SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  36
Télécharger pour lire hors ligne
รายงานการนิเทศการเรียนการสอน
รายวิชาทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ31102
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
ชื่อ นายอารมย์ อินทรประเสริฐ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรี
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
บันทึกข้อความ
ส่วนราชการ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม
ที่ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2566
เรื่อง รายงานการนิเทศการเรียนการสอน (รายบุคคล)
เรียน ผู้อานวยการโรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม
ตามที่โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ได้มอบหมายให้ข้าพเจ้านายอารมย์ อินทรประเสริฐ
ปฏิบัติหน้าที่ครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 นั้น เพื่อ
พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตร
สถานศึกษา จึงขอรายงานการนิเทศการเรียนการสอน (รายบุคคล) รายละเอียดดังแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา
(ลงชื่อ)
(นายอารมย์ อินทรประเสริฐ)
ตาแหน่ง ครู
เสนอ ผู้อานวยการโรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม
เพื่อโปรดพิจารณา
(ลงชื่อ)
(นายวินิจ อินทร์พรหม)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ความเห็นหัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ
.....................................................................................................................................................................
(ลงชื่อ)
(นางสมคิด จ้อยสาเภา)
หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ
ความเห็นรองผู้อานวยการโรงเรียน กลุ่มบริหารวิชาการ
.....................................................................................................................................................................
(ลงชื่อ)
(นางสาวอุทุมพร นิลหยก)
รองผู้อานวยการโรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม
ความเห็นผู้อานวยการโรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม
.....................................................................................................................................................................
(ลงชื่อ)
(นายพรรษกฤช เกตุรัตน์)
ผู้อานวยการโรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม
คานา
การนิเทศการเรียนการสอนเป็นองค์ประกอบหนึ่งของกระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่จะ
ช่วยส่งเสริมให้มีการปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนการสอนและปรับปรุงวิธีสอนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้
อย่างมีประสิทธิภาพสูงขึ้น และจะมีประสิทธิภาพได้ดีต้องขึ้นอยู่กับบุคลากรในโรงเรียนได้มีส่วนร่วม
รับผิดชอบงานและพัฒนางานด้านการเรียนการสอนตลอดเวลา และสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชี้วัดของกลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมทั้งคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะสาคัญตามที่
กาหนดในหลักสูตร
รายงานการนิเทศการเรียนการสอน (รายบุคคล) ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ฉบับนี้
จัดทาขึ้นเพื่อรายงานการนิเทศการเรียนการสอน โดยการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ การสังเกต
การเรียนการสอนครูเป็นรายบุคคลในชั้นเรียน การตรวจสอบรายการ/องค์ประกอบต่างๆ พร้อมได้รับ
ข้อเสนอแนะจากผู้นิเทศแบบกัลยาณมิตรนิเทศ และประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัด
การเรียนรู้ของครูผู้สอน
ข้อมูลที่ได้จากการประเมินในครั้งนี้ ข้าพเจ้าจะนาไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาตนเอง
ในด้านการจัดการเรียนการสอน การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ และส่งเสริมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มี
ประสิทธิภาพ ในทุก ๆ ด้าน ซึ่งจะส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีคุณลักษณะที่
พึงประสงค์ และสมรรถนะสาคัญตามจุดหมายของหลักสูตรของสถานศึกษา และมีคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษาต่อไป
(นายอารมย์ อินทรประเสริฐ)
1 /มีนาคม/2566
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน
ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลการปฏิบัติหน้าที่สอน
หน่วยการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
ตอนที่ 2 เครื่องมือนิเทศการจัดการเรียนรู้
แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้สาหรับประเมินตนเอง
แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้สาหรับผู้นิเทศ
แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สาหรับ
ผู้นิเทศ (ครั้งที่ 1)
แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สาหรับ
ผู้นิเทศ (ครั้งที่ 2)
ภาคผนวก
แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน
ภาพถ่ายการจัดการเรียนรู้
ผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียน
ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน
1. ข้อมูลทั่วไป
2. ข้อมูลการปฏิบัติหน้าที่สอน
3. หน่วยการเรียนรู้
4. แผนการจัดการเรียนรู้
ตอนที่ 1
ข้อมูลพื้นฐาน
1. ข้อมูลทั่วไป
ชื่อ นายอารมย์ อินทรประเสริฐ
ปฏิบัติการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรี
2. ข้อมูลการปฏิบัติหน้าที่สอน
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
ลาดับ
ที่
รหัสวิชา รายวิชา ชั้น/ห้อง
จานวน
ชั่วโมง/
สัปดาห์
หมายเหตุ
1 ศ21101 รายวิชาทัศนศิลป์ ม.1 ม.1/1-2 4
2 ศ23101 รายวิชาทัศนศิลป์ ม.3 ม.3/1-2 4
3 ศ23103 รายวิชานาฏศิลป์ ม.3 ม.3/1-1 2
4 ศ32102 รายวิชานาฏศิลป์ ม.5 ม.5/1-3 3
5 ศ31101 รายวิชาทัศนศิลป์ ม.4 ม.4/1-3 3
ลูกเสือ/เนตรนารี ม.3/4 1
ชุมนุมศิลปกราฟฟิก ม.1-3 1
กิจกรรมโครงงานคุณธรรม ม.3/4 1
PLC กลุ่มสาระ ม.3/4 1
กิจกรรมเพื่อสังคมและ
สาธารณประโยชน์
ม.3/4 1
รวม 21
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.1 เรื่อง ศิลปตะวันตก
รหัสวิชาศ31102 ชื่อรายวิชาทัศนศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง
ผู้สอน....นายอารมย์ อินทรประเสริฐ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
รูปแบบงานทัศนศิลป์ตะวันตกในแต่ละยุคสมัยมีลักษณะเด่นแตกต่างกัน ซึ่งล้วนมีอิทธิพลต่อการ
สร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ในชาติอื่นๆ
ตัวชี้วัด
ศ1.2 ม.4-6/1 วิเคราะห์และเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก
ม.4-6/3 อภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของวัฒนธรรมระหว่างประเทศที่มีผลต่องานทัศนศิลป์ใน
สังคม
2. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
1) งานทัศนศิลป์รูปแบบตะวันออกและตะวันตก
3. สาระการเรียนรู้
3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
-อิทธิพลของวัฒนธรรมระหว่างประเทศที่มีผลต่องานทัศนศิลป์
3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้ามี)
(พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา)
4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
4.1ความสามารถในการคิด ทักษะการคัดแยก
4.2 ทักษะการนาไปใช้
5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งมั่นในการทางาน
6. ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (3R8C)
Active Learning และ3R8c
6.1. Reading (อ่าน)
6.2 (W) Riting (วาดภาพ)
6.3ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (8Cs)
6.3.1 Critical Thinking and Problem Solving(การคิดวิจารณญาณ และแก้ปัญหา)
6.3.2 Creativity and Innovation (การสร้างสรรค์ และนวัตกรรม)
6.3.3 Cross-cultural Understanding (ความเข้าใจภาษาต่างประเทศ)
6.3.4 Collaboration, Teamwork and Leadership(การทางานเป็นทีม ภาวะผู้นา)
6.3.5 Communications, Information, and Media Literacy(การสื่อสารสารสนเทศ)
6.3.6 Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี)
6.3.7 Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และการเรียนรู้)
6.3.8 Compassion (คุณธรรม เมตตา กรุณา ระเบียบวินัย)
7. การบูรณาการ
8. ชิ้นงาน
ภาพผลงานศิลปะสมัยใหม่
9. การวัดและประเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
(ประเมินตามสภาพจริง)
ตรวจใบงานที่ 1.1 ใบงานที่ 1.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทางาน
รายบุคคล
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน
รายบุคคล
ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์
สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้และ
มุ่งมั่นในการทางาน
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์
9.1ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน
4 3 2 1
1 เนื้อหาละเอียดชัดเจน
2 ความถูกต้องของเนื้อหา
3 ภาพสื่อเข้าใจง่าย
4 ประโยชน์ที่ได้จากการนาเสนอ
5 วิธีการนาเสนอผลงาน
รวม
เกณฑ์การให้คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน ให้ 4 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบางส่วน ให้ 3 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมาก ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
