SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  53
Télécharger pour lire hors ligne
๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑
วิชา ทัศนศิลป์ ๔-๖ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ความเข้าใจในศิลปะ เวลา ๓ ชั่วโมง
๑. เป้าหมายการเรียนรู้
๑. นาความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์มาวิเคราะห์และจาแนกแขนงต่างๆ ของผลงาน
ทัศนศิลป์ น้อมนาโครงการใช้วัสดุอย่างพอเพียง
๒. วิเคราะห์และบรรยายคุณค่าทางทัศนศิลป์ โดยใช้ศัพท์ทางทัศนศิลป์ มีความชื่นชม ภาคภูมิใจ
และเห็นคุณค่าความงามของงานทัศนศิลป์
๓. ชื่นชมภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าความงามของงานทัศนศิลป์
๔. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคาศัพท์ทางทัศนศิลป์
๒. สาระสาคัญ
ศิลปะเป็นสิ่งที่มนุษย์ใช้สติปัญญาสร้างสรรค์ขึ้นด้วยความประณีตวิจิตรบรรจง แบ่งออกเป็น ๒
ประเภท คือ วิจิตรศิลป์ และประยุกต์ศิลป์ ส่วนทัศนศิลป์เป็นผลงานศิลปะที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น
สามารถสัมผัส รับรู้ ชื่นชมความงามด้วยการมองเห็น ผลงานทัศนศิลป์แต่ละประเภทมีคุณค่าทาง
เรื่องราวและคุณค่าทางรูปทรง ซึ่งศิลปินผู้สร้างสรรค์จะสะท้อนออกมาทางผลงาน
๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด
มาตรฐาน ศ ๑.๑ : สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์
วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ
อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
มาตรฐาน ศ ๑.๒ : เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างาน
ทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล
๒
มฐ. ศ ๑.๑ มฐ. ศ ๑.๒
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๒. บรรยายจุดประสงค์และเนื้อหาของงานทัศนศิลป์
โดยใช้ศัพท์ทางทัศนศิลป์
๓. วิเคราะห์การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์และเทคนิค
ของศิลปินในการแสดงออกทางทัศนศิลป์
๔. มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์และ
กระบวนการที่สูงขึ้นในการสร้างงานทัศนศิลป์๗.
วิเคราะห์และอธิบายจุดมุ่งหมายของศิลปินใน
การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เทคนิคและเนื้อหา
เพื่อสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างพอเพียง
๒. ระบุงานทัศนศิลป์ของศิลปินที่มีชื่อเสียง
และบรรยายผลตอบรับของสังคม
๔. สาระการเรียนรู้
๑. ศิลปะคืออะไร ๔. คุณค่าทางทัศนศิลป์
๒. ประเภทของศิลปะ ๕. ผลงานทัศนศิลป์ของศิลปิน
๓. ทัศนศิลป์ (Visual Art) ๖. คาศัพท์ทางทัศนศิลป์
๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
K (Knowledge)
ความรู้ความเข้าใจ
P (Practice)
การฝึกปฏิบัติ
A (Attitude)
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
C(capacity)
สมรรถนะสาคัญ
๑. อธิบายความหมายของ
ศิลปะได้
๒. ระบุประเภทของศิลปะได้
๓. อธิบายงานทัศนศิลป์ได้
๔. อธิบายคุณค่าทาง
ทัศนศิลป์ได้ได้อย่าง
๑. กิจกรรมเรื่อง จัดทา
สมุดภาพงานทัศนศิลป์
๒. กิจกรรมเรื่อง วิเคราะห์
คุณค่าทางทัศนศิลป์
๓. กิจกรรมเรื่อง ศึกษา
ค้นคว้าคาศัพท์ทาง
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซื่อสัตย์สุจริต
๓. มีวินัย
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุ่งมั่นในการทางาน
๑. ความสามารถใน
การสื่อสาร
๒. ความสามารถใน
การคิด
๓. ความสามารถใน
๓
พอเพียง
๕. อธิบายผลงานทัศนศิลป์ของ
ศิลปินได้
๖. อธิบายศัพท์ทางทัศนศิลป์
ได้
ทัศนศิลป์ ๗. รักความเป็นไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
การแก้ปัญหา
๔. ความสามารถใน
การใช้ทักษะชีวิต
๕. ความสามารถใน
การใช้เทคโนโลยี
๖. การวัดและประเมินผล
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑) ใบงาน
๒) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
๓) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๔) แบบสังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน
๕) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. วิธีวัดผล
๑) ตรวจใบงาน
๒) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
๓) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคลใช้วัสดุอย่างประหยัดและพอเพียง
๔) สังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน
๕) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
๑) การประเมินจากแบบตรวจใบงานต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ
การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
๒) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
เกินร้อยละ ๕๐
๓) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
๔
๔) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตาม
สภาพจริง
๕) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑. ผลการทาใบงาน
๒. ผลการสร้างสรรค์ผลงาน
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๑
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูให้นักเรียนดูภาพงานทัศนศิลป์ประเภทต่าง ๆ เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนได้เห็นผลงานศิลปะใน
รูปแบบต่าง ๆ และสนทนากับนักเรียนเพื่อเชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับ ความเข้าใจในศิลปะ
ขั้นสอน
๒) ครูอธิบายความแตกต่างถึงงานทัศนศิลป์ประเภทต่างๆ เพื่อเปรียบเทียบให้เห็นถึงความแตกต่าง
๓) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า หัวข้อดังนี้
 ศิลปะคืออะไร  ประเภทของศิลปะ  ทัศนศิลป์
๔) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษาทั้งสามหัวข้อ โดยครูช่วยอธิบายเสริมเพิ่มเติมให้
สมบูรณ์
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๕) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุป และให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงานสรุปความรู้ที่ได้รับ
และนัดหมายให้นักเรียนเก็บรวบรวมภาพผลงานทัศนศิลป์จากภาพถ่าย เอกสารวารสาร
หนังสือและนิตยสารต่างๆ มาทากิจกรรมตามใบงานที่ ๑.๑ เรื่องจัดทาสมุดภาพงานทัศนศิลป์
แล้วนามาเสนอในชั่วโมงต่อไป
ชั่วโมงที่ ๒
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๖) ครูนาภาพตัวอย่างผลงานทัศนศิลป์ของศิลปิน ให้นักเรียนดู
๕
ขั้นสอน
๗) ครูอธิบายถึงรูปแบบข้อมูลภาพผลงานทัศนศิลป์ของศิลปิน เพื่อเปรียบเทียบให้เห็นถึงความแตกต่าง
๘) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้าหัวข้อ ดังนี้
 คุณค่าทางทัศนศิลป์
 ผลงานทัศนศิลป์ของศิลปิน
๙) นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอที่หน้าชั้นเรียน และให้นักเรียนทุกคนร่วมกันแสดงความ
คิดเห็น หาข้อสรุปที่ตรงกัน โดยมีครูคอยให้ความรู้เสริมเพิ่มเติมให้สมบูรณ์
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๑๐) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุป และให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงาน สรุปความรู้ที่
ได้รับและนัดหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้า หาคาศัพท์ทางทัศนศิลป์จากห้องสมุด
พิพิธภัณฑ์ หรือเว็บไซต์ต่าง ๆ มาทากิจกรรมในชั่วโมงต่อไป
ชั่วโมงที่ ๓
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๑๑) ครูนาตัวอย่างศัพท์ทางทัศนศิลป์ ให้นักเรียนดู
ขั้นสอน
๑๒) ครูนาภาพผลงานของนักเรียนหรือของศิลปินให้นักเรียนดู
๑๓) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้าศัพท์ทางทัศนศิลป์และ
ความหมาย พร้อมทาใบงานที่ ๑.๓ กิจกรรม เรื่องศึกษาค้นคว้าคาศัพท์ทางทัศนศิลป์
๑๔) นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษา และผลการทากิจกรรม โดยครูช่วยอธิบาย
เสริมเพิ่มเติมให้สมบูรณ์
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๑๕) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุป และให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงานสรุปความรู้ที่ได้รับ
