SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  104
Télécharger pour lire hors ligne
๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑
วิชา ทัศนศิลป์ ๓ ศ ๒๓๑๐๑ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
เรื่อง สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดยใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ เวลา ๖ ชั่วโมง
๑ เป้าหมายการเรียนรู้
๑. อธิบายทัศนธาตุ หลักการออกแบบในสิ่งแวดล๎อมและงานทัศนศิลป์
๒. อธิบายเทคนิควิธีการของศิลปินในการสร๎างงานทัศนศิลป์
๓. อธิบายและวิเคราะห๑วิธีการใช๎ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสร๎างงานทัศนศิลป์
๔. สร๎างสรรค๑ผลงานและประยุกต๑ใช๎ทัศนธาตุและหลักการออกแบบสร๎างงานทัศนศิลป์
๒ สาระสาคัญ
การเรียนทัศนศิลป์นั้น นักเรียนต๎องเรียนรู๎เกี่ยวกับทัศนธาตุซึ่งเป็นการนาเอาองค๑ประกอบตํางๆ
ทางศิลปะมาประกอบรวมกันเป็นองค๑ประกอบศิลป์ ทาให๎เกิดความงามตามหลักการทางศิลปะ ซึ่งเป็น
การสร๎างสรรค๑ผลงานทางจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม โดยมีสํวนประกอบที่สาคัญได๎แกํ จุด
และเส๎น
๓ มาตรฐานและตัวชี้วัด
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร๎างสรรค๑งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร๎างสรรค๑ วิเคราะห๑
วิพากษ๑วิจารณ๑คุณคํางานทัศนศิลป์ ถํายทอดความรู๎สึก ความคิดตํองานศิลปะอยํางอิสระ ชื่นชมและ
ประยุกต๑ใช๎ในชีวิตประจาวัน
ตัวชี้วัด: สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๑. บรรยายสิ่งแวดล๎อมและงานทัศนศิลป์ที่เลือกมา โดยใช๎ความรู๎เรื่องทัศนธาตุและหลักการ
ออกแบบ
๒. ระบุและบรรยายเทคนิค วิธีการของศิลปินในการสร๎างงานทัศนศิลป์
๓. วิเคราะห๑และบรรยายวิธีการใช๎ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสร๎างงานทัศนศิลป์ของ
ตนเองให๎มีคุณภาพ
๗. สร๎างสรรค๑งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว โดยประยุกต๑ใช๎ทัศนธาตุและหลักการ
ออกแบบ
๔ สาระการเรียนรู้
๒
๑. ทัศนธาตุ หลักการออกแบบ และวิธีการนามาใช๎สร๎างงานทัศนศิลป์
กิจกรรมเรื่อง : ความสมดุลของศิลปะและธรรมชาติ
๒. ผลงาน เทคนิค วิธีการของศิลปินไทยในการสร๎างงานทัศนศิลป์
กิจกรรมเรื่อง : ตามรอยเหม เวชกร
๕ กิจกรรมฝึกทักษะที่ควรเพิ่มให้นักเรียน
K (Knowledge)
ความรู้ความเข้าใจ
P (Practica)
การฝึกปฏิบัติ
A (Attitude)
คุณลักษณะอันพึงประสงค๑
C (capacity)
สมรรถนะสาคัญ
วิเคราะห๑และบรรยาย
วิธีการใช๎ทัศนธาตุหลักการ
ออกแบบในการสร๎างงาน
ทัศนศิลป์ รวมทั้งผลงาน
เทคนิควิธีการของศิลปิน
ไทยในการสร๎างงาทัศนศิลป์
นามาประยุกต๑ใช๎สร๎างสรรค๑
งานเพื่อสื่อความหมาย
ถํายทอดประสบการณ๑และ
จินตนาการได๎
๑ . อ ธิ บ า ย ทั ศ น ธ า ตุ
ห ลั ก ก ารอ อ ก แ บ บ ใ น
สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม แ ล ะ ง า น
ทัศนศิลป์
๒. อธิบายเทคนิควิธีการ
ของศิลปินในการสร้างงาน
ทัศนศิลป์
๓. อธิบายและวิเคราะห์
วิธีการใช้ทัศนธาตุและ
หลักการออกแบบในการ
สร้างงานทัศนศิลป์
๔. สร้างสรรค์ผลงานและ
ประยุกต์ใช้ทัศนธาตุและ
หลักการออกแบบสร้าง
งานทัศนศิลป์
๑. รักชาติ ศาสน๑ กษัตริย๑
๒. ซื่อสัตย๑สุจริต
๓. มีวินัย
๔. ใฝุเรียนรู๎
๕. อยูํอยํางพอเพียง
๖. มุํงมั่นในการทางาน
๗. รักความเป็นไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
๑. ความสามารถในการ
สื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการ
แก้ปัญหา
๔. ความสามารถในการใช้
ทักษะชีวิต
๕. ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยี
๖ การวัดและประเมินผล
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑) คาถามสํงเสริมการเรียนรู๎
๒) กิจกรรมพัฒนากระบวนการคิด
๓) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุํม
๔) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๓
๕) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค๑
๒. วิธีวัดผล
๑) ตรวจคาถามสํงเสริมการเรียนรู๎
๒) ตรวจกิจกรรมพัฒนากระบวนการคิด
๓) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุํม
๔) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๕) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค๑
๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
๑) การประเมินผลจากคาถามสํงเสริมการเรียน ต๎องผํานเกณฑ๑การทดสอบเกินร๎อยละ ๕๐
๒) การประเมินผลจากแบบตรวจกิจกรรมพัฒนากระบวนการคิด ต๎องผํานเกณฑ๑การประเมิน
เรื่องความรู๎ความเข๎าใจ การนาไปใช๎ทักษะ และจิตพิสัย ทุกชํองเกินร๎อยละ ๕๐
๓) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุํม ต๎องผํานเกณฑ๑การประเมิน คือ
เกินร๎อยละ ๕๐
๔) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ๑ผํานการประเมิน ต๎องไมํมีชํอง
ปรับปรุง
๕) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค๑ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยูํกับการ
ประเมินตามสภาพจริง
๗ หลักฐาน/ผลงาน
๑) ผลการตอบคาถามสํงเสริมการเรียนรู๎
๒) ผลการทากิจกรรมพัฒนากระบวนการคิด
๘ กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๑-๒
ขั้นปฐมนิเทศ/นาเข้าสู่บทเรียน
๑. นักเรียนรับฟังคาชี้แจง สับเขปวิชา ทัศนศิลป์ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ เวลาเรียนและการ
ประเมินผล ซักถามปัญหา รวมทั้งแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนวิชานี้
๒. ครูชี้แจงวิธีการประเมินสมรรถนะสาคัญของนักเรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค๑ของ
นักเรียนวําจะต๎องทาควบคูํกับกระบวนการทากิจกรรมกลุํม และครูจะดูพัฒนาการของนักเรียนไปตลอด
ภาคการศึกษา
๔
๓. ครูชี้แจงกาหนดคําระดับคะแนน ตามเกณฑ๑ดังนี้
คะแนนร๎อยละ ๘๐-๑๐๐ ได๎เกรด ๔
คะแนนร๎อยละ ๗๕-๗๙ ได๎เกรด ๓.๕
คะแนนร๎อยละ ๗๐-๗๔ ได๎เกรด ๓
คะแนนร๎อยละ ๖๕-๖๙ ได๎เกรด ๒.๕
คะแนนร๎อยละ ๖๐-๖๔ ได๎เกรด ๒
คะแนนร๎อยละ ๕๕-๕๙ ได๎เกรด ๑.๕
คะแนนร๎อยละ ๕๐-๕๔ ได๎เกรด ๑
คะแนนร๎อยละ ๐-๔๙ ได๎เกรด ๐
๔. ครูและนักเรียนสนทนาถึงการใช๎เส๎นเพื่อแสดงออกทางอารมณ๑ เป็นการเลียนแบบความรู๎สึก
ของมนุษย๑ที่มีตํอมวลของวัตถุที่ปรากฏอยูํในอากาศ เชํน เส๎นตั้งหรือเส๎นตรงที่ทามุม ๙๐ องศากับ
พื้นดิน ยํอมแสดงความรู๎สึกมั่นคงแข็งแรงมากกวําเสาที่ตั้งเอียง การกํอสร๎างบ๎านเรือนนั้นถ๎าต๎องการให๎
บ๎านมั่นคงแข็งแรงก็ต๎องปักเสาให๎เป็นเส๎นตั้งตรงกับพื้นดิน และในทานองเดียวกันกับสิ่งกํอสร๎างอื่นๆ ถ๎า
ต๎องการความมั่นคงแข็งแรง ก็ต๎องสร๎างมวลของสิ่งกํอสร๎าง
ขั้นสอน
๕. ครูอธิบายและวิเคราะห๑ทัศนธาตุ หลักการออกแบบ และวิธีการนามาใช๎สร๎างงานทัศนศิลป์ โดย
ใช๎รูปภาพและแผํนใสประกอบการเรียน เพื่อสื่อความหมายให๎นักเรียนเข๎าใจงํายยิ่งขึ้น
๖. ครูอธิบายสํวนประกอบของทัศนธาตุที่สาคัญเพิ่มเติม ได๎แกํ
 จุด คือ ทัศนธาตุที่เล็กที่สุด และเป็นจุดกาเนิดของทัศนธาตุตํางๆ
 เส้น เกิดจากการเรียงตัวของจุด มีความสาคัญที่สุดในการสร๎างสรรค๑งานศิลป์ เพราะเส๎น
เป็นตัวควบคุมพื้นที่ของรูปเพื่อกํอให๎เกิดความหมาย รวมไปถึงบํงบอกขนาด ความยาว ทิศทาง และเป็น
สื่อแสดงออกทางอารมณ๑ของศิลปินอีกด๎วย
๗. ครูเปรียบเทียบรูปภาพของการใช๎เส๎นในลักษณะตํางๆ เพื่อแสดงให๎นักเรียนเข๎าใจ เชํน การ
นาเสนอเส๎นตั้งบนภาพเขียนก็เชํนเดียวกัน ให๎เรากาหนดขอบภาพด๎านลํางเป็นแนวพื้นดินเส๎นตรงที่ลาก
ตั้งฉากกับขอบภาพจะให๎ความรู๎สึกมั่นคง แข็งแรง โดยเน๎นให๎นักเรียนพิจารณาจากรูปภาพจะเห็นวํา
ภาพ A มีความมั่นคงแข็งแรงมากกวําภาพ B เพราะแนวมวลเป็นเส๎นตรงตั้งฉากกับพื้นดิน
๕
๘. ครูและนักเรียนพิจารณาและวิเคราะห๑การนาเสนอเส๎นตั้งบนภาพเขียนก็เชํนเดียวกัน ให๎เรา
กาหนดขอบภาพด๎านลํางเป็นแนวพื้นดินเส๎นตรงที่ลากตั้งฉากกับขอบภาพจะให๎ความรู๎สึกมั่นคง แข็งแรง
โดยเน๎นจากภาพจะเห็นวํา เส๎น A ให๎ความรู๎สึกมั่นคงแข็งแรงมากกวําเส๎น B เพราะแนวเส๎น A เป็นเส๎นตรง
ลากตั้งฉากกับขอบภาพด๎านลําง
๙. นักเรียนรวบรวมรูปภาพวาดและรูปภาพเขียนที่มีชื่อเสียงจากแหลํงความรู๎ตําง ๆ เพื่อนามา
แสดงความคิดเห็นในห๎องเรียนในเรื่องของการใช๎เส๎นและจุด
๑๐. ครูและนักเรียนอธิบายและวิเคราะห๑รูปรําง ซึ่งเป็นพื้นที่ล๎อมรอบด๎วยเส๎น มีลักษณะ ๒ มิติ
(ความกว๎างและความยาว) ได๎แกํ รูปรํางเรขาคณิต รูปรํางธรรมชาติ และรูปรํางอิสระ โดยแสดงรูปภาพ
ลักษณะตํางๆ ประกอบ
๑๑. ครูอธิบายและวิเคราะห๑รูปทรง ซึ่งเป็นพื้นที่ของวัตถุในอากาศที่ประกอบด๎วย มวล (Mass) และ
ปริมาตร (Volume) ซึ่งแสดงให๎เห็นเป็น ๓ มิติ (ความกว๎าง ความยาว และความสูง) ได๎แกํ รูปทรง
เรขาคณิต รูปทรงธรรมชาติ และรูปทรงอิสระ
๖
๑๒. ครูแนะนาให๎นักเรียนทุกคนได๎น๎อมนาเอาหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต๑ใช๎ในการเรียนรู๎ใน
การทางานด๎านศิลปะเพื่อประโยชน๑ในการสร๎างอาชีพและสร๎างงานให๎กับตนเองตํอไป
๑๓. ครูชี้ให๎นักเรียนได๎ตระหนักถึงความสาคัญของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมี ๕ สํวน ดังนี้
ส่วนที่ ๑ กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยูํ และปฏิบัติตนในทางที่ควร
จะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย นามาประยุกต๑ใช๎ได๎ตลอดเวลา เป็นการมองโลก
เชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูํตลอดเวลา มุํงเน๎นการรอดพ๎นจากภัย วิกฤต เพื่อความมั่นคงและความ
ยั่งยืนของการพัฒนา
ส่วนที่ ๒ คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต๑ใช๎กับการปฏิบัติตนได๎ทุกระดับ
โดยเน๎นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอยํางเป็นขั้นตอน
ส่วนที่ ๓ คานิยาม ความพอเพียง ต๎องประกอบด๎วย ๓ คุณลักษณะ พร๎อมๆ กันดังนี้
๑) ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมํน๎อยเกินไป และไมํมากเกินไป โดยไมํ
เบียดเบียนตนเองและผู๎อื่น
๒) ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียง ต๎องเป็นไปอยํางมี
เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข๎องและคานึงถึงผลที่คาดวําจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้นอยําง
รอบคอบ
๓) การมีภูมิคุ๎มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให๎พร๎อมรับผลกระทบ และการ
เปลี่ยนแปลงด๎านตํางๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได๎ของสถานการณ๑ที่คาดวําจะเกิดขึ้นใน
อนาคต
ส่วนที่ ๔ เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมตํางๆ ให๎อยูํในระดับพอเพียงนั้น ต๎อง
อาศัยทั้งความรู๎ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน ประกอบด๎วย
๑) เงื่อนไขความรู๎ ประกอบด๎วย ความรอบรู๎เกี่ยวกับวิชาการที่เกี่ยวข๎องอยํางรอบด๎าน
ความรอบคอบที่จะนาความรู๎เหลํานั้นมาพิจารณาให๎เชื่อมโยงกัน เพื่อวางแผน และความระมัดระวังใน
ขั้นปฏิบัติ
๒) เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต๎องเสริมสร๎างประกอบด๎วย มีความตระหนักในคุณธรรม มี
ความซื่อสัตย๑สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช๎สติปัญญาในการดาเนินชีวิต
๗
ส่วนที่ ๕ แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา
ประยุกต๑ใช๎ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร๎อมรับตํอการเปลี่ยนแปลงในทุกด๎านเศรษฐกิจ สังคม
สิ่งแวดล๎อม ความรู๎ และเทคโนโลยี
ขั้นสรุปและประยุกต์ใช้
๑๔. ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นรํวมกันในเรื่องการใช๎เส๎นและจุดในการสร๎างสรรค๑ผลงาน
โดยครูใช๎คาถามนาให๎นักเรียนตอบ และยกตัวอยํางประกอบตามความเข๎าใจ
๑๕. นักเรียนวาดรูปเส๎นนอน เส๎นเฉียง และเส๎นโค๎งหรือเส๎นคด รวมทั้งจุด สํงครูเพื่อประเมินผล
๑๖. ครูเน๎นให๎นักเรียนนาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต๑ใช๎ในชีวิตประจาวัน และปรับใช๎ในการเรียน
เพื่อปลูกฝังให๎ดาเนินชีวิตได๎อยํางมีความสุขตํอไป
ชั่วโมงที่ ๓-๔
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๑๗. ครูนารูปภาพของเบอร๑นาร๑ด บิเรนสัน ที่แสดงให๎เห็นน้าหนักของแสงที่มีตํอสายตาทาให๎เกิดรูป
และพื้น ทาให๎เห็นความแตกตํางระหวํางรูปและพื้น และรูปภาพของคิเลียนที่แสดงให๎เห็นน้าหนักของ
แสงที่มีตํอสายตาทาให๎เกิดรูปทรงและบริเวณวําง ทาให๎เห็นความแตกตํางระหวํางรูปทรงกับบริเวณวําง
๑๘. เปิดโอกาสให๎นักเรียนสนทนาซักถามและมีสํวนรํวมกันแสดงความคิดเห็น
๑๙. ครูเชื่อมโยงเข๎าสูํบทเรียน และแจ๎งกิจกรรมฝึกทักษะที่ควรเพิ่มให๎นักเรียนทราบ
ขั้นสอน
๒๐. ครูอธิบาย วิเคราะห๑ และสาธิตการให๎น้าหนักของแสงและเงา หมายถึง คําความเข๎มของแสงที่
ตกกระทบวัตถุสะท๎อนเข๎าสูํสายตาทาให๎เกิดความแตกตํางระหวํางรูปและพื้น รูปทรงกับบริเวณวําง
ระยะใกล๎-ไกล และแสดงรูปภาพประกอบ
๘
๒๑. ครูอธิบาย วิเคราะห๑และสาธิตการใช๎สี ซึ่งเป็นทัศนธาตุที่เกิดจากปฏิกิริยาระหวํางสายตากับ
แสงที่ตกกระทบวัตถุแล๎ววัตถุดูดซับรังสีของแสงไมํเทํากัน การมองเห็นสีทางศิลปะคือการรับรู๎ทาง
สุนทรียภาพ ทาให๎เกิดอารมณ๑คล๎อยตาม เชํน เกิดอารมณ๑ตื่นเต๎นเร๎าใจ อารมณ๑สงบ เยือกเย็น อารมณ๑
เศร๎า เงียบเหงา อารมณ๑สดชื่น อิ่มเอม เป็นต๎น โดยครูยกตัวอยํางวงจรสีทางด๎านศิลปะประกอบ
๒๒.ครูอธิบายและวิเคราะห๑พื้นผิว ซึ่งเป็นบริเวณผิวของงานศิลปะที่ปรากฏให๎เห็นมีลักษณะเรียบ
ขรุขระ หยาบ มันวาว ลักษณะของพื้นผิวที่แตกตํางกันนี้ กํอให๎เกิดอารมณ๑ในการรับรู๎ตํางกัน เชํน รูปผิว
มันแวววาวทาให๎เกิดคุณคําตื่นเต๎น เร๎าใจ สํวนรูปผิวตํางกันทาให๎เกิดรูปได๎
๙
๒๓. ครูอธิบายบริเวณวําง หมายถึง บริเวณที่ไมํมีรูปปรากฏซึ่งอาจหมายถึงบริเวณที่เป็นพื้นหรือ
บริเวณที่เป็นอากาศวํางเปลํา ซึ่งบริเวณวํางนี้จะต๎องมีความสัมพันธ๑กับรูปรํางหรือรูปทรง เชํน บริเวณ
วํางของพื้นที่ทาให๎เห็นรูปทรงมีความอํอนช๎อยและโดดเดํน สํวนบริเวณวํางในอากาศทาให๎เห็นวําโต๏ะมี
ความโปรํงบางและมีรูปทรงที่อํอนช๎อยงดงาม
๒๔. ครูอธิบายและวิเคราะห๑จุดเดํนของภาพ ซึ่งเป็นการวางเนื้อหาสาคัญให๎ปรากฏเดํนชัดตรงจุดตัด
ของตาราง ๙ ชํอง ซึ่งสามารถเน๎นจุดเดํนได๎หลายวิธี เชํน การเน๎นด๎วยสี การเน๎นด๎วยวัตถุ การเน๎นด๎วย
ความแตกตําง การเน๎นด๎วยการตกแตํงที่ประณีตบรรจง เชํน ตาราง ๙ ชํอง กาหนดจุดเน๎นที่ตาแหนํง A
B C หรือ C และรูปภาพแสดงจุดเน๎นด๎วยสีที่ตาแหนํง C และ D
๒๕. ครูอธิบายและวิเคราะห๑ดุลยภาพ ซึ่งเป็นการจัดโครงสร๎างของงานให๎อยูํในลักษณะสมดุลหยุด
นิ่งหรือทรงตัว อยูํได๎อยํางคงที่ ลักษณะของความสมดุลมี ๒ อยําง คือ สมดุลซ๎าย-ขวาเทํากัน หมายถึง
การจัดวางรูปรําง รูปทรงและสีให๎เหมือนกันทั้งด๎านซ๎ายและด๎านขวา เชํน จากรูปภาพเมื่อแบํงครึ่งภาพ
ออกเป็น ๒ สํวน ซ๎าย-ขวา จะเห็นภาพมีน้าหนักสีและโครงสร๎างของภาพที่เหมือนกันหรือคล๎ายคลึงกัน
มาก
๑๐
๒๖. ครูอธิบายและวิเคราะห๑จังหวะ ซึ่งเป็นการมองเห็นเนื้อหาของผลงานมีความตํอเนื่องสอดคล๎อง
กัน ไมํเกิดการสะดุดหรือขาดชํวง ถ๎าเปรียบจังหวะกับการเขียนตัวหนังสือก็ได๎แกํการเว๎นชํองไฟและการ
เว๎นวรรค เชํน จากรูปภาพจะเห็นลวดลายของผ๎าถูกจัดวางเป็นชํวงๆ โดยเว๎นระยะหํางเทําๆ กัน ซึ่ง
มองดูเป็นระเบียบ สวยงาม ไมํขัดนัยน๑ตาและความรู๎สึกเรียกวําจัดจังหวะได๎สวยงามลงตัวพอดี