18 – 20
14 – 17
10 – 13
ต่ากว่า 10
ดีมาก
ดี
พอใช้
ปรับปรุง
10. กิจกรรมการเรียนรู้
10.1 แผนการเรียนรู้ที่ 1 จานวน 1 ชั่วโมง
10.2 แผนการเรียนรู้ที่ 9 ศิลปสมัยใหม่ จานวน 1 ชั่วโมง
11. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
- www.peterfineart.com (ในเว็บหัวข้อ นวัตกรรมเรื่องประวัติศาสตร์ศิลป์ตะวันตก)
YouTube ศิลปสมัยใหม่ และหนังสือแบบเรียนวิชาทัศนศิลป์ สวท.
แหล่งเรียนรู้
หนังสือแบบเรียนวิชาทัศนศิลป์ สวท.
- ห้องสมุดโรงเรียน
12.บันทึกหลังการสอน
ความคิดเห็น (ผู้บริหารสถานศึกษา/หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย)
.....................................................................................................................................................................
ลงชื่อ .............................................................
(นายวินิจ อินทร์พรหม)
ตาแหน่ง ครู คศ3
แผนการจัดการเรียนรู้
รหัสวิชาศ31102 ชื่อรายวิชาทัศนศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องศิลปยุคก่อนประวัติศาสตร์ตะวันตก จานวน 1 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 8 เรื่องศิลปลัทธิแอบสแตรค เวลา 1 ชั่วโมง
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์และเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก
ตัวชี้วัด
ศ1.1 ม. 3/3 งานทัศนศิลป์รูปแบบตะวันออกและตะวันตก
2. สาระสาคัญ (ความคิดรวบยอด)
เทคนิค วิธีการของศิลปินในการผสมสีคู่ตรงข้าม
3. จุดประสงค์การเรียนรู้ (K,P,A,C)
K (Knowledge)
คสามรู้ความเข้าใจ
P (Practical)
การฝึกปฏิบัติ
A (Attitude)
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
C (Capacity)
สมรรถนะสาคัญ
1.อธิบายประวัติศาสตร์
ศาตร์ศิลป์ตะวันตก
2.แบ่งยุคต่างๆได้
3.รู้จักลัทธิศิลปะต่างๆได้
4.ปฏิบัติวาดภาพศิลป
สมัยใหม่ได้
1.บอกประวัติความ
เป็นมา
2 . อ ธิ บ า ย ศิ ล ป
สมัยใหม่ได้
3.ปฏิบัติงานวาด
ภ า พ ลั ท ธิ ศิ ล ป
สมัยใหม่ได้
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทางาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ
1. ความสามารถใน
การสื่อสาร
2. ความสามารถใน
การคิด
3. ความสามารถใน
การแก้ปัญหา
4. ความสามารถใน
การใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถใน
การใช้เทคโนโลยี
4. สาระการเรียนรู้
4.1 สาระการเรียนรู้ (K)
4.1.1 สาระการเรียนรู้ (ประจาแผนการจัดเรียนรู้)
-สาระการเรียนรู้แกนกลาง
4.1.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้ามี)
4.2 ทักษะกระบวนการ (P)
1. บอกความหมายยุคก่อนประวัติศาสตร์ศิลป์ได้
2. อธิบายยุคก่อน-หลัง จนถึงยุคปัจจุบันได้
3. ปฏิบัติงานศิลปะสมัยใหม่ได้อย่างน้อย 1 ชิ้น
4.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
4.3.1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 4.3.2. ซื่อสัตย์สุจริต 4.3.3. มีวินัย 4.3.4. ใฝ่เรียนรู้
4.3.5. อยู่อย่างพอเพียง 4.3.6. มุ่งมั่นในการทางาน 4.3.7. รักความเป็นไทย
4.3.8. มีจิตสาธารณะ
4.4 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน (C)
4.4.1. ความสามารถในการสื่อสาร 4.4.2. ความสามารถในการคิด
4.4.3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4.4.4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
4.4.5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
4.5 ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (3R8C)
Active Learning และ3R8c
4.5.1 Reading (อ่าน)
4.5.2 (W)Riting (วาดภาพ)
4.5.3 Critical Thinking and Problem Solving(การคิดวิจารณญาณ และแก้ปัญหา)
4.5.4 Creativity and Innovation (การสร้างสรรค์ และนวัตกรรม)
4.5.5 Cross-cultural Understanding (ความเข้าใจภาษาต่างประเทศ)
4.5.6 Collaboration, Teamwork and Leadership(การทางานเป็นทีม ภาวะผู้นา)
4.5.7 Communications, Information, and Media Literacy(การสื่อสารสารสนเทศ)
4.5.8 Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี)
4.5.9 Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และการเรียนรู้)
4.5.10 Compassion (คุณธรรม เมตตา กรุณา ระเบียบวินัย)
5. ภาระงาน (สะท้อนการจัดกิจกรรม)
5.1 ภาระงาน
5.2 ปฏิบัติการผสมสีคู่ตรงข้ามได้อย่างน้อย 1 คู่
6. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
(ประเมินตามสภาพจริง)
ตรวจใบงานที่ 1.2 ใบงานที่ 1.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทางาน
รายบุคคล
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน
รายบุคคล
ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน
กลุ่ม
ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์
สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้และ
มุ่งมั่นในการทางาน
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์
6.1 ระดับคะแนน
ลาดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน
4 3 2 1
1 เนื้อหาละเอียดชัดเจน
2 ความถูกต้องของเนื้อหา
3 ภาพวาดที่ใช้เข้าใจง่าย
4 ประโยชน์ที่ได้จากการนาเสนอ
5 วิธีการนาเสนอผลงาน
รวม
6.2 เกณฑ์การให้คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน ให้ 4 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบางส่วน ให้ 3 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมาก ให้ 1 คะแนน
6.3 เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
18 – 20
14 – 17
10 – 13
ต่ากว่า 10
ดีมาก
ดี
พอใช้
ปรับปรุง
7. กิจกรรมการเรียนรู้
โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ (smart classroom) และ (Active learning)
ขั้นที่ 1 ขั้นนา
ครูตั้งคาถามเรื่องใครรู้จักสีบ้างไหม เป็นการระดมสมองให้ว่าสีมาจากไหน แล้วมีผลต่อมนุษย์อย่างไร
ขั้นที่ 2 ครูนาเสนอโดยใช้โปรเจกเตอร์ในห้องเรียน โดยเว็บไซต์ครู www.peterfineart.com
ขั้นที่ 3 ขั้นปฏิบัติให้ นักเรียนวาดผสมสีคู่ตรงข้าม อย่างน้อย 1 คู่ เช่นสีแดง คู่ตรงข้ามสีแดง
โดยวาดรูป หรือใช้โปรกแรมวาดภาพไอบิสเพนท์ X (ibis Paint X) - แอปพลิเคชันใน Google Play
8. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
8.1 สื่อการเรียนรู้
- www.peterfineart.com (ในเว็บหัวข้อ นวัตกรรมเรื่องประวัติศาสตร์ศิลป์ตะวันตก)
YouTube ศิลปสมัยใหม่ และหนังสือแบบเรียนวิชาทัศนศิลป์ สวท.
8.2 แหล่งเรียนรู้
www.peterfineart.com
YouTube
และหนังสือแบบเรียนวิชาทัศนศิลป์ สวท.
9. บันทึกหลังการสอน
9.1 ด้านความรู้
9.2 ด้านทักษะกระบวนการ
9.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
9.4 ด้านสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะอื่นๆ
ลงชื่อ................................................................
(นายอารมย์ อินทรประเสริฐ)
1/มีนาคม/2566
ความคิดเห็นหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
.....................................................................................................................................................................
ลงชื่อ................................................................
(นายวินิจ อินทร์พรหม)
1/มีนาคม/2566
ความคิดเห็นหัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
ลงชื่อ................................................................
(นางสมคิด จ้อยสาเภา)
1/มีนาคม/2566
ตอนที่ 2 เครื่องมือนิเทศการจัดการเรียนรู้
1. แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้สาหรับประเมินตนเอง
2. แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้สาหรับผู้นิเทศ
3. แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
สาหรับผู้นิเทศ (ครั้งที่ 1)
4. แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
สาหรับผู้นิเทศ (ครั้งที่ 2)
แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
คาชี้แจง โปรดเติมข้อความลงในช่องว่างที่กาหนดให้
ชื่อ นายอารมย์ อินทรประเสริฐ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
รายวิชาทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ31102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ตอนที่ 2 ประเมินแผนการจัดการเรียนรู้
คาชี้แจง ให้ตรวจสอบรายการ/องค์ประกอบต่างๆ แล้วทาเครื่องหมาย  ในช่องระดับคะแนนของข้อที่กาหนดพร้อมให้
ข้อเสนอแนะแบบกัลยาณมิตร
เกณฑ์การประเมิน
5 ยอดเยี่ยม หมายถึง ถูกต้องครบถ้วน อิงมาตรฐานการเรียนรู้สามารถปฏิบัติได้จริงและเป็นแบบอย่างได้
4 ดีเลิศ หมายถึง ถูกต้อง ครบถ้วน อิงมาตรฐานการเรียนรู้ สามารถปฏิบัติได้จริง
3 ดี หมายถึง ถูกต้องครบถ้วน อิงมาตรฐานการเรียนรู้
2 ปานกลาง หมายถึง ถูกต้อง ครบถ้วน
1 กาลังพัฒนา หมายถึง มีความถูกต้องบางส่วนและสามารถปรับปรุงให้ดีขึ้นได้
รายการประเมิน
ระดับคุณภาพ
5 4 3 2 1
1. ด้านการวิเคราะห์หลักสูตร
1.1 มีการวิเคราะห์หลักสูตรสู่หน่วยการเรียนรู้ 
1.2 ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษา 
คะแนนเฉลี่ย
2. ด้านองค์ประกอบ
2.1 การจัดหน่วยการเรียนมีความสอดคล้องกับมาตรฐาน ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ 
2.2 แผนการจัดการเรียนรู้สอดคล้องกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญ และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์

