครรลองที่
ถูกตอง ซึ่งตองประกอบดวย ความกลาหาญ ความสามารถในการโนมนาวใจ และจังหวะเวลาในการ
ตัดสินใจ เปนกระบวนการการของการที่อิทธิพลเหนือกลุม เพื่อการกําหนดเปาหมายและการบรรลุ
เปาหมายของกลุม๑๕ โดยใชอิทธิพลหรืออํานาจหนาที่ในความสัมพันธซึ่งกันและกันในหมูคณะ เพื่อ
ความสมหวังตามเปาหมายหรือจุดประสงครวมกัน ที่ทําใหเกิดความรัก ความสามัคคี ความรวมมือกัน
ในกิจกรรมตาง ๆ รวมถึงการมีเทคนิคในการบริหาร มีคุณลักษณะที่ดี และใหภาวะผูนําที่พึงประสงค
ยอมสามารถกระตุนแรงจูงใจใหบคคลในหนวยงานได๑๖ และเปนความสามารถในการจัดการใหบรรลุ
ุ
เป า หมายของกลุ ม คอยทํ า งานร วมกั บ กลุ ม และยั ง หมายถึ ง อํ านาจหน าที่ ที่ ติ ดมากั บ ตํ าแหน ง
ผูใตบังคับบัญชาดวย จะมีคาเมื่อผูใตบังคับบัญชาเคารพและเชื่อถือในตัวผูบังคับบัญชา ถือเปนเรื่อง
เกี่ยวกับตัวผูนําโดยตรงที่จะใชความสามารถและใชอิทธิพลเหนือกวาผูตาม นําพาคณะปฏิบัติหนาที่ให

บรรลุตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว
๘. ความเปนภาวะผูนํา ในทัศนะของพระพุทธศาสนา
พระธรรมปฎก ( ป.อ.ปยุตฺโต) กลาวไววา ภาวะผูนํา คือ คุณสมบัติ เชน สติ ปญญา
ความดีงาม ความรู ความสามารถของบุคคล ที่ชักนําใหคนทั้งหลายมาประสานกันและพากันไปสู
จุดมุงหมายที่ดีงามในอัคคัญสูตร โดยกลาวถึงความเปนอยูของสังคมมนุษยที่มาอยูรวมกันเปนสังคม
ที่สงบสุขไมมีการแกงแยงเอารัดเอาเปรียบซึ่งกันและกัน เพราะมีความอุดมสมบูรณ แตตอมามีความ
ขัดแยงเนื่องจากมีการกระทําความชั่ว มีการลักขโมยของบุคคลในสังคม ในขั้นแรกจะเปนการกลาว
ตักเตือนกั นเอง แตเมื่อ มีการประพฤติซ้ําอี ก จึ งมีก ารลงโทษแกผู กระทํา ผูที่จ ะลงโทษหรือ กลาว
ตักเตือนไดจะตองเปนหัวหนาหรือผูนําที่มีอิทธิพลใหเกิดการยอมรับจากสังคมและยอมรับคําตัดสิน
การใหคุณและโทษตลอดจนใหความไววางใจในคําตัดสินปญหาตางๆ ดังปรากฏขอความวาครั้งนั้น
๑๔

กิติ ตยัคคานท, เทคนิคการสรางภาวะผูนํา, (กรุงเทพมหานคร : เปลวอักษร, ๒๕๔๓), หนา ๒๒.
๑๕
นงลักษณ สุทธิวัฒนพันธ, พัฒนาบุคลิกผูนําและนักบริหาร, พิมพครั้งที่ ๒, (กรุงเทพมหานคร : สุขภาพ,
๒๕๔๔), หนา ๒๒.
๑๖
เอกชัย กี่สุขพันธ, การบริหารทักษะและการปฏิบัติ, (กรุงเทพมหานคร : รุงเรืองการพิมพ, ๒๕๓๐), หนา ๘.
๗

เหลามนุษยทั้งหลายจึงประชุมกัน ครั้งแลว แตงก็ปรับทุกขกันวาการถือเอาสิ่งของที่ผูอื่นไมไดใหจักได
ขึ้นเพราะความชั่วจากการกระทําเหลาใด การกระทําเหลานั้นจักเกิดขึ้นแกพวกเรา อยากระนั้นเราจัก
สมมติใหมนุษยที่มีศีลธรรมผูหนึ่งเปนผูกลาวโดยธรรม ใหเปนผูติเตียนลงโทษโดยชอบธรรม ใหเปนผู
ขับไลบุคคลผูที่ควรถูกขับไล สวนพวกเราจักแขงขาวสาลีใหแกผูนั้น ครั้นแลวจึงแสวงหาบุคคลผูที่มี
ความรู ความสามารถ มีศีลธรรม และคุณธรรมเปนผูนํา สวนพวกตนก็แบงขาวสาลีใหแกผูนั้นภาวะ
ผูนําในที่นี้จึงมีความหมายวา เปนความดีงามของบุคคลที่สามารถตัดสินปญหาและใหความเปนธรรม
เกิดประโยชนสุขแกสังคมโดยรวม
พระพุทธเจาเปนผูสามารถที่จะชวยใหคนไปถึงจุดหมายไดเพราะวาคนทั้งหลายตองการ
ไปใหถึงจุดหมายนั้นแตเขาไมรูทางไมมีวิธีพระพุทธเจาทรงคนพบมรรคา คือทางที่ไปสูจุดหมาย แลวก็
มาชวยบอกกลาวชี้นําหรือบอกทางให เปนเหมือนมัคคุเทศก ทําใหผูคนอื่นสามารถรวมเดินทางหรือ
โดยสารไปท านใชคําวา “มาร วมสมทบ” หรื อ “ตามมาสมทบ” เดินทางไปสู จุ ดหมาย ทั้ ง นี้
หมายความวา ผูนําจะตองรูจุดหมายชัดเจนและรูทางที่จะดําเนินไปสูจุดหมายนั้น ขอนี้เปนลักษณะ
ใหญที่สําคัญ
อีกประการหนึ่งประเภทภาวะผูนําซึ่งพระพุทธเจาไดแสดงออกในคําตรัสเปนบางครั้งคือ
พระพุทธเจาทรงเปนผูชวยใหคนทั้งหลายไดศึกษา เรียนรู หรือฝกฝนตนเองจนกระทั่งเขาสามารถที่จะ

ขามพนความทุกขหรือปญหาไปถึงจุดหมายไดขอนี้หมายความวา ผูนําไมไดมาหยิบยื่นอะไรใหแกผูอื่น
โดยตรงแตมาชวยใหคนอื่นไดฝกตน ไดเรียนรู จนสามารถพึ่งตนเองไดและชวยตนเองใหพนปญหาไป
หรือทําไดสําเร็จบรรลุจุดหมาย๑๗
ฉะนั้นสามารถสรุปไดวา “ภาวะผูนํา”หมายถึง คนที่มีอิทธิพลสามารถที่จะนํากลุมของ
ตนใหบรรลุเปาหมายของกลุม เปนบุคคลที่ไดรับการยอมรับจากกลมและสามารถทําใหคนในกลุม
คล อ ยตามพร อ มที่ จ ะปฏิบัติตามคําสั่ ง หรือ คําแนะนําของบุ คคลนั้น และการที่ ผูนํานั้นใชความรู
ความสามารถ ใชศิลปวิธี ใชสติปญญาหรืออํานาจอิทธิพลตางๆ ในการจูงใจผูอื่นหรือชักนําพาผูอื่นให
รวมปฏิบัติงานหรือรวมกิจกรรมของกลุมใหบรรลุตามวัตถุประสงคหรือเปาหมายที่ตั้งไวดวยความเต็ม
ใจ
๙. ผูนําคณะสงฆสมัยพุทธกาล
พระมหากัสสปะ๑๘ ซึ่งเปนผูนําคณะสงฆชําระพระธรรมวินัย พระมหากัสสปะซึ่งเดิมเปน
นักธุรกิจใหญตัดสินใจออกบวชกับภริยาเพราะมองไมเห็นประโยชนจากการครองเรือน เจอกันครั้ง
แรกพระพุทธองคทรงถอดผาสังฆาฏิของพระองคมอบใหเลย แลวทรงรับผาสังฆาฏิของพระมหากัสส
ปะนั้นมาพาดบนบาของพระองค
๑๗

พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต), ภาวะผูนํา :ความสําคัญตอการพัฒนาคนพัฒนาประเทศ, (กรุงเทพมหานคร:
ธรรมสภา, ๒๕๔๖), หนา ๗- ๘.
๑๘

ดูเทียบ วิ.จู. (แปล) ๗/๔๓๗/๓๗๕ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย เลม : ๑๐ หนา :๑๗๔ }
๘