๒๗. ครูอธิบาย วิเคราะห๑และสาธิตสัดสํวน ทิศทาง เอกภาพและความกลมกลืน ความหลากหลาย
โดยยกตัวอยํางประกอบ และสาธิต
๒๘. ครูแนะนาให๎นักเรียนสร๎างเสริมภูมิคุ๎มกันให๎กับตนเอง โดยการศึกษาให๎เข๎าใจเมื่อมีปัญหา
เกี่ยวกับการเขียนหรือวาดรูปภาพทางด๎านศิลปะ เพื่อนาไปประกอบอาชีพตํอไป
๒๙. ครูยกตัวอยํางการนาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต๑ใช๎ในงานอาชีพศิลปะ เพื่อสร๎างภูมิคุ๎มกันที่ดีใน
ตัวเอง และเพื่อเสริมสร๎างและดารงชีวิตให๎มีประสิทธิภาพ
ขั้นสรุปและประยุกต์ใช้
๓๐. นักเรียนและครูสรุปโดยการสาธิตการวาดหรือเขียนภาพ โดยการใช๎สี และอื่นๆ ที่เกี่ยวข๎อง
๓๑. นักเรียนทากิจกรรมสํงเสริมการเรียนรู๎
ชั่วโมงที่ ๕-๖
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๓๒. ครูและนักเรียนสนทนาเรื่องการเขียนลวดลายตํางๆ และอุปกรณ๑ในการเขียนหรือวาดรูป
๓๓. นักเรียนเตรียมอุปกรณ๑ที่จาเป็นในการเขียนหรือวาดรูปเพื่อฝึกปฏิบัติ
๑๑
๓๔. เปิดโอกาสให๎นักเรียนสนทนาซักถามและมีสํวนรํวมกันแสดงความคิดเห็น
๓๕. ครูเชื่อมโยงเข๎าสูํบทเรียน และแจ๎งกิจกรรมฝึกทักษะที่ควรเพิ่มให๎นักเรียนทราบ
ขั้นสอน
๓๖. นักเรียนนาความรู๎เรื่องทัศนธาตุและหลักการออกแบบมาประดิษฐ๑วําวไทยให๎มีสีสันและ
ลวดลายสวยงาม สามารถปลํอยให๎ลอยขึ้นสูํท๎องฟูาได๎เป็นเวลานาน โดยนักเรียนสามารถศึกษาการทา
วําวเพิ่มเติมจากหนังสือศิลปะประดิษฐ๑วําวไทยของคุณลุงนิยม คนซื่อ (สานักพิมพ๑เพชรกะรัต)
๓๗ นักเรียนแสดงวิธีทาดังนี้
๑) ใช๎ไม๎ไผํเหลาให๎กลมจานวน ๒ ชิ้น ใช๎ทาไม๎อกยาว ๒๕ นิ้ว และไม๎ปีกยาว ๓๐ นิ้ว
๒) ประกอบไม๎ปีกและไม๎อกโดยดูอัตราสํวนจากภาพข๎างต๎น
๓) ติดตัววําวด๎วยกระดาษฟางจีนทับโครงวําวด๎วยกาวลาเท็กซ๑
๔) เขียนลวดลายบนตัววําวด๎วยภาพที่สมดุลซ๎าย-ขวาให๎สวยงาม แล๎วผูกเชือกซุงยาว ๕๓ นิ้ว
กับโครงวําว (ภาพเขียนบนตัววําวต๎องแสดงความสมดุลซ๎าย-ขวา)
๕) ปรับปรุงวําวให๎สามารถขึ้นลอยบนท๎องฟูาได๎แล๎วทดสอบปลํอยวําวขึ้นสูํท๎องฟูา
๖) นักเรียนทารายงานเกี่ยวกับความสมดุลของวําว ธรรมชาติและงานศิลปะหน๎าวําว
๓๘. ครูนาผลงาน เทคนิค วิธีการของศิลปินไทยในการสร๎างงานทัศนศิลป์ เชํน เหม เวชกร,
ประเทือง เอมเจริญ, มานิตย๑ นิเวศน๑ศิลป์ มาแสดงให๎นักเรียนดู และเลําประวัติสํวนตัวรวมทั้งประวัติ
งานด๎านศิลปะให๎นักเรียนฟัง
๓๙. นักเรียนเขียนภาพประกอบเรื่องราวในวรรณคดีไทยที่นักเรียนกาลังเรียนในชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ ๓โดยยกบทร๎อยกรองมาประกอบภาพ
๔๐. นักเรียนทากิจกรรม ดังนี้
๑) ยกบทร๎อยกรองมา ๑-๒ บท
๒) ออกแบบทําทางของตัวละครให๎สัมพันธ๑กับบทร๎อยกรอง (ศึกษาการเขียนภาพประกอบ
เรื่องราวในวรรณคดี จากผลงานของเหม เวชกร)
๓) เขียนภาพด๎วยลายเส๎นหรือปากกา แล๎วลงสีให๎สวยงาม
๔) เขียนบทร๎อยกรองประกอบไว๎ที่ภาพ เพื่อให๎ผู๎ดูมีความเข๎าใจในเนื้อหาของภาพเขียนมาก
ยิ่งขึ้น
๔๑. ครูยกตัวอยํางการนาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต๑ใช๎ในงานอาชีพศิลปะ เพื่อสร๎างภูมิคุ๎มกันที่ดีใน
ตัวเอง และเพื่อเสริมสร๎างและดารงชีวิตให๎มีประสิทธิภาพ
๑๒
ขั้นสรุปและการประยุกต์ใช้
๔๒. นักเรียนและครูสรุปกิจกรรมพัฒนากระบวนการคิดที่ ๑ เรื่องความสมดุลของศิลปะและ
ธรรมชาติ
๔๓. นักเรียนตอบคาถามกิจกรรมสํงเสริมการเรียนรู๎ ดังนี้
๑) อธิบายและบรรยายการนาทัศนธาตุ หลักการออกแบบมาสร๎างสรรค๑งานประดิษฐ๑วําวไทย
๒) นาความรู๎เรื่องทัศนธาตุและหลักการออกแบบไปใช๎ประโยชน๑ในชีวิตประจาวันได๎อยํางไร
๔๔. นักเรียนและครูสรุปกิจกรรมพัฒนากระบวนการคิดที่ ๒ เรื่องตามรอยเหม เวชกร
๔๕. นักเรียนตอบคาถามกิจกรรมสํงเสริมการเรียนรู๎ ดังนี้
๑) อธิบายเทคนิค วิธีการของศิลปินไทยในการสร๎างงานทัศนศิลป์
๒) นักเรียนนาความรู๎เรื่องเทคนิค วิธีการในการสร๎างงานทัศนศิลป์ไปใช๎ประโยชน๑ใน
ชีวิตประจาวันได๎อยํางไร
๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
๑. หนังสือเรียนรายวิชา ทัศนศิลป์ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของบริษัท สานักพิมพ๑เอมพันธ๑ จากัด
๒. แผํนใส และรูปภาพประกอบ
๑๐ การบูรณาการ
๑. กลุํมสาระการเรียนรู๎ภาษาไทย ได๎แกํ ทักษะการฟัง ทักษะการอําน ทักษะการเขียนและทักษะ
การพูด
๒. การบูรณาการ มีดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การบูรณาการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยใช้
ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ
คุณธรรมจริยธรรม
หน้าที่พลเมืองดี
๑๓
กิจกรรมพัฒนากระบวนการคิดที่ ๑
กิจกรรมเรื่อง : ความสมดุลของศิลปะและธรรมชาติ
คาชี้แจง ให๎นักเรียนนาความรู๎เรื่องทัศนธาตุและหลักการออกแบบมาประดิษฐ๑วําวไทยให๎มีสีสันและ
ลวดลายสวยงาม สามารถปลํอยให๎ลอยขึ้นสูํท๎องฟูาได๎เป็นเวลานาน
วิธีทา ๑. ใช๎ไม๎ไผํเหลาให๎กลมจานวน ๒ ชิ้น ใช๎ทาไม๎
อกยาว ๒๕ นิ้ว และไม๎ปีกยาว ๓๐ นิ้ว
๒. ประกอบไม๎ปีกและไม๎อกโดยดูอัตราสํวน
จากภาพ
๓. ติดตัววําวด๎วยกระดาษฟางจีนทับโครงวําว
ด๎วยกาวลาเท็กซ๑
๔. เขียนลวดลายบนตัววําวด๎วยภาพที่สมดุล
ซ๎าย-ขวาให๎สวยงาม แล๎วผูกเชือกซุงยาว ๕๓ นิ้วกับโครง
วําว (ภาพเขียนบนตัววําวต๎องแสดงความสมดุลซ๎าย-ขวา)
๕. ปรับปรุงวําวให๎สามารถขึ้นลอยบนท๎องฟูาได๎แล๎ว
ทดสอบปลํอยวําวขึ้นสูํท๎องฟูา
๖. นักเรียนทารายงานเกี่ยวกับความสมดุลของวําว
ธรรมชาติและงานศิลปะหน๎าวําว
๑๔
กิจกรรมพัฒนากระบวนการคิดที่ ๒
กิจกรรมเรื่อง : ตามรอยเหม เวชกร
คาชี้แจง ให๎นักเรียนเขียนภาพประกอบเรื่องราวในวรรณคดีไทยที่นักเรียนกาลังเรียนในชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ ๓ โดยยกบทร๎อยกรองมาประกอบภาพ
วิธีทา ๑. ยกบทร๎อยกรองมา ๑-๒ บท
๒. ออกแบบทําทางของตัวละครให๎สัมพันธ๑กับบทร๎อยกรอง (ศึกษาการเขียนภาพประกอบ
เรื่องราวในวรรณคดี จากผลงานของเหม เวชกร)
๓. เขียนภาพด๎วยลายเส๎นหรือปากกา แล๎วลงสีให๎สวยงาม
๔. เขียนบทร๎อยกรองประกอบไว๎ที่ภาพ เพื่อให๎ผู๎ดูมีความเข๎าใจในเนื้อหาของภาพเขียนมาก
ยิ่งขึ้น
บันทึกหลังการสอน
๑. ผลการสอน
……………………………………………………………………………………………...……
…………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………….
๒. ปัญหา/อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………..…
………………………………………………………………………………………………..…
……………………………………………………………………………………………..……
๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………….…
๑๕
……………………………………………………………………………………………….……
…………………………………………………………………………………………………….
ลงชื่อ...............................................ครูผู๎สอน
(..............................................)
วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ...........
๔. ข้อเสนอแนะรองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………….……….
…………………………………………………………………………………………………….…………….
………………………………………………………………………………………………………….……….
………………………………………………………………………………………………………..………….
……………………………………………………………………………………………………..…………….
ลงชื่อ...............................................................
( ..................................... )
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒
วิชา ทัศนศิลป์ ๓ ศ ๒๓๑๐๑ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง ทักษะในการสร้างงานทัศนศิลป์ เวลา ๘ ชั่วโมง
๑ เป้าหมายการเรียนรู้
๑. สร๎างงานทัศนศิลป์ทั้งไทยและสากล
๒. ใช๎หลักการออกแบบในการสร๎างงานสื่อผสม
๓. สร๎างงานทัศนศิลป์แบบ ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพื่อถํายทอดประสบการณ๑ และจินตนาการ
๔. ใช๎เทคนิค วิธีการที่หลากหลายสร๎างงานทัศนศิลป์เพื่อสื่อความหมาย
๒ สาระสาคัญ
๑๖
ทัศนศิลป์ไทย หมายถึง ศิลปะที่มองเห็นความงามได๎จากรูปลักษณ๑ รับรู๎ได๎จากประสาทสัมผัสทาง
ตาสัมผัสจับต๎องได๎และกินระวางพื้นที่ในอากาศ ได๎แกํ จิตรกรรมไทย ประติมากรรมไทย และ
สถาปัตยกรรมไทยที่มีรูปแบบเป็นเอกลักษณ๑ประจาชาติของไทย
๓ มาตรฐานและตัวชี้วัด
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร๎างสรรค๑งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร๎างสรรค๑ วิเคราะห๑
วิพากษ๑วิจารณ๑คุณคํางานทัศนศิลป์ ถํายทอดความรู๎สึก ความคิดตํองานศิลปะอยํางอิสระ ชื่นชมและ
ประยุกต๑ใช๎ในชีวิตประจาวัน
ตัวชี้วัด: สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๔. มีทักษะในการสร๎างงานทัศนศิลป์อยํางน๎อย ๓ ประเภท
๕. มีทักษะในการผสมผสานวัสดุตํางๆ ในการสร๎างงานทัศนศิลป์โดยใช๎หลักการออกแบบ
๖. สร๎างงานทัศนศิลป์ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพื่อถํายทอดประสบการณ๑และจินตนาการ
๙. สร๎างสรรค๑งานทัศนศิลป์เพื่อบรรยายเหตุการณ๑ตํางๆ โดยใช๎เทคนิคที่หลากหลาย
๔ สาระการเรียนรู้
๑. การสร๎างงานทัศนศิลป์ทั้งไทยและสากล
กิจกรรมเรื่อง : เขียนภาพดอกไม๎ด๎วยสีน้า
๒. การใช๎หลักการออกแบบในการสร๎างงานสื่อผสม
กิจกรรมเรื่อง : การออกแบบสร๎างสรรค๑งานศิลปะสื่อผสม
๓. การสร๎างงานทัศนศิลป์แบบ ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพื่อถํายทอดประสบการณ๑และจินตนาการ
กิจกรรมเรื่อง : เขียนภาพใบหน๎าคนจากภาพ
กิจกรรมเรื่อง : สร๎างประติมากรรมรูปสัตว๑ด๎วยโฟม
๑๗
๕ กิจกรรมฝึกทักษะที่ควรเพิ่มให้นักเรียน
K (Knowledge)
ความรู้ความเข้าใจ
P (Practica)
การฝึกปฏิบัติ
A (Attitude)
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
C (capacity)
สมรรถนะสาคัญ
๑. อธิบายขั้นตอนการจัด
แสดงผลงานศิลปะได้
๒. อ ธิ บายขั้ น ตอ น /
กระบวนการวิจารณ์งาน
ศิลปะได้
๓. อธิบายแนวคิดในการ
เ รี ย น ก า ร ส อ น วิ ช า
ทัศนศิลป์ได้
๑. จัดแสดงผลงานศิลปะ
โดยฝึกปฏิบัติการจัดห้อง
แ ส ด ง อ อ ก แ บ บ ก า ร
แสดงผลงานจัดทาสูจิบัตร
โฆษณาประชาสัมพันธ์
และประเมินผล การจัด
งาน
๒. ฝึกการวิจารณ์งาน
ศิลปะ
๓. แสดงแนวคิดเกี่ยวกับ
วัตถุประสงค์ในการเรียน
วิชาทัศนศิลป์
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซื่อสัตย์สุจริต
๓. มีวินัย
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุ่งมั่นในการทางาน
๗. รักความเป็นไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
๑. ความสามารถในการ
สื่อสาร
๒. ความสามารถในการ
คิด
๓. ความสามารถในการ
แก้ปัญหา
๔. ความสามารถในการใช้
ทักษะชีวิต
๕. ความสามารถในการใช้
เทคโนโลยี
๖ การวัดและประเมินผล
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑) คาถามสํงเสริมการเรียนรู๎
๒) กิจกรรมพัฒนากระบวนการคิด
๓) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุํม
๔) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๕) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค๑
๑๘
๒. วิธีวัดผล
๑) ตรวจคาถามสํงเสริมการเรียนรู๎
๒) ตรวจกิจกรรมพัฒนากระบวนการคิด
๓) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุํม
๔) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๕) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค๑
๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
๑) การประเมินผลจากคาถามสํงเสริมการเรียน ต๎องผํานเกณฑ๑การทดสอบเกินร๎อยละ ๕๐
๒) การประเมินผลจากแบบตรวจกิจกรรมพัฒนากระบวนการคิด ต๎องผํานเกณฑ๑การประเมิน
เรื่องความรู๎ความเข๎าใจ การนาไปใช๎ทักษะ และจิตพิสัย ทุกชํองเกินร๎อยละ ๕๐
๓) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุํม ต๎องผํานเกณฑ๑การประเมิน คือ
เกินร๎อยละ ๕๐
๔) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ๑ผํานการประเมิน ต๎องไมํมีชํอง
ปรับปรุง
๕) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค๑ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยูํกับการ
ประเมินตามสภาพจริง
๗ หลักฐาน/ผลงาน
๑) ผลการตอบคาถามสํงเสริมการเรียนรู๎
๒) ผลการทากิจกรรมพัฒนากระบวนการคิด
๘ กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๑-๒-๓
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๑. ครูและนักเรียนสนทนาถึงลักษณะของงานทัศนศิลป์ไทย เป็นสิ่งที่สร๎างสรรค๑ขึ้นจากอุดมคติ
(Idealistic) มาสูํความจริงตามธรรมชาติ ซึ่งมีรากฐานแนวคิดเชื่อมโยงมาจากคตินิยมความเชื่อทางพุทธ
ศาสนา เนื้อหาในวรรณคดีไทยและวิถีชีวิตความเป็นอยูํแบบวัฒนธรรมไทย
๒. นักเรียนยกตัวอยํางงานทัศนศิลป์ทั่วไป เชํน ฝาผนังโบสถ๑ วิหาร บานประตู บานหน๎าตําง ตู๎
การแกะสลัก จิตรกรรมฝาผนัง เป็นต๎น
๓. ครูเชื่อมโยงเข๎าสูํบทเรียน และแจ๎งกิจกรรมฝึกทักษะที่ควรเพิ่มเติมให๎นักเรียนฟัง
๑๙
ขั้นสอน
๔. ครูสอนโดยวิธีอภิปรายเป็นกลุํมยํอย (Small Group Discussion) จะชํวยให๎เกิดการเรียนรู๎ใน
เรื่องที่เรียนกว๎างขึ้น ซึ่งเป็นกระบวนการที่ชํวยให๎เกิดการเรียนรู๎ตามวัตถุประสงค๑ที่กาหนด โดยจัด
นักเรียนเป็นกลุํมเล็กๆ ประมาณ ๔-๘ คน และให๎แตํละกลุํมพูดคุยแลกเปลี่ยนข๎อมูล ความคิดเห็น และ
ประสบการณ๑ในประเด็นที่กาหนด และสรุปผลการอภิปรายออกมาเป็นข๎อสรุปของกลุํมถึงการสร๎างงาน
ทัศนศิลป์ทั้งไทยและสากล
๕. นักเรียนหารูปภาพตัวอยํางงานทัศนศิลป์ทั้งไทยและสากลจากสื่อสิ่งพิมพ๑ตํางๆ มาคนละ ๑ ชิ้น
๖. ครูอธิบายและยกตัวอยํางลักษณะของงานทัศนศิลป์ไทย เชํน งานจิตรกรรมไทย (จิตรกรรม
ลวดลาย กิจกรรมประกอบหนังสือ จิตรกรรมฝาผนัง ฯลฯ) งานประติมากรรมไทย (การปั้น แกะสลัก
ฯลฯ) งานสถาปัตยกรรมไทย เชํน การนาจิตรกรรมทางลวดลายจิตรกรรมฝาผนังมาใช๎ตกแตํงภายใน
อาคารที่เพดาน เสา ฝาผนัง และการนาประติมากรรมมาใช๎ตกแตํงภายนอกของอาคารตามหน๎าบัน
หัวเสา ฐานโบสถ๑ ราวบันไดและบริเวณ เป็นต๎น
๗. ครูอธิบายและยกตัวอยํางลักษณะของงานทัศนศิลป์สากล เชํน รูปแบบเหมือนจริง (Realism)
เชํน การเขียนภาพคนหรือสัตว๑ รูปแบบตัดทอน (Distortion) เชํน ผู๎หญิงร๎องไห๎ผลงานของปาโบล ปิกัส
โซ หรือรูปภาพนอนเอกเขนก ผลงานของเฮนรี่ มัวร๑ และรูปแบบตามความรู๎สึก (Abstraction) เชํน รูป
นามธรรม
๘. ให๎นักเรียนเขียนรูปภาพเหมือนจริง โดยกาหนดให๎เขียนเป็นรูปดอกไม๎
๙. นักเรียนปฏิบัติ ดังนี้
๒๐
๑) เตรียมอุปกรณ๑
 กระดาษ ใช๎กระดาษ ๑๐๐ ปอนด๑ สาหรับเขียนสีน้าขนาด A3-A2
 พูํกัน ใช๎พูํกัน ๒ ชนิด คือ พูํกันกลม เบอร๑ ๒, ๔, ๖, ๑๖ และพูํกันแบน เบอร๑ ๖, ๑๐, ๑๔
 สีน้า ใช๎สีแดง ชมพู เหลือง มํวง เขียว และน้าเงิน
 ดินสอสาหรับรํางภาพ
 ยางลบ
 เทปกาวสาหรับติดขอบกระดาษกับกระดานรองต๎องเป็นเทปกาวชนิดกระดาษที่ไมํติด
ถาวร
 กระดานรองภาพ
 จานผสมสี
 กระดาษชาระ
 ผ๎ารองพูํกัน
 แก๎วน้า ๓ ใบ
 ภาพต๎นแบบที่จะใช๎วาด (ให๎วาดภาพจากภาพถําย)
๒) ติดกระดาษ ๑๐๐ ปอนด๑ บนกระดานรองภาพด๎วยเทปกาว
๓) แก๎วบรรจุน้าสะอาด ๓ ใบ แก๎วที่ ๑ ใช๎สาหรับล๎างพูํกันครั้งที่ ๑ แก๎วที่ ๒ ใช๎สาหรับล๎าง
พูํกัน ครั้งที่ ๒ แก๎วที่ ๓ ใช๎สาหรับผสมสี
๒๑
๔) บีบสีที่ต๎องการใช๎จากหลอดลงเตรียมไว๎ในจานสีให๎ครบทุกสี สีใดใช๎มากบีบมาก สีใดใช๎น๎อย
บีบน๎อย
๕) เตรียมภาพต๎นแบบที่ใช๎วาดให๎อยูํเบื้องหน๎า
๖) วางพูํกันเรียงไว๎บนผ๎าสาหรับรองพูํกัน
๗) การลงมือปฏิบัติเขียนภาพ ดังนี้
ขั้นตอนที่ ๑ การรํางภาพ ใช๎ดินสอรํางภาพดอกไม๎เบาๆ บนกระดาษ ๑๐๐ ปอนด๑ โดย