2.3 กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ครอบคลุมด้านความรู้ (K) ทักษะกระบวนการ (P) และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน (C)

2.4 แผนการจัดการเรียนรู้มีองค์ประกอบสาคัญครบถ้วน 
คะแนนเฉลี่ย 30
ฉบับที่ 1 แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้สาหรับประเมินตนเอง
รายการประเมิน
ระดับคุณภาพ
5 4 3 2 1
3. ด้านเนื้อหา
3.1. สาระสาคัญสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 
3.2. สาระการเรียนรู้เป็นไปตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 
3.3. เนื้อหาถูกต้องตามหลักวิชาการและมีความทันสมัย 
3.4. เนื้อหามีความชัดเจนและเรียงลาดับจากง่ายไปยาก 
คะแนนเฉลี่ย 25
4. ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอน
4.1 กิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ 
4.2 เลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอนที่หลากหลายเหมาะสมกับผู้เรียน 
4.3 กิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 
4.4 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมผู้เรียนได้ฝึกทักษะปฏิบัติจริง/ทักษะกระบวนการ /และ
กระบวนการคิดเช่น วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์

4.5 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กาหนด 
4.6 กิจกรรมนาความรู้ไปประยุกต์ใช้หรือมีการเชื่อมโยงความรู้กับชีวิตประจาวัน 
4.7 กิจกรรมการเรียนรู้ที่มีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง 
คะแนนเฉลี่ย 35
5. ด้านสื่อการเรียนรู้ นวัตกรรม แหล่งเรียนรู้
5.1 มีสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 
5.2 มีสื่อการเรียนรู้เหมาะสมกับกิจกรรมและศักยภาพของผู้เรียน 
5.3 การประยุกต์ใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่หลากหลายกับการจัดกิจกรรมเพื่อให้
ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง กระตุ้นความความสามารถและสร้างทักษะแก่ผู้เรียน

5.4 มีการใช้แหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นหรือบูรณาการกับภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้
ในการจัดการเรียนรู้

5.5 มีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ 
คะแนนเฉลี่ย 25
6. ด้านการวัดและประเมินผล
6.1 เครื่องมือวัดประเมินผลสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด เนื้อหาและกิจกรรม
การเรียนการสอน มีเกณฑ์การประเมินผลสอดคล้องกับเครื่องมือและวิธีวัดผลฯ

6.2 วัดผลประเมินผลครอบคลุมทั้งด้านความความรู้ (K) ทักษะ/กระบวนการ (P) คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ (A) และสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน (C)

6.3 มีการประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบทั้งก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน 
6.4 ประเมินพัฒนาการผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลายและผู้เรียนมีส่วนร่วมในการประเมิน 
6.5 ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อนาไปใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ 
6.6 มีการบันทึกหลังสอน เพื่อนาไปสู่การวางแผนการสอนต่อไป 
6.7 นาผลการประเมินผู้เรียนมาแก้ปัญหาด้วยวิธีการวิจัย 
รายการประเมิน
ระดับคุณภาพ
5 4 3 2 1
คะแนนเฉลี่ย 99.99
ค่าเฉลี่ยรวม 6 ด้าน 100.00
ตอนที่ 3 ข้อสังเกตเพิ่มเติม /ข้อเสนอแนะ
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ
(นายอารมย์ อินทรประเสริฐ)
วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2566
แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
คาชี้แจง โปรดเติมข้อความลงในช่องว่างที่กาหนดให้
ชื่อนายอารมย์ อินทรประเสริฐ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ
รายวิชาทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ31102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ตอนที่ 2 ประเมินแผนการจัดการเรียนรู้
คาชี้แจง ให้ตรวจสอบรายการ/องค์ประกอบต่างๆ แล้วทาเครื่องหมาย  ในช่องระดับคะแนนของข้อที่กาหนดพร้อมให้
ข้อเสนอแนะแบบกัลยาณมิตร
เกณฑ์การประเมิน
5 ยอดเยี่ยม หมายถึง ถูกต้องครบถ้วน อิงมาตรฐานการเรียนรู้สามารถปฏิบัติได้จริงและเป็นแบบอย่างได้
4 ดีเลิศ หมายถึง ถูกต้อง ครบถ้วน อิงมาตรฐานการเรียนรู้ สามารถปฏิบัติได้จริง
3 ดี หมายถึง ถูกต้องครบถ้วน อิงมาตรฐานการเรียนรู้
2 ปานกลาง หมายถึง ถูกต้อง ครบถ้วน
1 กาลังพัฒนา หมายถึง มีความถูกต้องบางส่วนและสามารถปรับปรุงให้ดีขึ้นได้
รายการประเมิน
ระดับคุณภาพ
5 4 3 2 1
1. ด้านการวิเคราะห์หลักสูตร
1.1 มีการวิเคราะห์หลักสูตรสู่หน่วยการเรียนรู้ 
1.2 ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษา 
คะแนนเฉลี่ย
2. ด้านองค์ประกอบ
2.1 การจัดหน่วยการเรียนมีความสอดคล้องกับมาตรฐาน ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ 
2.2 แผนการจัดการเรียนรู้สอดคล้องกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญ และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์

2.3 กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ครอบคลุมด้านความรู้ (K) ทักษะกระบวนการ (P) และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน (C)

2.4 แผนการจัดการเรียนรู้มีองค์ประกอบสาคัญครบถ้วน 
คะแนนเฉลี่ย
3. ด้านเนื้อหา
3.1. สาระสาคัญสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 
3.2. สาระการเรียนรู้เป็นไปตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 
ฉบับที่ 2 แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้สาหรับผู้นิเทศ
รายการประเมิน
ระดับคุณภาพ
5 4 3 2 1
3.3. เนื้อหาถูกต้องตามหลักวิชาการและมีความทันสมัย 
3.4. เนื้อหามีความชัดเจนและเรียงลาดับจากง่ายไปยาก 
คะแนนเฉลี่ย
4. ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอน
4.1 กิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ 
4.2 เลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอนที่หลากหลายเหมาะสมกับผู้เรียน 
4.3 กิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 
4.4 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมผู้เรียนได้ฝึกทักษะปฏิบัติจริง/ทักษะกระบวนการ /และ
กระบวนการคิดเช่น วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์

4.5 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กาหนด 
4.6 กิจกรรมนาความรู้ไปประยุกต์ใช้หรือมีการเชื่อมโยงความรู้กับชีวิตประจาวัน 
4.7 กิจกรรมการเรียนรู้ที่มีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง 
คะแนนเฉลี่ย
5. ด้านสื่อการเรียนรู้ นวัตกรรม แหล่งเรียนรู้
5.1 มีสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 
5.2 มีสื่อการเรียนรู้เหมาะสมกับกิจกรรมและศักยภาพของผู้เรียน 
5.3 การประยุกต์ใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่หลากหลายกับการจัดกิจกรรมเพื่อให้
ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง กระตุ้นความความสามารถและสร้างทักษะแก่ผู้เรียน

5.4 มีการใช้แหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นหรือบูรณาการกับภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้
ในการจัดการเรียนรู้

5.5 มีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ 
คะแนนเฉลี่ย
6. ด้านการวัดและประเมินผล
6.1 เครื่องมือวัดประเมินผลสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด เนื้อหาและกิจกรรม
การเรียนการสอน มีเกณฑ์การประเมินผลสอดคล้องกับเครื่องมือและวิธีวัดผลฯ

6.2 วัดผลประเมินผลครอบคลุมทั้งด้านความความรู้ (K) ทักษะ/กระบวนการ (P) คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ (A) และสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน (C)