และนัดหมายให้นักเรียนเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างงานศิลปะในชั่วโมงต่อไป
๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
๑. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ทัศนศิลป์ ๔-๖ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
๒. ตัวอย่างภาพงานทัศนศิลป์ประเภทต่างๆ ที่เป็นภาพถ่าย และภาพเขียนของศิลปิน
๖
๓. สื่อเว็บไซต์ทางศิลปะ
๔. สถาบันทางศิลปะและหอศิลป์ต่างๆ
๑๐. การบูรณาการ
๑. บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอ
รายงาน
๒. บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ได้แก่ การค้นคว้างานศิลปะจาก
เว็บไซต์ต่างๆ
บันทึกหลังการสอน
๑. ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
๒. ปัญหา/อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน
(...............................................)
วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............
๗
๔. ข้อเสนอแนะรองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………….……….
…………………………………………………………………………………………………….…………….
………………………………………………………………………………………………………….……….
………………………………………………………………………………………………………..………….
……………………………………………………………………………………………………..…………….
ลงชื่อ...............................................................
( นางสาวโสภา ขาเจริญ )
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒
วิชา ทัศนศิลป์ ๔-๖ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ หลักการทัศนศิลป์ เวลา ๘ ชั่วโมง
๑. เป้าหมายการเรียนรู้
๕. นาทัศนธาตุต่างๆ มาสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามความคิดจินตนาการของตนเองได้อย่างเหมาะสม
๖. มีทักษะพื้นฐานในการวาดภาพสัดส่วนมนุษย์
๗. นาความรู้ ความเข้าใจในบริเวณว่างมาใช้สร้างสรรค์ผลงานได้อย่างเหมาะสม
๘. มีทักษะในการนาทัศนธาตุต่างๆ มาจัดองค์ประกอบศิลป์ได้อย่างสวยงามและเหมาะสม
๙. นาความรู้ ความเข้าใจรูปแบบการสื่อความหมาย ผสานความคิดและจินตนาการของตนเอง
ถ่ายทอดผลงานทัศนศิลป์ไทย สากล ตามความถนัดและสนใจ
๒. สาระสาคัญ
ทัศนธาตุเป็นส่วนประกอบสาคัญต่างๆ ที่ประกอบกันเป็นงานทัศนศิลป์ ซึ่งสามารถมองเห็นได้ ซึ่ง
ได้แก่ จุด เส้น รูปร่าง รูปทรง สี น้าหนักอ่อน-แก่ สัดส่วน พื้นผิว รูปและพื้น ที่ผสมผสานกันอย่าง
กลมกลืนและเหมาะสม การสร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะเพื่อให้เกิดคุณค่าทางความงาม ควรยึดหลักการ
จัดองค์ประกอบศิลป์ และการสื่อความหมายด้วยงานทัศนศิลป์
๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด
มาตรฐาน ศ ๑.๑ : สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์
วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ
อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
๘
๓. ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
มฐ. ศ ๑.๑
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๑. วิเคราะห์การใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมายในรูปแบบต่างๆ
๔. มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์และกระบวนการที่สูงขึ้นในการสร้างงานทัศนศิลป์
๖. ออกแบบงานทัศนศิลป์ได้เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่
๑๐. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ไทย สากล โดยศึกษาจากแนวคิดและวิธีการสร้างงานของศิลปินที่
ตนชื่นชอบ
๔. สาระการเรียนรู้
๑. ทัศนธาตุ
๒. การจัดองค์ประกอบศิลป์
๓. การสื่อความหมายด้วยงานทัศนศิลป์
๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
K (Knowledge)
ความรู้ความเข้าใจ
P (Practice)
การฝึกปฏิบัติ
A (Attitude)
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
C(capacity)
สมรรถนะสาคัญ
๑. อธิบายทัศนธาตุได้
๒. อธิบายการจัด
องค์ประกอบศิลป์ได้
๗. อธิบายการสื่อ
ความหมายด้วยงาน
ทัศนศิลป์ได้
๑. กิจกรรมเรื่อง ทัศนธาตุ
สร้างสรรค์
๒. กิจกรรมเรื่อง ทัศนธาตุและ
รูปแบบจากธรรมชาติ
๓. กิจกรรมเรื่อง วาดภาพสัดส่วน
มนุษย์
๔. กิจกรรมเรื่อง กาหนดบริเวณ
ว่าง
๕. กิจกรรมเรื่อง จัดองค์ประกอบ
ศิลป์ด้วยทัศนธาตุ
๖. กิจกรรมเรื่อง สื่อความคิด
จินตนาการ ความประทับใจ
ด้วยทัศนศิลป์
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซื่อสัตย์สุจริต
๓. มีวินัย
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุ่งมั่นในการทางาน
๗. รักความเป็นไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
๑. ความสามารถใน
การสื่อสาร
๒. ความสามารถใน
การคิด
๓. ความสามารถใน
การแก้ปัญหา
๔. ความสามารถใน
การใช้ทักษะชีวิต
๕. ความสามารถใน
๙
การใช้เทคโนโลยี
๖. การวัดและประเมินผล
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑) ใบงาน
๒) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
๓) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๔) แบบสังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน
๕) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. วิธีวัดผล
๑) ตรวจใบงาน
๒) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
๓) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๔) สังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน
๕) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
๑) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ
การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
๒) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
เกินร้อยละ ๕๐
๓) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
๔) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตาม
สภาพจริง
๕) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑. ผลการทาใบงาน
๑๐
๒. ผลการสร้างสรรค์ผลงาน
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๑-๒
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูให้นักเรียนดูภาพงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ด้วยจุด เส้น รูปร่าง รูปทรงและสี ให้เห็นผลงาน
ศิลปะในรูปแบบต่างๆ และสนทนากับนักเรียนเพื่อเชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับทัศนธาตุ รูปร่าง
รูปทรงและสี
ขั้นสอน
๒) ครูอธิบายให้นักเรียนทราบว่า จุด เส้น รูปร่าง รูปทรงและสีเป็นทัศนธาตุพื้นฐาน ในการ
สร้างสรรค์งานด้านศิลปะ
๓) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า ในหัวข้อดังนี้
 จุด เส้น
 รูปร่าง รูปทรง
 ทาใบงานที่ ๒.๑ กิจกรรม เรื่องทัศนธาตุสร้างสรรค์ และใบงานที่ ๒.๒ กิจกรรม เรื่องทัศน
ธาตุและรูปแบบจากธรรมชาติ
๔) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษา เรื่องจุด เส้น รูปร่าง รูปทรง และผลการทากิจกรรม
โดยครูช่วยเสริมเพิ่มเติมให้สมบูรณ์
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๕) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุปและให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงานสรุปความรู้ที่ได้รับ
และนัดหมายให้นักเรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์มาทากิจกรรมในชั่วโมงต่อไป
ชั่วโมงที่ ๓-๔
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๖) ครูนาภาพงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ด้วย สัดส่วน พื้นผิว รูปและพื้น และบริเวณว่าง ให้
นักเรียนดู
ขั้นสอน
๗) ครูอธิบายความหมายของ สัดส่วน พื้นผิว รูปและพื้น และบริเวณว่างที่มีอิทธิพลต่อการ
สร้างสรรค์งานศิลปะ
๘) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า หัวข้อดังนี้
 สัดส่วน
๑๑
 พื้นผิว
 รูปและพื้น
 บริเวณว่าง
 ทาใบงานที่ ๒.๓ กิจกรรม เรื่องวาดภาพสัดส่วนมนุษย์ และใบงานที่ ๒.๔ กิจกรรม
เรื่องกาหนดบริเวณว่าง
๙) นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอที่หน้าชั้นเรียน และให้นักเรียนทุกคนร่วมกันแสดงความ
คิดเห็นหาข้อสรุปที่ตรงกัน โดยมีครูคอยให้ความรู้เสริมเพิ่มเติมให้สมบูรณ์