เขียนกลีบดอกไม๎ทีละกลีบจนครบทุกกลีบพร๎อมปรับแก๎ให๎ได๎รูปทรงที่ถูกต๎องใกล๎เคียงกับต๎นแบบ
ขั้นตอนที่ ๒ การทดลองสี ให๎ทดลองลงสีกลีบดอกไม๎โดยเขียนกลีบดอกไม๎ ๑ กลีบบน
กระดาษ ๑๐๐ ปอนด๑อีกแผํนหนึ่งที่ใช๎เป็นกระดาษทดลองสี แล๎วใช๎พูํกันระบายสีตามวิธีดังนี้
 เขียนกลีบดอกไม๎ ๑ กลีบ
 ใช๎พูํกันจุํมน้าสะอาดระบายบนกลีบดอกไม๎จนทั่ว
 ใช๎พูํกันจุํมสีบางๆ ระบายบนกลีบดอกไม๎จนทั่ว
๒๒
ขณะที่กลีบดอกไม๎ยังหมาดอยูํ ใช๎พูํกันจุํมสีที่เข๎มขึ้นแล๎วระบายสํวนที่เป็นเงา เมื่อ
ทดสอบสีได๎ใกล๎เคียงกับสีดอกไม๎ต๎นแบบแล๎วจึงลงมือระบายสีบนภาพจริง
ขั้นตอนที่ ๓ การลงสีบนภาพ ลงสีดอกไม๎ทีละกลีบบนภาพที่เขียนจริงจนครบทุกกลีบ
ขั้นตอนที่ ๔ ลงสีพื้น ให๎เตรียมสีพื้นซึ่งสํวนใหญํได๎แกํสีเขียว โดยเตรียมสีให๎มีปริมาณมาก
พอที่จะระบายสํวนที่เป็นพื้นใช๎สีเขียวรองพื้นให๎ทั่วเพื่อเป็นสีของใบที่ถูกแสง และขณะที่สียังหมาดอยูํให๎
ใช๎สีน้าเงินระบายกันเพื่อทาเป็นขอบใบ สํวนที่ต๎องการให๎เป็นเงาเข๎มให๎ใช๎สีน้าเงินผสมกับสีแดงระบาย
ตามตัวอยําง
ตัวอย่างภาพดอกไม้ที่เขียนด้วยสีน้า
๑๐. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้
๑) นักเรียนค๎นหาภาพดอกไม๎สีสวยๆ จากหนังสือพิมพ๑ หรือนิตยสารอื่นๆ แล๎วนามาแปะติด
บนกระดาษแข็ง เพื่อใช๎เป็นต๎นแบบสาหรับเขียน
๒) ศึกษาวิธีเขียนสีน้าจากเนื้อหา “การเขียนสีน้าภาพดอกไม๎”
๓) ลงมือเขียนภาพดอกไม๎จากต๎นแบบที่หามาให๎เสร็จสมบูรณ๑ สวยงาม
๒๓
๑๑. ครูกลําวถึงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อ ให๎เกิดความเข๎าใจและนามาใช๎ในชีวิตประจาวันได๎
ถูกต๎อง ซึ่งเป็นแนวการดาเนินอยูํและการปฏิบัติตนของประชาชนทุกระดับ ตั้งแตํระดับครอบครัวจนถึง
ระดับประเทศ ซึ่งมีหลัอยูํ ๓ ประการ ได๎แกํ ความรู๎จักพอประมาณ ความมีเหตุมีผล และความจาเป็นที่
ต๎องมีภูมิคุ๎มกันในตัวที่ดี ตํอการเกิดผลกระทบเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน จึงต๎องรู๎จักพอเพียง
ในการใช๎ชีวิต ดื่มกินอยํางพอเพียง แตํงตัวไมํเลิศหรูเกินไป ตามหลักที่วําให๎รายจํายน๎อยกวํารายรับ
ดังนั้นถ๎าจิตใจมีภูมิคุ๎มกันที่ไมํดีก็ไมํสามารถอยูํอยํางพอเพียงได๎ไมํวําเรากาลังเรียนหนังสือหรือทางาน
แล๎วก็ตาม สามารถนาหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช๎ได๎ แตํต๎องนามาใช๎อยํางพอประมาณไมํมากหรือน๎อย
จนเกินไป จะทาอะไรต๎องตัดสินใจด๎วยเหตุผลเป็นหลัก
๑๒.นักเรียนยกตัวอยํางการสร๎างภูมิคุ๎มกันที่ดีในตัวเอง เพื่อให๎ผู๎สนใจนาไปปรับใช๎ ดังนี้
๑) การให๎ความรักความอบอุํนภายในครอบครัว
๒) การฝึกให๎รู๎จักระเบียบวินัย การควบคุมตัวเอง
๓) การฝึกทักษะชีวิต ให๎แก๎ไขปัญหาได๎ถูกต๎อง
๔) การฝึกให๎มีเอกลักษณ๑เป็นของตนเอง
ขั้นสรุปและประยุกต์ใช้
๑๓.นักเรียนและครูสรุปขั้นตอนการเขียนภาพดอกไม๎ และเปิดโอกาสให๎ทุกคนรํวมแสดงความ
คิดเห็น
๑๔.ครูและนักเรียนสรุปความรู๎จากกิจกรรมโดยให๎นักเรียนอธิบายความหมาย ลักษณะของการ
สร๎างงานทัศนศิลป์ไทยและทัศนศิลป์สากล
๑๕. ครูแนะนาให๎นักเรียนนาความรู๎เรื่องการสร๎างงานทัศนศิลป์ไทยและทัศนศิลป์สากลไปใช๎
ประโยชน๑ในชีวิตประจาวันได๎อยํางไร
๑๖. ครูแนะนาให๎นักเรียนปฏิบัติหน๎าที่พลเมืองดี ดังนี้
๑) มีจริยธรรมที่ควรประพฤติทาให๎สังคมอยูํด๎วยกันโดยสงบ เชํน มีระเบียบวินัย ตรงตํอเวลา
มีความรับผิดชอบ ไมํเบียดเบียนผู๎อื่น ไมํทาให๎ผู๎อื่นเสียหาย เป็นต๎น
๒) มีคุณธรรมที่ดีมีประโยชน๑ที่สังคมเห็นวําเป็นความดีความงาม เชํน ซื่อสัตย๑ สุจริต มีเมตตา
เอื้อเฟื้อเผื่อแผํ เห็นแกํประโยชน๑สํวนรวม
๓) ความมีศีลธรรม หรือรักษากาย วาจา ใจให๎ปกติ ไมํทาชั่วหรือเบียดเบียนผู๎อื่น เชํน ไมํพูด
เท็จ พูดแตํความจริง ไมํเสพของมึนเมา มีสติอยูํเสมอ ไมํฆําสัตว๑ตัดชีวิต มีความเมตตากรุณา
๒๔
ชั่วโมงที่ ๔
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๑๗. ครูกลําวเพิ่มเติมวําความพอเพียงเป็นเรื่องสาคัญสาหรับตนเองและครอบครัว การจะทาให๎เข๎าใจ
เรื่องความพอเพียง และคําใช๎จํายของตนเองและครอบครัวต๎องมีจิตสานึก รู๎จักบริหารเงินรู๎จักใช๎จําย
๑๘. ครูแนะนาให๎นักเรียนมีการพึ่งตัวเองเป็นหลัก ควรทาอะไรเป็นขั้นตอน รอบคอบ ระมัดระวัง
พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะ พอควร ความสมเหตุสมผล และพร๎อมรับความเปลี่ยนแปลงการสร๎าง
สามัคคีให๎เกิดขึ้นบนพื้นฐานของความสมดุลในแตํละสัดสํวนแตํละระดับ ครอบคลุมทั้งด๎านจิตใจ
วัฒนธรรม สังคม ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล๎อม รวมถึงเศรษฐกิจ และปัญหาเรื่องความไมํรู๎จัก
พอเพียงที่เกิดขึ้นนั้น ต๎องตระหนักและชัดเจนถึงความพอเพียง
๑๙. ครูและนักเรียนสนทนากันเรื่องศิลปะสื่อผสม ซึ่งเป็นผลงานที่เกิดจากการสร๎างสรรค๑ด๎วยการใช๎
สื่อวัสดุตํางชนิดและกลวิธีการสร๎างตั้งแตํ ๒ ชนิดขึ้นไปเข๎ามาผสมผสานกันในผลงานชิ้นนั้นให๎เกิดเป็น
องค๑ประกอบภาพสวยงาม กลมกลืน เป็นศิลปะที่เกิดขึ้นใหมํ แนวคิดแรกๆ นําจะมาจากผลงานศิลปะ
ของปิกัสโซที่สร๎างไว๎ใน ค.ศ. ๑๙๑๒ เป็นภาพหุํนนิ่ง รูปแบบศิลปะสื่อผสมที่เกิดขึ้นใหมํนี้มีอิทธิพลตํอ
ศิลปินมากมายจนปัจจุบันกลายเป็นรูปแบบที่ทุกคนรู๎จักกันดี
๒๐. ครูแสดงรูปภาพศิลปะสื่อผสมเพื่อให๎นักเรียนได๎เกิดการเรียนรู๎และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่ง
กันและกัน
ขั้นสอน
๒๑. ครูอธิบายและวิเคราะห๑การใช๎หลักการออกแบบในการสร๎างงานสื่อผสม โดยฉายวีดิทัศน๑และ
สื่อแผํนใสประกอบเพื่อสื่อความหมายให๎นักเรียนเข๎าใจงํายยิ่งขึ้น
๒๕
๒๒. นักเรียนออกแบบภาพตามความคิด จินตนาการ แล๎วจัดวางสื่อวัสดุประเภทตํางๆ โดยให๎ติดบน
กระดาษแข็ง ตกแตํงด๎วยสีและเทคนิคตํางๆ ตามความเหมาะสม
ขั้นสรุปและการประยุกต์ใช้
๒๓. ครูอธิบายสรุปเพิ่มเติมในสํวนที่ยังไมํได๎กลําวถึง
๒๔. นักเรียนสรุปโดยอธิบายความหมายและหลักการออกแบบสร๎างงานศิลปะสื่อผสม
๒๕. ครูแนะนาให๎นักเรียนนาความรู๎เรื่องการออกแบบสร๎างสรรค๑งานศิลปะสื่อผสมไปใช๎ประโยชน๑ใน
ชีวิตประจาวันได๎อยํางไร
ชั่วโมงที่ ๕-๖-๗-๘
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๒๖. ครูสนทนากับนักเรียนถึงการสร๎างงานทัศนศิลป์แบบ ๒ มิติ และ ๓ มิติ หมายถึง การสร๎างงาน
ศิลปะที่มองเห็นความงามได๎จากรูปลักษณ๑ที่กินระวางพื้นที่และสามารถสัมผัสจับต๎องได๎ โดยการนาผล
จากการรับรู๎ประสบการณ๑มาเป็นแรงบันดาลใจในการจินตนาการสร๎างสรรค๑เพื่อถํายทอดผลงาน ผลงาน
ในด๎าน ๒ มิติ เชํน การวาดเส๎น จิตรกรรม ภาพปะติด ศิลปะภาพพิมพ๑ และศิลปะสื่อผสม สํวนผลงาน
ในด๎าน ๓ มิติ เชํน งานประติมากรรมและสถาปัตยกรรม เป็นต๎น
๒๗. นอกจากนั้นครูได๎แสดงรูปภาพให๎นักเรียนดูเพื่อเชื่อมโยงเข๎าสูํเนื้อหาของหนํวยการเรียน
ขั้นสอน
๒๘. ครูอธิบายและวิเคราะห๑การสร๎างงานทัศนศิลป์แบบ ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพื่อถํายทอด
ประสบการณ๑และจินตนาการ โดยการฉายวีดิทัศน๑และใช๎สื่อแผํนใสประกอบการเรียน
๒๙. ครูและนักเรียนสาธิตการสร๎างงานทัศนศิลป์แบบ ๒ มิติ โดยเริ่มต๎อนจากการเขียนภาพลายเส๎น
 ครูและนักเรียนสาธิตการวาดเส๎นใบหน๎าคนอยํางงําย ดังนี้
๑) อุปกรณ๑
 ดินสอดา EE ๑ แทํง เหลาปลายให๎แหลม
 กระดาษวาดเส๎น (Drawing) กระดาษปรู๏ฟหรือกระดาษหนังสือพิมพ๑ A4 ๑ แผํน
 กระดานรองเขียน
 ยางลบ
 กระดาษชาระหรือสาลี
 ภาพต๎นฉบับ (ภาพถํายสีหรือขาว-ดา)
๒๖
๒) การเตรียม
๒.๑ติดกระดาษวาดเส๎น (กระดาษปรู๏ฟ) กับกระดานรองเขียนโดยใช๎เทปกาว ติดมุม
กระดาษทั้ง ๔ ด๎าน
๒.๒ เตรียมภาพต๎นแบบที่จะใช๎วาดให๎ตั้งอยูํด๎านหน๎า
๓๐. ครูและนักเรียนสาธิตการรํางภาพเบาๆ ตามขั้นตอนดังนี้
๑) เขียนวงกลมแทนสํวนที่เป็นหัวกะโหลก ๒) แบํงครึ่งวงกลมเป็นสองสํวนคือสํวนบนและสํวนลําง
๓) ลากเส๎นแนวตั้งเพื่อกาหนดตาแหนํง ๔) กาหนดนัยน๑ตาอยูํใต๎เส๎นแบํงครึ่ง
กึ่งกลางใบหน๎า ซ๎าย-ขวา เขียนเป็นรูปวงรี เขียนคิ้วเป็นเส๎นโค๎ง
๒๗
๕) กาหนดจมูกอยูํตรงตาแหนํง ๖) กาหนดเส๎นรํองปากให๎อยูํบนแนวขอบวงกลมสํวนลําง
ครึ่งของเส๎นแนวตั้ง
๗) เขียนริมฝีปากบนและลําง ๘) ตํอเส๎นคางและขากรรไกรทั้งสองข๎าง
๙) กาหนดหูทั้งสองข๎างให๎สํวนบนของหู ๑๐)กาหนดเส๎นบริเวณเส๎นผมให๎คลุมอยูํเหนือวงกลม
สูงไมํเกินคิ้ว
๑๑) เก็บรายละเอียดนัยน๑ตา จมูก ปาก
๓๑. ครูและนักเรียนสาธิตการเขียนนัยน๑ตาอยํางงําย ดังนี้
๑) เขียนเป็นวงรีและเขียนลูกตาดา ๒) ลากเส๎นสํวนบนให๎เข๎มหนา
เป็นวงกลม และยาวเลยคลุมสํวนลําง
๓) เขียนลูกตาดาชั้นใน ๔) เขียนแววตาดาชั้นใน
๒๘
๕) เขียนแววตาดาชั้นใน ๖) ตาชั้นเดียว
๗) ตาสองชั้น ๘) ตาสองชั้นมีถุงน้าตา
๓๒. ครูและนักเรียนสาธิตการเขียนจมูกอยํางงําย ดังนี้
๑) กาหนดตาแหนํงของจมูกให๎ถูกต๎อง ๒) ความกว๎างของจมูกอยูํตรงหัวตาทั้งสองข๎าง
๓) เขียนเส๎นหยักกาหนดปลายจมูก
๔) รายละเอียดเส๎นหยักปลายจมูก ๕) เก็บรายละเอียด
๓๓. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมดังนี้
๑) ค๎นหาภาพใบหน๎าคนที่มีขนาดใหญํจากนิตยสาร หนังสือพิมพ๑ หรือเอกสารอื่นๆ แล๎วนา
ภาพมาติดบนกระดาษแข็ง เพื่อใช๎เป็นแบบสาหรับวาด
๒) วาดภาพใบหน๎าคนจากแบบที่หามาบนกระดาษปรู๏ฟ (กระดาษที่มีเนื้อกระดาษเหมือน
กระดาษหนังสือพิมพ๑) ด๎วยดินสอ EE
๒๙
๓) ขั้นตอนการเตรียมและการเขียนให๎ศึกษาจากเนื้อหา “การวาดเส๎นใบหน๎าคนอยํางงําย”
๓๔. ครูและนักเรียนสาธิตการสร๎างงานทัศนศิลป์ ๓ มิติ โดยการแกะสลักโฟมเป็นรูปทรงเรขาคณิต
ดังนี้
๑) อุปกรณ๑
 แผํนโฟมที่มีความหนาขนาดใดก็ได๎
 มีดตัดโฟม (คัตเตอร๑)
 ดินสอลอกลายชนิดอํอน (4B)
 กระดาษสร๎างแบบควรเป็นกระดาษแข็งอยํางน๎อย ๑๐๐ ปอนด๑
 เข็มหมุดสาหรับติดแบบกับโฟม
 สีโปสเตอร๑หรือสีน้าพลาสติก (สีน้า) สาหรับทาสีให๎สวยงามพร๎อมด๎วยอุปกรณ๑ทาสี
 กาวลาเท็กซ๑
 กระดาษทรายชนิดละเอียดเบอร๑ ๘๐-๑๐๐
๒) วิธีสร๎างงาน
สร้างงานรูปทรงลูกเต๋า ที่มีความกว๎างแตํละด๎านเทํากับ ๔ นิ้ว
 สร๎างแบบสี่เหลี่ยมจัตุรัสให๎มีด๎านกว๎าง ยาว ด๎านละ ๔ นิ้ว บนกระดาษสร๎างแบบแล๎ว
ตัดแบบออกมาจะได๎กระดาษแบบเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีด๎านกว๎าง ยาว ด๎านละ ๔ นิ้ว
 นากระดาษแบบไปวางบนโฟมตรึงมุมทั้งสี่ด๎วยเข็มหมุดให๎แนํน แล๎วใช๎คัตเตอร๑ตัดโฟ
มออกเป็นชิ้น
 ตัดโฟมด๎วยวิธีเดียวกันนี้ให๎ได๎หลายชิ้นตามต๎องการ
 ถ๎านักเรียนใช๎โฟมที่มีความหนาครึ่งนิ้ว ต๎องตัดโฟมตามแบบ ๘ ชิ้น
 ถ๎าใช๎โฟมที่มีความหนา ๑ นิ้ว ต๎องตัดโฟมตามแบบ ๔ ชิ้น
จากนั้นให๎นาโฟมทุกชิ้นมาผนึกติดกันด๎วยกาวลาเท็กซ๑ แล๎วปลํอยทิ้งไว๎ให๎แห๎งหรือนาไป
ตากแดดจนแห๎งดี แล๎วจึงนามาขัดกระดาษทรายเบาๆ จนผิวทุกด๎านเรียบสนิท
๓๐
จากนั้นจึงตกแตํงด๎วยสีโปสเตอร๑หรือสีน้าให๎เกิดลวดลายที่สวยงาม เมื่อสีแห๎งดีแล๎วอาจพํน
ทับด๎วยสเปรย๑เคลียร๑ เพื่อปูองกันสีลอกหลุดและทาให๎เงางาม
เมื่อนักเรียนทุกคนสร๎างสรรค๑งานแกะสลักโฟมรูปทรงลูกเต๐าเสร็จแล๎วควรเก็บเรียงวางซ๎อน
กันเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมขนาดใหญํก็จะดูสวยงาม
๓๕. ครูและนักเรียนสาธิตการแกะโฟมเป็นตัวอักษร โดยให๎นักเรียนแกะโฟมเป็นตัวอักษรตามที่ครู
กาหนด และเตรียมอุปกรณ๑ดังนี้
๑) แผํนโฟม ๒) มีดตัดโฟม ๓) สีโปสเตอร๑
นักเรียนจัดทาตามขั้นตอนดังนี้
๑) ออกแบบตัวอักษรให๎มีความสูงไมํน๎อยกวํา ๔ นิ้ว
๒) กาหนดความกว๎างของตัวอักษร ๓ นิ้ว โดยแบํงเป็น ๓ สํวน คือ
สํวนที่ ๑ ความกว๎างของเส๎นหน๎าตัวอักษร
สํวนที่ ๒ ความกว๎างของชํวงกลางตัวอักษร
สํวนที่ ๓ ความกว๎างของชํวงหลังตัวอักษร
๓) ออกแบบตัวอักษรตามที่นักเรียนต๎องการ
๔) ใช๎มีดคัตเตอร๑ตัดตัวอักษรออกเป็นตัวๆ แล๎วทาด๎วยสีโปสเตอร๑ตามต๎องการ จากนั้นนา
ตัวอักษรมาเรียงให๎เป็นข๎อความที่ต๎องการ
๓๖. ครูและนักเรียนสาธิตการแกะโฟมเป็นรูปทรง ๓ มิติ โดยให๎นักเรียนแกะโฟมเป็นรูปทรง ๓ มิติ
ตามที่ครูกาหนด และเตรียมอุปกรณ๑ ดังนี้
๑) แผํนโฟม
๒) มีดตัดโฟม
๓) กาวลาเท็กซ๑
๔) หุํนที่ใช๎เป็นแบบ เชํน แจกัน ขวด หรือวัสดุอื่น
๓๑
นักเรียนทาตามขั้นตอนดังนี้
๑) วัดขนาดของวัสดุ โดยกาหนดให๎เป็นรูปทรงสี่เหลี่ยม ๓ มิติ รอบรูปทรงของหุํน
๒) ตัดโฟมเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยม ๓ มิติ ถ๎าโฟมบางกวําให๎ตัดหลายชิ้นแล๎วติดด๎วยกาวลาเท็กซ๑
๓) เมื่อกาวแห๎งและยึดโฟมติดกันดีแล๎ว นาโฟมรูปทรงสี่เหลี่ยม ๓ มิติ ที่ได๎ไปสร๎างแบบตาม
หุํนที่กาหนดตามขั้นตอนดังนี้
๑) รํางภาพด๎านข๎างขวา-ซ๎าย ด๎านหน๎าและด๎านหลังลงบนรูปทรงสี่เหลี่ยมทั้ง ๔ ด๎าน
๒) ตัดโฟมออกให๎เหลือเฉพาะต๎นแบบ ๓) เก็บรายละเอียดของต๎นแบบโดยใช๎
กระดาษทรายขัด และทาสีให๎สวยงาม
๓๗. นักเรียนแกะสลักโฟมเป็นรูปสัตว๑ เชํน นกแก๎ว นกเอี้ยง นกขุนทอง หรือนกหายากชนิดอื่นๆ
หรืออาจสนใจสัตว๑อื่น เชํน กระรอก ปลา แมว สุนัข วัว ควาย หมู แพะ แกะ จิงโจ๎ แพนด๎า เสือ กวาง
ลิง เป็นต๎นโดยมีวิธีสร๎างสรรค๑ผลงาน ซึ่งมีขั้นตอนในการทาเชํนเดียวกับการแกะสลักโฟมเป็นรูปทรง ๓
มิติ แตํตํางกันที่ต๎องแยกสํวนประกอบตํางๆ ของรํางกายสัตว๑ออกเป็นชิ้นๆ คือ สํวนหัว สํวนลาตัว สํวน
ขา สํวนปีก สํวนหาง และสํวนประกอบที่อยูํรอบตัวสัตว๑ เชํน กิ่งไม๎ ใบไม๎ ก๎อนหิน พื้นหญ๎า ฯลฯ
นักเรียนต๎องทาแบบสํวนประกอบแตํละสํวนและแกะโฟมเป็นสํวนๆ จากนั้นนามาประกอบกันโดยติด
ด๎วยกาวลาเท็กซ๑ และขัดด๎วยกระดาษทรายให๎ดูสมจริง สํวนที่เป็นผิวหนังหรือขนต๎องตกแตํงด๎วยสี แล๎ว
จัดทําทางตามธรรมชาติของสัตว๑ชนิดนั้น
ขั้นสรุปและประยุกต์ใช้
๓๘. นักเรียนและครูรํวมกันตั้งคาถามเพื่อให๎เกิดความเข๎าใจ ความคิดและข๎อคิดที่ได๎จากการทา
กิจกรรมเพื่อให๎บรรลุจุดประสงค๑ที่ตั้งไว๎ นอกจากนั้นยังสรุปเนื้อหาที่สอนในเรื่องตํางๆ ที่กาหนดตาม
มาตรฐาน จุดประสงค๑ โดยสรุปจากการรวบรวมข๎อคิดเห็นของนักเรียนพร๎อมทั้งเพิ่มเติมประเด็นที่สาคัญ
ของเนื้อหาการเรียนรู๎เพื่อให๎สมบูรณ๑มากยิ่งขึ้น
๓๒
๓๙. นักเรียนสรุปความหมายและหลักการสร๎างงานทัศนศิลป์แบบ ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพื่อถํายทอด
ประสบการณ๑และจินตนาการ และครูแนะให๎นักเรียนนาความรู๎เรื่องหลักการสร๎างงานทัศนศิลป์แบบ ๒
มิติ และ ๓ มิติ ไปใช๎ประโยชน๑ในชีวิตประจาวันได๎อยํางไร
๔๐. นักเรียนสรุปโดยอธิบายขั้นตอนการสร๎างงานทัศนศิลป์ ๓ มิติ และครูแนะนาให๎นักเรียนนา
ความรู๎เรื่องการแกะสลักโฟมเป็นรูปทรงเรขาคณิต ตัวอักษรและรูปทรง ๓ มิติ ไปใช๎ประโยชน๑ใน
ชีวิตประจาวันได๎อยํางไร
๔๑. ครูแนะนาให๎นักเรียนทาหน๎าที่พลเมืองดีอยํางสม่าเสมอ ปิดไฟ เก็บขยะ เช็ดตู๎โทรศัพท๑
สาธารณะ แตํงกายถูกระเบียบของโรงเรียน เป็นต๎น
๔๒. นักเรียนทากิจกรรมพัฒนากระบวนการคิด และตอบคาถามสํงเสริมการเรียนรู๎
๙ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
๑. หนังสือเรียนรายวิชา ทัศนศิลป์ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของบริษัท สานักพิมพ๑เอมพันธ๑ จากัด
๒. วีดิทัศน๑ แผํนใส และรูปภาพประกอบ
๑๐ การบูรณาการ
๑. กลุํมสาระการเรียนรู๎ภาษาไทย ได๎แกํ ทักษะการฟัง ทักษะการอําน ทักษะการเขียน และทักษะ
การพูด
๒. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๓. คุณธรรมจริยธรรม และศีลธรรม
๔. หน๎าที่พลเมืองดี
ทักษะในการสร้างงานทัศนศิลป์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การบูรณาการ
คุณธรรมจริยธรรม
หน้าที่พลเมืองดี
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003
Plan 003