6.3 มีการประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบทั้งก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน 
6.4 ประเมินพัฒนาการผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลายและผู้เรียนมีส่วนร่วมในการประเมิน 
6.5 ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อนาไปใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ 
6.6 มีการบันทึกหลังสอน เพื่อนาไปสู่การวางแผนการสอนต่อไป 
6.7 นาผลการประเมินผู้เรียนมาแก้ปัญหาด้วยวิธีการวิจัย 
คะแนนเฉลี่ย 9.3/10
ค่าเฉลี่ยรวม 6 ด้าน 93.00
ตอนที่ 3 ข้อสังเกตเพิ่มเติม /ข้อเสนอแนะ
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.....................................................
(นายวินิจ อินทร์พรหม)
วันที่ 1 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2566
แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
คาชี้แจง โปรดเติมข้อความลงในช่องว่างที่กาหนดให้
ชื่อนายอารมย์ อินทรประเสริฐ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
รายวิชาทัศนศิลป์ รหัสวิชาศ31102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ตอนที่ 2 แบบบันทึกการสังเกตการณ์จัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
ตอนที่ 3 ข้อสังเกตเพิ่มเติม /ข้อเสนอแนะ
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
ลงชื่อ..................................................... ผู้นิเทศ
(…………...........………..……………………………)
วันที่..........เดือน................................พ.ศ................
ฉบับที่ 3 แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก
(Active Learning) สาหรับผู้นิเทศ (ครั้งที่ 1)
แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
คาชี้แจง โปรดเติมข้อความลงในช่องว่างที่กาหนดให้
ชื่อนายอารมย์ อินทรประเสริฐ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
รายวิชาทัศนศิลป์ รหัสวิชาศ31102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ตอนที่ 2 ประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
คาชี้แจง ให้ตรวจสอบรายการ/องค์ประกอบต่างๆ แล้วทาเครื่องหมาย √ ในช่องระดับคะแนนของข้อที่กาหนด
พร้อมให้ข้อเสนอแนะแบบกัลยาณมิตร โดยใช้เกณฑ์ ดังนี้
5 ยอดเยี่ยม หมายถึง สามารถปฏิบัติได้ดีเยี่ยม หรือมากที่สุด
4 ดีเลิศ หมายถึง สามารถปฏิบัติได้ดีมาก
3 ดี หมายถึง สามารถปฏิบัติได้ดี
2 ปานกลาง หมายถึง มีการปฏิบัติดีเป็นที่ยอมรับได้ปานกลาง
1 กาลังพัฒนา หมายถึง มีการปฏิบัติดีเป็นที่ยอมรับได้น้อย / ควรปรับปรุง
รายการประเมิน
ระดับคุณภาพ
5 4 3 2 1
1. ด้านครูผู้สอน
1.1 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอน
1) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน และตัวชี้วัดตามหลักสูตรแกนกลาง
2) เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนฝึกทักษะการอ่าน การฟัง การพูดและการคิด
เช่น การคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์
3) เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้และได้ลงมือปฏิบัติจริง
4) ฝึกให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติงานจากสถานการณ์จาลองและสถานการณ์จริง
5) มีการดูแลนักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือพิเศษ
6) เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ นาเสนอผลงาน และสามารถนาไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้
คะแนนเฉลี่ย
1.2 การจัดบรรยากาศชั้นเรียนของครูผู้สอน
1) สร้างบรรยากาศการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม มีการเสริมแรงทางบวกแก่ผู้เรียน
2) สร้างแรงจูงใจ และแรงบันดาลใจให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยการกาหนดโจทย์ เงื่อนไข
ฉบับที่ 4 แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก
(Active Learning) สาหรับผู้นิเทศ (ครั้งที่ 2)
รายการประเมิน
ระดับคุณภาพ
5 4 3 2 1
สถานการณ์จาลอง หรือสถานการณ์จริงที่น่าสนใจและท้าทาย
3) สร้างปฏิสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างครูกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียน
เรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข
4) ฝึกให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มการทางาน ทางานเป็นทีมและยอมรับความคิดเห็นจากผู้อื่น
5) ใจกว้าง ยอมรับในความสามารถ การแสดงออก และความคิดเห็นของผู้เรียน
คะแนนเฉลี่ย
2. ด้านผู้เรียน
2.1 ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้และจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง
2.2 ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการจัดการเรียนรู้
2.3 ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้
2.4 ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้สอนและเพื่อนในชั้นเรียน
2.5 ผู้เรียนกล้านาเสนอและแสดงความคิดเห็น และโต้แย้งอย่างมีเหตุผล
2.6 ผู้เรียนมีความรับผิดชอบ สามารถทากิจกรรมจนสาเร็จลุล่วง
คะแนนเฉลี่ย
ค่าเฉลี่ยรวม 2 ด้าน
ตอนที่ 2 ปัญหาและข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงและพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)
สื่อและเทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน
ตัวอย่างเช่น Powerpoint, kahoots, Vonder go หรือแอพพลิเคชั่น เว็บไซต์ ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
.................................................................................................................................................................................
ปัญหา
.................................................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงและพัฒนา
.................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ..........................................ผู้นิเทศ
(......................................................)
วันที่..........เดือน................................พ.ศ............
ภาคผนวก
แบบประเมินความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน
คาชี้แจง ทาเครื่องหมาย  ในแบบประเมินและตอบทุกข้อ
ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้เรียน
เพศ  ชาย  หญิง
ชื่อวิชา ทัศนศิลป์ ชั้น ม.4/1
ชื่อผู้สอน นายอารมย์ อินทรประเสริฐ
ตอนที่ 2 การประเมินการเรียนการสอนตามสภาพจริง
5 = ดีมาก 4 = ดี 3 = ปานกลาง 2 = พอใช้ 1 = ปรับปรุง
ข้อ รายการประเมิน ความความคิดเห็น
5 4 3 2 1
1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการกาหนดข้อตกลง กิจกรรมในการเรียน √
2. ครูสอนโดยวิธีการที่หลากหลาย ใช้สื่อประกอบการเรียนการสอน
ที่เหมาะสมและเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
√
3. ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนฝึกทักษะการคิด การตัดสินใจ
การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง พร้อมแนะนา แหล่งความรู้เพิ่มเติม
√
4. ครูประยุกต์เนื้อหาที่สอนเข้ากับเหตุการณ์ปัจจุบัน/สภาพแวดล้อม √
5. ครูสอนโดยมีการสอดแทรกคุณธรรม/จริยธรรม ค่านิยมที่ดีเช่น
ความซื่อสัตย์ ความอดทน ความพอเพียง เห็นแก่ส่วนรวม
√
6. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็น พูดคุย
และรับฟังข้อคิดเห็นของนักเรียน
√
7. ครูมีความสามารถในการถ่ายทอด จัดการเรียนการสอน เป็นขั้นตอน
เหมาะสมเข้าใจง่าย และตั้งใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
√
8. ครูสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน √
9. ครูมีการประเมินผลการเรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ยุติธรรม และ
ให้ข้อมูลป้อนกลับที่สามารถนาไปปรับและพัฒนาตนเองได้
√
10. ความตรงต่อเวลา และความสม่าเสมอในการสอน √
รวม 8 2
เฉลี่ย 92.00
ฉบับที่ 5 แบบประเมินความคิดเห็นของผู้เรียน
ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ
1. สิ่งที่นักเรียนประทับใจ
2. สิ่งที่นักเรียนอยากให้ครูปรับปรุง
- ไม่มี
3. กิจกรรมที่นักเรียนชอบ
ลงชื่อ
(นางสาว กาญจนา ชูรักษา)
ชั้น ม.4/1 1 มี.ค. 2566
ภาพถ่ายบรรยากาศการจัดการเรียนรู้
ผลงานของนักเรียน(หัวข้อลัทธิ Abstract)
โดยเขียนภาพสีอะคริลิค หรือใช้สีน้าพลาสติก
https://forms.gle/JLnuDLeiaxddHsR57 ศิลปตะวันตก แบบทดสอบหลังเรียน
http://www.peterfineart.com/ สื่อการสอน (อยู่ในนวัตกรรม)
ผลการเรียนวิชาทัศนศิลป์ ศ31102 ปีการศึกษา 2565 เทอม 2

Contenu connexe

Similaire à Instruction Supervision 66.pdf

รายงานผลจุดเน้นที่ 8
รายงานผลจุดเน้นที่ 8รายงานผลจุดเน้นที่ 8
รายงานผลจุดเน้นที่ 8
kruchaily
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
parichat441
 
แบบประเมินครูผู้ช่วย ตัวอย่าง
แบบประเมินครูผู้ช่วย ตัวอย่างแบบประเมินครูผู้ช่วย ตัวอย่าง
แบบประเมินครูผู้ช่วย ตัวอย่าง
dark-corner
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ครูเย็นจิตร บุญศรี
 