หลังพุทธปรินิพพาน เกิดความเปลี่ยนแปลงในคณะสงฆครั้งใหญ สังฆมณฑลเมื่อขาด
พระผูมีพระภาคเจาซึ่งเปนพระบรมศาสดาพระสงฆก็แตกกัน ตอนนั้นทําทาวาจะแตกกันเปนเสี่ยงๆ
เพราะความคิดเห็นไมลงรอยกัน มีการกลาวจวงจาบหยาบรายพระพุทธองควา เสด็จนิพพานไปก็ดี
แลวทีนี้เราอยากจะทําอะไรก็จะไดทําได จากนี้เราสบายแลว อิสรภาพเกิดขึ้นแลวมีภิกษุรูปหนึ่งพูด
เชนนี้ขึ้นทามกลางสงฆ พระมหากัสสปะปลงสังเวชวาพระบรมศพยังไมทันไดถวายพระเพลิงเลยก็ยัง
มีพระภิกษุสงฆคิดกันถึงขนาดนี้ ทิ้งเอาไวอยางนี้ สังฆมณฑลก็คงจะเกิดความขัดแยงมากยิ่งขึ้น
ในที่สุดพระมหากัสสปะจึงไดเปนประธานในการทําสังคายนาครั้งที่ ๑ รวบรวมพระ
ธรรมวินัยของพระพุทธองคทั้งหมดแลวจัดใหเปนหมวดหมู เรียกวาพระไตรปฎก จะเห็นไดวา การ
มอบสังฆาฏิใหครั้งเดียว แลวเหตุการณนั้นเกิดในยุคตนของพระองค แตผลลัพธที่ตามมาก็คือ มีผล
ตอเนื่องมาจนถึงหลังจากที่พระพุทธองคนิพพานไปแลวเหตุการณนี้สะทอนวา พระพุทธองคทรงมี
วิสัยทัศน มองการณไกลวาในอนาคตคนๆ นี้จะชวยได ผูนําตองรูวาจะใชใคร๑๙
๑๐. ภาวะผูนําของคณะสงฆ
พระธรรมโกศาจารย ประยูร ธมฺมจิตฺโต)๒๐อาจกลาวไดวา ผูนํามีสองประเภท คือ ๑)
ผูนําที่อยูบนหัวคน และ๒) ผูนําที่นั่งอยูในใจคน ผูนําจะประสบความสําเร็จไดก็ตองมีธรรมะประจําใจ
โดยธรรมะขอหนึ่งที่เหมาะสําหรับผูนํานําไปประยุกตใชก็คือ “นิวาตะ” ซึ่งหมายถึง ความออนนอม
ถอมตนขณะเดียวกันพระพุทธิรังษี อดีตรองเจาคณะจังหวัดเลยและอดีตเจาอาวาสวัดวังสะพุงพัฒนา
ราม อําเภอวังสะพุง จังหวัดเลย ไดเสนอบทความเกี่ยวกับ “ภาวะผูนํา” โดยนําหลักธรรมในทางพุทธ
ศาสนามาใชเปนแนวทางไววา สําหรับผูนํานั้นควรมีหลักธรรมในการครองตน คือ หลักสัปปุริสธรรม
๗ สวนหลักธรรมในครองคนนั้น คือ หลักพรหมวิหาร ๔ หลักสังคหวัตถุ ๔และหลักอคติ ๔ และ
สุดท ายหลัก ธรรมในการครองงาน คือ หลั กอิท ธิบ าท ๔ส วนการบริห ารการจัดการภายในวัดและ
โรงเรียนควรใชหลักการบริหาร ๖ บ โดยใชตามสภาพความจริง และใชบริบทเดิมของวัดเปนฐาน ใน
การบริหารจัดการหรือการทําภารกิจ ๖ อยางใหสําเร็จหรือควรใหความสําคัญ คือ บริเวณ บริวาร
บริขาร บริการ บริกรรมกิจ และบริกรรมภาวนา๒๑
หากภาวะผู นํา (Leadership) คือ การชัก พาให คนอื่ นเคลื่ อ นไหวหรื อ กระทํ าการใน
ทิศทางที่ผูนํากําหนดเปาหมายไวผูวิจัยในฐานะที่เปนผูบริหารมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัย
สงฆเลย ไดสนองกิจการคณะสงฆจัง หวัดเลยและคณะสงฆภาค ๘ มาเปนเวลากวา ๑๐ ป แตดวย
บริ บ ทสั ง คมที่ เ ปลี่ ยนไปโดยเฉพาะการเตรี ย มพร อ มที่ จ ะเขา สู สั ง คมเศรษฐกิ จ อาเซี ยน (ASEAN
๑๙

พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี, ภาวะผูนําจากเนลสัน มันเดลา ถึง โอบามาแหงทําเนียบขาว, สถาบันวิมุตตยาลัย :
เนื่องในโอกาสไดรับถวายปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยหาดใหญ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา
วันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๒.
๒๐
พระธรรมโกศาจารย(ประยูร ธมฺมจิตฺโต),พุทธวิธีบริหาร,(กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย,๒๕๔๙),หนา๒๖-๒๗.
๒๑
ธงชัย สิงอุด ม, บทบาทพระสงฆกับการพัฒนาการศึกษา : กรณีศึกษาพระพุทธิรังษี, วิ ทยานิพนธศิล ป
ศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, ๒๕๔๘), หนา๔๗ – ๕๐.
๙

Economic Community : AEC) จึงเกิดคําถามวา ๑) คุณลักษณะของผูนําดี หรือ ผูนําที่เหมาะสม
ของพระสังฆาธิการผูทําหนาที่ปกครองในสังกัดคณะสงฆภาค ๘ จะตองมีแนวทางในการพัฒนาหรือ
ปรับตัวเชนไรจึงจะมีความเหมาะสมสอดคลองกับความเปนจริงของสังคมใหมที่จะเกิดขึ้น๒) จะยัง
ประโยชนสูงสุดใหเกิดขึ้นในขณะที่เปนผูนําพาองคกรสงฆหรือสถาบันสงฆดวยวิธีการใด และ ๓) จะ
เปนผูที่มีสวนขับเคลื่อนหรือนําพามาซึ่งความเจริญและความผาสุกใหกับองคกรคณะสงฆได
๑๑. พระสงฆควรเปนผูนําทางสังคม
พระสงฆควรสร า งภาวะผู นําทางป ญ ญาของสั ง คมใน ๓ ประการคื อ ๑) ศีล ธรรม
จริยธรรม ๒) สังคมพหุวัฒนธรรม และ ๓) เทคโนโลยีสารสนเทศ
พระสงฆในฐานะผูนําทางจิตวิญญาณของสังคม ตองยึดมั่นใน ศีลธรรมจริยธรรม โดย
การปฏิบัติเปนแบบอยาง และมีหนาที่ในการแนะนํา สั่งสอน อบรมแกฆราวาส
พระสงฆจะตองสรางความสัมพันธอันดีกับฆราวาส จึงจําเปนตองมีความเขาใจใน สังคมพหุวัฒนธรรม
คือ ความแตกตางของบุคคลในสั งคม ไดแก เพศ วัย เชื้อชาติ ศาสนา ภาษา วัฒ นธรรม ประเพณี
การศึกษา ฐานะทางเศรษฐกิ จ และ ชันชั้นทางสั งคม เพื่ อจะไดสรางการสื่อ สารที่ตรงกันระหวาง
พระสงฆกับฆราวาส
พระสงฆจ ะตองมี ความรู และความเขาใจในการใช เทคโนโลยีส ารสนเทศ เพื่ อ เป น
เครื่องมือในการศึกษาหาความรูในการพัฒนาตนเอง และเปนเครื่องมือในการเผยแพรหลักธรรมคํา
สอน รวมถึงเปนการแบบอยางในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางมีวินัยและความรับผิดชอบ
๑๒. แนวทางและหรือวิธีการสงเสริม/พัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆ
แนวทางในการพัฒนาพระสงฆควรดําเนินการใน ๓ ลักษณะ คือ ๑) การจัดการอบรม
ในกรณีที่ตองพัฒนาอยางเรงดวน ๒) การศึกษาตอทั้งทางโลกและทางธรรม ในกรณีที่ตองการพัฒนา
ทรัพยากรบุคคล และ ๓) สงเสริมการพัฒนาตนเองของพระสงฆ
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําของพระสงฆ อันประกอบดวย
๑) ความรูความสามารถในภารกิจที่กระทํา
๒) บุคลิกภาพที่เหมาะสมกับความเปนสงฆ
๓) ความสามารถในการสรางแรงจูงใจ และ
๔) พัฒนาใหพระสงฆมีทักษะทางสังคม
นอกจากนี้ตอ งพระสงฆพั ฒ นาอุ ป นิสั ยที่ จํ าเป นของภาวะผู นํา คือ ความรั บ ผิ ดชอบ
ความคิดเชิงสรางสรรค และ ความมุงมั่นในการกระทําใหประสบความสําเร็จ พระสงฆตองไดรับการ
พัฒนาใหเปนผูที่มีความสามารถในการสรางวิสัยทัศนที่เชื่อมโยง สังคมแบบเกาเขากับสังคมแบบใหม
นําไปสูการพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน
๑๐

๑๓. บทสรุป
จากการศึกษาพบวา ผูนําองคกรสงฆที่ดีและเปนแบบอยางตอองคกรและบุคคลอื่นควร
ถือหลักเหตุผล ขอเท็จจริงมาพิจารณาตัดสินเรืองราวตางๆ และจะตองหลีกเวนการนําหลักอัตตามาใช
่
บริหารงาน เพราะเปนแนวทางที่เสี่ยงตอการลมเหลวขององคกรและงาน นอกจากนี้ผูนําองคกรสงฆ
ที่ดี พึงศึกษาและสําเหนียกในหลักธรรมตางๆ ใหชํานาญ เชน พรหมวิหารธรรม โดยเฉพาะขอเมตตา
และ อุเบกขา วาควรใชในเวลาใด ตอบุคคลใด เพราะหากใชเมตตาเพียงอยางเดียว ก็ทําใหผูที่ไดรับ
เมตตาเจริญรุงเรืองในหนาที่การงาน แตหากพิจารณาผลงานที่เหมาะสมแกคนดวย ก็จะทําใหเมตตามี
ลัก ษณะบู ร ณาการโดยอั ตโนมั ติ ส วนผู ที่ ไม ไดใส ใจในหนาที่ ก ารงานอยางเต็ม ศัก ยภาพ ก็ ควรใช
อุเบกขา คือ การไมเลื่อนขั้นหรือตําแหนงที่สูงให เปนตน
ผู นํ า องค ก รสงฆ ที่ ดี พึ ง ศึ ก ษาภาวะผู นํ า ทั้ ง ในทางคดี โ ลกและคดี ธ รรมแล ว นํ า มา
ประยุกตใชในความเปนผู นําที่ทันสมัยและรู ทันโลกอยูเสมอผู นําที่ดี พึ งรูจักบุคคล กลุม คน บริษัท
องคกร เพื่ อกําหนดสถานการณตางๆ ใหเป นไปเพื่อประโยชนขององคกรที่ ตนบริหารจั ดการ และ
หลีกเลี่ยงความเสี่ยงในการใชคนอันไมเหมาะแกงาน แมเรื่องเล็กนอย ผูนําพึงตระหนักเชนเดียวกัน
เลือกใชบุคคลแตละจริตใหเหมาะสม ควรแกดวยการสาธิตงานหรือมีผูชวยทํางานและทํางานเปนกลุม
(Team Works) เพื่อลดปญหาความไมเขาใจในการทํางานผูนําที่ดี พึงเรียนรูศาสตรสมัยใหมใหรูเทา
ทันเครื่องมือสื่อสารตางๆ ในโลกปจจุบัน
ในการพัฒ นาพระสงฆ ผลที่ คาดวาจะเกิ ดขึ้นจากการพั ฒ นาภาวะผู นําของพระสงฆ
พระสงฆที่ไดรับการพัฒนาภาวะผูนํา จะมีความสามารถในการชี้แนะ และดลใจใหฆราวาสประพฤติ
ปฏิบัติตนไปสูเปาหมายที่ตองการของพระพุทธศาสนา คือ “การเปนคนดีศรีสังคม”
๑๑