Contenu connexe

Tendances

3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
parichat441
 
แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1
0898230029
 

Tendances (7)

มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
 
4ดุษณีย์ (1)
4ดุษณีย์ (1)4ดุษณีย์ (1)
4ดุษณีย์ (1)
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้นบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
 
แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อยเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
 
การจัดองค์ประกอบภาพ (Composition)
การจัดองค์ประกอบภาพ (Composition)การจัดองค์ประกอบภาพ (Composition)
การจัดองค์ประกอบภาพ (Composition)
 

Similaire à Plan 003

ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
พิพัฒน์ ตะภา
 
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญกคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
Thitiwat Paisan
 
โครงการออกแบบหนังสือภาพคำศัพท์ ไทย อังกฤษ พิมพ์สิริ เพียง
โครงการออกแบบหนังสือภาพคำศัพท์ ไทย อังกฤษ พิมพ์สิริ  เพียงโครงการออกแบบหนังสือภาพคำศัพท์ ไทย อังกฤษ พิมพ์สิริ  เพียง
โครงการออกแบบหนังสือภาพคำศัพท์ ไทย อังกฤษ พิมพ์สิริ เพียง
เม เป๋อ
 
โครงการออกแบบหนังสือภาพคำศัพท์ ไทย อังกฤษ พิมพ์สิริ เพียงดวงใจ
โครงการออกแบบหนังสือภาพคำศัพท์ ไทย อังกฤษ พิมพ์สิริ  เพียงดวงใจโครงการออกแบบหนังสือภาพคำศัพท์ ไทย อังกฤษ พิมพ์สิริ  เพียงดวงใจ
โครงการออกแบบหนังสือภาพคำศัพท์ ไทย อังกฤษ พิมพ์สิริ เพียงดวงใจ
เม เป๋อ
 