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๑๐) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุปและให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงาน สรุปความรู้ที่ได้รับ
และนัดหมายให้นักเรียนเตรียมวัสดุ อุปกรณ์มาทากิจกรรมในชั่วโมงต่อไป
๑๒
ชั่วโมงที่ ๕-๖
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๑๑) ครูนาภาพงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้วยทัศนธาตุ ให้นักเรียนดู
ขั้นสอน
๑๒) ครูอธิบายหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ด้วยทัศนธาตุ ให้นักเรียนเปรียบเทียบถึงความแตกต่าง
๑๓) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้าหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์
หัวข้อดังนี้
 หลักของความเป็นเอกภาพ
 หลักของความสมดุล
 หลักการสร้างความน่าสนใจ
 ทาใบงานที่ ๒.๕ กิจกรรม เรื่องจัดองค์ประกอบศิลป์ด้วยทัศนธาตุ
๑๔) นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษาและผลการทากิจกรรมโดยครูช่วยอธิบายเสริม
เพิ่มเติมให้สมบูรณ์
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๑๕) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุปและให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงานสรุปความรู้ที่ได้รับ และ
นัดหมายให้นักเรียนเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างงานศิลปะในชั่วโมงต่อไป
ชั่วโมงที่ ๗-๘
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๑๖) ครูนาภาพการสื่อความหมายด้วยงานทัศนศิลป์ รูปแบบต่างๆ ให้นักเรียนดู
ขั้นสอน
๑๗) ครูอธิบายการสื่อความหมายด้วยงานทัศนศิลป์รูปแบบต่างๆ เพื่อให้นักเรียนเห็นความแตกต่าง
๑๘) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้าการสื่อความหมายด้วยงานทัศนศิลป์
หัวข้อดังนี้
 ความหมายของการสื่อ
 วิธีการสื่อความหมาย
 รูปแบบการสื่อความหมาย
 ทาใบงานที่ ๒.๖ กิจกรรม เรื่องสื่อความคิด จินตนาการ ความประทับใจด้วยงานทัศนศิลป์
๑๓
๑๙) นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษา และผลการทากิจกรรม โดยครูช่วยอธิบาย
เสริมเพิ่มเติมให้สมบูรณ์
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๒๐) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุปและให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม เขียนรายงานสรุปความรู้ที่ได้รับ และ
นัดหมายให้นักเรียนเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างงานศิลปะในชั่วโมงต่อไป
๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
๑. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ทัศนศิลป์ ๔-๖ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
๒. ตัวอย่างภาพงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ด้วยทัศนธาตุรูปแบบต่างๆ
๓. สื่อเว็บไซต์ทางศิลปะ
๔. สถาบันทางศิลปะและหอศิลป์ต่างๆ
๑๐. การบูรณาการ
๑. บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอ
รายงาน
๒. บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ได้แก่ การค้นคว้างานศิลปะจาก
เว็บไซต์ต่างๆ
๑๔
บันทึกหลังการสอน
๑. ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
๒. ปัญหา/อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน
(...............................................)
วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............
๔. ข้อเสนอแนะรองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………….……….
…………………………………………………………………………………………………….…………….
………………………………………………………………………………………………………….……….
………………………………………………………………………………………………………..………….
……………………………………………………………………………………………………..…………….
ลงชื่อ...............................................................
( นางสาวโสภา ขาเจริญ )
๑๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
วิชา ทัศนศิลป์ ๔-๖ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ ตามรอยศิลปิน เวลา ๔ ชั่วโมง
๑. เป้าหมายการเรียนรู้
๑๐.มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาหลักการ หรือแนวทางในการสร้างงานของศิลปินมาประยุกต์ใช้
สร้างสรรค์ผลงานของตนเองได้อย่างเหมาะสม
๑๑.มีความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์จุดมุ่งหมาย แนวทางการสร้างงาน การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์
และเนื้อหาในการสร้างงานของศิลปิน
๑๒.สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของศิลปินได้อย่างสวยงาม
๒. สาระสาคัญ
ศิลปิน คือ ผู้สร้างงานศิลปะโดยการถ่ายทอดความคิด ความรู้สึกที่มีต่อธรรมชาติ สังคม สิ่งแวดล้อม
ออกมาเป็นผลงานศิลปะที่มีรูปแบบสวยงามตามความถนัด ประสบการณ์หรือลักษณะเฉพาะตัวของ
ศิลปินแต่ละคน จึงทาให้เกิดผลงานศิลปะในรูปแบบที่หลากหลาย ซึ่งมีทั้งศิลปินของไทยและศิลปิน
ต่างประเทศที่มีผลงานสร้างสรรค์แตกต่างกันตามความคิดของศิลปิน
๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด
มาตรฐาน ศ ๑.๑ : สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์
วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องาน
ศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
๑๖
๓. ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
มฐ. ศ ๑.๑
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๑. วิเคราะห์การใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมายในรูปแบบต่างๆ
๒. บรรยายจุดประสงค์และเนื้อหาของงานทัศนศิลป์ โดยใช้ศัพท์ทางทัศนศิลป์
๓. วิเคราะห์การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์และเทคนิคของศิลปินในการแสดงออกทางทัศนศิลป์
๔. มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์และกระบวนการที่สูงขึ้นในการสร้างงานทัศนศิลป์
๖. ออกแบบงานทัศนศิลป์ได้เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่
๗. วิเคราะห์และอธิบายจุดมุ่งหมายของศิลปินในการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เทคนิคและเนื้อหา
เพื่อสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์
๑๐. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ไทย สากล โดยศึกษาจากแนวคิดและวิธีการสร้างงานของศิลปินที่
ตนชื่นชอบ
๔. สาระการเรียนรู้
๑. ศิลปินคือใคร
๒. ศิลปินที่รู้จัก
๓. สร้างงานตามรอยศิลปิน
๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
๑๗
K (Knowledge)
ความรู้ความเข้าใจ
P (Practice)
การฝึกปฏิบัติ
A (Attitude)
คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
C(capacity)
สมรรถนะสาคัญ
๘. อธิบายความหมายของ
คาว่าศิลปินได้
๙. อธิบายและบอกศิลปินที่
รู้จักได้
๑๐. อธิบายขั้นตอนการ
สร้างงานตามรอย
ศิลปินได้
๗. กิจกรรม เรื่องสร้างสรรค์งาน
ทัศนศิลป์
๘. กิจกรรมเรื่องโครงงานศึกษา
ชีวประวัติ และแนวทางการ
สร้างสรรค์ผลงานของศิลปินที่
ชื่นชอบ
๙. กิจกรรม เรื่องสร้างงานตามรอย
ศิลปิน
๑. รักชาติ ศาสน์
กษัตริย์
๒. ซื่อสัตย์สุจริต
๓. มีวินัย
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุ่งมั่นในการทางาน
๗. รักความเป็นไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
๑. ความสามารถในการ
สื่อสาร
๒. ความสามารถในการ
คิด
๓. ความสามารถในการ
แก้ปัญหา
๔. ความสามารถในการ
ใช้ทักษะชีวิต
๕. ความสามารถในการ
ใช้เทคโนโลยี
๖. การวัดและประเมินผล
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑) ใบงาน
๒) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
๓) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๔) แบบสังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน
๕) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. วิธีวัดผล
๑) ตรวจใบงาน
๒) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
๓) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๔) สังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน
๑๘
๕) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
๑) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ
การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
๒) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
เกินร้อยละ ๕๐
๓) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
๔) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตาม
สภาพจริง
๕) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑. ผลการทาใบงาน
๒. ผลการสร้างสรรค์ผลงาน
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๑-๒
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูให้นักเรียนดูภาพผลงานการสร้างสรรค์ของศิลปินรูปแบบต่าง ๆ เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนได้
เห็นผลงานศิลปะในรูปแบบต่าง ๆ และสนทนากับนักเรียนเพื่อเชื่อมโยงความรู้กับ ตามรอย
ศิลปิน
ขั้นสอน
๒) ครูอธิบายให้นักเรียนทราบว่า ศิลปินของไทยและศิลปินต่างประเทศมีการสร้างสรรค์งานที่
แตกต่างกัน ตามความคิด จินตนาการของแต่ละคน
๓) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า ในหัวข้อดังนี้
 ศิลปินคือใคร
 ศิลปินที่รู้จัก
๑๙
 ศิลปินไทย  ศิลปินต่างประเทศ
 ทาใบงานที่ ๓.๑ กิจกรรม เรื่องสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์
 ทาใบงานที่ ๓.๒ กิจกรรม เรื่องโครงงานศึกษาชีวประวัติและแนวทางการสร้างสรรค์ผลงานของ
ศิลปินที่ชื่นชอบ
๔) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษา เรื่องศิลปินคือใคร ศิลปินที่รู้จัก และผลการทากิจกรรม
โดยครูช่วยเสริมเพิ่มเติมให้สมบูรณ์
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๕) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุปและให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงานสรุปความรู้ที่ได้รับ
และนัดหมายให้นักเรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์มาทากิจกรรมในชั่วโมงต่อไป
ชั่วโมงที่ ๓-๔
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๖) ครูนาภาพตัวอย่างผลงานการสร้างสรรค์ของศิลปินรูปแบบต่าง ๆ ให้นักเรียนดู
ขั้นสอน
๗) ครูอธิบายแนวคิด เทคนิค และวิธีการสร้างสรรค์งานของศิลปินแต่ละคน เพื่อให้นักเรียนเห็น
ความแตกต่าง
๘) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาแนวคิด เทคนิค และวิธีการสร้างงาน
พร้อมทาใบงานที่ ๓.๓ กิจกรรมเรื่องสร้างงานตามรอยศิลปิน
๙) นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอที่หน้าชั้นเรียน และให้นักเรียนทุกคนร่วมกันแสดงความ
คิดเห็นหาข้อสรุปที่ตรงกัน โดยมีครูคอยให้ความรู้เสริมเพิ่มเติมให้สมบูรณ์
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๑๐) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุปและให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงาน สรุปความรู้ที่ได้รับ และ
แนะนาให้นักเรียน ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมผลงานของศิลปินจากสื่อเว็บไซต์ทางศิลปะ
๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
๑. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ทัศนศิลป์ ๔-๖ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
๒. ตัวอย่างภาพงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ด้วยทัศนธาตุรูปแบบต่างๆ
๓. สื่อเว็บไซต์ทางศิลปะ
๔. สถาบันทางศิลปะและหอศิลป์ต่างๆ
๑๐. การบูรณาการ
๒๐
๑. บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอ
รายงาน
๒. บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ได้แก่ การค้นคว้างานศิลปะจาก
เว็บไซต์ต่างๆ
๒๑
บันทึกหลังการสอน
๑. ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
๒. ปัญหา/อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน
(...............................................)
วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............
๔. ข้อเสนอแนะรองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………….……….
…………………………………………………………………………………………………….…………….
………………………………………………………………………………………………………….……….
………………………………………………………………………………………………………..………….
……………………………………………………………………………………………………..…………….
ลงชื่อ...............................................................
( นางสาวโสภา ขาเจริญ )
๒๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
วิชา ทัศนศิลป์ ๔-๖ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ เวลา ๘ ชั่วโมง
๑. เป้าหมายการเรียนรู้
มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์และกระบวนการสร้างสรรค์งานจิตรกรรม วาดภาพ
ระบายสี ภาพล้อเลียนหรือการ์ตูน สร้างสรรค์งานประติมากรรมรูปปั้นลอยตัว และสร้างงานภาพพิมพ์
๒. สาระสาคัญ
การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ จะมีรูปแบบ วัสดุ อุปกรณ์ เทคนิค วิธีการสร้างที่แตกต่างกัน
มีวิวัฒนาการสร้างสรรค์จากอดีตที่ใช้เครื่องมือแบบง่าย ๆ จนถึงการใช้สื่อและเครื่องมือที่สมบูรณ์แบบ
ซึ่งเป็นผลจากการพัฒนาทางเทคโนโลยี ซึ่งกรรมวิธีและวัสดุ อุปกรณ์แต่ละชนิด จะเป็นตัวกาหนด
ลักษณะรูปแบบของงานทัศนศิลป์ที่แตกต่างกันออกไป
๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด
มาตรฐาน ศ ๑.๑ : สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์
วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องาน
ศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
๓. ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
มฐ. ศ ๑.๑
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๔. มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์และกระบวนการที่สูงขึ้นในการสร้างงานทัศนศิลป์
๑๑. วาดภาพ ระบายสี เป็นภาพล้อเลียนหรือการ์ตูน เพื่อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพสังคม
ในปัจจุบัน
๔. สาระการเรียนรู้
๒๓
๑ วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างงานทัศนศิลป์แขนงต่างๆอย่างพอเพียงและประหยัด
๒ วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างสรรค์งานจิตรกรรม
๓ วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างสรรค์งานประติมากรรม
๔ วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างสรรค์งานภาพพิมพ์
๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
K (Knowledge)
ความรู้ความเข้าใจ
P (Practice)
การฝึกปฏิบัติ
A (Attitude)
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
C(capacity)
สมรรถนะสาคัญ
๑. อธิบายการใช้วัสดุ
อุปกรณ์ และ
กระบวนการสร้างงาน
จิตรกรรมได้
๒. อธิบายการใช้วัสดุ
อุปกรณ์และ
กระบวนการสร้างงาน
ประติมากรรมได้
๓. อธิบายการใช้วัสดุ
อุปกรณ์ และ
กระบวนการสร้างงาน
ภาพพิมพ์ได้
๑.กิจกรรม เรื่องกุหลาบแสนสวย
๒.กิจกรรม เรื่องวาดภาพการ์ตูน
๓.กิจกรรม เรื่องวาดภาพล้อเลียน
๔.กิจกรรม เรื่องปั้นรูปลอยตัว
ตามจินตนาการ
๕.กิจกรรม เรื่องภาพพิมพ์แกะไม้
(woodcut)
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซื่อสัตย์สุจริต
๓. มีวินัย
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุ่งมั่นในการทางาน
๗. รักความเป็นไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
๑. ความสามารถใน
การสื่อสาร
๒. ความสามารถใน
การคิด
๓. ความสามารถใน
การแก้ปัญหา
๔. ความสามารถใน
การใช้ทักษะชีวิต
๕. ความสามารถใน
การใช้เทคโนโลยี
๖. การวัดและประเมินผล
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑) ใบงาน
๒๔
๒) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
๓) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๔) แบบสังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน
๕) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. วิธีวัดผล
๑) ตรวจใบงาน
๒) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