บรรณานุกรม
ขอมูลปฐมภูมิ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.
ขอมูลทุติยภูมิ
กิติ ตยัคคานท, เทคนิคการสรางภาวะผูนํา, กรุงเทพมหานคร : เปลวอักษร, ๒๕๔๓.
ฉายศิลป เชี่ยวชาญพิพัฒน, การบริหาร, กรุงเทพมหานคร:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๒๗.
ปรัชญา เวสารัชช , ผูนําองคการ, กรุงเทพมหานคร : รัฐศาสตรสาร, ๒๕๒๗.
พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต), ภาวะผูนํา : ความสําคัญตอการพัฒนาคน พัฒนาประเทศ,
กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา, ๒๕๔๖.
___________, ภาวะผูนํา, พิมพครั้งที่ ๔, กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพสุขภาพใจ, ๒๕๔๙.
พระธรรมโกศาจารย(ประยูร ธมฺมจิตฺโต), พุทธวิธีบริหาร, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๙.
ธงชัย สิงอุดม, บทบาทพระสงฆกับการพัฒนาการศึกษา : กรณีศึกษาพระพุทธิรังษี, วิทยานิพนธ
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, ๒๕๔๘.
ธรรมรส โชติกุญชร, มนุษยสัมพันธ , กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพพิฆเนศ, ๒๕๑๙.
นงลักษณ สุทธิวัฒนพันธ, พัฒนาบุคลิกผูนําและนักบริหาร, พิมพครั้งที่ ๒, กรุงเทพมหานคร :
สุขภาพ, ๒๕๔๔.
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี, ภาวะผูนําจากเนลสัน มันเดลา ถึง โอบามาแหงทําเนียบขาว, สถาบัน
วิมุตตยาลัย : เนื่องในโอกาสไดรับถวายปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์
จากมหาวิทยาลัยหาดใหญ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา วันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๒.
วิฑูรย สิมะโชคดี, ทฤษฎีและเทคนิคปฏิบัติสําหรับยอดหัวหนางาน, กรุงเทพมหานคร : บริษัท
ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด มหาชน.
ศิริวรรณ เสรีรัตนและคณะ, พฤติกรรมองคการ, กรุงเทพมหานคร : ธีระฟลมและโซเทกซ,๒๕๔๑.
สายัณห อินนันใจ และคณาจารย, การปกครองคณะสงฆไทย, พิมพครั้งที่ ๓ กรุงเทพมหานคร :
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๕๓.
สุภาพรรณ ณ บางชาง. “พระสงฆกับการพัฒนาชนบท,” ในการแสวงหาเสนทางการพัฒนาชนบท
ของพระสงฆไทย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพกรมการศาสนา, ๒๕๒๖.
เอกชัย กี่สุขพันธ, การบริหารทักษะและการปฏิบัต,ิ กรุงเทพมหานคร : รุงเรืองการการพิมพ,
๒๕๓๐.
๑๒

ภาษาอังกฤษ
Raymond J. Burdy, Funder mental of Leadership Reading, Massachusetts Addison : Wesley
Publishing Co., ๑๙๖๗.
Normond L.Frigon , Sr.& Harry K. Jackson, Jr., The Leader : Developing the Skill & Personal
Qualities You Need to Lead Effectively, New York : American Management Association, ๑๙๙๖.

-------------------

Contenu connexe

Tendances

แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
Oppo Optioniez
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
kroobannakakok
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทยหลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
Padvee Academy
 
กำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้ากำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้า
krusuparat01
 
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
sukanya56106930005
 

Tendances (19)

หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
Km
KmKm
Km
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
 
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
 
หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐
 
การจัดการความรู้สำหรับระบบราชการยุคใหม่
การจัดการความรู้สำหรับระบบราชการยุคใหม่การจัดการความรู้สำหรับระบบราชการยุคใหม่
การจัดการความรู้สำหรับระบบราชการยุคใหม่
 
คุณธรรม จรรยาบรรณ
คุณธรรม จรรยาบรรณคุณธรรม จรรยาบรรณ
คุณธรรม จรรยาบรรณ
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
 
คุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครูคุณธรรมสำหรับครู
คุณธรรมสำหรับครู
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
วิเคราะห์ตัวชี้วัดสาระเศรษฐศาสตร์
 
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทยหลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
หลักปฏิรูปเทสในพระพุทธศาสนากับการประยุกต์ใช้ในสังคมไทย
 
แผ่นพับโครงงานของฝาก 1
แผ่นพับโครงงานของฝาก 1แผ่นพับโครงงานของฝาก 1
แผ่นพับโครงงานของฝาก 1
 
กำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้ากำหนดการสอนม.1จ้า
กำหนดการสอนม.1จ้า
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
คุณธรรมจริยธรรมผู้บริหาร 2
 
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
 
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
นำเสนอเรื่องคุณธรรมจริยธรรมสำหรับผู้บริหาร เสาร์ที่ 10 ส ค 56
 

En vedette

ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
pentanino
 
08การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อมนุษย์สัมพันธ์ของนักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น...
08การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อมนุษย์สัมพันธ์ของนักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น...08การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อมนุษย์สัมพันธ์ของนักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น...
08การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อมนุษย์สัมพันธ์ของนักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น...
Yeah Pitloke
 
บุคลิกภาพแนวTa
บุคลิกภาพแนวTaบุคลิกภาพแนวTa
บุคลิกภาพแนวTa
hrd2doae
 
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
Mint NutniCha
 
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
Mint NutniCha
 
บุคลิกภาพที่ดีของสตีฟ จ็อบส์
บุคลิกภาพที่ดีของสตีฟ จ็อบส์บุคลิกภาพที่ดีของสตีฟ จ็อบส์
บุคลิกภาพที่ดีของสตีฟ จ็อบส์
nuysittiwong
 
การใช้ภาษากายในการนำเสนอ
การใช้ภาษากายในการนำเสนอการใช้ภาษากายในการนำเสนอ
การใช้ภาษากายในการนำเสนอ
Suthini
 
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
MringMring She Zaa
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
Aekapoj Poosathan
 

En vedette (18)

ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
 
TA
TATA
TA
 
Eb chapter2
Eb chapter2Eb chapter2
Eb chapter2
 
08การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อมนุษย์สัมพันธ์ของนักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น...
08การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อมนุษย์สัมพันธ์ของนักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น...08การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อมนุษย์สัมพันธ์ของนักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น...
08การพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อมนุษย์สัมพันธ์ของนักศึกษาชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้น...
 
บุคลิกภาพแนวTa
บุคลิกภาพแนวTaบุคลิกภาพแนวTa
บุคลิกภาพแนวTa
 
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
 
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
 
บุคลิกภาพที่ดีของสตีฟ จ็อบส์
บุคลิกภาพที่ดีของสตีฟ จ็อบส์บุคลิกภาพที่ดีของสตีฟ จ็อบส์
บุคลิกภาพที่ดีของสตีฟ จ็อบส์
 
การใช้ภาษากายในการนำเสนอ
การใช้ภาษากายในการนำเสนอการใช้ภาษากายในการนำเสนอ
การใช้ภาษากายในการนำเสนอ
 
ความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพความหมายของบุคลิกภาพ
ความหมายของบุคลิกภาพ
 
คู่มือครูมืออาชีพ
คู่มือครูมืออาชีพคู่มือครูมืออาชีพ
คู่มือครูมืออาชีพ
 
บุคลิกภาพ
บุคลิกภาพบุคลิกภาพ
บุคลิกภาพ
 
การพัฒนาบุคลิกภาพ
การพัฒนาบุคลิกภาพการพัฒนาบุคลิกภาพ
การพัฒนาบุคลิกภาพ
 
การพัฒนาบุคลิกภาพ [TH]
การพัฒนาบุคลิกภาพ [TH]การพัฒนาบุคลิกภาพ [TH]
การพัฒนาบุคลิกภาพ [TH]
 
ภาษากาย (Body language)
ภาษากาย (Body language)ภาษากาย (Body language)
ภาษากาย (Body language)
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
Sectors in Tourism
Sectors in Tourism Sectors in Tourism
Sectors in Tourism
 

Similaire à การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย

พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
Chatnakrop Sukhonthawat
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
IFon Lapthavon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
sukhom
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
Prapatsorn Chaihuay
 
ต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจนต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจน
Dinhin Rakpong-Asoke
 