Similaire à Plan 003 (20)

แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
Classroom research paper
Classroom research paperClassroom research paper
Classroom research paper
 
Plan 1
Plan 1Plan 1
Plan 1
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
แผนการสอน
แผนการสอนแผนการสอน
แผนการสอน
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ศิลปะ555
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ศิลปะ555แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ศิลปะ555
แผนการจัดการเรียนรู้ที่12 ศิลปะ555
 
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
03 เซต ตอนที่2_เซตกำลังและการดำเนินการบนเซต
 
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญกคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
 
โครงการออกแบบหนังสือภาพคำศัพท์ ไทย อังกฤษ พิมพ์สิริ เพียง
โครงการออกแบบหนังสือภาพคำศัพท์ ไทย อังกฤษ พิมพ์สิริ  เพียงโครงการออกแบบหนังสือภาพคำศัพท์ ไทย อังกฤษ พิมพ์สิริ  เพียง
โครงการออกแบบหนังสือภาพคำศัพท์ ไทย อังกฤษ พิมพ์สิริ เพียง
 
โครงการออกแบบหนังสือภาพคำศัพท์ ไทย อังกฤษ พิมพ์สิริ เพียงดวงใจ
โครงการออกแบบหนังสือภาพคำศัพท์ ไทย อังกฤษ พิมพ์สิริ  เพียงดวงใจโครงการออกแบบหนังสือภาพคำศัพท์ ไทย อังกฤษ พิมพ์สิริ  เพียงดวงใจ
โครงการออกแบบหนังสือภาพคำศัพท์ ไทย อังกฤษ พิมพ์สิริ เพียงดวงใจ
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
Cas12 1
Cas12 1Cas12 1
Cas12 1
 
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของทรงกระบอก ม.3
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 

Plus de peter dontoom

Plus de peter dontoom (20)