Similaire à Instruction Supervision 66.pdf (20)

Math 6 unit 1
Math 6 unit 1Math 6 unit 1
Math 6 unit 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ศิลปะ555
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ศิลปะ555แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ศิลปะ555
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ศิลปะ555
 
Arkom
ArkomArkom
Arkom
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 8
รายงานผลจุดเน้นที่ 8รายงานผลจุดเน้นที่ 8
รายงานผลจุดเน้นที่ 8
 
Port arom 2561
Port arom 2561Port arom 2561
Port arom 2561
 
วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
Sar peter 60
Sar peter 60Sar peter 60
Sar peter 60
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
Social
SocialSocial
Social
 
พอทฟอริโอ้
พอทฟอริโอ้พอทฟอริโอ้
พอทฟอริโอ้
 
แฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงานแฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงาน
 
แบบประเมินครูผู้ช่วย ตัวอย่าง
แบบประเมินครูผู้ช่วย ตัวอย่างแบบประเมินครูผู้ช่วย ตัวอย่าง
แบบประเมินครูผู้ช่วย ตัวอย่าง
 
Pan stad
Pan stadPan stad
Pan stad
 
Activity
ActivityActivity
Activity
 
Port peter
Port peterPort peter
Port peter
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่นชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
ชุดการสอนประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การอนุรักษ์นาฏศิลป์และภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
คณิต ป.6
คณิต ป.6คณิต ป.6
คณิต ป.6
 

Plus de peter dontoom

Plus de peter dontoom (20)

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 
4.2.pdf
4.2.pdf4.2.pdf
4.2.pdf
 