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
Pornthip Tanamai
 
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
Pornthip Tanamai
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บรรพต แคไธสง
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
korakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
korakate
 

Similaire à การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย (20)

พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
เบญจศีล
เบญจศีลเบญจศีล
เบญจศีล
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
 
ต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจนต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจน
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
 
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
สรุปคำบรรยายก่อนเรียน (ผศ.พิมล)
 
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
 
knowledge, power and languages
knowledge, power and languagesknowledge, power and languages
knowledge, power and languages
 
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไขกลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
กลยุทธ์ในการจัดกิจกรรมนักเรียน111แก้ไข
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
แผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพแผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพ
 
G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3
 

Plus de pentanino

รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
pentanino
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
pentanino
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
pentanino
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
pentanino
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
pentanino
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
pentanino
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
pentanino
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
pentanino
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
pentanino
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
pentanino
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
pentanino
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
pentanino
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
pentanino
 
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทยสาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
pentanino
 
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
สาขาวิชาพระพุทธศาสนาสาขาวิชาพระพุทธศาสนา
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
pentanino
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
pentanino
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
pentanino
 

Plus de pentanino (20)

รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
 
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทยสาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
 
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
สาขาวิชาพระพุทธศาสนาสาขาวิชาพระพุทธศาสนา
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
 

การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย

  • 1. การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย ๑ นายธงชัย สิงอุดม รองผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ ๑. บทนํา สังคมปจจุบัน เปนชวงเปลี่ยนผานจากสังคมแบบเกา ที่ยึดมั่นขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม สูสังคมแบบใหมที่สรรพสิ่งเปลี่ยนแปลงไปตามความกาวหนาของเทคโนโลยีบทบาท และความสัมพันธระหวางพระสงฆกับฆราวาส จึงเปนไปใน ๒ ลักษณะ คือ สังคมแบบเกา พระสงฆ เป นผู นําชาวบ านในดานของจิ ตวิญญาณ พิ ธีก รรม และคุณธรรมจริ ยธรรม และ สั ง คมแบบใหม ชาวบานเปนผูนําในการแสวงหาความรูในเรืองตาง ๆ ที่สนใจ โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ ในดาน ่ ของบทบาทของพระสงฆในปจจุบันก็เปนไปใน ๒ ลักษณะเชนกัน กลาวคือ บทบาทพระสงฆแบบเกา มุง ศึก ษาเพื่ อ พั ฒ นาตนเอง ใชวัดเป นฐานในการเผยแพร ห ลั ก ธรรมคําสอน ยึดมั่ นในธรรมเนียม ประเพณี ป ฏิ บั ติ ในขณะที่ บทบาทพระสงฆ แ บบใหม มุ ง ศึ ก ษาเพื่ อ พั ฒ นาสั ง คม นํ า ความรู สู กลุมเปาหมายดวยวิธีการ และชองทางตางๆ รวมถึงการใชเทคโนโลยีเปนเครื่องมือในการเผยแพร หลักธรรมคําสอน ๒. คําสําคัญ : การพัฒนา, ภาวะผูนํา ๓. ศาสนาพุทธในประเทศไทย การก อ เกิ ดศาสนาพุ ท ธในประเทศไทย จากการศึก ษาปรากฏหลั ก ฐานวา ไดมี ก าร ยอมรับเอาพระพุทธศาสนาเขามาในประเทศตั้งแตเมื่อพุทธศตวรรษที่ ๖ โดยกษัตริยพระองคแรก ของไทยที่นับถือพระพุทธศาสนามีพระนามวา“ขุนหลวงเมา”ในราชอาณาจักรอายลาวซึ่งตรงกับสมัย ราชวงศฮั่นของประเทศจีน จากนั้นคนไทยจํานวนมากก็ไดนับถือพระพุทธศาสนาทั้งนิกายเถรวาทและ นิกายอาจริยวาทสืบมาตั้งแตบัดนั้น กอนที่จะลวงเลยมายังสมัยกรุงสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี กรุงรัตนโกสินทร และจนถึงปจจุบัน สวนรูปแบบการปกครองทางคณะสงฆไทยมีหลักฐานเริ่มตนในสมัยสุโขทัย โดยมีการ จัดรูป แบบการปกครององคกรสงฆออกเปน ๒ คณะ คือ คณะคามวาสีและคณะอรั ญวาสี และ พระมหากษัตริยทรงแตงตั้งพระสังฆราชประจําตําแหนงหัวเมืองใหญตาง ๆ เชน เมืองศรีสัชชนาลัย เมืองสองแคว และเมืองนครชุม เปนตน พระสังฆราชตามหัวเมืองทั้งหมดจะขึ้นตรงตอพระสังฆราช ในราชธานี และพระสังฆราชในราชธานีก็จะขึ้นตรงตอพระมหากษัตริย ตอมาในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตอนตนการปกครองคณะสงฆไทยยึดรูปแบบมากจากสมัยสุโขทัย แตสิ่งที่แตกตางจากการปกครองใน ๑ อาจารยประจําสาขาวิชารัฐศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย
  • 2. ๒ สมัยกรุงสุโขทัยในกาลตอมาคือมีคณะสงฆใหมที่เกิดมาเพิ่มอีกและมีการแบงการปกครองออกเปน ๓ คณะ ซึ่งไดแก คณะคามวาสีฝายซายคณะอรัญญวาสี คณะคามวาสีฝายขวา สวนการปกครองบริหาร กิจการคณะสงฆ เจาคณะใหญทั้งสามจะแบงเขตรับผิดชอบกัน ในสมัยกรุงธนบุรี สมเด็จพระเจาตากสินมหาราชเสด็จขึ้นครองราชย พระองคทรง ยายราชธานีกรุงศรีอยุธยาเดิมมาที่กรุงธนบุรีซึ่งเปนการตั้งเมืองหลวงใหม การปกครองคณะสงฆก็ยัง ยึดรูปแบบการปกครองจากกรุงศรีอยุธยาเปนหลักจวบจนสิ้นกรุงธนบุรีเขาสูสมัยกรุงรัตนโกสินทร รู ป แบบการปกครองคณะสงฆ ไ ทยก็ ยัง ยึ ด รู ป แบบมาจากสมั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา แต ตอ มามี ก าร เปลี่ยนแปลงระบบการปกครองในป พ.ศ. ๒๔๗๕ ไดสงผลตอการเปลี่ยนแปลงลักษณะการปกครอง คณะสงฆขึ้นดวย พรอมกันนั้นก็ไดมีการผลักดันใหเกิดพระราชบัญญัติการปกครองคณะสงฆ ร.ศ. ๑๒๑พระราชบัญญัติการปกครองคณะสงฆ พุทธศักราช ๒๔๘๔และพระราชบัญญัติการปกครองคณะ สงฆ พุทธศักราช ๒๕๐๕ ปจจุบันโครงสรางการบริหารกิจการคณะสงฆสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ทรงเปนองคประมุขแหงคณะสงฆไทย และดํารงตําแหนงประธานกรรมการ มหาเถรสมาคม นอกจากนั้นยังกระจายการปกครองสงฆไทยออกไปยังสวนภูมิภาคจํานวน ๑๘ ภาค เพื่อใหเปนไปตามความในมาตรา ๒๒ของพระราชบัญญัติการปกครองคณะสงฆ พุทธศักราช ๒๕๐๕ ที่กําหนดใหตําแหนงพระสังฆาธิการหรือผูปกครองคณะสงฆขยับขยายไปตามลําดับขั้นตอน คือเจา คณะภาค เจาคณะจังหวัด เจาคณะอําเภอ เจาคณะตําบล และเจาอาวาส๒ ๔. ความหมายของการพัฒนา คําวา “พัฒนา” ตามความหมายของพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๒๕ หมายถึง “ทําใหเจริญ” ดังนั้น การพัฒนา ก็คือ การทําใหเจริญกาวหนา เชน การพัฒนาชุมชนการ พัฒนาประเทศ หมายถึง การทําสิ่งเหลานั้นใหดีขึ้น เจริญขึ้น สนองความตองการของประชาชนสวน ใหญใหไดดียิ่งขึ้น การพัฒนาเปนกระบวนการของการเคลื่อนไหวจากสภาพที่ไมนาพอใจไปสูสภาพที่นา พอใจ การพัฒนาเปนกระบวนการที่เปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ไมหยุดนิ่งและมีความสัมพันธโดยตรงกับ ความเปลี่ยนแปลง กลาวคือ การพัฒนาเปนกระบวนการของการเปลี่ยนแปลงที่มีการวางแผนไวแลว คือ การทําใหลักษณะเดิมเปลี่ยนไป โดยมุงหมายวาลักษณะใหมที่เขามาแทนที่นั้นจะดีกวาลักษณะ เกาหรือสภาพเกา แตโดยธรรมชาติแลวการเปลี่ยนแปลง ยอมเกิดปญหาในตัวเอง เพียงแตวาจะมี ปญหามากหรือปญหานอย การพัฒนาสามารถตีความหมายได 2 นัย คือ ๒ สายัณห อินนันใจ และคณาจารย, การปกครองคณะสงฆไทย, พิมพครั้งที่ ๓ (กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย,๒๕๕๓), หนา ๖๓-๗๓.
  • 3. ๓ ๑. การพัฒนาในความเขาใจแบบสมัยใหม หมายถึง การทําใหเจริญในดานวัตถุ รูปแบบ และในเชิงปริมาณ เชน ถนน บาน ดัชนีชี้วัดทางเศรษฐกิจ เปนตน ๒. การพัฒนาในแงของพุทธศาสนา หมายถึง การพัฒนาคนทั้งในดานรางกายและจิตใจ โดยเนนในดานคุณภาพชีวิตและหลักของความถูกตองพอดีซึ่งใหผลประโยชนสูงสุด ความกลมกลืน และความเกื้อกูลแกสรรพชีวิต โดยไมเบียดเบียนทําลายธรรมชาติและสภาพแวดลอม ๕. ความสําคัญของพุทธศาสนาในการพัฒนาสังคมไทย สุภาพรรณ ณ บางชาง๓ ไดกลาวถึงความสําคัญของพุทธศาสนาในการพัฒนาวา พุทธ ศาสนามีความเหมาะสมกับการพัฒนาสังคมไทยเปนอยางยิ่ง เพราะหลักพุทธธรรมเปนการสรางคนที่ มีคุณภาพชีวิต ทําใหคนในสังคมดําเนินชีวิตบนฐานแหงความจริง รูจักพึ่งพาตนเอง ขยัน ประหยัด เรียบงาย ใฝสันติ มีศีลธรรม เผื่อแผความรักและปราศจากความเห็นแกตัวดังนั้น ในการแกปญหาดาน ศีลธรรมของชาวชนบท จึงจําเปนตองมีการ นําหลักพุทธศาสนาซึ่งมีหลักการและแนวทางแหงการ พัฒนาอยางเหมาะสม เขาไปเผยแพร ฟนฟูใหแกชาวชนบท เพื่อที่ใหสังคมชนบทสามารถประสานการ พัฒนาทางดานวัตถุและจิตใจใหสอดคลองกลมกลืนกันเพื่อเปาหมายแหงความพนทุกขไดอยางหมด จด ทั้งนี้ตองเนนวาการที่จะมี การพัฒนาทางดานจิตใจมิไดหมายความวาจะตองเลิกละการพัฒนา ทางดานวัตถุและสังคมซึ่งเปลี่ยนแปลงไปดวย เพื่อที่จะใหการพัฒนาทางใจนั้นไมขัดแยงกับการพัฒนา ดานวัตถุและสังคม ๖. ความหมายของ ผูนํา (Leader) คําวา “ผูนํา”มี ผูรูทั้ งในและตางประเทศไดใหนิยามและความหมายมากมายซึ่ง มีทั้ ง ความเหมื อ นและความแตกต า งกั น ไป ทั้ ง นี้ ผู ศึก ษาจะได นํ าเสนอนิ ย ามความหมายของผู นํ า ที่ นัก วิ ชาการทั้ ง หลายไดแ สดงทั ศ นะต างๆไว เพื่ อ ให เ ขา ใจมากขึ้นและเพื่ อ เป น ประโยชนในการ ศึกษาวิจัยครั้งนี้ “ผูนํา” คือ บุคคลที่จะมาประสานชวยใหคนทั้งหลายรวมกัน โดยที่วาจะเปนการอยู รวมกันก็ตาม หรือทําการรวมกันก็ตาม ใหพากันไปดวยดี สูจุดหมายที่ดีงาม ที่วาพากันไป ก็ใหพา กันไปดวยดีนั้น หมายความวาไปโดยสวัสดี หรือโดยสวัสดิภาพ ผานพนภัยอันตรายอยางเรียบรอยและ เปนสุข เปนตน แลวก็บรรลุถึงจุดหมายที่ดีงามโดยถูกตองตามธรรม” หมายความวา เปนความจริง ความแท ความถูกตอง และไดมาโดยธรรม๔ ขณะเดียวกันผูชักพาใหคนอื่นเคลื่อนไหวหรือกระทําการ ในทิศทางที่ผูนํากําหนดเปาหมายไว มีศิลปะ มีอิทธิพลตอกลุมชน เพื่อใหพวกเขามีความตั้งใจที่จะ ๓ สุภาพรรณ ณ บางชาง. “พระสงฆกับการพัฒนาชนบท,” ในการแสวงหาเสนทางการพัฒนาชนบทของ พระสงฆไทย. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพกรมการศาสนา, ๒๕๒๖), หนา ๘๓-๘๖. ๔ พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต), ภาวะผูนํา : ความสําคัญตอการพัฒนาคน พัฒนาประเทศ, (กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา, ๒๕๔๖), หนา ๒๕.