๓) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคลเลือกวัสดุอย่างประหยัดพอเพียง
๔) สังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน
๕) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
๑) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ
การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
๒) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
เกินร้อยละ ๕๐
๓) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
๔) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตาม
สภาพจริง
๕) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑. ผลการทาใบงาน
๒. ผลการสร้างสรรค์งานศิลปะ
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๑-๒
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๒๕
๑) ครูให้นักเรียนดูวัสดุอุปกรณ์ในการสร้างงานจิตรกรรม และตัวอย่างการวาดภาพด้วยวัสดุ
อุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนได้เห็นผลงานศิลปะในรูปแบบต่าง ๆ และสนทนากับ
นักเรียนเพื่อเชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์
ขั้นสอน
๒) ครูอธิบายให้นักเรียนทราบว่า ผลงานการวาดภาพ ระบายสี หรืองานจิตรกรรมมีความแตกต่างกัน
อยู่ที่การใช้วัสดุอุปกรณ์
๓) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า ในหัวข้อดังนี้
 วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างงานจิตรกรรม
 วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างงานภาพวาด
 วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างงานภาพเขียน
 ทาใบงานที่ ๔.๑ กิจกรรม เรื่องกุหลาบแสนสวย
๔) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษา เรื่องวัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างงานจิตรกรรมและผลการ
ทากิจกรรม โดยครูช่วยเสริมเพิ่มเติมให้สมบูรณ์
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๕) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุปและให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงานสรุปความรู้ที่ได้รับ
และนัดหมายให้นักเรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์มาทากิจกรรมการวาดภาพการ์ตูนและ
วาดภาพล้อเลียนในชั่วโมงต่อไป
ชั่วโมงที่ ๓-๔
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๖) ครูนาภาพตัวอย่างการวาดภาพการ์ตูน และภาพล้อเลียนให้นักเรียนดู
ขั้นสอน
๗) ครูอธิบายความหมายของภาพการ์ตูน ภาพล้อเลียน มีความแตกต่างในการสร้างสรรค์ และ
เนื้อหารูปแบบ
๘) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า ในหัวข้อดังนี้
 ภาพการ์ตูน และเทคนิคการเขียนภาพการ์ตูน
 ภาพล้อเลียน และเทคนิคการเขียนภาพล้อเลียน
 ทาใบงานที่ ๔.๒ กิจกรรม เรื่องวาดภาพการ์ตูน
๒๖
 ทาใบงานที่ ๔.๓ กิจกรรม เรื่องวาดภาพล้อเลียน
๙) นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอที่หน้าชั้นเรียน และให้นักเรียนทุกคนร่วมกันแสดงความ
คิดเห็นหาข้อสรุปที่ตรงกัน โดยมีครูคอยให้ความรู้เสริมเพิ่มเติมให้สมบูรณ์
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๑๐) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุปและให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงาน สรุปความรู้ที่ได้รับ
และนัดหมายให้นักเรียนเตรียมวัสดุ อุปกรณ์มาทากิจกรรมการปั้นรูปลอยตัวในชั่วโมงต่อไป
ชั่วโมงที่ ๕-๖
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๑๑) ครูนาตัวอย่างผลงานการปั้นรูปลอยตัว และวัสดุ อุปกรณ์ในการปั้นให้นักเรียนดู
ขั้นสอน
๑๒) ครูอธิบายวิธีการใช้วัสดุ อุปกรณ์ และขั้นตอนในการสร้างงานประติมากรรม
๑๓) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า ในหัวข้อดังนี้
 วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างงานประติมากรรม
 กลวิธีในการสร้างงานประติมากรรม
 ทาใบงานที่ ๔.๔ กิจกรรมเรื่อง ปั้นรูปลอยตัวตามจินตนาการ
๑๔) นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษาและผลการทากิจกรรมโดยครูช่วยอธิบายเสริม
เพิ่มเติมให้สมบูรณ์
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๑๕) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุป และให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงานสรุปความรู้ที่ได้รับ
และนัดหมายให้นักเรียนเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างงานภาพพิมพ์ในชั่วโมงต่อไป
ชั่วโมงที่ ๗-๘
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๑๖) ครูนาตัวอย่างผลงานการสร้างสรรค์ภาพพิมพ์ และวัสดุอุปกรณ์ในการสร้างภาพพิมพ์ให้
นักเรียนดู
ขั้นสอน
๑๗) ครูอธิบายวิธีการใช้วัสดุ อุปกรณ์ และขั้นตอนในการสร้างงานภาพพิมพ์
๑๘) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า ในหัวข้อดังนี้
๒๗
 วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างงานภาพพิมพ์
 กลวิธีในการสร้างงานภาพพิมพ์
 ทาใบงานที่ ๔.๕ กิจกรรม เรื่องภาพพิมพ์แกะไม้ (woodcut)
๑๙) นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษาและผลการทากิจกรรม โดยครูช่วยอธิบายเสริม
เพิ่มเติมให้สมบูรณ์
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๒๐) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุป และให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงานสรุปความรู้ที่ได้รับและ
แนะนาให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเรื่องการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์จากสื่อเว็บไซต์ทาง
ศิลปะ
๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
๑. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ทัศนศิลป์ ๔-๖ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
๒. ตัวอย่างภาพผลงานทางด้านจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์
๓. สื่อเว็บไซต์ทางศิลปะ
๔. สถาบันทางศิลปะและหอศิลป์ต่างๆ
๑๐. การบูรณาการ
๑. บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอ
รายงาน
๒. บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ได้แก่ การค้นคว้างานศิลปะจาก
เว็บไซต์ต่างๆ
บันทึกหลังการสอน
๑. ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
๒. ปัญหา/อุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
๒๘
…………………………………………………………………………………………………….
๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………….
ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน
(...............................................)
วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............
๔. ข้อเสนอแนะรองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………….……….
…………………………………………………………………………………………………….…………….
………………………………………………………………………………………………………….……….
ลงชื่อ...............................................................
( นางสาวโสภา ขาเจริญ )
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕
วิชา ทัศนศิลป์ ๔-๖ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ การออกแบบ เวลา ๖ ชั่วโมง
๑. เป้าหมายการเรียนรู้
นาความรู้ ความเข้าใจ หลักการออกแบบและการจัดองค์ประกอบศิลป์มาประยุกต์ใช้ตามความคิด
สร้างสรรค์ในการออกแบบตัวอักษร ออกแบบสัญลักษณ์ สื่อความหมาย ออกแบบโปสเตอร์โฆษณาและ
นาเทคโนโลยีมาใช้ในการออกแบบได้อย่างเหมาะสม
๒. สาระสาคัญ
การออกแบบ หมายถึง กระบวนการใช้ความคิดในการสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ หรือปรับปรุงดัดแปลงสิ่ง
ที่มีอยู่แล้วให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น โดยเลือกเอาทัศนธาตุและหลักการจัดองค์ประกอบของการ
ออกแบบมาร่วมกัน เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ทางความงามและประโยชน์ใช้สอย
๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด
มาตรฐาน ศ ๑.๑ : สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์
๒๙
วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องาน
ศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
มฐ. ศ ๑.๑
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๔. มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์และกระบวนการที่สูงขึ้นในการสร้างงานทัศนศิลป์
๕. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ด้วยเทคโนโลยีต่างๆ โดยเน้นหลักการออกแบบและการจัด
องค์ประกอบศิลป์
๖. ออกแบบงานทัศนศิลป์ได้เหมาะกับโอกาสและสถานที่
๙. จัดกลุ่มงานทัศนศิลป์เพื่อสะท้อนพัฒนาการและความก้าวหน้าของตนเอง
๑๑. วาดภาพ ระบายสี เป็นภาพล้อเลียนหรือการ์ตูน เพื่อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพสังคม
ในปัจจุบัน
๔. สาระการเรียนรู้
๔. ความรู้พื้นฐานงานออกแบบ
๕. ปัจจัยในการออกแบบ
๖. หลักการออกแบบ
๗. การใช้เทคโนโลยีในการออกแบบ
๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
K (Knowledge)
ความรู้ความเข้าใจ
P (Practice)
การฝึกปฏิบัติ
A (Attitude)
คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
C(capacity)
สมรรถนะสาคัญ
๓๐
๔. อธิบายความรู้พื้นฐาน
ในการออกแบบได้
๕. อธิบายปัจจัยในการ
ออกแบบได้
๖. อธิบายหลักการ
ออกแบบได้
๗. อธิบายขั้นตอนการใช้
เทคโนโลยีในการ
ออกแบบได้
๑. กิจกรรม เรื่องลวดลาย
ลีลาอักษร
๒. กิจกรรม เรื่องแฟ้มสวย
สะสมผลงาน
๓. กิจกรรม เรื่องความรัก
ความสามัคคี
๔. กิจกรรม เรื่องสานึกรักชาติ
๕. กิจรรม เรื่องโปสเตอร์จาก
Photoshop
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซื่อสัตย์สุจริต
๓. มีวินัย
๔. ใฝ่เรียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุ่งมั่นในการทางาน
๗. รักความเป็นไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
๑. ความสามารถใน
การสื่อสาร
๒. ความสามารถใน
การคิด
๓. ความสามารถใน
การแก้ปัญหา
๔. ความสามารถใน
การใช้ทักษะชีวิต
๕. ความสามารถใน
การใช้เทคโนโลยี
๖. การวัดและประเมินผล
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑) ใบงาน
๒) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
๓) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๔) แบบสังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน
๕) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒. วิธีวัดผล
๑) ตรวจใบงาน
๒) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
๓) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๔) สังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน
๕) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล
๑) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ
การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
๓๑
๒) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
เกินร้อยละ ๕๐
๓) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
๔) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตาม
สภาพจริง
๕) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑. ผลการทาใบงาน
๒. ผลการสร้างสรรค์ศิลปะ
๘. กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๑-๒
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูให้นักเรียนดูภาพตัวอย่างการออกแบบประเภทต่างๆ เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนได้เห็นผลงาน
ศิลปะในรูปแบบต่างๆ และสนทนากับนักเรียนเพื่อเชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับเรื่องการออกแบบ
ขั้นสอน
๒) ครูอธิบายให้นักเรียนทราบว่า การออกแบบเป็นความสามารถทางความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ใน
การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ เพื่อให้ได้รูปร่าง รูปทรงของสิ่งของเครื่องใช้ มีความสัมพันธ์กันระหว่าง
ความงามกับประโยชน์ใช้สอย
๓) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า ในหัวข้อดังนี้
 ความหมายของการออกแบบ  การออกแบบตัวอักษร
 ความสาคัญของการออกแบบ  ทาใบงานที่ ๕.๑ กิจกรรม เรื่องลวดลาย ลีลาอักษร
 ประเภทของการออกแบบ  ทาใบงานที่ ๕.๒ กิจกรรม เรื่องแฟ้มสวยสะสมผลงาน
๔) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษา เรื่องความรู้พื้นฐานงานออกแบบและผลการทากิจกรรม
โดยครูช่วยเสริมเพิ่มเติมให้สมบูรณ์
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๕) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุปและให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงานสรุปความรู้ที่ได้รับ
และนัดหมายให้นักเรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์มาทากิจกรรมในชั่วโมงต่อไป
๓๒
ชั่วโมงที่ ๓-๔
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๖) ครูนาภาพตัวอย่างการออกแบบสัญลักษณ์สื่อความหมาย ให้นักเรียนดู
ขั้นสอน
๗) ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์การออกแบบสัญลักษณ์ สื่อความหมายรูปแบบต่างๆ เพื่อให้
เห็นแนวทางการสร้างสรรค์งานออกแบบ
๘) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า ในหัวข้อดังนี้
 ปัจจัยในการออกแบบ
 การออกแบบสัญลักษณ์สื่อความหมาย
 หลักการออกแบบ
 ทาใบงานที่ ๕.๓ กิจกรรม เรื่องความรัก ความสามัคคี
 ทาใบงานที่ ๕.๔ กิจกรรม เรื่องสานึกรักชาติ
๙) นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอที่หน้าชั้นเรียน และให้นักเรียนทุกคนร่วมกันแสดงความ
คิดเห็นหาข้อสรุปที่ตรงกัน โดยมีครูคอยให้ความรู้เสริมเพิ่มเติมให้สมบูรณ์
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๑๐) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุปและให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงาน สรุปความรู้ที่ได้รับ
และนัดหมายให้นักเรียนเตรียมตัวเข้าเรียนในห้องคอมพิวเตอร์ในชั่วโมงต่อไป
ชั่วโมงที่ ๕-๖
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
๑๑) ครูนาตัวอย่างภาพผลงานการออกแบบโปสเตอร์โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ให้นักเรียนดู
ขั้นสอน
๑๒) ครูอธิบายขั้นตอนการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการสร้างงานออกแบบโปสเตอร์โดยใช้โปรแกรม
Adobe Photoshop
๑๓) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๒-๓ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า การใช้เทคโนโลยีในการออกแบบ
หัวข้อดังนี้
 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกราฟิก
 การสร้างโปสเตอร์สไตล์กราฟิกโดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop
 ทาใบงานที่ ๕.๕ กิจกรรม เรื่องโปสเตอร์จาก Photoshop
๓๓
๑๔) นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษาและผลการทากิจกรรมโดยครูช่วยอธิบายเสริม
เพิ่มเติมให้สมบูรณ์
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๑๕) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุป และให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงานสรุปความรู้ที่ได้รับ
และแนะนาให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม เรื่องการสร้างสรรค์งานออกแบบด้วยโปรแกรม
ต่างๆ จากสื่อเว็บไซต์ทางศิลปะ
๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
๑. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ทัศนศิลป์ ๔-๖ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์
๒. ตัวอย่างการออกแบบตัวอักษร สัญลักษณ์ สื่อความหมายและโปสเตอร์จาก Photoshop
๓. สื่อเว็บไซต์ทางศิลปะ
๔. สถาบันทางศิลปะและหอศิลป์ต่างๆ
๑๐. การบูรณาการ
๑. บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอ
รายงาน
๒. บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ได้แก่ การค้นคว้าการ
ออกแบบโปสเตอร์ด้วยโปรแกรม Photoshop
Plan 04 (2)
Plan 04 (2)
Plan 04 (2)
Plan 04 (2)
Plan 04 (2)
Plan 04 (2)
Plan 04 (2)
Plan 04 (2)
Plan 04 (2)
Plan 04 (2)
Plan 04 (2)
Plan 04 (2)
Plan 04 (2)
Plan 04 (2)
Plan 04 (2)
Plan 04 (2)
Plan 04 (2)
Plan 04 (2)
Plan 04 (2)
Plan 04 (2)