3.4.pdf
3.4.pdf3.4.pdf
3.4.pdf
 

Instruction Supervision 66.pdf

  • 1. รายงานการนิเทศการเรียนการสอน รายวิชาทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ31102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ชื่อ นายอารมย์ อินทรประเสริฐ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม อาเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรี สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. บันทึกข้อความ ส่วนราชการ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ที่ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2566 เรื่อง รายงานการนิเทศการเรียนการสอน (รายบุคคล) เรียน ผู้อานวยการโรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ตามที่โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ได้มอบหมายให้ข้าพเจ้านายอารมย์ อินทรประเสริฐ ปฏิบัติหน้าที่ครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 นั้น เพื่อ พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตร สถานศึกษา จึงขอรายงานการนิเทศการเรียนการสอน (รายบุคคล) รายละเอียดดังแนบ จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา (ลงชื่อ) (นายอารมย์ อินทรประเสริฐ) ตาแหน่ง ครู เสนอ ผู้อานวยการโรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม เพื่อโปรดพิจารณา (ลงชื่อ) (นายวินิจ อินทร์พรหม) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ความเห็นหัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ ..................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ) (นางสมคิด จ้อยสาเภา) หัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ ความเห็นรองผู้อานวยการโรงเรียน กลุ่มบริหารวิชาการ .....................................................................................................................................................................
  • 4. คานา การนิเทศการเรียนการสอนเป็นองค์ประกอบหนึ่งของกระบวนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่จะ ช่วยส่งเสริมให้มีการปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนการสอนและปรับปรุงวิธีสอนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ อย่างมีประสิทธิภาพสูงขึ้น และจะมีประสิทธิภาพได้ดีต้องขึ้นอยู่กับบุคลากรในโรงเรียนได้มีส่วนร่วม รับผิดชอบงานและพัฒนางานด้านการเรียนการสอนตลอดเวลา และสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดของกลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมทั้งคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะสาคัญตามที่ กาหนดในหลักสูตร รายงานการนิเทศการเรียนการสอน (รายบุคคล) ประจาภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ฉบับนี้ จัดทาขึ้นเพื่อรายงานการนิเทศการเรียนการสอน โดยการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ การสังเกต การเรียนการสอนครูเป็นรายบุคคลในชั้นเรียน การตรวจสอบรายการ/องค์ประกอบต่างๆ พร้อมได้รับ ข้อเสนอแนะจากผู้นิเทศแบบกัลยาณมิตรนิเทศ และประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัด การเรียนรู้ของครูผู้สอน ข้อมูลที่ได้จากการประเมินในครั้งนี้ ข้าพเจ้าจะนาไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาตนเอง ในด้านการจัดการเรียนการสอน การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ และส่งเสริมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มี ประสิทธิภาพ ในทุก ๆ ด้าน ซึ่งจะส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น มีคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ และสมรรถนะสาคัญตามจุดหมายของหลักสูตรของสถานศึกษา และมีคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาต่อไป (นายอารมย์ อินทรประเสริฐ) 1 /มีนาคม/2566
  • 5. สารบัญ เรื่อง หน้า ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลการปฏิบัติหน้าที่สอน หน่วยการจัดการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ ตอนที่ 2 เครื่องมือนิเทศการจัดการเรียนรู้ แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้สาหรับประเมินตนเอง แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้สาหรับผู้นิเทศ แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สาหรับ ผู้นิเทศ (ครั้งที่ 1) แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สาหรับ ผู้นิเทศ (ครั้งที่ 2) ภาคผนวก แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน ภาพถ่ายการจัดการเรียนรู้ ผลงาน/ชิ้นงานของนักเรียน
  • 6. ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 1. ข้อมูลทั่วไป 2. ข้อมูลการปฏิบัติหน้าที่สอน 3. หน่วยการเรียนรู้ 4. แผนการจัดการเรียนรู้
  • 7. ตอนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 1. ข้อมูลทั่วไป ชื่อ นายอารมย์ อินทรประเสริฐ ปฏิบัติการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาราชบุรี 2. ข้อมูลการปฏิบัติหน้าที่สอน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ลาดับ ที่ รหัสวิชา รายวิชา ชั้น/ห้อง จานวน ชั่วโมง/ สัปดาห์ หมายเหตุ 1 ศ21101 รายวิชาทัศนศิลป์ ม.1 ม.1/1-2 4 2 ศ23101 รายวิชาทัศนศิลป์ ม.3 ม.3/1-2 4 3 ศ23103 รายวิชานาฏศิลป์ ม.3 ม.3/1-1 2 4 ศ32102 รายวิชานาฏศิลป์ ม.5 ม.5/1-3 3 5 ศ31101 รายวิชาทัศนศิลป์ ม.4 ม.4/1-3 3 ลูกเสือ/เนตรนารี ม.3/4 1 ชุมนุมศิลปกราฟฟิก ม.1-3 1 กิจกรรมโครงงานคุณธรรม ม.3/4 1 PLC กลุ่มสาระ ม.3/4 1 กิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ ม.3/4 1 รวม 21
  • 8. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.1 เรื่อง ศิลปตะวันตก รหัสวิชาศ31102 ชื่อรายวิชาทัศนศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน....นายอารมย์ อินทรประเสริฐ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ รูปแบบงานทัศนศิลป์ตะวันตกในแต่ละยุคสมัยมีลักษณะเด่นแตกต่างกัน ซึ่งล้วนมีอิทธิพลต่อการ สร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ในชาติอื่นๆ ตัวชี้วัด ศ1.2 ม.4-6/1 วิเคราะห์และเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก ม.4-6/3 อภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของวัฒนธรรมระหว่างประเทศที่มีผลต่องานทัศนศิลป์ใน สังคม 2. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด 1) งานทัศนศิลป์รูปแบบตะวันออกและตะวันตก 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง -อิทธิพลของวัฒนธรรมระหว่างประเทศที่มีผลต่องานทัศนศิลป์ 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้ามี)
  • 9. (พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา) 4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 4.1ความสามารถในการคิด ทักษะการคัดแยก 4.2 ทักษะการนาไปใช้ 5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ 2. มุ่งมั่นในการทางาน 6. ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (3R8C) Active Learning และ3R8c 6.1. Reading (อ่าน) 6.2 (W) Riting (วาดภาพ) 6.3ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (8Cs) 6.3.1 Critical Thinking and Problem Solving(การคิดวิจารณญาณ และแก้ปัญหา) 6.3.2 Creativity and Innovation (การสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) 6.3.3 Cross-cultural Understanding (ความเข้าใจภาษาต่างประเทศ) 6.3.4 Collaboration, Teamwork and Leadership(การทางานเป็นทีม ภาวะผู้นา) 6.3.5 Communications, Information, and Media Literacy(การสื่อสารสารสนเทศ) 6.3.6 Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี) 6.3.7 Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และการเรียนรู้) 6.3.8 Compassion (คุณธรรม เมตตา กรุณา ระเบียบวินัย) 7. การบูรณาการ 8. ชิ้นงาน ภาพผลงานศิลปะสมัยใหม่
  • 10. 9. การวัดและประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 (ประเมินตามสภาพจริง) ตรวจใบงานที่ 1.1 ใบงานที่ 1.1 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทางาน รายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน รายบุคคล ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้และ มุ่งมั่นในการทางาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ 9.1ระดับคะแนน ลาดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1 เนื้อหาละเอียดชัดเจน 2 ความถูกต้องของเนื้อหา 3 ภาพสื่อเข้าใจง่าย 4 ประโยชน์ที่ได้จากการนาเสนอ 5 วิธีการนาเสนอผลงาน รวม เกณฑ์การให้คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน ให้ 4 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบางส่วน ให้ 3 คะแนน
  • 11. ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมาก ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 18 – 20 14 – 17 10 – 13 ต่ากว่า 10 ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง 10. กิจกรรมการเรียนรู้ 10.1 แผนการเรียนรู้ที่ 1 จานวน 1 ชั่วโมง 10.2 แผนการเรียนรู้ที่ 9 ศิลปสมัยใหม่ จานวน 1 ชั่วโมง 11. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้ - www.peterfineart.com (ในเว็บหัวข้อ นวัตกรรมเรื่องประวัติศาสตร์ศิลป์ตะวันตก) YouTube ศิลปสมัยใหม่ และหนังสือแบบเรียนวิชาทัศนศิลป์ สวท. แหล่งเรียนรู้ หนังสือแบบเรียนวิชาทัศนศิลป์ สวท. - ห้องสมุดโรงเรียน 12.บันทึกหลังการสอน ความคิดเห็น (ผู้บริหารสถานศึกษา/หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย) ..................................................................................................................................................................... ลงชื่อ ............................................................. (นายวินิจ อินทร์พรหม) ตาแหน่ง ครู คศ3
  • 12. แผนการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชาศ31102 ชื่อรายวิชาทัศนศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องศิลปยุคก่อนประวัติศาสตร์ตะวันตก จานวน 1 ชั่วโมง แผนการเรียนรู้ที่ 8 เรื่องศิลปลัทธิแอบสแตรค เวลา 1 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ วิเคราะห์และเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก ตัวชี้วัด ศ1.1 ม. 3/3 งานทัศนศิลป์รูปแบบตะวันออกและตะวันตก 2. สาระสาคัญ (ความคิดรวบยอด) เทคนิค วิธีการของศิลปินในการผสมสีคู่ตรงข้าม 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ (K,P,A,C) K (Knowledge) คสามรู้ความเข้าใจ P (Practical) การฝึกปฏิบัติ A (Attitude) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ C (Capacity) สมรรถนะสาคัญ 1.อธิบายประวัติศาสตร์ ศาตร์ศิลป์ตะวันตก 2.แบ่งยุคต่างๆได้ 3.รู้จักลัทธิศิลปะต่างๆได้ 4.ปฏิบัติวาดภาพศิลป สมัยใหม่ได้ 1.บอกประวัติความ เป็นมา 2 . อ ธิ บ า ย ศิ ล ป สมัยใหม่ได้ 3.ปฏิบัติงานวาด ภ า พ ลั ท ธิ ศิ ล ป สมัยใหม่ได้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทางาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ 1. ความสามารถใน การสื่อสาร 2. ความสามารถใน การคิด 3. ความสามารถใน การแก้ปัญหา 4. ความสามารถใน การใช้ทักษะชีวิต 5. ความสามารถใน การใช้เทคโนโลยี