  • 4. ๔ ปฏิบัติงานใหบรรลุเปาหมายตามตองการ หลายคนมีบทบาทเปนผูนํากันแลว เชน เปนผูนําองคกร ผูนําสมาคม ผูนําวัดและแมกระทั่งเปนหัวหนาครอบครัวก็จัดวาเปนผูนํา๕ “ผูนํา” ยัง เป นผู ที่ มี บุ คลิ ก ลั ก ษณะ มี คุณ สมบั ติ เ ดน กวา ผู อื่ น ในกลุ ม และมี อิ ท ธิพ ล มากกวาบุคคลอื่นในหนวยงาน ทั้งสามารถสรางความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลใหเกิดขึ้นแก หนวยงานได นอกจากนั้นยังหมายรวมถึงบุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่งรับบทบาทเปนผูบริหารประสาน ผลประโยชนในกลุมเสมือนเปนสัญลักษณของกลุม มีอิทธิพลและอํานาจ สามารถบังคับบัญชาบุคคล  ในกลุมใหปฏิบัติงานบรรลุผลตามเปาหมายที่องคกรกําหนดไวได ผูนําอาจเปนบุคคลซึ่งถูกแตงตั้ง ขึ้นมาหรือไดรับการยกยองขึ้นมาเปนหัวหนา มีความสามารถในการปกครองบังคับบัญชาและอาจชัก พาผูใตบังคับบัญชา หรือหมูชนไปในทางดีหรือชั่วได๖ “ผูนํา” คือ ผูมีอิทธิพลในทางที่ถูกตองตอการกระทําตอผูอื่นมากกวาคนอื่นๆ ในองคกร หรือกลุมที่เขาปฏิบัติงานอยู เปนผูซึ่งใชอิทธิพลในการกําหนดเปาหมายหรือการปฏิบัติงานใหบรรลุ เปาหมาย โดยไดรับการเลือกตั้งจากกลุมเพื่อใหเปนผูนําหรือหัวหนา และเปนบุคคลที่มีอิทธิพลตอ กลุม สามารถนํากลุมปฏิบัติงานตางๆ เพื่อบรรลุเปาหมายขององคกร มีความสามารถในการชักจูง บุคลากรในองคกรใหทํางานดวยความเต็มใจ แตผูนําทุกคนไมไดเปนผูบริหารและในความเปนจริง ผูบริหารโดยตําแหนงอาจจะไมใชผูนําก็ได๗ เรยมอนด เจ. เบอรดี้ (Raymond J. Burdy)๘ไดใหความหมายวา ผูนํา คือ บุคคลที่ จะสามารถชัก จู ง ให คนอื่นปฏิบั ติตามดวยความเต็ม ใจ ทํ าให ผู ตามมี ความเชื่อ มั่ นในตนเองและ สามารถคลี่คลายความตึงเครียดตางๆ ลงได และสามารถนํากลุมใหบรรลุเปาหมายที่ตั้งไว ขณะที่ นอรม อนดแอล. ฟลายกอน (Normond L.Frigon)๙ไดใหคําจํ ากั ดความวา ผู นํา คือ บุคคลที่ มี ความสามารถในการบังคับบัญชาผูอื่นและประสานใหผูอื่นชวย ชวยทํากิจการงานตางๆ ของตนให บรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงคดวยความเต็มใจ จากแนวคิดของนักวิชาการและนักบริหารหลายทานขางตนดังที่ไดกลาวมานั้น สามารถ สรุปใจความไดวา ผูนํา คือ ผูที่มีความสามารถ มีทักษะ ไดรับการยอมรับ และมีความบุคลิกเฉพาะตัว ๕ พระธรรมโกศาจารย( ประยูร ธมฺมจิ ตฺโต), พุ ทธวิธี บริหาร, พิ มพพิเ ศษ ๕ ธั นวาคม ๒๕๔๙, (กรุงเทพมหานคร โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๙), หนา ๒๖. ๖ ธรรมรส โชติกุญชร, มนุษยสัมพันธ , (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพพิฆเนศ, ๒๕๑๙), หนา๑๓๑. ๗ ศิริว รรณ เสรีรั ตนแ ละคณะ, พฤติกรรมองคก าร, (กรุงเทพมหานคร : ธีร ะฟล มและโซเทกซ ,๒๕๔๑), หนา ๑๙๗. ๘ Raymond J. Burdy, Funder mental of Leadership Reading,(Massachusetts Addison : Wesley Publishing Co., ๑๙๖๗), p.๘. ๙ Normond L.Frigon , Sr.& Harry K. Jackson, Jr., The Leader : Developing the Skill & Personal Qualities You Need to Lead Effectively,(New York : American Management Association, ๑๙๙๖), p.๘.
  • 5. ๕ ที่สามารถจูงใจใหผูอื่นปฏิบัติภารกิจ การงานของกลุมหรือองคกรใหสําเร็จลุลวงไปตามวัตถุประสงค หรือเปาหมายที่ผูนําหรือองคกรตั้งไว ๗. ความหมายของ ภาวะผูนํา (Leadership) ความหมายของภาวะผูนําในทัศนะนักวิชาการที่ใหความหมายของภาวะผูนําไวหลาย ทัศนะดวยกันที่นาสนใจทั้ง นักวิชาการตางประเทศและภายในประเทศ และเกี่ยวกับ ประเด็นที่ได ศึกษาในครั้งนี้ดังนั้น เพื่อความเขาใจอันถูกตอง ผูเขียนจึงไดรวบรวมความหมายของภาวะผูนําจาก ผูรูทั้งหลายดังนี้ พระพุ ท ธองค ต รั ส ไว ว า "เราเป น กั ล ยาณมิ ต ร ของสั ต ว ทั้ ง หลาย อาศั ย เราผู เ ป น กัลยาณมิตร สัตวทั้งหลายก็พนไปไดจากทุกขทั้งปวง" พุทธพจน นี้เปนเครื่องที่แสดงความเปนผูนํา ความเปนกัลยาณมิตรนี้แหละคือลักษณะสําคัญที่โดดเดนของความเปนผูนํา สาระสําคัญของพุทธพจน นี้ก็คือ ผูนํานั้นเปนผูนําเพื่อประโยชนแกเขาโดยเฉพาะ สําหรับพระพุทธเจา ก็คือ เพื่อประโยชนแก สรรพสัตวทั้งหลาย ในวงแคบผูนําเปนผูที่ตั้งใจทําเพื่อประโยชนแกหมูชนแกญาติมิตร เพื่อนรวมชุมชน สังคม องคกร หรือชาติ ฉะนั้นหลักสําคัญของกัลยาณมิตรก็คือ “ทําเพื่อประโยชนแกเขา”๑๐ ภาวะผูนํานั้นเปนศิลปะอยางหนึ่งในการบริหารงาน เปนความสามารถของบุคคลที่จะ สรางอิทธิพล แรงจูงใจใหบุคคลหนึ่งบุคคลใดหรือหลายคนกระทําการอยางหนึ่งอยางเพื่อใหบรรลุ วัตถุประสงคของกลุมหรือองคการ ฉายศิลป เชี่ยวชาญพิพัฒน และคณะ ใหคํานิยามวา ภาวะผูนํา คือ ศิลปะในการชักจูง ผูใตบังคับบัญชาใหปฏิบัติหนาที่อยางเต็มใจ เต็มความสามารถ และกระตือรือรน หรือภาวะผูนํา คือ ผูที่เปนแบบอยางและมีความสามารถพิเศษ แสดงบทบาทในการสั่งการและออกคําสั่งที่มีอิทธิพล ตอผูอื่น๑๑ ขณะเดียวกัน ภาวะผูนํายังเปนลักษณะความสัมพันธ รูปแบบหนึ่งระหวางคนในกลุม เปนความสัมพันธที่บุคคลหนึ่งหรือหลายคน๑๒ เปนกระบวนการในการใชอิทธิพลของผูนําตอการทํา กิ จ กรรมของแต ล ะบุ คคลในความพยายามที่ จ ะให สั ม ฤทธิผ ลตามเป า หมายในสถานการณ ใ ด สถานการณหนึ่ง ภาวะผู นํา ยัง หมายถึง ความสามารถในการจั ดการให บ รรลุ เ ป าหมายของกลุ ม โดย ทํางานรวมกับกลุมคนและยังหมายความรวมถึงอํานาจหนาที่ที่ติดมากับตําแหนงผูบังคับบัญชานี้ จะ มี คาเมื่ อ ผู อ ยูใต บั ง คับ บั ญ ชาเคารพและเชื่อ ถือ ในตัวผู บั ง คับ บั ญ ชา๑๓ รวมถึง ยั ง เป นศิ ล ปะหรื อ ๑๐ พระพรหมคุณาภรณ(ป.อ.ปยุตฺโต), ภาวะผูนํา, พิมพครั้งที่ ๔ (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพสุขภาพใจ, ๒๕๔๙), หนา ๗. ๑๑ ฉายศิลป เชี่ยวชาญพิพัฒน,การบริหาร, (กรุงเทพมหานคร:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร,๒๕๒๗), หนา ๒๗. ปรัชญา เวสารัชช , ผูนําองคการ, (กรุงเทพมหานคร : รัฐศาสตรสาร, ๒๕๒๗), หนา ๒๗. ๑๓ วิฑูรย สิมะโชคดี, ทฤษฎีและเทคนิคปฏิบัติสําหรับยอดหัวหนางาน, (กรุงเทพมหานคร : บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด (มหาชน), ๒๕๓๘), หนา ๑๐๔. ๑๒
  • 6. ๖ ความสามารถของบุ ค คลหนึ่ ง ที่ จู ง ใจหรื อ ใช อิ ท ธิ พ ลต อ บุ ค คลอื่ น ไม ว า จะเป น ผู ร ว มงานหรื อ ผูใตบัง คับบัญชา ในสถานการณตาง ๆ เพื่อ ปฏิบัติก ารและอํานวยการโดยการใชก ระบวนการสื่ อ ความหมายหรื อ ติดตอ กั นและกั น ให ร วมใจกั บ ตน ดําเนินการจนกระทั่ ง บรรลุ วั ตถุป ระสงคและ เปาหมายที่กําหนดไว การดําเนินจะเปนไปในทางที่ดีหรือชั่วก็ได๑๔ และพฤติกรรมสวนตัวของบุคคล หนึ่งที่จะชักนํากิจกรรมของกลุมใหบรรลุเปาหมายรวมกัน หรือเปนความสัมพันธที่มีอิทธิพลระหวาง ผูนํา และผูตาม ซึ่งทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อใหบรรลุจดมุงหมายรวมกัน หรือเปนความสามารถ ุ ที่จะสรางความเชื่อมั่นและใหการสนับสนุนบุคคลเพื่อใหบรรลุเปาหมายองคการ ยัง มี ห ลายคนมองวา ภาวะผู นํานั้นมี ความหมายครอบคลุ ม ในมิ ติที่ ก วางขวางและ หลากหลายกวาเรื่ องความกลาหาญ และการตัดสินใจ การเปนผู นําตองมี ความสามารถในการนํา ผลักดัน และสั่งการใหกิจกรรมทุกอยางดําเนินไปตามเปาหมายและการบรรลุเปาหมายและครรลองที่ ถูกตอง ซึ่งตองประกอบดวย ความกลาหาญ ความสามารถในการโนมนาวใจ และจังหวะเวลาในการ ตัดสินใจ เปนกระบวนการการของการที่อิทธิพลเหนือกลุม เพื่อการกําหนดเปาหมายและการบรรลุ เปาหมายของกลุม๑๕ โดยใชอิทธิพลหรืออํานาจหนาที่ในความสัมพันธซึ่งกันและกันในหมูคณะ เพื่อ ความสมหวังตามเปาหมายหรือจุดประสงครวมกัน ที่ทําใหเกิดความรัก ความสามัคคี ความรวมมือกัน ในกิจกรรมตาง ๆ รวมถึงการมีเทคนิคในการบริหาร มีคุณลักษณะที่ดี และใหภาวะผูนําที่พึงประสงค ยอมสามารถกระตุนแรงจูงใจใหบคคลในหนวยงานได๑๖ และเปนความสามารถในการจัดการใหบรรลุ ุ เป า หมายของกลุ ม คอยทํ า งานร วมกั บ กลุ ม และยั ง หมายถึ ง อํ านาจหน าที่ ที่ ติ ดมากั บ ตํ าแหน ง ผูใตบังคับบัญชาดวย จะมีคาเมื่อผูใตบังคับบัญชาเคารพและเชื่อถือในตัวผูบังคับบัญชา ถือเปนเรื่อง เกี่ยวกับตัวผูนําโดยตรงที่จะใชความสามารถและใชอิทธิพลเหนือกวาผูตาม นําพาคณะปฏิบัติหนาที่ให  บรรลุตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว ๘. ความเปนภาวะผูนํา ในทัศนะของพระพุทธศาสนา พระธรรมปฎก ( ป.