Contenu connexe

Tendances

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2Yatphirun Phuangsuwan
 
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้Yatphirun Phuangsuwan
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศYatphirun Phuangsuwan
 
ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2peter dontoom
 
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 04. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0Nakee Wk
 
ข้อสอบ O net art (2)
ข้อสอบ  O  net  art (2)ข้อสอบ  O  net  art (2)
ข้อสอบ O net art (2)Navaphat Phromsala
 
ปกหน้า-ทัศนธาตุ
ปกหน้า-ทัศนธาตุปกหน้า-ทัศนธาตุ
ปกหน้า-ทัศนธาตุNattapon
 
กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะYatphirun Phuangsuwan
 
เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64
เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64
เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64วายุ วรเลิศ
 
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...Kruthai Kidsdee
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะBoonlert Aroonpiboon
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0neenpd11
 
ข้อสอบ O-net - ศิลปะ
ข้อสอบ O-net - ศิลปะข้อสอบ O-net - ศิลปะ
ข้อสอบ O-net - ศิลปะbowing3925
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 10898230029
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้นบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้นLtid_2017
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อยเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อยครูเย็นจิตร บุญศรี
 

Tendances (20)

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
 
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
 
ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2ปลายภาค ม.2
ปลายภาค ม.2
 
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 04. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
 
ข้อสอบ O net art (2)
ข้อสอบ  O  net  art (2)ข้อสอบ  O  net  art (2)
ข้อสอบ O net art (2)
 
ข้อสอบศิลปะ
ข้อสอบศิลปะข้อสอบศิลปะ
ข้อสอบศิลปะ
 
ปกหน้า-ทัศนธาตุ
ปกหน้า-ทัศนธาตุปกหน้า-ทัศนธาตุ
ปกหน้า-ทัศนธาตุ
 
กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะ
 
เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64
เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64
เกณฑ์การแข่งขันทักษะวิชาการ ครั้งที่ 64
 
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
 
ข้อสอบ O-net - ศิลปะ
ข้อสอบ O-net - ศิลปะข้อสอบ O-net - ศิลปะ
ข้อสอบ O-net - ศิลปะ
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1
 
กำหนดการสอน
กำหนดการสอนกำหนดการสอน
กำหนดการสอน
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้นบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานของการวาดเส้น
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อยเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การประดิษฐ์ท่ารำ เซิ้งหนุ่มสาวชาวไร่อ้อย
 

Similaire à Plan 04 (2)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓krusuparat01
 
โครงงงาน1
โครงงงาน1โครงงงาน1
โครงงงาน1Arety Araya
 
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556คุกกี้ ซังกะตัง
 
สื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลาย
สื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลายสื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลาย
สื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลายIntrayut Konsongchang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1kruruttika
 
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์srkschool
 
Classroom research paper
Classroom research paperClassroom research paper
Classroom research paperpeter dontoom
 
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...Kruple Ratchanon
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงครูเย็นจิตร บุญศรี
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการsrkschool
 
Education's journal
Education's journalEducation's journal
Education's journalKKU Library
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5kruwaeo
 

Similaire à Plan 04 (2) (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
 
โครงงงาน1
โครงงงาน1โครงงงาน1
โครงงงาน1
 
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556
สูจิบัตรการแสดงผลงานศิลปกรรมครั้งที่ 13 ประจำปี2556
 
Pan14
Pan14Pan14
Pan14
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
สื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลาย
สื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลายสื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลาย
สื่อการสอนวิชา ศิลปศึกษา-ม.ปลาย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
research 653.pdf
research 653.pdfresearch 653.pdf
research 653.pdf
 
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
 
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
 
Classroom research paper
Classroom research paperClassroom research paper
Classroom research paper
 
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
 
บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่
 
Education's journal
Education's journalEducation's journal
Education's journal
 
ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 

Plus de peter dontoom

ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfpeter dontoom
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfpeter dontoom
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfpeter dontoom
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfpeter dontoom
 

Plus de peter dontoom (20)

ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ32102นาฏศิลป์ 5.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.3.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ31102ทัศนศิลป์ 4.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23103นาฏศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ23101ทัศนศิลป์ 3.1.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.2.pdf
 
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdfปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
ปพ.5-2565-2-ศ21101ทัศนศิลป์ 1.1.pdf
 
portfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdfportfolio 66.2.pdf
portfolio 66.2.pdf
 
supervision 65.pdf
supervision 65.pdfsupervision 65.pdf
supervision 65.pdf
 
research 65.pdf
research 65.pdfresearch 65.pdf
research 65.pdf
 
Instruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdfInstruction Supervision 66.pdf
Instruction Supervision 66.pdf
 
portfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdfportfolio 2022.pdf
portfolio 2022.pdf
 
Supervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdfSupervision Report 65.pdf
Supervision Report 65.pdf
 
4.3.pdf
4.3.pdf4.3.pdf
4.3.pdf
 
4.2.pdf
4.2.pdf4.2.pdf
4.2.pdf
 

Plan 04 (2)