research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 

Plan 003

  • 1. ๑ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ วิชา ทัศนศิลป์ ๓ ศ ๒๓๑๐๑ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดยใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ เวลา ๖ ชั่วโมง ๑ เป้าหมายการเรียนรู้ ๑. อธิบายทัศนธาตุ หลักการออกแบบในสิ่งแวดล๎อมและงานทัศนศิลป์ ๒. อธิบายเทคนิควิธีการของศิลปินในการสร๎างงานทัศนศิลป์ ๓. อธิบายและวิเคราะห๑วิธีการใช๎ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสร๎างงานทัศนศิลป์ ๔. สร๎างสรรค๑ผลงานและประยุกต๑ใช๎ทัศนธาตุและหลักการออกแบบสร๎างงานทัศนศิลป์ ๒ สาระสาคัญ การเรียนทัศนศิลป์นั้น นักเรียนต๎องเรียนรู๎เกี่ยวกับทัศนธาตุซึ่งเป็นการนาเอาองค๑ประกอบตํางๆ ทางศิลปะมาประกอบรวมกันเป็นองค๑ประกอบศิลป์ ทาให๎เกิดความงามตามหลักการทางศิลปะ ซึ่งเป็น การสร๎างสรรค๑ผลงานทางจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม โดยมีสํวนประกอบที่สาคัญได๎แกํ จุด และเส๎น ๓ มาตรฐานและตัวชี้วัด มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร๎างสรรค๑งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร๎างสรรค๑ วิเคราะห๑ วิพากษ๑วิจารณ๑คุณคํางานทัศนศิลป์ ถํายทอดความรู๎สึก ความคิดตํองานศิลปะอยํางอิสระ ชื่นชมและ ประยุกต๑ใช๎ในชีวิตประจาวัน ตัวชี้วัด: สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ ๑. บรรยายสิ่งแวดล๎อมและงานทัศนศิลป์ที่เลือกมา โดยใช๎ความรู๎เรื่องทัศนธาตุและหลักการ ออกแบบ ๒. ระบุและบรรยายเทคนิค วิธีการของศิลปินในการสร๎างงานทัศนศิลป์ ๓. วิเคราะห๑และบรรยายวิธีการใช๎ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสร๎างงานทัศนศิลป์ของ ตนเองให๎มีคุณภาพ ๗. สร๎างสรรค๑งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว โดยประยุกต๑ใช๎ทัศนธาตุและหลักการ ออกแบบ ๔ สาระการเรียนรู้
  • 2. ๒ ๑. ทัศนธาตุ หลักการออกแบบ และวิธีการนามาใช๎สร๎างงานทัศนศิลป์ กิจกรรมเรื่อง : ความสมดุลของศิลปะและธรรมชาติ ๒. ผลงาน เทคนิค วิธีการของศิลปินไทยในการสร๎างงานทัศนศิลป์ กิจกรรมเรื่อง : ตามรอยเหม เวชกร ๕ กิจกรรมฝึกทักษะที่ควรเพิ่มให้นักเรียน K (Knowledge) ความรู้ความเข้าใจ P (Practica) การฝึกปฏิบัติ A (Attitude) คุณลักษณะอันพึงประสงค๑ C (capacity) สมรรถนะสาคัญ วิเคราะห๑และบรรยาย วิธีการใช๎ทัศนธาตุหลักการ ออกแบบในการสร๎างงาน ทัศนศิลป์ รวมทั้งผลงาน เทคนิควิธีการของศิลปิน ไทยในการสร๎างงาทัศนศิลป์ นามาประยุกต๑ใช๎สร๎างสรรค๑ งานเพื่อสื่อความหมาย ถํายทอดประสบการณ๑และ จินตนาการได๎ ๑ . อ ธิ บ า ย ทั ศ น ธ า ตุ ห ลั ก ก ารอ อ ก แ บ บ ใ น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม แ ล ะ ง า น ทัศนศิลป์ ๒. อธิบายเทคนิควิธีการ ของศิลปินในการสร้างงาน ทัศนศิลป์ ๓. อธิบายและวิเคราะห์ วิธีการใช้ทัศนธาตุและ หลักการออกแบบในการ สร้างงานทัศนศิลป์ ๔. สร้างสรรค์ผลงานและ ประยุกต์ใช้ทัศนธาตุและ หลักการออกแบบสร้าง งานทัศนศิลป์ ๑. รักชาติ ศาสน๑ กษัตริย๑ ๒. ซื่อสัตย๑สุจริต ๓. มีวินัย ๔. ใฝุเรียนรู๎ ๕. อยูํอยํางพอเพียง ๖. มุํงมั่นในการทางาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ ๑. ความสามารถในการ สื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด ๓. ความสามารถในการ แก้ปัญหา ๔. ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวิต ๕. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี ๖ การวัดและประเมินผล ๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล ๑) คาถามสํงเสริมการเรียนรู๎ ๒) กิจกรรมพัฒนากระบวนการคิด ๓) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุํม ๔) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
  • 3. ๓ ๕) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค๑ ๒. วิธีวัดผล ๑) ตรวจคาถามสํงเสริมการเรียนรู๎ ๒) ตรวจกิจกรรมพัฒนากระบวนการคิด ๓) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุํม ๔) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๕) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค๑ ๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล ๑) การประเมินผลจากคาถามสํงเสริมการเรียน ต๎องผํานเกณฑ๑การทดสอบเกินร๎อยละ ๕๐ ๒) การประเมินผลจากแบบตรวจกิจกรรมพัฒนากระบวนการคิด ต๎องผํานเกณฑ๑การประเมิน เรื่องความรู๎ความเข๎าใจ การนาไปใช๎ทักษะ และจิตพิสัย ทุกชํองเกินร๎อยละ ๕๐ ๓) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุํม ต๎องผํานเกณฑ๑การประเมิน คือ เกินร๎อยละ ๕๐ ๔) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ๑ผํานการประเมิน ต๎องไมํมีชํอง ปรับปรุง ๕) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค๑ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยูํกับการ ประเมินตามสภาพจริง ๗ หลักฐาน/ผลงาน ๑) ผลการตอบคาถามสํงเสริมการเรียนรู๎ ๒) ผลการทากิจกรรมพัฒนากระบวนการคิด ๘ กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑-๒ ขั้นปฐมนิเทศ/นาเข้าสู่บทเรียน ๑. นักเรียนรับฟังคาชี้แจง สับเขปวิชา ทัศนศิลป์ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ เวลาเรียนและการ ประเมินผล ซักถามปัญหา รวมทั้งแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนวิชานี้ ๒. ครูชี้แจงวิธีการประเมินสมรรถนะสาคัญของนักเรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค๑ของ นักเรียนวําจะต๎องทาควบคูํกับกระบวนการทากิจกรรมกลุํม และครูจะดูพัฒนาการของนักเรียนไปตลอด ภาคการศึกษา
  • 4. ๔ ๓. ครูชี้แจงกาหนดคําระดับคะแนน ตามเกณฑ๑ดังนี้ คะแนนร๎อยละ ๘๐-๑๐๐ ได๎เกรด ๔ คะแนนร๎อยละ ๗๕-๗๙ ได๎เกรด ๓.๕ คะแนนร๎อยละ ๗๐-๗๔ ได๎เกรด ๓ คะแนนร๎อยละ ๖๕-๖๙ ได๎เกรด ๒.๕ คะแนนร๎อยละ ๖๐-๖๔ ได๎เกรด ๒ คะแนนร๎อยละ ๕๕-๕๙ ได๎เกรด ๑.๕ คะแนนร๎อยละ ๕๐-๕๔ ได๎เกรด ๑ คะแนนร๎อยละ ๐-๔๙ ได๎เกรด ๐ ๔. ครูและนักเรียนสนทนาถึงการใช๎เส๎นเพื่อแสดงออกทางอารมณ๑ เป็นการเลียนแบบความรู๎สึก ของมนุษย๑ที่มีตํอมวลของวัตถุที่ปรากฏอยูํในอากาศ เชํน เส๎นตั้งหรือเส๎นตรงที่ทามุม ๙๐ องศากับ พื้นดิน ยํอมแสดงความรู๎สึกมั่นคงแข็งแรงมากกวําเสาที่ตั้งเอียง การกํอสร๎างบ๎านเรือนนั้นถ๎าต๎องการให๎ บ๎านมั่นคงแข็งแรงก็ต๎องปักเสาให๎เป็นเส๎นตั้งตรงกับพื้นดิน และในทานองเดียวกันกับสิ่งกํอสร๎างอื่นๆ ถ๎า ต๎องการความมั่นคงแข็งแรง ก็ต๎องสร๎างมวลของสิ่งกํอสร๎าง ขั้นสอน ๕. ครูอธิบายและวิเคราะห๑ทัศนธาตุ หลักการออกแบบ และวิธีการนามาใช๎สร๎างงานทัศนศิลป์ โดย ใช๎รูปภาพและแผํนใสประกอบการเรียน เพื่อสื่อความหมายให๎นักเรียนเข๎าใจงํายยิ่งขึ้น ๖. ครูอธิบายสํวนประกอบของทัศนธาตุที่สาคัญเพิ่มเติม ได๎แกํ  จุด คือ ทัศนธาตุที่เล็กที่สุด และเป็นจุดกาเนิดของทัศนธาตุตํางๆ  เส้น เกิดจากการเรียงตัวของจุด มีความสาคัญที่สุดในการสร๎างสรรค๑งานศิลป์ เพราะเส๎น เป็นตัวควบคุมพื้นที่ของรูปเพื่อกํอให๎เกิดความหมาย รวมไปถึงบํงบอกขนาด ความยาว ทิศทาง และเป็น สื่อแสดงออกทางอารมณ๑ของศิลปินอีกด๎วย ๗. ครูเปรียบเทียบรูปภาพของการใช๎เส๎นในลักษณะตํางๆ เพื่อแสดงให๎นักเรียนเข๎าใจ เชํน การ นาเสนอเส๎นตั้งบนภาพเขียนก็เชํนเดียวกัน ให๎เรากาหนดขอบภาพด๎านลํางเป็นแนวพื้นดินเส๎นตรงที่ลาก ตั้งฉากกับขอบภาพจะให๎ความรู๎สึกมั่นคง แข็งแรง โดยเน๎นให๎นักเรียนพิจารณาจากรูปภาพจะเห็นวํา ภาพ A มีความมั่นคงแข็งแรงมากกวําภาพ B เพราะแนวมวลเป็นเส๎นตรงตั้งฉากกับพื้นดิน
  • 5. ๕ ๘. ครูและนักเรียนพิจารณาและวิเคราะห๑การนาเสนอเส๎นตั้งบนภาพเขียนก็เชํนเดียวกัน ให๎เรา กาหนดขอบภาพด๎านลํางเป็นแนวพื้นดินเส๎นตรงที่ลากตั้งฉากกับขอบภาพจะให๎ความรู๎สึกมั่นคง แข็งแรง โดยเน๎นจากภาพจะเห็นวํา เส๎น A ให๎ความรู๎สึกมั่นคงแข็งแรงมากกวําเส๎น B เพราะแนวเส๎น A เป็นเส๎นตรง ลากตั้งฉากกับขอบภาพด๎านลําง ๙. นักเรียนรวบรวมรูปภาพวาดและรูปภาพเขียนที่มีชื่อเสียงจากแหลํงความรู๎ตําง ๆ เพื่อนามา แสดงความคิดเห็นในห๎องเรียนในเรื่องของการใช๎เส๎นและจุด ๑๐. ครูและนักเรียนอธิบายและวิเคราะห๑รูปรําง ซึ่งเป็นพื้นที่ล๎อมรอบด๎วยเส๎น มีลักษณะ ๒ มิติ (ความกว๎างและความยาว) ได๎แกํ รูปรํางเรขาคณิต รูปรํางธรรมชาติ และรูปรํางอิสระ โดยแสดงรูปภาพ ลักษณะตํางๆ ประกอบ ๑๑. ครูอธิบายและวิเคราะห๑รูปทรง ซึ่งเป็นพื้นที่ของวัตถุในอากาศที่ประกอบด๎วย มวล (Mass) และ ปริมาตร (Volume) ซึ่งแสดงให๎เห็นเป็น ๓ มิติ (ความกว๎าง ความยาว และความสูง) ได๎แกํ รูปทรง เรขาคณิต รูปทรงธรรมชาติ และรูปทรงอิสระ
  • 6. ๖ ๑๒. ครูแนะนาให๎นักเรียนทุกคนได๎น๎อมนาเอาหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต๑ใช๎ในการเรียนรู๎ใน การทางานด๎านศิลปะเพื่อประโยชน๑ในการสร๎างอาชีพและสร๎างงานให๎กับตนเองตํอไป ๑๓. ครูชี้ให๎นักเรียนได๎ตระหนักถึงความสาคัญของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมี ๕ สํวน ดังนี้ ส่วนที่ ๑ กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดารงอยูํ และปฏิบัติตนในทางที่ควร จะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย นามาประยุกต๑ใช๎ได๎ตลอดเวลา เป็นการมองโลก เชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูํตลอดเวลา มุํงเน๎นการรอดพ๎นจากภัย วิกฤต เพื่อความมั่นคงและความ ยั่งยืนของการพัฒนา ส่วนที่ ๒ คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต๑ใช๎กับการปฏิบัติตนได๎ทุกระดับ โดยเน๎นการปฏิบัติบนทางสายกลาง และการพัฒนาอยํางเป็นขั้นตอน ส่วนที่ ๓ คานิยาม ความพอเพียง ต๎องประกอบด๎วย ๓ คุณลักษณะ พร๎อมๆ กันดังนี้ ๑) ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมํน๎อยเกินไป และไมํมากเกินไป โดยไมํ เบียดเบียนตนเองและผู๎อื่น ๒) ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียง ต๎องเป็นไปอยํางมี เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข๎องและคานึงถึงผลที่คาดวําจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้นอยําง รอบคอบ ๓) การมีภูมิคุ๎มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให๎พร๎อมรับผลกระทบ และการ เปลี่ยนแปลงด๎านตํางๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได๎ของสถานการณ๑ที่คาดวําจะเกิดขึ้นใน อนาคต ส่วนที่ ๔ เงื่อนไข การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมตํางๆ ให๎อยูํในระดับพอเพียงนั้น ต๎อง อาศัยทั้งความรู๎ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน ประกอบด๎วย ๑) เงื่อนไขความรู๎ ประกอบด๎วย ความรอบรู๎เกี่ยวกับวิชาการที่เกี่ยวข๎องอยํางรอบด๎าน ความรอบคอบที่จะนาความรู๎เหลํานั้นมาพิจารณาให๎เชื่อมโยงกัน เพื่อวางแผน และความระมัดระวังใน ขั้นปฏิบัติ ๒) เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต๎องเสริมสร๎างประกอบด๎วย มีความตระหนักในคุณธรรม มี ความซื่อสัตย๑สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช๎สติปัญญาในการดาเนินชีวิต
  • 7. ๗ ส่วนที่ ๕ แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะได้รับ จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกต๑ใช๎ คือ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร๎อมรับตํอการเปลี่ยนแปลงในทุกด๎านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล๎อม ความรู๎ และเทคโนโลยี ขั้นสรุปและประยุกต์ใช้ ๑๔. ครูและนักเรียนแสดงความคิดเห็นรํวมกันในเรื่องการใช๎เส๎นและจุดในการสร๎างสรรค๑ผลงาน โดยครูใช๎คาถามนาให๎นักเรียนตอบ และยกตัวอยํางประกอบตามความเข๎าใจ ๑๕. นักเรียนวาดรูปเส๎นนอน เส๎นเฉียง และเส๎นโค๎งหรือเส๎นคด รวมทั้งจุด สํงครูเพื่อประเมินผล ๑๖. ครูเน๎นให๎นักเรียนนาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต๑ใช๎ในชีวิตประจาวัน และปรับใช๎ในการเรียน เพื่อปลูกฝังให๎ดาเนินชีวิตได๎อยํางมีความสุขตํอไป ชั่วโมงที่ ๓-๔ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๑๗. ครูนารูปภาพของเบอร๑นาร๑ด บิเรนสัน ที่แสดงให๎เห็นน้าหนักของแสงที่มีตํอสายตาทาให๎เกิดรูป และพื้น ทาให๎เห็นความแตกตํางระหวํางรูปและพื้น และรูปภาพของคิเลียนที่แสดงให๎เห็นน้าหนักของ แสงที่มีตํอสายตาทาให๎เกิดรูปทรงและบริเวณวําง ทาให๎เห็นความแตกตํางระหวํางรูปทรงกับบริเวณวําง ๑๘. เปิดโอกาสให๎นักเรียนสนทนาซักถามและมีสํวนรํวมกันแสดงความคิดเห็น ๑๙. ครูเชื่อมโยงเข๎าสูํบทเรียน และแจ๎งกิจกรรมฝึกทักษะที่ควรเพิ่มให๎นักเรียนทราบ ขั้นสอน ๒๐. ครูอธิบาย วิเคราะห๑ และสาธิตการให๎น้าหนักของแสงและเงา หมายถึง คําความเข๎มของแสงที่ ตกกระทบวัตถุสะท๎อนเข๎าสูํสายตาทาให๎เกิดความแตกตํางระหวํางรูปและพื้น รูปทรงกับบริเวณวําง ระยะใกล๎-ไกล และแสดงรูปภาพประกอบ
  • 8. ๘ ๒๑. ครูอธิบาย วิเคราะห๑และสาธิตการใช๎สี ซึ่งเป็นทัศนธาตุที่เกิดจากปฏิกิริยาระหวํางสายตากับ แสงที่ตกกระทบวัตถุแล๎ววัตถุดูดซับรังสีของแสงไมํเทํากัน การมองเห็นสีทางศิลปะคือการรับรู๎ทาง สุนทรียภาพ ทาให๎เกิดอารมณ๑คล๎อยตาม เชํน เกิดอารมณ๑ตื่นเต๎นเร๎าใจ อารมณ๑สงบ เยือกเย็น อารมณ๑ เศร๎า เงียบเหงา อารมณ๑สดชื่น อิ่มเอม เป็นต๎น โดยครูยกตัวอยํางวงจรสีทางด๎านศิลปะประกอบ ๒๒.ครูอธิบายและวิเคราะห๑พื้นผิว ซึ่งเป็นบริเวณผิวของงานศิลปะที่ปรากฏให๎เห็นมีลักษณะเรียบ ขรุขระ หยาบ มันวาว ลักษณะของพื้นผิวที่แตกตํางกันนี้ กํอให๎เกิดอารมณ๑ในการรับรู๎ตํางกัน เชํน รูปผิว มันแวววาวทาให๎เกิดคุณคําตื่นเต๎น เร๎าใจ สํวนรูปผิวตํางกันทาให๎เกิดรูปได๎
  • 9. ๙ ๒๓. ครูอธิบายบริเวณวําง หมายถึง บริเวณที่ไมํมีรูปปรากฏซึ่งอาจหมายถึงบริเวณที่เป็นพื้นหรือ บริเวณที่เป็นอากาศวํางเปลํา ซึ่งบริเวณวํางนี้จะต๎องมีความสัมพันธ๑กับรูปรํางหรือรูปทรง เชํน บริเวณ วํางของพื้นที่ทาให๎เห็นรูปทรงมีความอํอนช๎อยและโดดเดํน สํวนบริเวณวํางในอากาศทาให๎เห็นวําโต๏ะมี ความโปรํงบางและมีรูปทรงที่อํอนช๎อยงดงาม ๒๔. ครูอธิบายและวิเคราะห๑จุดเดํนของภาพ ซึ่งเป็นการวางเนื้อหาสาคัญให๎ปรากฏเดํนชัดตรงจุดตัด ของตาราง ๙ ชํอง ซึ่งสามารถเน๎นจุดเดํนได๎หลายวิธี เชํน การเน๎นด๎วยสี การเน๎นด๎วยวัตถุ การเน๎นด๎วย ความแตกตําง การเน๎นด๎วยการตกแตํงที่ประณีตบรรจง เชํน ตาราง ๙ ชํอง กาหนดจุดเน๎นที่ตาแหนํง A B C หรือ C และรูปภาพแสดงจุดเน๎นด๎วยสีที่ตาแหนํง C และ D ๒๕. ครูอธิบายและวิเคราะห๑ดุลยภาพ ซึ่งเป็นการจัดโครงสร๎างของงานให๎อยูํในลักษณะสมดุลหยุด นิ่งหรือทรงตัว อยูํได๎อยํางคงที่ ลักษณะของความสมดุลมี ๒ อยําง คือ สมดุลซ๎าย-ขวาเทํากัน หมายถึง การจัดวางรูปรําง รูปทรงและสีให๎เหมือนกันทั้งด๎านซ๎ายและด๎านขวา เชํน จากรูปภาพเมื่อแบํงครึ่งภาพ ออกเป็น ๒ สํวน ซ๎าย-ขวา จะเห็นภาพมีน้าหนักสีและโครงสร๎างของภาพที่เหมือนกันหรือคล๎ายคลึงกัน มาก