  • 13. 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 สาระการเรียนรู้ (K) 4.1.1 สาระการเรียนรู้ (ประจาแผนการจัดเรียนรู้) -สาระการเรียนรู้แกนกลาง 4.1.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้ามี) 4.2 ทักษะกระบวนการ (P) 1. บอกความหมายยุคก่อนประวัติศาสตร์ศิลป์ได้ 2. อธิบายยุคก่อน-หลัง จนถึงยุคปัจจุบันได้ 3. ปฏิบัติงานศิลปะสมัยใหม่ได้อย่างน้อย 1 ชิ้น 4.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) 4.3.1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 4.3.2. ซื่อสัตย์สุจริต 4.3.3. มีวินัย 4.3.4. ใฝ่เรียนรู้ 4.3.5. อยู่อย่างพอเพียง 4.3.6. มุ่งมั่นในการทางาน 4.3.7. รักความเป็นไทย 4.3.8. มีจิตสาธารณะ 4.4 สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน (C) 4.4.1. ความสามารถในการสื่อสาร 4.4.2. ความสามารถในการคิด 4.4.3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4.4.4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 4.4.5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 4.5 ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (3R8C) Active Learning และ3R8c 4.5.1 Reading (อ่าน) 4.5.2 (W)Riting (วาดภาพ) 4.5.3 Critical Thinking and Problem Solving(การคิดวิจารณญาณ และแก้ปัญหา) 4.5.4 Creativity and Innovation (การสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) 4.5.5 Cross-cultural Understanding (ความเข้าใจภาษาต่างประเทศ) 4.5.6 Collaboration, Teamwork and Leadership(การทางานเป็นทีม ภาวะผู้นา) 4.5.7 Communications, Information, and Media Literacy(การสื่อสารสารสนเทศ) 4.5.8 Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยี) 4.5.9 Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และการเรียนรู้) 4.5.10 Compassion (คุณธรรม เมตตา กรุณา ระเบียบวินัย)
  • 14. 5. ภาระงาน (สะท้อนการจัดกิจกรรม) 5.1 ภาระงาน 5.2 ปฏิบัติการผสมสีคู่ตรงข้ามได้อย่างน้อย 1 คู่ 6. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 (ประเมินตามสภาพจริง) ตรวจใบงานที่ 1.2 ใบงานที่ 1.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ประเมินการนาเสนอผลงาน แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทางาน รายบุคคล แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน รายบุคคล ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน กลุ่ม ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ สังเกตความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้และ มุ่งมั่นในการทางาน แบบประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ระดับคุณภาพ 3 ผ่านเกณฑ์ 6.1 ระดับคะแนน ลาดับที่ รายการประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1 เนื้อหาละเอียดชัดเจน 2 ความถูกต้องของเนื้อหา 3 ภาพวาดที่ใช้เข้าใจง่าย 4 ประโยชน์ที่ได้จากการนาเสนอ 5 วิธีการนาเสนอผลงาน รวม 6.2 เกณฑ์การให้คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน ให้ 4 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบางส่วน ให้ 3 คะแนน
  • 15. ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมาก ให้ 1 คะแนน 6.3 เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 18 – 20 14 – 17 10 – 13 ต่ากว่า 10 ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง 7. กิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ (smart classroom) และ (Active learning) ขั้นที่ 1 ขั้นนา ครูตั้งคาถามเรื่องใครรู้จักสีบ้างไหม เป็นการระดมสมองให้ว่าสีมาจากไหน แล้วมีผลต่อมนุษย์อย่างไร ขั้นที่ 2 ครูนาเสนอโดยใช้โปรเจกเตอร์ในห้องเรียน โดยเว็บไซต์ครู www.peterfineart.com ขั้นที่ 3 ขั้นปฏิบัติให้ นักเรียนวาดผสมสีคู่ตรงข้าม อย่างน้อย 1 คู่ เช่นสีแดง คู่ตรงข้ามสีแดง โดยวาดรูป หรือใช้โปรกแรมวาดภาพไอบิสเพนท์ X (ibis Paint X) - แอปพลิเคชันใน Google Play 8. สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ - www.peterfineart.com (ในเว็บหัวข้อ นวัตกรรมเรื่องประวัติศาสตร์ศิลป์ตะวันตก) YouTube ศิลปสมัยใหม่ และหนังสือแบบเรียนวิชาทัศนศิลป์ สวท.
  • 16. 8.2 แหล่งเรียนรู้ www.peterfineart.com YouTube และหนังสือแบบเรียนวิชาทัศนศิลป์ สวท. 9. บันทึกหลังการสอน 9.1 ด้านความรู้ 9.2 ด้านทักษะกระบวนการ 9.3 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 9.4 ด้านสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ปัญหาอุปสรรค/ข้อเสนอแนะอื่นๆ ลงชื่อ................................................................ (นายอารมย์ อินทรประเสริฐ) 1/มีนาคม/2566 ความคิดเห็นหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ..................................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................ (นายวินิจ อินทร์พรหม) 1/มีนาคม/2566
  • 17. ความคิดเห็นหัวหน้ากลุ่มบริหารวิชาการ ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................................ (นางสมคิด จ้อยสาเภา) 1/มีนาคม/2566 ตอนที่ 2 เครื่องมือนิเทศการจัดการเรียนรู้ 1. แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้สาหรับประเมินตนเอง 2. แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้สาหรับผู้นิเทศ 3. แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สาหรับผู้นิเทศ (ครั้งที่ 1) 4. แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สาหรับผู้นิเทศ (ครั้งที่ 2)
  • 18. แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป คาชี้แจง โปรดเติมข้อความลงในช่องว่างที่กาหนดให้ ชื่อ นายอารมย์ อินทรประเสริฐ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ31102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตอนที่ 2 ประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ คาชี้แจง ให้ตรวจสอบรายการ/องค์ประกอบต่างๆ แล้วทาเครื่องหมาย  ในช่องระดับคะแนนของข้อที่กาหนดพร้อมให้ ข้อเสนอแนะแบบกัลยาณมิตร เกณฑ์การประเมิน 5 ยอดเยี่ยม หมายถึง ถูกต้องครบถ้วน อิงมาตรฐานการเรียนรู้สามารถปฏิบัติได้จริงและเป็นแบบอย่างได้ 4 ดีเลิศ หมายถึง ถูกต้อง ครบถ้วน อิงมาตรฐานการเรียนรู้ สามารถปฏิบัติได้จริง 3 ดี หมายถึง ถูกต้องครบถ้วน อิงมาตรฐานการเรียนรู้ 2 ปานกลาง หมายถึง ถูกต้อง ครบถ้วน 1 กาลังพัฒนา หมายถึง มีความถูกต้องบางส่วนและสามารถปรับปรุงให้ดีขึ้นได้ รายการประเมิน ระดับคุณภาพ 5 4 3 2 1 1. ด้านการวิเคราะห์หลักสูตร 1.1 มีการวิเคราะห์หลักสูตรสู่หน่วยการเรียนรู้  1.2 ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษา  คะแนนเฉลี่ย 2. ด้านองค์ประกอบ 2.1 การจัดหน่วยการเรียนมีความสอดคล้องกับมาตรฐาน ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้  2.2 แผนการจัดการเรียนรู้สอดคล้องกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญ และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์  2.3 กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ครอบคลุมด้านความรู้ (K) ทักษะกระบวนการ (P) และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน (C)  2.4 แผนการจัดการเรียนรู้มีองค์ประกอบสาคัญครบถ้วน  คะแนนเฉลี่ย 30 ฉบับที่ 1 แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้สาหรับประเมินตนเอง
  • 19. รายการประเมิน ระดับคุณภาพ 5 4 3 2 1 3. ด้านเนื้อหา 3.1. สาระสาคัญสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด  3.2. สาระการเรียนรู้เป็นไปตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551  3.3. เนื้อหาถูกต้องตามหลักวิชาการและมีความทันสมัย  3.4. เนื้อหามีความชัดเจนและเรียงลาดับจากง่ายไปยาก  คะแนนเฉลี่ย 25 4. ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4.1 กิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้  4.2 เลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอนที่หลากหลายเหมาะสมกับผู้เรียน  4.3 กิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ  4.4 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมผู้เรียนได้ฝึกทักษะปฏิบัติจริง/ทักษะกระบวนการ /และ กระบวนการคิดเช่น วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์  4.5 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กาหนด  4.6 กิจกรรมนาความรู้ไปประยุกต์ใช้หรือมีการเชื่อมโยงความรู้กับชีวิตประจาวัน  4.7 กิจกรรมการเรียนรู้ที่มีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง  คะแนนเฉลี่ย 35 5. ด้านสื่อการเรียนรู้ นวัตกรรม แหล่งเรียนรู้ 5.1 มีสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้  5.2 มีสื่อการเรียนรู้เหมาะสมกับกิจกรรมและศักยภาพของผู้เรียน  5.3 การประยุกต์ใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่หลากหลายกับการจัดกิจกรรมเพื่อให้ ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง กระตุ้นความความสามารถและสร้างทักษะแก่ผู้เรียน  5.4 มีการใช้แหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นหรือบูรณาการกับภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ ในการจัดการเรียนรู้  5.5 มีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้  คะแนนเฉลี่ย 25 6. ด้านการวัดและประเมินผล 6.1 เครื่องมือวัดประเมินผลสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด เนื้อหาและกิจกรรม การเรียนการสอน มีเกณฑ์การประเมินผลสอดคล้องกับเครื่องมือและวิธีวัดผลฯ  6.2 วัดผลประเมินผลครอบคลุมทั้งด้านความความรู้ (K) ทักษะ/กระบวนการ (P) คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ (A) และสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน (C)  6.3 มีการประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบทั้งก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน  6.4 ประเมินพัฒนาการผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลายและผู้เรียนมีส่วนร่วมในการประเมิน  6.5 ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อนาไปใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้  6.6 มีการบันทึกหลังสอน เพื่อนาไปสู่การวางแผนการสอนต่อไป  6.7 นาผลการประเมินผู้เรียนมาแก้ปัญหาด้วยวิธีการวิจัย 
  • 20. รายการประเมิน ระดับคุณภาพ 5 4 3 2 1 คะแนนเฉลี่ย 99.99 ค่าเฉลี่ยรวม 6 ด้าน 100.00 ตอนที่ 3 ข้อสังเกตเพิ่มเติม /ข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ลงชื่อ (นายอารมย์ อินทรประเสริฐ) วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2566
  • 21. แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป คาชี้แจง โปรดเติมข้อความลงในช่องว่างที่กาหนดให้ ชื่อนายอารมย์ อินทรประเสริฐ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ รหัสวิชา ศ31102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตอนที่ 2 ประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ คาชี้แจง ให้ตรวจสอบรายการ/องค์ประกอบต่างๆ แล้วทาเครื่องหมาย  ในช่องระดับคะแนนของข้อที่กาหนดพร้อมให้ ข้อเสนอแนะแบบกัลยาณมิตร เกณฑ์การประเมิน 5 ยอดเยี่ยม หมายถึง ถูกต้องครบถ้วน อิงมาตรฐานการเรียนรู้สามารถปฏิบัติได้จริงและเป็นแบบอย่างได้ 4 ดีเลิศ หมายถึง ถูกต้อง ครบถ้วน อิงมาตรฐานการเรียนรู้ สามารถปฏิบัติได้จริง 3 ดี หมายถึง ถูกต้องครบถ้วน อิงมาตรฐานการเรียนรู้ 2 ปานกลาง หมายถึง ถูกต้อง ครบถ้วน 1 กาลังพัฒนา หมายถึง มีความถูกต้องบางส่วนและสามารถปรับปรุงให้ดีขึ้นได้ รายการประเมิน ระดับคุณภาพ 5 4 3 2 1 1. ด้านการวิเคราะห์หลักสูตร 1.1 มีการวิเคราะห์หลักสูตรสู่หน่วยการเรียนรู้  1.2 ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษา  คะแนนเฉลี่ย 2. ด้านองค์ประกอบ 2.1 การจัดหน่วยการเรียนมีความสอดคล้องกับมาตรฐาน ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้  2.2 แผนการจัดการเรียนรู้สอดคล้องกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญ และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์  2.3 กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ครอบคลุมด้านความรู้ (K) ทักษะกระบวนการ (P) และ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน (C)  2.4 แผนการจัดการเรียนรู้มีองค์ประกอบสาคัญครบถ้วน  คะแนนเฉลี่ย 3. ด้านเนื้อหา 3.1. สาระสาคัญสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด  3.2. สาระการเรียนรู้เป็นไปตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551  ฉบับที่ 2 แบบนิเทศแผนการจัดการเรียนรู้สาหรับผู้นิเทศ