อ.ปยุตฺโต) กลาวไววา ภาวะผูนํา คือ คุณสมบัติ เชน สติ ปญญา ความดีงาม ความรู ความสามารถของบุคคล ที่ชักนําใหคนทั้งหลายมาประสานกันและพากันไปสู จุดมุงหมายที่ดีงามในอัคคัญสูตร โดยกลาวถึงความเปนอยูของสังคมมนุษยที่มาอยูรวมกันเปนสังคม ที่สงบสุขไมมีการแกงแยงเอารัดเอาเปรียบซึ่งกันและกัน เพราะมีความอุดมสมบูรณ แตตอมามีความ ขัดแยงเนื่องจากมีการกระทําความชั่ว มีการลักขโมยของบุคคลในสังคม ในขั้นแรกจะเปนการกลาว ตักเตือนกั นเอง แตเมื่อ มีการประพฤติซ้ําอี ก จึ งมีก ารลงโทษแกผู กระทํา ผูที่จ ะลงโทษหรือ กลาว ตักเตือนไดจะตองเปนหัวหนาหรือผูนําที่มีอิทธิพลใหเกิดการยอมรับจากสังคมและยอมรับคําตัดสิน การใหคุณและโทษตลอดจนใหความไววางใจในคําตัดสินปญหาตางๆ ดังปรากฏขอความวาครั้งนั้น ๑๔ กิติ ตยัคคานท, เทคนิคการสรางภาวะผูนํา, (กรุงเทพมหานคร : เปลวอักษร, ๒๕๔๓), หนา ๒๒. ๑๕ นงลักษณ สุทธิวัฒนพันธ, พัฒนาบุคลิกผูนําและนักบริหาร, พิมพครั้งที่ ๒, (กรุงเทพมหานคร : สุขภาพ, ๒๕๔๔), หนา ๒๒. ๑๖ เอกชัย กี่สุขพันธ, การบริหารทักษะและการปฏิบัติ, (กรุงเทพมหานคร : รุงเรืองการพิมพ, ๒๕๓๐), หนา ๘.
  • 7. ๗ เหลามนุษยทั้งหลายจึงประชุมกัน ครั้งแลว แตงก็ปรับทุกขกันวาการถือเอาสิ่งของที่ผูอื่นไมไดใหจักได ขึ้นเพราะความชั่วจากการกระทําเหลาใด การกระทําเหลานั้นจักเกิดขึ้นแกพวกเรา อยากระนั้นเราจัก สมมติใหมนุษยที่มีศีลธรรมผูหนึ่งเปนผูกลาวโดยธรรม ใหเปนผูติเตียนลงโทษโดยชอบธรรม ใหเปนผู ขับไลบุคคลผูที่ควรถูกขับไล สวนพวกเราจักแขงขาวสาลีใหแกผูนั้น ครั้นแลวจึงแสวงหาบุคคลผูที่มี ความรู ความสามารถ มีศีลธรรม และคุณธรรมเปนผูนํา สวนพวกตนก็แบงขาวสาลีใหแกผูนั้นภาวะ ผูนําในที่นี้จึงมีความหมายวา เปนความดีงามของบุคคลที่สามารถตัดสินปญหาและใหความเปนธรรม เกิดประโยชนสุขแกสังคมโดยรวม พระพุทธเจาเปนผูสามารถที่จะชวยใหคนไปถึงจุดหมายไดเพราะวาคนทั้งหลายตองการ ไปใหถึงจุดหมายนั้นแตเขาไมรูทางไมมีวิธีพระพุทธเจาทรงคนพบมรรคา คือทางที่ไปสูจุดหมาย แลวก็ มาชวยบอกกลาวชี้นําหรือบอกทางให เปนเหมือนมัคคุเทศก ทําใหผูคนอื่นสามารถรวมเดินทางหรือ โดยสารไปท านใชคําวา “มาร วมสมทบ” หรื อ “ตามมาสมทบ” เดินทางไปสู จุ ดหมาย ทั้ ง นี้ หมายความวา ผูนําจะตองรูจุดหมายชัดเจนและรูทางที่จะดําเนินไปสูจุดหมายนั้น ขอนี้เปนลักษณะ ใหญที่สําคัญ อีกประการหนึ่งประเภทภาวะผูนําซึ่งพระพุทธเจาไดแสดงออกในคําตรัสเปนบางครั้งคือ พระพุทธเจาทรงเปนผูชวยใหคนทั้งหลายไดศึกษา เรียนรู หรือฝกฝนตนเองจนกระทั่งเขาสามารถที่จะ  ขามพนความทุกขหรือปญหาไปถึงจุดหมายไดขอนี้หมายความวา ผูนําไมไดมาหยิบยื่นอะไรใหแกผูอื่น โดยตรงแตมาชวยใหคนอื่นไดฝกตน ไดเรียนรู จนสามารถพึ่งตนเองไดและชวยตนเองใหพนปญหาไป หรือทําไดสําเร็จบรรลุจุดหมาย๑๗ ฉะนั้นสามารถสรุปไดวา “ภาวะผูนํา”หมายถึง คนที่มีอิทธิพลสามารถที่จะนํากลุมของ ตนใหบรรลุเปาหมายของกลุม เปนบุคคลที่ไดรับการยอมรับจากกลมและสามารถทําใหคนในกลุม คล อ ยตามพร อ มที่ จ ะปฏิบัติตามคําสั่ ง หรือ คําแนะนําของบุ คคลนั้น และการที่ ผูนํานั้นใชความรู ความสามารถ ใชศิลปวิธี ใชสติปญญาหรืออํานาจอิทธิพลตางๆ ในการจูงใจผูอื่นหรือชักนําพาผูอื่นให รวมปฏิบัติงานหรือรวมกิจกรรมของกลุมใหบรรลุตามวัตถุประสงคหรือเปาหมายที่ตั้งไวดวยความเต็ม ใจ ๙. ผูนําคณะสงฆสมัยพุทธกาล พระมหากัสสปะ๑๘ ซึ่งเปนผูนําคณะสงฆชําระพระธรรมวินัย พระมหากัสสปะซึ่งเดิมเปน นักธุรกิจใหญตัดสินใจออกบวชกับภริยาเพราะมองไมเห็นประโยชนจากการครองเรือน เจอกันครั้ง แรกพระพุทธองคทรงถอดผาสังฆาฏิของพระองคมอบใหเลย แลวทรงรับผาสังฆาฏิของพระมหากัสส ปะนั้นมาพาดบนบาของพระองค ๑๗ พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต), ภาวะผูนํา :ความสําคัญตอการพัฒนาคนพัฒนาประเทศ, (กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา, ๒๕๔๖), หนา ๗- ๘. ๑๘ ดูเทียบ วิ.จู. (แปล) ๗/๔๓๗/๓๗๕ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย เลม : ๑๐ หนา :๑๗๔ }
  • 8. ๘ หลังพุทธปรินิพพาน เกิดความเปลี่ยนแปลงในคณะสงฆครั้งใหญ สังฆมณฑลเมื่อขาด พระผูมีพระภาคเจาซึ่งเปนพระบรมศาสดาพระสงฆก็แตกกัน ตอนนั้นทําทาวาจะแตกกันเปนเสี่ยงๆ เพราะความคิดเห็นไมลงรอยกัน มีการกลาวจวงจาบหยาบรายพระพุทธองควา เสด็จนิพพานไปก็ดี แลวทีนี้เราอยากจะทําอะไรก็จะไดทําได จากนี้เราสบายแลว อิสรภาพเกิดขึ้นแลวมีภิกษุรูปหนึ่งพูด เชนนี้ขึ้นทามกลางสงฆ พระมหากัสสปะปลงสังเวชวาพระบรมศพยังไมทันไดถวายพระเพลิงเลยก็ยัง มีพระภิกษุสงฆคิดกันถึงขนาดนี้ ทิ้งเอาไวอยางนี้ สังฆมณฑลก็คงจะเกิดความขัดแยงมากยิ่งขึ้น ในที่สุดพระมหากัสสปะจึงไดเปนประธานในการทําสังคายนาครั้งที่ ๑ รวบรวมพระ ธรรมวินัยของพระพุทธองคทั้งหมดแลวจัดใหเปนหมวดหมู เรียกวาพระไตรปฎก จะเห็นไดวา การ มอบสังฆาฏิใหครั้งเดียว แลวเหตุการณนั้นเกิดในยุคตนของพระองค แตผลลัพธที่ตามมาก็คือ มีผล ตอเนื่องมาจนถึงหลังจากที่พระพุทธองคนิพพานไปแลวเหตุการณนี้สะทอนวา พระพุทธองคทรงมี วิสัยทัศน มองการณไกลวาในอนาคตคนๆ นี้จะชวยได ผูนําตองรูวาจะใชใคร๑๙ ๑๐. ภาวะผูนําของคณะสงฆ พระธรรมโกศาจารย ประยูร ธมฺมจิตฺโต)๒๐อาจกลาวไดวา ผูนํามีสองประเภท คือ ๑) ผูนําที่อยูบนหัวคน และ๒) ผูนําที่นั่งอยูในใจคน ผูนําจะประสบความสําเร็จไดก็ตองมีธรรมะประจําใจ โดยธรรมะขอหนึ่งที่เหมาะสําหรับผูนํานําไปประยุกตใชก็คือ “นิวาตะ” ซึ่งหมายถึง ความออนนอม ถอมตนขณะเดียวกันพระพุทธิรังษี อดีตรองเจาคณะจังหวัดเลยและอดีตเจาอาวาสวัดวังสะพุงพัฒนา ราม อําเภอวังสะพุง จังหวัดเลย ไดเสนอบทความเกี่ยวกับ “ภาวะผูนํา” โดยนําหลักธรรมในทางพุทธ ศาสนามาใชเปนแนวทางไววา สําหรับผูนํานั้นควรมีหลักธรรมในการครองตน คือ หลักสัปปุริสธรรม ๗ สวนหลักธรรมในครองคนนั้น คือ หลักพรหมวิหาร ๔ หลักสังคหวัตถุ ๔และหลักอคติ ๔ และ สุดท ายหลัก ธรรมในการครองงาน คือ หลั กอิท ธิบ าท ๔ส วนการบริห ารการจัดการภายในวัดและ โรงเรียนควรใชหลักการบริหาร ๖ บ โดยใชตามสภาพความจริง และใชบริบทเดิมของวัดเปนฐาน ใน การบริหารจัดการหรือการทําภารกิจ ๖ อยางใหสําเร็จหรือควรใหความสําคัญ คือ บริเวณ บริวาร บริขาร บริการ บริกรรมกิจ และบริกรรมภาวนา๒๑ หากภาวะผู นํา (Leadership) คือ การชัก พาให คนอื่ นเคลื่ อ นไหวหรื อ กระทํ าการใน ทิศทางที่ผูนํากําหนดเปาหมายไวผูวิจัยในฐานะที่เปนผูบริหารมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัย สงฆเลย ไดสนองกิจการคณะสงฆจัง หวัดเลยและคณะสงฆภาค ๘ มาเปนเวลากวา ๑๐ ป แตดวย บริ บ ทสั ง คมที่ เ ปลี่ ยนไปโดยเฉพาะการเตรี ย มพร อ มที่ จ ะเขา สู สั ง คมเศรษฐกิ จ อาเซี ยน (ASEAN ๑๙ พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี, ภาวะผูนําจากเนลสัน มันเดลา ถึง โอบามาแหงทําเนียบขาว, สถาบันวิมุตตยาลัย : เนื่องในโอกาสไดรับถวายปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัยหาดใหญ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา วันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๒. ๒๐ พระธรรมโกศาจารย(ประยูร ธมฺมจิตฺโต),พุทธวิธีบริหาร,(กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย,๒๕๔๙),หนา๒๖-๒๗. ๒๑ ธงชัย สิงอุด ม, บทบาทพระสงฆกับการพัฒนาการศึกษา : กรณีศึกษาพระพุทธิรังษี, วิ ทยานิพนธศิล ป ศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, ๒๕๔๘), หนา๔๗ – ๕๐.