  • 10. ๑๐ ๒๖. ครูอธิบายและวิเคราะห๑จังหวะ ซึ่งเป็นการมองเห็นเนื้อหาของผลงานมีความตํอเนื่องสอดคล๎อง กัน ไมํเกิดการสะดุดหรือขาดชํวง ถ๎าเปรียบจังหวะกับการเขียนตัวหนังสือก็ได๎แกํการเว๎นชํองไฟและการ เว๎นวรรค เชํน จากรูปภาพจะเห็นลวดลายของผ๎าถูกจัดวางเป็นชํวงๆ โดยเว๎นระยะหํางเทําๆ กัน ซึ่ง มองดูเป็นระเบียบ สวยงาม ไมํขัดนัยน๑ตาและความรู๎สึกเรียกวําจัดจังหวะได๎สวยงามลงตัวพอดี ๒๗. ครูอธิบาย วิเคราะห๑และสาธิตสัดสํวน ทิศทาง เอกภาพและความกลมกลืน ความหลากหลาย โดยยกตัวอยํางประกอบ และสาธิต ๒๘. ครูแนะนาให๎นักเรียนสร๎างเสริมภูมิคุ๎มกันให๎กับตนเอง โดยการศึกษาให๎เข๎าใจเมื่อมีปัญหา เกี่ยวกับการเขียนหรือวาดรูปภาพทางด๎านศิลปะ เพื่อนาไปประกอบอาชีพตํอไป ๒๙. ครูยกตัวอยํางการนาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต๑ใช๎ในงานอาชีพศิลปะ เพื่อสร๎างภูมิคุ๎มกันที่ดีใน ตัวเอง และเพื่อเสริมสร๎างและดารงชีวิตให๎มีประสิทธิภาพ ขั้นสรุปและประยุกต์ใช้ ๓๐. นักเรียนและครูสรุปโดยการสาธิตการวาดหรือเขียนภาพ โดยการใช๎สี และอื่นๆ ที่เกี่ยวข๎อง ๓๑. นักเรียนทากิจกรรมสํงเสริมการเรียนรู๎ ชั่วโมงที่ ๕-๖ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๓๒. ครูและนักเรียนสนทนาเรื่องการเขียนลวดลายตํางๆ และอุปกรณ๑ในการเขียนหรือวาดรูป ๓๓. นักเรียนเตรียมอุปกรณ๑ที่จาเป็นในการเขียนหรือวาดรูปเพื่อฝึกปฏิบัติ
  • 11. ๑๑ ๓๔. เปิดโอกาสให๎นักเรียนสนทนาซักถามและมีสํวนรํวมกันแสดงความคิดเห็น ๓๕. ครูเชื่อมโยงเข๎าสูํบทเรียน และแจ๎งกิจกรรมฝึกทักษะที่ควรเพิ่มให๎นักเรียนทราบ ขั้นสอน ๓๖. นักเรียนนาความรู๎เรื่องทัศนธาตุและหลักการออกแบบมาประดิษฐ๑วําวไทยให๎มีสีสันและ ลวดลายสวยงาม สามารถปลํอยให๎ลอยขึ้นสูํท๎องฟูาได๎เป็นเวลานาน โดยนักเรียนสามารถศึกษาการทา วําวเพิ่มเติมจากหนังสือศิลปะประดิษฐ๑วําวไทยของคุณลุงนิยม คนซื่อ (สานักพิมพ๑เพชรกะรัต) ๓๗ นักเรียนแสดงวิธีทาดังนี้ ๑) ใช๎ไม๎ไผํเหลาให๎กลมจานวน ๒ ชิ้น ใช๎ทาไม๎อกยาว ๒๕ นิ้ว และไม๎ปีกยาว ๓๐ นิ้ว ๒) ประกอบไม๎ปีกและไม๎อกโดยดูอัตราสํวนจากภาพข๎างต๎น ๓) ติดตัววําวด๎วยกระดาษฟางจีนทับโครงวําวด๎วยกาวลาเท็กซ๑ ๔) เขียนลวดลายบนตัววําวด๎วยภาพที่สมดุลซ๎าย-ขวาให๎สวยงาม แล๎วผูกเชือกซุงยาว ๕๓ นิ้ว กับโครงวําว (ภาพเขียนบนตัววําวต๎องแสดงความสมดุลซ๎าย-ขวา) ๕) ปรับปรุงวําวให๎สามารถขึ้นลอยบนท๎องฟูาได๎แล๎วทดสอบปลํอยวําวขึ้นสูํท๎องฟูา ๖) นักเรียนทารายงานเกี่ยวกับความสมดุลของวําว ธรรมชาติและงานศิลปะหน๎าวําว ๓๘. ครูนาผลงาน เทคนิค วิธีการของศิลปินไทยในการสร๎างงานทัศนศิลป์ เชํน เหม เวชกร, ประเทือง เอมเจริญ, มานิตย๑ นิเวศน๑ศิลป์ มาแสดงให๎นักเรียนดู และเลําประวัติสํวนตัวรวมทั้งประวัติ งานด๎านศิลปะให๎นักเรียนฟัง ๓๙. นักเรียนเขียนภาพประกอบเรื่องราวในวรรณคดีไทยที่นักเรียนกาลังเรียนในชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๓โดยยกบทร๎อยกรองมาประกอบภาพ ๔๐. นักเรียนทากิจกรรม ดังนี้ ๑) ยกบทร๎อยกรองมา ๑-๒ บท ๒) ออกแบบทําทางของตัวละครให๎สัมพันธ๑กับบทร๎อยกรอง (ศึกษาการเขียนภาพประกอบ เรื่องราวในวรรณคดี จากผลงานของเหม เวชกร) ๓) เขียนภาพด๎วยลายเส๎นหรือปากกา แล๎วลงสีให๎สวยงาม ๔) เขียนบทร๎อยกรองประกอบไว๎ที่ภาพ เพื่อให๎ผู๎ดูมีความเข๎าใจในเนื้อหาของภาพเขียนมาก ยิ่งขึ้น ๔๑. ครูยกตัวอยํางการนาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต๑ใช๎ในงานอาชีพศิลปะ เพื่อสร๎างภูมิคุ๎มกันที่ดีใน ตัวเอง และเพื่อเสริมสร๎างและดารงชีวิตให๎มีประสิทธิภาพ
  • 12. ๑๒ ขั้นสรุปและการประยุกต์ใช้ ๔๒. นักเรียนและครูสรุปกิจกรรมพัฒนากระบวนการคิดที่ ๑ เรื่องความสมดุลของศิลปะและ ธรรมชาติ ๔๓. นักเรียนตอบคาถามกิจกรรมสํงเสริมการเรียนรู๎ ดังนี้ ๑) อธิบายและบรรยายการนาทัศนธาตุ หลักการออกแบบมาสร๎างสรรค๑งานประดิษฐ๑วําวไทย ๒) นาความรู๎เรื่องทัศนธาตุและหลักการออกแบบไปใช๎ประโยชน๑ในชีวิตประจาวันได๎อยํางไร ๔๔. นักเรียนและครูสรุปกิจกรรมพัฒนากระบวนการคิดที่ ๒ เรื่องตามรอยเหม เวชกร ๔๕. นักเรียนตอบคาถามกิจกรรมสํงเสริมการเรียนรู๎ ดังนี้ ๑) อธิบายเทคนิค วิธีการของศิลปินไทยในการสร๎างงานทัศนศิลป์ ๒) นักเรียนนาความรู๎เรื่องเทคนิค วิธีการในการสร๎างงานทัศนศิลป์ไปใช๎ประโยชน๑ใน ชีวิตประจาวันได๎อยํางไร ๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสือเรียนรายวิชา ทัศนศิลป์ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของบริษัท สานักพิมพ๑เอมพันธ๑ จากัด ๒. แผํนใส และรูปภาพประกอบ ๑๐ การบูรณาการ ๑. กลุํมสาระการเรียนรู๎ภาษาไทย ได๎แกํ ทักษะการฟัง ทักษะการอําน ทักษะการเขียนและทักษะ การพูด ๒. การบูรณาการ มีดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การบูรณาการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยใช้ ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ คุณธรรมจริยธรรม หน้าที่พลเมืองดี
  • 13. ๑๓ กิจกรรมพัฒนากระบวนการคิดที่ ๑ กิจกรรมเรื่อง : ความสมดุลของศิลปะและธรรมชาติ คาชี้แจง ให๎นักเรียนนาความรู๎เรื่องทัศนธาตุและหลักการออกแบบมาประดิษฐ๑วําวไทยให๎มีสีสันและ ลวดลายสวยงาม สามารถปลํอยให๎ลอยขึ้นสูํท๎องฟูาได๎เป็นเวลานาน วิธีทา ๑. ใช๎ไม๎ไผํเหลาให๎กลมจานวน ๒ ชิ้น ใช๎ทาไม๎ อกยาว ๒๕ นิ้ว และไม๎ปีกยาว ๓๐ นิ้ว ๒. ประกอบไม๎ปีกและไม๎อกโดยดูอัตราสํวน จากภาพ ๓. ติดตัววําวด๎วยกระดาษฟางจีนทับโครงวําว ด๎วยกาวลาเท็กซ๑ ๔. เขียนลวดลายบนตัววําวด๎วยภาพที่สมดุล ซ๎าย-ขวาให๎สวยงาม แล๎วผูกเชือกซุงยาว ๕๓ นิ้วกับโครง วําว (ภาพเขียนบนตัววําวต๎องแสดงความสมดุลซ๎าย-ขวา) ๕. ปรับปรุงวําวให๎สามารถขึ้นลอยบนท๎องฟูาได๎แล๎ว ทดสอบปลํอยวําวขึ้นสูํท๎องฟูา ๖. นักเรียนทารายงานเกี่ยวกับความสมดุลของวําว ธรรมชาติและงานศิลปะหน๎าวําว
  • 14. ๑๔ กิจกรรมพัฒนากระบวนการคิดที่ ๒ กิจกรรมเรื่อง : ตามรอยเหม เวชกร คาชี้แจง ให๎นักเรียนเขียนภาพประกอบเรื่องราวในวรรณคดีไทยที่นักเรียนกาลังเรียนในชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๓ โดยยกบทร๎อยกรองมาประกอบภาพ วิธีทา ๑. ยกบทร๎อยกรองมา ๑-๒ บท ๒. ออกแบบทําทางของตัวละครให๎สัมพันธ๑กับบทร๎อยกรอง (ศึกษาการเขียนภาพประกอบ เรื่องราวในวรรณคดี จากผลงานของเหม เวชกร) ๓. เขียนภาพด๎วยลายเส๎นหรือปากกา แล๎วลงสีให๎สวยงาม ๔. เขียนบทร๎อยกรองประกอบไว๎ที่ภาพ เพื่อให๎ผู๎ดูมีความเข๎าใจในเนื้อหาของภาพเขียนมาก ยิ่งขึ้น บันทึกหลังการสอน ๑. ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………...…… ……………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………. ๒. ปัญหา/อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………..… ………………………………………………………………………………………………..… ……………………………………………………………………………………………..…… ๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………….…
  • 15. ๑๕ ……………………………………………………………………………………………….…… ……………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ...............................................ครูผู๎สอน (..............................................) วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ........... ๔. ข้อเสนอแนะรองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………….………. …………………………………………………………………………………………………….……………. ………………………………………………………………………………………………………….………. ………………………………………………………………………………………………………..…………. ……………………………………………………………………………………………………..……………. ลงชื่อ............................................................... ( ..................................... ) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ วิชา ทัศนศิลป์ ๓ ศ ๒๓๑๐๑ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง ทักษะในการสร้างงานทัศนศิลป์ เวลา ๘ ชั่วโมง ๑ เป้าหมายการเรียนรู้ ๑. สร๎างงานทัศนศิลป์ทั้งไทยและสากล ๒. ใช๎หลักการออกแบบในการสร๎างงานสื่อผสม ๓. สร๎างงานทัศนศิลป์แบบ ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพื่อถํายทอดประสบการณ๑ และจินตนาการ ๔. ใช๎เทคนิค วิธีการที่หลากหลายสร๎างงานทัศนศิลป์เพื่อสื่อความหมาย ๒ สาระสาคัญ
  • 16. ๑๖ ทัศนศิลป์ไทย หมายถึง ศิลปะที่มองเห็นความงามได๎จากรูปลักษณ๑ รับรู๎ได๎จากประสาทสัมผัสทาง ตาสัมผัสจับต๎องได๎และกินระวางพื้นที่ในอากาศ ได๎แกํ จิตรกรรมไทย ประติมากรรมไทย และ สถาปัตยกรรมไทยที่มีรูปแบบเป็นเอกลักษณ๑ประจาชาติของไทย ๓ มาตรฐานและตัวชี้วัด มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร๎างสรรค๑งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร๎างสรรค๑ วิเคราะห๑ วิพากษ๑วิจารณ๑คุณคํางานทัศนศิลป์ ถํายทอดความรู๎สึก ความคิดตํองานศิลปะอยํางอิสระ ชื่นชมและ ประยุกต๑ใช๎ในชีวิตประจาวัน ตัวชี้วัด: สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ ๔. มีทักษะในการสร๎างงานทัศนศิลป์อยํางน๎อย ๓ ประเภท ๕. มีทักษะในการผสมผสานวัสดุตํางๆ ในการสร๎างงานทัศนศิลป์โดยใช๎หลักการออกแบบ ๖. สร๎างงานทัศนศิลป์ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพื่อถํายทอดประสบการณ๑และจินตนาการ ๙. สร๎างสรรค๑งานทัศนศิลป์เพื่อบรรยายเหตุการณ๑ตํางๆ โดยใช๎เทคนิคที่หลากหลาย ๔ สาระการเรียนรู้ ๑. การสร๎างงานทัศนศิลป์ทั้งไทยและสากล กิจกรรมเรื่อง : เขียนภาพดอกไม๎ด๎วยสีน้า ๒. การใช๎หลักการออกแบบในการสร๎างงานสื่อผสม กิจกรรมเรื่อง : การออกแบบสร๎างสรรค๑งานศิลปะสื่อผสม ๓. การสร๎างงานทัศนศิลป์แบบ ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพื่อถํายทอดประสบการณ๑และจินตนาการ กิจกรรมเรื่อง : เขียนภาพใบหน๎าคนจากภาพ กิจกรรมเรื่อง : สร๎างประติมากรรมรูปสัตว๑ด๎วยโฟม
  • 17. ๑๗ ๕ กิจกรรมฝึกทักษะที่ควรเพิ่มให้นักเรียน K (Knowledge) ความรู้ความเข้าใจ P (Practica) การฝึกปฏิบัติ A (Attitude) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ C (capacity) สมรรถนะสาคัญ ๑. อธิบายขั้นตอนการจัด แสดงผลงานศิลปะได้ ๒. อ ธิ บายขั้ น ตอ น / กระบวนการวิจารณ์งาน ศิลปะได้ ๓. อธิบายแนวคิดในการ เ รี ย น ก า ร ส อ น วิ ช า ทัศนศิลป์ได้ ๑. จัดแสดงผลงานศิลปะ โดยฝึกปฏิบัติการจัดห้อง แ ส ด ง อ อ ก แ บ บ ก า ร แสดงผลงานจัดทาสูจิบัตร โฆษณาประชาสัมพันธ์ และประเมินผล การจัด งาน ๒. ฝึกการวิจารณ์งาน ศิลปะ ๓. แสดงแนวคิดเกี่ยวกับ วัตถุประสงค์ในการเรียน วิชาทัศนศิลป์ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซื่อสัตย์สุจริต ๓. มีวินัย ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการทางาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ ๑. ความสามารถในการ สื่อสาร ๒. ความสามารถในการ คิด ๓. ความสามารถในการ แก้ปัญหา ๔. ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวิต ๕. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี ๖ การวัดและประเมินผล ๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล ๑) คาถามสํงเสริมการเรียนรู๎ ๒) กิจกรรมพัฒนากระบวนการคิด ๓) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุํม ๔) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๕) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค๑
  • 18. ๑๘ ๒. วิธีวัดผล ๑) ตรวจคาถามสํงเสริมการเรียนรู๎ ๒) ตรวจกิจกรรมพัฒนากระบวนการคิด ๓) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุํม ๔) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๕) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค๑ ๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล ๑) การประเมินผลจากคาถามสํงเสริมการเรียน ต๎องผํานเกณฑ๑การทดสอบเกินร๎อยละ ๕๐ ๒) การประเมินผลจากแบบตรวจกิจกรรมพัฒนากระบวนการคิด ต๎องผํานเกณฑ๑การประเมิน เรื่องความรู๎ความเข๎าใจ การนาไปใช๎ทักษะ และจิตพิสัย ทุกชํองเกินร๎อยละ ๕๐ ๓) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุํม ต๎องผํานเกณฑ๑การประเมิน คือ เกินร๎อยละ ๕๐ ๔) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ๑ผํานการประเมิน ต๎องไมํมีชํอง ปรับปรุง ๕) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค๑ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยูํกับการ ประเมินตามสภาพจริง ๗ หลักฐาน/ผลงาน ๑) ผลการตอบคาถามสํงเสริมการเรียนรู๎ ๒) ผลการทากิจกรรมพัฒนากระบวนการคิด ๘ กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑-๒-๓ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๑. ครูและนักเรียนสนทนาถึงลักษณะของงานทัศนศิลป์ไทย เป็นสิ่งที่สร๎างสรรค๑ขึ้นจากอุดมคติ (Idealistic) มาสูํความจริงตามธรรมชาติ ซึ่งมีรากฐานแนวคิดเชื่อมโยงมาจากคตินิยมความเชื่อทางพุทธ ศาสนา เนื้อหาในวรรณคดีไทยและวิถีชีวิตความเป็นอยูํแบบวัฒนธรรมไทย ๒. นักเรียนยกตัวอยํางงานทัศนศิลป์ทั่วไป เชํน ฝาผนังโบสถ๑ วิหาร บานประตู บานหน๎าตําง ตู๎ การแกะสลัก จิตรกรรมฝาผนัง เป็นต๎น ๓. ครูเชื่อมโยงเข๎าสูํบทเรียน และแจ๎งกิจกรรมฝึกทักษะที่ควรเพิ่มเติมให๎นักเรียนฟัง
  • 19. ๑๙ ขั้นสอน ๔. ครูสอนโดยวิธีอภิปรายเป็นกลุํมยํอย (Small Group Discussion) จะชํวยให๎เกิดการเรียนรู๎ใน เรื่องที่เรียนกว๎างขึ้น ซึ่งเป็นกระบวนการที่ชํวยให๎เกิดการเรียนรู๎ตามวัตถุประสงค๑ที่กาหนด โดยจัด นักเรียนเป็นกลุํมเล็กๆ ประมาณ ๔-๘ คน และให๎แตํละกลุํมพูดคุยแลกเปลี่ยนข๎อมูล ความคิดเห็น และ ประสบการณ๑ในประเด็นที่กาหนด และสรุปผลการอภิปรายออกมาเป็นข๎อสรุปของกลุํมถึงการสร๎างงาน ทัศนศิลป์ทั้งไทยและสากล ๕. นักเรียนหารูปภาพตัวอยํางงานทัศนศิลป์ทั้งไทยและสากลจากสื่อสิ่งพิมพ๑ตํางๆ มาคนละ ๑ ชิ้น ๖. ครูอธิบายและยกตัวอยํางลักษณะของงานทัศนศิลป์ไทย เชํน งานจิตรกรรมไทย (จิตรกรรม ลวดลาย กิจกรรมประกอบหนังสือ จิตรกรรมฝาผนัง ฯลฯ) งานประติมากรรมไทย (การปั้น แกะสลัก ฯลฯ) งานสถาปัตยกรรมไทย เชํน การนาจิตรกรรมทางลวดลายจิตรกรรมฝาผนังมาใช๎ตกแตํงภายใน อาคารที่เพดาน เสา ฝาผนัง และการนาประติมากรรมมาใช๎ตกแตํงภายนอกของอาคารตามหน๎าบัน หัวเสา ฐานโบสถ๑ ราวบันไดและบริเวณ เป็นต๎น ๗. ครูอธิบายและยกตัวอยํางลักษณะของงานทัศนศิลป์สากล เชํน รูปแบบเหมือนจริง (Realism) เชํน การเขียนภาพคนหรือสัตว๑ รูปแบบตัดทอน (Distortion) เชํน ผู๎หญิงร๎องไห๎ผลงานของปาโบล ปิกัส โซ หรือรูปภาพนอนเอกเขนก ผลงานของเฮนรี่ มัวร๑ และรูปแบบตามความรู๎สึก (Abstraction) เชํน รูป นามธรรม ๘. ให๎นักเรียนเขียนรูปภาพเหมือนจริง โดยกาหนดให๎เขียนเป็นรูปดอกไม๎ ๙. นักเรียนปฏิบัติ ดังนี้
  • 20. ๒๐ ๑) เตรียมอุปกรณ๑  กระดาษ ใช๎กระดาษ ๑๐๐ ปอนด๑ สาหรับเขียนสีน้าขนาด A3-A2  พูํกัน ใช๎พูํกัน ๒ ชนิด คือ พูํกันกลม เบอร๑ ๒, ๔, ๖, ๑๖ และพูํกันแบน เบอร๑ ๖, ๑๐, ๑๔  สีน้า ใช๎สีแดง ชมพู เหลือง มํวง เขียว และน้าเงิน  ดินสอสาหรับรํางภาพ  ยางลบ  เทปกาวสาหรับติดขอบกระดาษกับกระดานรองต๎องเป็นเทปกาวชนิดกระดาษที่ไมํติด ถาวร  กระดานรองภาพ  จานผสมสี  กระดาษชาระ  ผ๎ารองพูํกัน  แก๎วน้า ๓ ใบ  ภาพต๎นแบบที่จะใช๎วาด (ให๎วาดภาพจากภาพถําย) ๒) ติดกระดาษ ๑๐๐ ปอนด๑ บนกระดานรองภาพด๎วยเทปกาว ๓) แก๎วบรรจุน้าสะอาด ๓ ใบ แก๎วที่ ๑ ใช๎สาหรับล๎างพูํกันครั้งที่ ๑ แก๎วที่ ๒ ใช๎สาหรับล๎าง พูํกัน ครั้งที่ ๒ แก๎วที่ ๓ ใช๎สาหรับผสมสี