  • 22. รายการประเมิน ระดับคุณภาพ 5 4 3 2 1 3.3. เนื้อหาถูกต้องตามหลักวิชาการและมีความทันสมัย  3.4. เนื้อหามีความชัดเจนและเรียงลาดับจากง่ายไปยาก  คะแนนเฉลี่ย 4. ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอน 4.1 กิจกรรมการเรียนรู้สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้  4.2 เลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอนที่หลากหลายเหมาะสมกับผู้เรียน  4.3 กิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ  4.4 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมผู้เรียนได้ฝึกทักษะปฏิบัติจริง/ทักษะกระบวนการ /และ กระบวนการคิดเช่น วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์  4.5 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กาหนด  4.6 กิจกรรมนาความรู้ไปประยุกต์ใช้หรือมีการเชื่อมโยงความรู้กับชีวิตประจาวัน  4.7 กิจกรรมการเรียนรู้ที่มีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง  คะแนนเฉลี่ย 5. ด้านสื่อการเรียนรู้ นวัตกรรม แหล่งเรียนรู้ 5.1 มีสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้  5.2 มีสื่อการเรียนรู้เหมาะสมกับกิจกรรมและศักยภาพของผู้เรียน  5.3 การประยุกต์ใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่หลากหลายกับการจัดกิจกรรมเพื่อให้ ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง กระตุ้นความความสามารถและสร้างทักษะแก่ผู้เรียน  5.4 มีการใช้แหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นหรือบูรณาการกับภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ ในการจัดการเรียนรู้  5.5 มีนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้  คะแนนเฉลี่ย 6. ด้านการวัดและประเมินผล 6.1 เครื่องมือวัดประเมินผลสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด เนื้อหาและกิจกรรม การเรียนการสอน มีเกณฑ์การประเมินผลสอดคล้องกับเครื่องมือและวิธีวัดผลฯ  6.2 วัดผลประเมินผลครอบคลุมทั้งด้านความความรู้ (K) ทักษะ/กระบวนการ (P) คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ (A) และสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน (C)  6.3 มีการประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบทั้งก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน  6.4 ประเมินพัฒนาการผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลายและผู้เรียนมีส่วนร่วมในการประเมิน  6.5 ให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อนาไปใช้ในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้  6.6 มีการบันทึกหลังสอน เพื่อนาไปสู่การวางแผนการสอนต่อไป  6.7 นาผลการประเมินผู้เรียนมาแก้ปัญหาด้วยวิธีการวิจัย  คะแนนเฉลี่ย 9.3/10 ค่าเฉลี่ยรวม 6 ด้าน 93.00
  • 23. ตอนที่ 3 ข้อสังเกตเพิ่มเติม /ข้อเสนอแนะ ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................. ลงชื่อ..................................................... (นายวินิจ อินทร์พรหม) วันที่ 1 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2566
  • 24. แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป คาชี้แจง โปรดเติมข้อความลงในช่องว่างที่กาหนดให้ ชื่อนายอารมย์ อินทรประเสริฐ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ รหัสวิชาศ31102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตอนที่ 2 แบบบันทึกการสังเกตการณ์จัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ตอนที่ 3 ข้อสังเกตเพิ่มเติม /ข้อเสนอแนะ ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ลงชื่อ..................................................... ผู้นิเทศ (…………...........………..……………………………) วันที่..........เดือน................................พ.ศ................ ฉบับที่ 3 แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สาหรับผู้นิเทศ (ครั้งที่ 1)
  • 25. แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป คาชี้แจง โปรดเติมข้อความลงในช่องว่างที่กาหนดให้ ชื่อนายอารมย์ อินทรประเสริฐ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชาทัศนศิลป์ รหัสวิชาศ31102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ตอนที่ 2 ประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) คาชี้แจง ให้ตรวจสอบรายการ/องค์ประกอบต่างๆ แล้วทาเครื่องหมาย √ ในช่องระดับคะแนนของข้อที่กาหนด พร้อมให้ข้อเสนอแนะแบบกัลยาณมิตร โดยใช้เกณฑ์ ดังนี้ 5 ยอดเยี่ยม หมายถึง สามารถปฏิบัติได้ดีเยี่ยม หรือมากที่สุด 4 ดีเลิศ หมายถึง สามารถปฏิบัติได้ดีมาก 3 ดี หมายถึง สามารถปฏิบัติได้ดี 2 ปานกลาง หมายถึง มีการปฏิบัติดีเป็นที่ยอมรับได้ปานกลาง 1 กาลังพัฒนา หมายถึง มีการปฏิบัติดีเป็นที่ยอมรับได้น้อย / ควรปรับปรุง รายการประเมิน ระดับคุณภาพ 5 4 3 2 1 1. ด้านครูผู้สอน 1.1 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูผู้สอน 1) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน และตัวชี้วัดตามหลักสูตรแกนกลาง 2) เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนฝึกทักษะการอ่าน การฟัง การพูดและการคิด เช่น การคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ 3) เป็นกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้และได้ลงมือปฏิบัติจริง 4) ฝึกให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติงานจากสถานการณ์จาลองและสถานการณ์จริง 5) มีการดูแลนักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือพิเศษ 6) เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ นาเสนอผลงาน และสามารถนาไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ คะแนนเฉลี่ย 1.2 การจัดบรรยากาศชั้นเรียนของครูผู้สอน 1) สร้างบรรยากาศการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม มีการเสริมแรงทางบวกแก่ผู้เรียน 2) สร้างแรงจูงใจ และแรงบันดาลใจให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยการกาหนดโจทย์ เงื่อนไข ฉบับที่ 4 แบบนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สาหรับผู้นิเทศ (ครั้งที่ 2)
  • 26. รายการประเมิน ระดับคุณภาพ 5 4 3 2 1 สถานการณ์จาลอง หรือสถานการณ์จริงที่น่าสนใจและท้าทาย 3) สร้างปฏิสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างครูกับผู้เรียน และผู้เรียนกับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียน เรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข 4) ฝึกให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มการทางาน ทางานเป็นทีมและยอมรับความคิดเห็นจากผู้อื่น 5) ใจกว้าง ยอมรับในความสามารถ การแสดงออก และความคิดเห็นของผู้เรียน คะแนนเฉลี่ย 2. ด้านผู้เรียน 2.1 ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้และจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง 2.2 ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ 2.3 ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ 2.4 ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้สอนและเพื่อนในชั้นเรียน 2.5 ผู้เรียนกล้านาเสนอและแสดงความคิดเห็น และโต้แย้งอย่างมีเหตุผล 2.6 ผู้เรียนมีความรับผิดชอบ สามารถทากิจกรรมจนสาเร็จลุล่วง คะแนนเฉลี่ย ค่าเฉลี่ยรวม 2 ด้าน ตอนที่ 2 ปัญหาและข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงและพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) สื่อและเทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ตัวอย่างเช่น Powerpoint, kahoots, Vonder go หรือแอพพลิเคชั่น เว็บไซต์ ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ................................................................................................................................................................................. ปัญหา ................................................................................................................................................................................. ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงและพัฒนา ................................................................................................................................................................................. ลงชื่อ..........................................ผู้นิเทศ (......................................................) วันที่..........เดือน................................พ.ศ............
  • 27. ภาคผนวก แบบประเมินความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน คาชี้แจง ทาเครื่องหมาย  ในแบบประเมินและตอบทุกข้อ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้เรียน เพศ  ชาย  หญิง ชื่อวิชา ทัศนศิลป์ ชั้น ม.4/1 ชื่อผู้สอน นายอารมย์ อินทรประเสริฐ ตอนที่ 2 การประเมินการเรียนการสอนตามสภาพจริง 5 = ดีมาก 4 = ดี 3 = ปานกลาง 2 = พอใช้ 1 = ปรับปรุง ข้อ รายการประเมิน ความความคิดเห็น 5 4 3 2 1 1. นักเรียนมีส่วนร่วมในการกาหนดข้อตกลง กิจกรรมในการเรียน √ 2. ครูสอนโดยวิธีการที่หลากหลาย ใช้สื่อประกอบการเรียนการสอน ที่เหมาะสมและเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ √ 3. ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนฝึกทักษะการคิด การตัดสินใจ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง พร้อมแนะนา แหล่งความรู้เพิ่มเติม √ 4. ครูประยุกต์เนื้อหาที่สอนเข้ากับเหตุการณ์ปัจจุบัน/สภาพแวดล้อม √ 5. ครูสอนโดยมีการสอดแทรกคุณธรรม/จริยธรรม ค่านิยมที่ดีเช่น ความซื่อสัตย์ ความอดทน ความพอเพียง เห็นแก่ส่วนรวม √ 6. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็น พูดคุย และรับฟังข้อคิดเห็นของนักเรียน √ 7. ครูมีความสามารถในการถ่ายทอด จัดการเรียนการสอน เป็นขั้นตอน เหมาะสมเข้าใจง่าย และตั้งใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน √ 8. ครูสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ และการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน √ 9. ครูมีการประเมินผลการเรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ยุติธรรม และ ให้ข้อมูลป้อนกลับที่สามารถนาไปปรับและพัฒนาตนเองได้ √ 10. ความตรงต่อเวลา และความสม่าเสมอในการสอน √ รวม 8 2 เฉลี่ย 92.00 ฉบับที่ 5 แบบประเมินความคิดเห็นของผู้เรียน
  • 28. ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะอื่นๆ 1. สิ่งที่นักเรียนประทับใจ 2. สิ่งที่นักเรียนอยากให้ครูปรับปรุง - ไม่มี 3. กิจกรรมที่นักเรียนชอบ ลงชื่อ (นางสาว กาญจนา ชูรักษา) ชั้น ม.4/1 1 มี.ค. 2566
  • 31.
  • 32.
  • 34.
  • 35.