  • 9. ๙ Economic Community : AEC) จึงเกิดคําถามวา ๑) คุณลักษณะของผูนําดี หรือ ผูนําที่เหมาะสม ของพระสังฆาธิการผูทําหนาที่ปกครองในสังกัดคณะสงฆภาค ๘ จะตองมีแนวทางในการพัฒนาหรือ ปรับตัวเชนไรจึงจะมีความเหมาะสมสอดคลองกับความเปนจริงของสังคมใหมที่จะเกิดขึ้น๒) จะยัง ประโยชนสูงสุดใหเกิดขึ้นในขณะที่เปนผูนําพาองคกรสงฆหรือสถาบันสงฆดวยวิธีการใด และ ๓) จะ เปนผูที่มีสวนขับเคลื่อนหรือนําพามาซึ่งความเจริญและความผาสุกใหกับองคกรคณะสงฆได ๑๑. พระสงฆควรเปนผูนําทางสังคม พระสงฆควรสร า งภาวะผู นําทางป ญ ญาของสั ง คมใน ๓ ประการคื อ ๑) ศีล ธรรม จริยธรรม ๒) สังคมพหุวัฒนธรรม และ ๓) เทคโนโลยีสารสนเทศ พระสงฆในฐานะผูนําทางจิตวิญญาณของสังคม ตองยึดมั่นใน ศีลธรรมจริยธรรม โดย การปฏิบัติเปนแบบอยาง และมีหนาที่ในการแนะนํา สั่งสอน อบรมแกฆราวาส พระสงฆจะตองสรางความสัมพันธอันดีกับฆราวาส จึงจําเปนตองมีความเขาใจใน สังคมพหุวัฒนธรรม คือ ความแตกตางของบุคคลในสั งคม ไดแก เพศ วัย เชื้อชาติ ศาสนา ภาษา วัฒ นธรรม ประเพณี การศึกษา ฐานะทางเศรษฐกิ จ และ ชันชั้นทางสั งคม เพื่ อจะไดสรางการสื่อ สารที่ตรงกันระหวาง พระสงฆกับฆราวาส พระสงฆจ ะตองมี ความรู และความเขาใจในการใช เทคโนโลยีส ารสนเทศ เพื่ อ เป น เครื่องมือในการศึกษาหาความรูในการพัฒนาตนเอง และเปนเครื่องมือในการเผยแพรหลักธรรมคํา สอน รวมถึงเปนการแบบอยางในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางมีวินัยและความรับผิดชอบ ๑๒. แนวทางและหรือวิธีการสงเสริม/พัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆ แนวทางในการพัฒนาพระสงฆควรดําเนินการใน ๓ ลักษณะ คือ ๑) การจัดการอบรม ในกรณีที่ตองพัฒนาอยางเรงดวน ๒) การศึกษาตอทั้งทางโลกและทางธรรม ในกรณีที่ตองการพัฒนา ทรัพยากรบุคคล และ ๓) สงเสริมการพัฒนาตนเองของพระสงฆ การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําของพระสงฆ อันประกอบดวย ๑) ความรูความสามารถในภารกิจที่กระทํา ๒) บุคลิกภาพที่เหมาะสมกับความเปนสงฆ ๓) ความสามารถในการสรางแรงจูงใจ และ ๔) พัฒนาใหพระสงฆมีทักษะทางสังคม นอกจากนี้ตอ งพระสงฆพั ฒ นาอุ ป นิสั ยที่ จํ าเป นของภาวะผู นํา คือ ความรั บ ผิ ดชอบ ความคิดเชิงสรางสรรค และ ความมุงมั่นในการกระทําใหประสบความสําเร็จ พระสงฆตองไดรับการ พัฒนาใหเปนผูที่มีความสามารถในการสรางวิสัยทัศนที่เชื่อมโยง สังคมแบบเกาเขากับสังคมแบบใหม นําไปสูการพัฒนาสังคมที่ยั่งยืน
  • 10. ๑๐ ๑๓. บทสรุป จากการศึกษาพบวา ผูนําองคกรสงฆที่ดีและเปนแบบอยางตอองคกรและบุคคลอื่นควร ถือหลักเหตุผล ขอเท็จจริงมาพิจารณาตัดสินเรืองราวตางๆ และจะตองหลีกเวนการนําหลักอัตตามาใช ่ บริหารงาน เพราะเปนแนวทางที่เสี่ยงตอการลมเหลวขององคกรและงาน นอกจากนี้ผูนําองคกรสงฆ ที่ดี พึงศึกษาและสําเหนียกในหลักธรรมตางๆ ใหชํานาญ เชน พรหมวิหารธรรม โดยเฉพาะขอเมตตา และ อุเบกขา วาควรใชในเวลาใด ตอบุคคลใด เพราะหากใชเมตตาเพียงอยางเดียว ก็ทําใหผูที่ไดรับ เมตตาเจริญรุงเรืองในหนาที่การงาน แตหากพิจารณาผลงานที่เหมาะสมแกคนดวย ก็จะทําใหเมตตามี ลัก ษณะบู ร ณาการโดยอั ตโนมั ติ ส วนผู ที่ ไม ไดใส ใจในหนาที่ ก ารงานอยางเต็ม ศัก ยภาพ ก็ ควรใช อุเบกขา คือ การไมเลื่อนขั้นหรือตําแหนงที่สูงให เปนตน ผู นํ า องค ก รสงฆ ที่ ดี พึ ง ศึ ก ษาภาวะผู นํ า ทั้ ง ในทางคดี โ ลกและคดี ธ รรมแล ว นํ า มา ประยุกตใชในความเปนผู นําที่ทันสมัยและรู ทันโลกอยูเสมอผู นําที่ดี พึ งรูจักบุคคล กลุม คน บริษัท องคกร เพื่ อกําหนดสถานการณตางๆ ใหเป นไปเพื่อประโยชนขององคกรที่ ตนบริหารจั ดการ และ หลีกเลี่ยงความเสี่ยงในการใชคนอันไมเหมาะแกงาน แมเรื่องเล็กนอย ผูนําพึงตระหนักเชนเดียวกัน เลือกใชบุคคลแตละจริตใหเหมาะสม ควรแกดวยการสาธิตงานหรือมีผูชวยทํางานและทํางานเปนกลุม (Team Works) เพื่อลดปญหาความไมเขาใจในการทํางานผูนําที่ดี พึงเรียนรูศาสตรสมัยใหมใหรูเทา ทันเครื่องมือสื่อสารตางๆ ในโลกปจจุบัน ในการพัฒ นาพระสงฆ ผลที่ คาดวาจะเกิ ดขึ้นจากการพั ฒ นาภาวะผู นําของพระสงฆ พระสงฆที่ไดรับการพัฒนาภาวะผูนํา จะมีความสามารถในการชี้แนะ และดลใจใหฆราวาสประพฤติ ปฏิบัติตนไปสูเปาหมายที่ตองการของพระพุทธศาสนา คือ “การเปนคนดีศรีสังคม”
  • 11. ๑๑ บรรณานุกรม ขอมูลปฐมภูมิ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙. ขอมูลทุติยภูมิ กิติ ตยัคคานท, เทคนิคการสรางภาวะผูนํา, กรุงเทพมหานคร : เปลวอักษร, ๒๕๔๓. ฉายศิลป เชี่ยวชาญพิพัฒน, การบริหาร, กรุงเทพมหานคร:มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๒๗. ปรัชญา เวสารัชช , ผูนําองคการ, กรุงเทพมหานคร : รัฐศาสตรสาร, ๒๕๒๗. พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต), ภาวะผูนํา : ความสําคัญตอการพัฒนาคน พัฒนาประเทศ, กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา, ๒๕๔๖. ___________, ภาวะผูนํา, พิมพครั้งที่ ๔, กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพสุขภาพใจ, ๒๕๔๙. พระธรรมโกศาจารย(ประยูร ธมฺมจิตฺโต), พุทธวิธีบริหาร, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๙. ธงชัย สิงอุดม, บทบาทพระสงฆกับการพัฒนาการศึกษา : กรณีศึกษาพระพุทธิรังษี, วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย, ๒๕๔๘. ธรรมรส โชติกุญชร, มนุษยสัมพันธ , กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพพิฆเนศ, ๒๕๑๙. นงลักษณ สุทธิวัฒนพันธ, พัฒนาบุคลิกผูนําและนักบริหาร, พิมพครั้งที่ ๒, กรุงเทพมหานคร : สุขภาพ, ๒๕๔๔. พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี, ภาวะผูนําจากเนลสัน มันเดลา ถึง โอบามาแหงทําเนียบขาว, สถาบัน วิมุตตยาลัย : เนื่องในโอกาสไดรับถวายปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยหาดใหญ อําเภอหาดใหญ จังหวัดสงขลา วันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๒. วิฑูรย สิมะโชคดี, ทฤษฎีและเทคนิคปฏิบัติสําหรับยอดหัวหนางาน, กรุงเทพมหานคร : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จํากัด มหาชน. ศิริวรรณ เสรีรัตนและคณะ, พฤติกรรมองคการ, กรุงเทพมหานคร : ธีระฟลมและโซเทกซ,๒๕๔๑. สายัณห อินนันใจ และคณาจารย, การปกครองคณะสงฆไทย, พิมพครั้งที่ ๓ กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๕๓. สุภาพรรณ ณ บางชาง. “พระสงฆกับการพัฒนาชนบท,” ในการแสวงหาเสนทางการพัฒนาชนบท ของพระสงฆไทย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพกรมการศาสนา, ๒๕๒๖. เอกชัย กี่สุขพันธ, การบริหารทักษะและการปฏิบัต,ิ กรุงเทพมหานคร : รุงเรืองการการพิมพ, ๒๕๓๐.
  • 12. ๑๒ ภาษาอังกฤษ Raymond J. Burdy, Funder mental of Leadership Reading, Massachusetts Addison : Wesley Publishing Co., ๑๙๖๗. Normond L.Frigon , Sr.& Harry K. Jackson, Jr., The Leader : Developing the Skill & Personal Qualities You Need to Lead Effectively, New York : American Management Association, ๑๙๙๖. -------------------