  • 21. ๒๑ ๔) บีบสีที่ต๎องการใช๎จากหลอดลงเตรียมไว๎ในจานสีให๎ครบทุกสี สีใดใช๎มากบีบมาก สีใดใช๎น๎อย บีบน๎อย ๕) เตรียมภาพต๎นแบบที่ใช๎วาดให๎อยูํเบื้องหน๎า ๖) วางพูํกันเรียงไว๎บนผ๎าสาหรับรองพูํกัน ๗) การลงมือปฏิบัติเขียนภาพ ดังนี้ ขั้นตอนที่ ๑ การรํางภาพ ใช๎ดินสอรํางภาพดอกไม๎เบาๆ บนกระดาษ ๑๐๐ ปอนด๑ โดย เขียนกลีบดอกไม๎ทีละกลีบจนครบทุกกลีบพร๎อมปรับแก๎ให๎ได๎รูปทรงที่ถูกต๎องใกล๎เคียงกับต๎นแบบ ขั้นตอนที่ ๒ การทดลองสี ให๎ทดลองลงสีกลีบดอกไม๎โดยเขียนกลีบดอกไม๎ ๑ กลีบบน กระดาษ ๑๐๐ ปอนด๑อีกแผํนหนึ่งที่ใช๎เป็นกระดาษทดลองสี แล๎วใช๎พูํกันระบายสีตามวิธีดังนี้  เขียนกลีบดอกไม๎ ๑ กลีบ  ใช๎พูํกันจุํมน้าสะอาดระบายบนกลีบดอกไม๎จนทั่ว  ใช๎พูํกันจุํมสีบางๆ ระบายบนกลีบดอกไม๎จนทั่ว
  • 22. ๒๒ ขณะที่กลีบดอกไม๎ยังหมาดอยูํ ใช๎พูํกันจุํมสีที่เข๎มขึ้นแล๎วระบายสํวนที่เป็นเงา เมื่อ ทดสอบสีได๎ใกล๎เคียงกับสีดอกไม๎ต๎นแบบแล๎วจึงลงมือระบายสีบนภาพจริง ขั้นตอนที่ ๓ การลงสีบนภาพ ลงสีดอกไม๎ทีละกลีบบนภาพที่เขียนจริงจนครบทุกกลีบ ขั้นตอนที่ ๔ ลงสีพื้น ให๎เตรียมสีพื้นซึ่งสํวนใหญํได๎แกํสีเขียว โดยเตรียมสีให๎มีปริมาณมาก พอที่จะระบายสํวนที่เป็นพื้นใช๎สีเขียวรองพื้นให๎ทั่วเพื่อเป็นสีของใบที่ถูกแสง และขณะที่สียังหมาดอยูํให๎ ใช๎สีน้าเงินระบายกันเพื่อทาเป็นขอบใบ สํวนที่ต๎องการให๎เป็นเงาเข๎มให๎ใช๎สีน้าเงินผสมกับสีแดงระบาย ตามตัวอยําง ตัวอย่างภาพดอกไม้ที่เขียนด้วยสีน้า ๑๐. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้ ๑) นักเรียนค๎นหาภาพดอกไม๎สีสวยๆ จากหนังสือพิมพ๑ หรือนิตยสารอื่นๆ แล๎วนามาแปะติด บนกระดาษแข็ง เพื่อใช๎เป็นต๎นแบบสาหรับเขียน ๒) ศึกษาวิธีเขียนสีน้าจากเนื้อหา “การเขียนสีน้าภาพดอกไม๎” ๓) ลงมือเขียนภาพดอกไม๎จากต๎นแบบที่หามาให๎เสร็จสมบูรณ๑ สวยงาม
  • 23. ๒๓ ๑๑. ครูกลําวถึงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อ ให๎เกิดความเข๎าใจและนามาใช๎ในชีวิตประจาวันได๎ ถูกต๎อง ซึ่งเป็นแนวการดาเนินอยูํและการปฏิบัติตนของประชาชนทุกระดับ ตั้งแตํระดับครอบครัวจนถึง ระดับประเทศ ซึ่งมีหลัอยูํ ๓ ประการ ได๎แกํ ความรู๎จักพอประมาณ ความมีเหตุมีผล และความจาเป็นที่ ต๎องมีภูมิคุ๎มกันในตัวที่ดี ตํอการเกิดผลกระทบเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน จึงต๎องรู๎จักพอเพียง ในการใช๎ชีวิต ดื่มกินอยํางพอเพียง แตํงตัวไมํเลิศหรูเกินไป ตามหลักที่วําให๎รายจํายน๎อยกวํารายรับ ดังนั้นถ๎าจิตใจมีภูมิคุ๎มกันที่ไมํดีก็ไมํสามารถอยูํอยํางพอเพียงได๎ไมํวําเรากาลังเรียนหนังสือหรือทางาน แล๎วก็ตาม สามารถนาหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช๎ได๎ แตํต๎องนามาใช๎อยํางพอประมาณไมํมากหรือน๎อย จนเกินไป จะทาอะไรต๎องตัดสินใจด๎วยเหตุผลเป็นหลัก ๑๒.นักเรียนยกตัวอยํางการสร๎างภูมิคุ๎มกันที่ดีในตัวเอง เพื่อให๎ผู๎สนใจนาไปปรับใช๎ ดังนี้ ๑) การให๎ความรักความอบอุํนภายในครอบครัว ๒) การฝึกให๎รู๎จักระเบียบวินัย การควบคุมตัวเอง ๓) การฝึกทักษะชีวิต ให๎แก๎ไขปัญหาได๎ถูกต๎อง ๔) การฝึกให๎มีเอกลักษณ๑เป็นของตนเอง ขั้นสรุปและประยุกต์ใช้ ๑๓.นักเรียนและครูสรุปขั้นตอนการเขียนภาพดอกไม๎ และเปิดโอกาสให๎ทุกคนรํวมแสดงความ คิดเห็น ๑๔.ครูและนักเรียนสรุปความรู๎จากกิจกรรมโดยให๎นักเรียนอธิบายความหมาย ลักษณะของการ สร๎างงานทัศนศิลป์ไทยและทัศนศิลป์สากล ๑๕. ครูแนะนาให๎นักเรียนนาความรู๎เรื่องการสร๎างงานทัศนศิลป์ไทยและทัศนศิลป์สากลไปใช๎ ประโยชน๑ในชีวิตประจาวันได๎อยํางไร ๑๖. ครูแนะนาให๎นักเรียนปฏิบัติหน๎าที่พลเมืองดี ดังนี้ ๑) มีจริยธรรมที่ควรประพฤติทาให๎สังคมอยูํด๎วยกันโดยสงบ เชํน มีระเบียบวินัย ตรงตํอเวลา มีความรับผิดชอบ ไมํเบียดเบียนผู๎อื่น ไมํทาให๎ผู๎อื่นเสียหาย เป็นต๎น ๒) มีคุณธรรมที่ดีมีประโยชน๑ที่สังคมเห็นวําเป็นความดีความงาม เชํน ซื่อสัตย๑ สุจริต มีเมตตา เอื้อเฟื้อเผื่อแผํ เห็นแกํประโยชน๑สํวนรวม ๓) ความมีศีลธรรม หรือรักษากาย วาจา ใจให๎ปกติ ไมํทาชั่วหรือเบียดเบียนผู๎อื่น เชํน ไมํพูด เท็จ พูดแตํความจริง ไมํเสพของมึนเมา มีสติอยูํเสมอ ไมํฆําสัตว๑ตัดชีวิต มีความเมตตากรุณา
  • 24. ๒๔ ชั่วโมงที่ ๔ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๑๗. ครูกลําวเพิ่มเติมวําความพอเพียงเป็นเรื่องสาคัญสาหรับตนเองและครอบครัว การจะทาให๎เข๎าใจ เรื่องความพอเพียง และคําใช๎จํายของตนเองและครอบครัวต๎องมีจิตสานึก รู๎จักบริหารเงินรู๎จักใช๎จําย ๑๘. ครูแนะนาให๎นักเรียนมีการพึ่งตัวเองเป็นหลัก ควรทาอะไรเป็นขั้นตอน รอบคอบ ระมัดระวัง พิจารณาถึงความพอดี พอเหมาะ พอควร ความสมเหตุสมผล และพร๎อมรับความเปลี่ยนแปลงการสร๎าง สามัคคีให๎เกิดขึ้นบนพื้นฐานของความสมดุลในแตํละสัดสํวนแตํละระดับ ครอบคลุมทั้งด๎านจิตใจ วัฒนธรรม สังคม ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล๎อม รวมถึงเศรษฐกิจ และปัญหาเรื่องความไมํรู๎จัก พอเพียงที่เกิดขึ้นนั้น ต๎องตระหนักและชัดเจนถึงความพอเพียง ๑๙. ครูและนักเรียนสนทนากันเรื่องศิลปะสื่อผสม ซึ่งเป็นผลงานที่เกิดจากการสร๎างสรรค๑ด๎วยการใช๎ สื่อวัสดุตํางชนิดและกลวิธีการสร๎างตั้งแตํ ๒ ชนิดขึ้นไปเข๎ามาผสมผสานกันในผลงานชิ้นนั้นให๎เกิดเป็น องค๑ประกอบภาพสวยงาม กลมกลืน เป็นศิลปะที่เกิดขึ้นใหมํ แนวคิดแรกๆ นําจะมาจากผลงานศิลปะ ของปิกัสโซที่สร๎างไว๎ใน ค.ศ. ๑๙๑๒ เป็นภาพหุํนนิ่ง รูปแบบศิลปะสื่อผสมที่เกิดขึ้นใหมํนี้มีอิทธิพลตํอ ศิลปินมากมายจนปัจจุบันกลายเป็นรูปแบบที่ทุกคนรู๎จักกันดี ๒๐. ครูแสดงรูปภาพศิลปะสื่อผสมเพื่อให๎นักเรียนได๎เกิดการเรียนรู๎และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่ง กันและกัน ขั้นสอน ๒๑. ครูอธิบายและวิเคราะห๑การใช๎หลักการออกแบบในการสร๎างงานสื่อผสม โดยฉายวีดิทัศน๑และ สื่อแผํนใสประกอบเพื่อสื่อความหมายให๎นักเรียนเข๎าใจงํายยิ่งขึ้น
  • 25. ๒๕ ๒๒. นักเรียนออกแบบภาพตามความคิด จินตนาการ แล๎วจัดวางสื่อวัสดุประเภทตํางๆ โดยให๎ติดบน กระดาษแข็ง ตกแตํงด๎วยสีและเทคนิคตํางๆ ตามความเหมาะสม ขั้นสรุปและการประยุกต์ใช้ ๒๓. ครูอธิบายสรุปเพิ่มเติมในสํวนที่ยังไมํได๎กลําวถึง ๒๔. นักเรียนสรุปโดยอธิบายความหมายและหลักการออกแบบสร๎างงานศิลปะสื่อผสม ๒๕. ครูแนะนาให๎นักเรียนนาความรู๎เรื่องการออกแบบสร๎างสรรค๑งานศิลปะสื่อผสมไปใช๎ประโยชน๑ใน ชีวิตประจาวันได๎อยํางไร ชั่วโมงที่ ๕-๖-๗-๘ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๒๖. ครูสนทนากับนักเรียนถึงการสร๎างงานทัศนศิลป์แบบ ๒ มิติ และ ๓ มิติ หมายถึง การสร๎างงาน ศิลปะที่มองเห็นความงามได๎จากรูปลักษณ๑ที่กินระวางพื้นที่และสามารถสัมผัสจับต๎องได๎ โดยการนาผล จากการรับรู๎ประสบการณ๑มาเป็นแรงบันดาลใจในการจินตนาการสร๎างสรรค๑เพื่อถํายทอดผลงาน ผลงาน ในด๎าน ๒ มิติ เชํน การวาดเส๎น จิตรกรรม ภาพปะติด ศิลปะภาพพิมพ๑ และศิลปะสื่อผสม สํวนผลงาน ในด๎าน ๓ มิติ เชํน งานประติมากรรมและสถาปัตยกรรม เป็นต๎น ๒๗. นอกจากนั้นครูได๎แสดงรูปภาพให๎นักเรียนดูเพื่อเชื่อมโยงเข๎าสูํเนื้อหาของหนํวยการเรียน ขั้นสอน ๒๘. ครูอธิบายและวิเคราะห๑การสร๎างงานทัศนศิลป์แบบ ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพื่อถํายทอด ประสบการณ๑และจินตนาการ โดยการฉายวีดิทัศน๑และใช๎สื่อแผํนใสประกอบการเรียน ๒๙. ครูและนักเรียนสาธิตการสร๎างงานทัศนศิลป์แบบ ๒ มิติ โดยเริ่มต๎อนจากการเขียนภาพลายเส๎น  ครูและนักเรียนสาธิตการวาดเส๎นใบหน๎าคนอยํางงําย ดังนี้ ๑) อุปกรณ๑  ดินสอดา EE ๑ แทํง เหลาปลายให๎แหลม  กระดาษวาดเส๎น (Drawing) กระดาษปรู๏ฟหรือกระดาษหนังสือพิมพ๑ A4 ๑ แผํน  กระดานรองเขียน  ยางลบ  กระดาษชาระหรือสาลี  ภาพต๎นฉบับ (ภาพถํายสีหรือขาว-ดา)
  • 26. ๒๖ ๒) การเตรียม ๒.๑ติดกระดาษวาดเส๎น (กระดาษปรู๏ฟ) กับกระดานรองเขียนโดยใช๎เทปกาว ติดมุม กระดาษทั้ง ๔ ด๎าน ๒.๒ เตรียมภาพต๎นแบบที่จะใช๎วาดให๎ตั้งอยูํด๎านหน๎า ๓๐. ครูและนักเรียนสาธิตการรํางภาพเบาๆ ตามขั้นตอนดังนี้ ๑) เขียนวงกลมแทนสํวนที่เป็นหัวกะโหลก ๒) แบํงครึ่งวงกลมเป็นสองสํวนคือสํวนบนและสํวนลําง ๓) ลากเส๎นแนวตั้งเพื่อกาหนดตาแหนํง ๔) กาหนดนัยน๑ตาอยูํใต๎เส๎นแบํงครึ่ง กึ่งกลางใบหน๎า ซ๎าย-ขวา เขียนเป็นรูปวงรี เขียนคิ้วเป็นเส๎นโค๎ง
  • 27. ๒๗ ๕) กาหนดจมูกอยูํตรงตาแหนํง ๖) กาหนดเส๎นรํองปากให๎อยูํบนแนวขอบวงกลมสํวนลําง ครึ่งของเส๎นแนวตั้ง ๗) เขียนริมฝีปากบนและลําง ๘) ตํอเส๎นคางและขากรรไกรทั้งสองข๎าง ๙) กาหนดหูทั้งสองข๎างให๎สํวนบนของหู ๑๐)กาหนดเส๎นบริเวณเส๎นผมให๎คลุมอยูํเหนือวงกลม สูงไมํเกินคิ้ว ๑๑) เก็บรายละเอียดนัยน๑ตา จมูก ปาก ๓๑. ครูและนักเรียนสาธิตการเขียนนัยน๑ตาอยํางงําย ดังนี้ ๑) เขียนเป็นวงรีและเขียนลูกตาดา ๒) ลากเส๎นสํวนบนให๎เข๎มหนา เป็นวงกลม และยาวเลยคลุมสํวนลําง ๓) เขียนลูกตาดาชั้นใน ๔) เขียนแววตาดาชั้นใน
  • 28. ๒๘ ๕) เขียนแววตาดาชั้นใน ๖) ตาชั้นเดียว ๗) ตาสองชั้น ๘) ตาสองชั้นมีถุงน้าตา ๓๒. ครูและนักเรียนสาธิตการเขียนจมูกอยํางงําย ดังนี้ ๑) กาหนดตาแหนํงของจมูกให๎ถูกต๎อง ๒) ความกว๎างของจมูกอยูํตรงหัวตาทั้งสองข๎าง ๓) เขียนเส๎นหยักกาหนดปลายจมูก ๔) รายละเอียดเส๎นหยักปลายจมูก ๕) เก็บรายละเอียด ๓๓. นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมดังนี้ ๑) ค๎นหาภาพใบหน๎าคนที่มีขนาดใหญํจากนิตยสาร หนังสือพิมพ๑ หรือเอกสารอื่นๆ แล๎วนา ภาพมาติดบนกระดาษแข็ง เพื่อใช๎เป็นแบบสาหรับวาด ๒) วาดภาพใบหน๎าคนจากแบบที่หามาบนกระดาษปรู๏ฟ (กระดาษที่มีเนื้อกระดาษเหมือน กระดาษหนังสือพิมพ๑) ด๎วยดินสอ EE
  • 29. ๒๙ ๓) ขั้นตอนการเตรียมและการเขียนให๎ศึกษาจากเนื้อหา “การวาดเส๎นใบหน๎าคนอยํางงําย” ๓๔. ครูและนักเรียนสาธิตการสร๎างงานทัศนศิลป์ ๓ มิติ โดยการแกะสลักโฟมเป็นรูปทรงเรขาคณิต ดังนี้ ๑) อุปกรณ๑  แผํนโฟมที่มีความหนาขนาดใดก็ได๎  มีดตัดโฟม (คัตเตอร๑)  ดินสอลอกลายชนิดอํอน (4B)  กระดาษสร๎างแบบควรเป็นกระดาษแข็งอยํางน๎อย ๑๐๐ ปอนด๑  เข็มหมุดสาหรับติดแบบกับโฟม  สีโปสเตอร๑หรือสีน้าพลาสติก (สีน้า) สาหรับทาสีให๎สวยงามพร๎อมด๎วยอุปกรณ๑ทาสี  กาวลาเท็กซ๑  กระดาษทรายชนิดละเอียดเบอร๑ ๘๐-๑๐๐ ๒) วิธีสร๎างงาน สร้างงานรูปทรงลูกเต๋า ที่มีความกว๎างแตํละด๎านเทํากับ ๔ นิ้ว  สร๎างแบบสี่เหลี่ยมจัตุรัสให๎มีด๎านกว๎าง ยาว ด๎านละ ๔ นิ้ว บนกระดาษสร๎างแบบแล๎ว ตัดแบบออกมาจะได๎กระดาษแบบเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีด๎านกว๎าง ยาว ด๎านละ ๔ นิ้ว  นากระดาษแบบไปวางบนโฟมตรึงมุมทั้งสี่ด๎วยเข็มหมุดให๎แนํน แล๎วใช๎คัตเตอร๑ตัดโฟ มออกเป็นชิ้น  ตัดโฟมด๎วยวิธีเดียวกันนี้ให๎ได๎หลายชิ้นตามต๎องการ  ถ๎านักเรียนใช๎โฟมที่มีความหนาครึ่งนิ้ว ต๎องตัดโฟมตามแบบ ๘ ชิ้น  ถ๎าใช๎โฟมที่มีความหนา ๑ นิ้ว ต๎องตัดโฟมตามแบบ ๔ ชิ้น จากนั้นให๎นาโฟมทุกชิ้นมาผนึกติดกันด๎วยกาวลาเท็กซ๑ แล๎วปลํอยทิ้งไว๎ให๎แห๎งหรือนาไป ตากแดดจนแห๎งดี แล๎วจึงนามาขัดกระดาษทรายเบาๆ จนผิวทุกด๎านเรียบสนิท
  • 30. ๓๐ จากนั้นจึงตกแตํงด๎วยสีโปสเตอร๑หรือสีน้าให๎เกิดลวดลายที่สวยงาม เมื่อสีแห๎งดีแล๎วอาจพํน ทับด๎วยสเปรย๑เคลียร๑ เพื่อปูองกันสีลอกหลุดและทาให๎เงางาม เมื่อนักเรียนทุกคนสร๎างสรรค๑งานแกะสลักโฟมรูปทรงลูกเต๐าเสร็จแล๎วควรเก็บเรียงวางซ๎อน กันเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมขนาดใหญํก็จะดูสวยงาม ๓๕. ครูและนักเรียนสาธิตการแกะโฟมเป็นตัวอักษร โดยให๎นักเรียนแกะโฟมเป็นตัวอักษรตามที่ครู กาหนด และเตรียมอุปกรณ๑ดังนี้ ๑) แผํนโฟม ๒) มีดตัดโฟม ๓) สีโปสเตอร๑ นักเรียนจัดทาตามขั้นตอนดังนี้ ๑) ออกแบบตัวอักษรให๎มีความสูงไมํน๎อยกวํา ๔ นิ้ว ๒) กาหนดความกว๎างของตัวอักษร ๓ นิ้ว โดยแบํงเป็น ๓ สํวน คือ สํวนที่ ๑ ความกว๎างของเส๎นหน๎าตัวอักษร สํวนที่ ๒ ความกว๎างของชํวงกลางตัวอักษร สํวนที่ ๓ ความกว๎างของชํวงหลังตัวอักษร ๓) ออกแบบตัวอักษรตามที่นักเรียนต๎องการ ๔) ใช๎มีดคัตเตอร๑ตัดตัวอักษรออกเป็นตัวๆ แล๎วทาด๎วยสีโปสเตอร๑ตามต๎องการ จากนั้นนา ตัวอักษรมาเรียงให๎เป็นข๎อความที่ต๎องการ ๓๖. ครูและนักเรียนสาธิตการแกะโฟมเป็นรูปทรง ๓ มิติ โดยให๎นักเรียนแกะโฟมเป็นรูปทรง ๓ มิติ ตามที่ครูกาหนด และเตรียมอุปกรณ๑ ดังนี้ ๑) แผํนโฟม ๒) มีดตัดโฟม ๓) กาวลาเท็กซ๑ ๔) หุํนที่ใช๎เป็นแบบ เชํน แจกัน ขวด หรือวัสดุอื่น
  • 31. ๓๑ นักเรียนทาตามขั้นตอนดังนี้ ๑) วัดขนาดของวัสดุ โดยกาหนดให๎เป็นรูปทรงสี่เหลี่ยม ๓ มิติ รอบรูปทรงของหุํน ๒) ตัดโฟมเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยม ๓ มิติ ถ๎าโฟมบางกวําให๎ตัดหลายชิ้นแล๎วติดด๎วยกาวลาเท็กซ๑ ๓) เมื่อกาวแห๎งและยึดโฟมติดกันดีแล๎ว นาโฟมรูปทรงสี่เหลี่ยม ๓ มิติ ที่ได๎ไปสร๎างแบบตาม หุํนที่กาหนดตามขั้นตอนดังนี้ ๑) รํางภาพด๎านข๎างขวา-ซ๎าย ด๎านหน๎าและด๎านหลังลงบนรูปทรงสี่เหลี่ยมทั้ง ๔ ด๎าน ๒) ตัดโฟมออกให๎เหลือเฉพาะต๎นแบบ ๓) เก็บรายละเอียดของต๎นแบบโดยใช๎ กระดาษทรายขัด และทาสีให๎สวยงาม ๓๗. นักเรียนแกะสลักโฟมเป็นรูปสัตว๑ เชํน นกแก๎ว นกเอี้ยง นกขุนทอง หรือนกหายากชนิดอื่นๆ หรืออาจสนใจสัตว๑อื่น เชํน กระรอก ปลา แมว สุนัข วัว ควาย หมู แพะ แกะ จิงโจ๎ แพนด๎า เสือ กวาง ลิง เป็นต๎นโดยมีวิธีสร๎างสรรค๑ผลงาน ซึ่งมีขั้นตอนในการทาเชํนเดียวกับการแกะสลักโฟมเป็นรูปทรง ๓ มิติ แตํตํางกันที่ต๎องแยกสํวนประกอบตํางๆ ของรํางกายสัตว๑ออกเป็นชิ้นๆ คือ สํวนหัว สํวนลาตัว สํวน ขา สํวนปีก สํวนหาง และสํวนประกอบที่อยูํรอบตัวสัตว๑ เชํน กิ่งไม๎ ใบไม๎ ก๎อนหิน พื้นหญ๎า ฯลฯ นักเรียนต๎องทาแบบสํวนประกอบแตํละสํวนและแกะโฟมเป็นสํวนๆ จากนั้นนามาประกอบกันโดยติด ด๎วยกาวลาเท็กซ๑ และขัดด๎วยกระดาษทรายให๎ดูสมจริง สํวนที่เป็นผิวหนังหรือขนต๎องตกแตํงด๎วยสี แล๎ว จัดทําทางตามธรรมชาติของสัตว๑ชนิดนั้น ขั้นสรุปและประยุกต์ใช้ ๓๘. นักเรียนและครูรํวมกันตั้งคาถามเพื่อให๎เกิดความเข๎าใจ ความคิดและข๎อคิดที่ได๎จากการทา กิจกรรมเพื่อให๎บรรลุจุดประสงค๑ที่ตั้งไว๎ นอกจากนั้นยังสรุปเนื้อหาที่สอนในเรื่องตํางๆ ที่กาหนดตาม มาตรฐาน จุดประสงค๑ โดยสรุปจากการรวบรวมข๎อคิดเห็นของนักเรียนพร๎อมทั้งเพิ่มเติมประเด็นที่สาคัญ ของเนื้อหาการเรียนรู๎เพื่อให๎สมบูรณ๑มากยิ่งขึ้น
  • 32. ๓๒ ๓๙. นักเรียนสรุปความหมายและหลักการสร๎างงานทัศนศิลป์แบบ ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพื่อถํายทอด ประสบการณ๑และจินตนาการ และครูแนะให๎นักเรียนนาความรู๎เรื่องหลักการสร๎างงานทัศนศิลป์แบบ ๒ มิติ และ ๓ มิติ ไปใช๎ประโยชน๑ในชีวิตประจาวันได๎อยํางไร ๔๐. นักเรียนสรุปโดยอธิบายขั้นตอนการสร๎างงานทัศนศิลป์ ๓ มิติ และครูแนะนาให๎นักเรียนนา ความรู๎เรื่องการแกะสลักโฟมเป็นรูปทรงเรขาคณิต ตัวอักษรและรูปทรง ๓ มิติ ไปใช๎ประโยชน๑ใน ชีวิตประจาวันได๎อยํางไร ๔๑. ครูแนะนาให๎นักเรียนทาหน๎าที่พลเมืองดีอยํางสม่าเสมอ ปิดไฟ เก็บขยะ เช็ดตู๎โทรศัพท๑ สาธารณะ แตํงกายถูกระเบียบของโรงเรียน เป็นต๎น ๔๒. นักเรียนทากิจกรรมพัฒนากระบวนการคิด และตอบคาถามสํงเสริมการเรียนรู๎ ๙ สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสือเรียนรายวิชา ทัศนศิลป์ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของบริษัท สานักพิมพ๑เอมพันธ๑ จากัด ๒. วีดิทัศน๑ แผํนใส และรูปภาพประกอบ ๑๐ การบูรณาการ ๑. กลุํมสาระการเรียนรู๎ภาษาไทย ได๎แกํ ทักษะการฟัง ทักษะการอําน ทักษะการเขียน และทักษะ การพูด ๒. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓. คุณธรรมจริยธรรม และศีลธรรม ๔. หน๎าที่พลเมืองดี ทักษะในการสร้างงานทัศนศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การบูรณาการ คุณธรรมจริยธรรม หน้าที่พลเมืองดี