  • 1. ๑ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ วิชา ทัศนศิลป์ ๔-๖ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ความเข้าใจในศิลปะ เวลา ๓ ชั่วโมง ๑. เป้าหมายการเรียนรู้ ๑. นาความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์มาวิเคราะห์และจาแนกแขนงต่างๆ ของผลงาน ทัศนศิลป์ น้อมนาโครงการใช้วัสดุอย่างพอเพียง ๒. วิเคราะห์และบรรยายคุณค่าทางทัศนศิลป์ โดยใช้ศัพท์ทางทัศนศิลป์ มีความชื่นชม ภาคภูมิใจ และเห็นคุณค่าความงามของงานทัศนศิลป์ ๓. ชื่นชมภาคภูมิใจและเห็นคุณค่าความงามของงานทัศนศิลป์ ๔. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคาศัพท์ทางทัศนศิลป์ ๒. สาระสาคัญ ศิลปะเป็นสิ่งที่มนุษย์ใช้สติปัญญาสร้างสรรค์ขึ้นด้วยความประณีตวิจิตรบรรจง แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ วิจิตรศิลป์ และประยุกต์ศิลป์ ส่วนทัศนศิลป์เป็นผลงานศิลปะที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น สามารถสัมผัส รับรู้ ชื่นชมความงามด้วยการมองเห็น ผลงานทัศนศิลป์แต่ละประเภทมีคุณค่าทาง เรื่องราวและคุณค่าทางรูปทรง ซึ่งศิลปินผู้สร้างสรรค์จะสะท้อนออกมาทางผลงาน ๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด มาตรฐาน ศ ๑.๑ : สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน มาตรฐาน ศ ๑.๒ : เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างาน ทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล
  • 2. ๒ มฐ. ศ ๑.๑ มฐ. ศ ๑.๒ ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ ๒. บรรยายจุดประสงค์และเนื้อหาของงานทัศนศิลป์ โดยใช้ศัพท์ทางทัศนศิลป์ ๓. วิเคราะห์การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์และเทคนิค ของศิลปินในการแสดงออกทางทัศนศิลป์ ๔. มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์และ กระบวนการที่สูงขึ้นในการสร้างงานทัศนศิลป์๗. วิเคราะห์และอธิบายจุดมุ่งหมายของศิลปินใน การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เทคนิคและเนื้อหา เพื่อสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์อย่างพอเพียง ๒. ระบุงานทัศนศิลป์ของศิลปินที่มีชื่อเสียง และบรรยายผลตอบรับของสังคม ๔. สาระการเรียนรู้ ๑. ศิลปะคืออะไร ๔. คุณค่าทางทัศนศิลป์ ๒. ประเภทของศิลปะ ๕. ผลงานทัศนศิลป์ของศิลปิน ๓. ทัศนศิลป์ (Visual Art) ๖. คาศัพท์ทางทัศนศิลป์ ๕. จุดประสงค์การเรียนรู้ K (Knowledge) ความรู้ความเข้าใจ P (Practice) การฝึกปฏิบัติ A (Attitude) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ C(capacity) สมรรถนะสาคัญ ๑. อธิบายความหมายของ ศิลปะได้ ๒. ระบุประเภทของศิลปะได้ ๓. อธิบายงานทัศนศิลป์ได้ ๔. อธิบายคุณค่าทาง ทัศนศิลป์ได้ได้อย่าง ๑. กิจกรรมเรื่อง จัดทา สมุดภาพงานทัศนศิลป์ ๒. กิจกรรมเรื่อง วิเคราะห์ คุณค่าทางทัศนศิลป์ ๓. กิจกรรมเรื่อง ศึกษา ค้นคว้าคาศัพท์ทาง ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซื่อสัตย์สุจริต ๓. มีวินัย ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการทางาน ๑. ความสามารถใน การสื่อสาร ๒. ความสามารถใน การคิด ๓. ความสามารถใน
  • 3. ๓ พอเพียง ๕. อธิบายผลงานทัศนศิลป์ของ ศิลปินได้ ๖. อธิบายศัพท์ทางทัศนศิลป์ ได้ ทัศนศิลป์ ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ การแก้ปัญหา ๔. ความสามารถใน การใช้ทักษะชีวิต ๕. ความสามารถใน การใช้เทคโนโลยี ๖. การวัดและประเมินผล ๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล ๑) ใบงาน ๒) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๓) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๔) แบบสังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน ๕) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒. วิธีวัดผล ๑) ตรวจใบงาน ๒) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๓) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคลใช้วัสดุอย่างประหยัดและพอเพียง ๔) สังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน ๕) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล ๑) การประเมินจากแบบตรวจใบงานต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐ ๒) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐ ๓) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
  • 4. ๔ ๔) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตาม สภาพจริง ๕) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ การประเมินตามสภาพจริง ๗. หลักฐาน/ผลงาน ๑. ผลการทาใบงาน ๒. ผลการสร้างสรรค์ผลงาน ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๑) ครูให้นักเรียนดูภาพงานทัศนศิลป์ประเภทต่าง ๆ เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนได้เห็นผลงานศิลปะใน รูปแบบต่าง ๆ และสนทนากับนักเรียนเพื่อเชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับ ความเข้าใจในศิลปะ ขั้นสอน ๒) ครูอธิบายความแตกต่างถึงงานทัศนศิลป์ประเภทต่างๆ เพื่อเปรียบเทียบให้เห็นถึงความแตกต่าง ๓) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า หัวข้อดังนี้  ศิลปะคืออะไร  ประเภทของศิลปะ  ทัศนศิลป์ ๔) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษาทั้งสามหัวข้อ โดยครูช่วยอธิบายเสริมเพิ่มเติมให้ สมบูรณ์ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๕) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุป และให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงานสรุปความรู้ที่ได้รับ และนัดหมายให้นักเรียนเก็บรวบรวมภาพผลงานทัศนศิลป์จากภาพถ่าย เอกสารวารสาร หนังสือและนิตยสารต่างๆ มาทากิจกรรมตามใบงานที่ ๑.๑ เรื่องจัดทาสมุดภาพงานทัศนศิลป์ แล้วนามาเสนอในชั่วโมงต่อไป ชั่วโมงที่ ๒ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๖) ครูนาภาพตัวอย่างผลงานทัศนศิลป์ของศิลปิน ให้นักเรียนดู
  • 5. ๕ ขั้นสอน ๗) ครูอธิบายถึงรูปแบบข้อมูลภาพผลงานทัศนศิลป์ของศิลปิน เพื่อเปรียบเทียบให้เห็นถึงความแตกต่าง ๘) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้าหัวข้อ ดังนี้  คุณค่าทางทัศนศิลป์  ผลงานทัศนศิลป์ของศิลปิน ๙) นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอที่หน้าชั้นเรียน และให้นักเรียนทุกคนร่วมกันแสดงความ คิดเห็น หาข้อสรุปที่ตรงกัน โดยมีครูคอยให้ความรู้เสริมเพิ่มเติมให้สมบูรณ์ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๑๐) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุป และให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงาน สรุปความรู้ที่ ได้รับและนัดหมายให้นักเรียนไปศึกษาค้นคว้า หาคาศัพท์ทางทัศนศิลป์จากห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ หรือเว็บไซต์ต่าง ๆ มาทากิจกรรมในชั่วโมงต่อไป ชั่วโมงที่ ๓ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๑๑) ครูนาตัวอย่างศัพท์ทางทัศนศิลป์ ให้นักเรียนดู ขั้นสอน ๑๒) ครูนาภาพผลงานของนักเรียนหรือของศิลปินให้นักเรียนดู ๑๓) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้าศัพท์ทางทัศนศิลป์และ ความหมาย พร้อมทาใบงานที่ ๑.๓ กิจกรรม เรื่องศึกษาค้นคว้าคาศัพท์ทางทัศนศิลป์ ๑๔) นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษา และผลการทากิจกรรม โดยครูช่วยอธิบาย เสริมเพิ่มเติมให้สมบูรณ์ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๑๕) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุป และให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงานสรุปความรู้ที่ได้รับ และนัดหมายให้นักเรียนเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างงานศิลปะในชั่วโมงต่อไป ๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ทัศนศิลป์ ๔-๖ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์ ๒. ตัวอย่างภาพงานทัศนศิลป์ประเภทต่างๆ ที่เป็นภาพถ่าย และภาพเขียนของศิลปิน
  • 6. ๖ ๓. สื่อเว็บไซต์ทางศิลปะ ๔. สถาบันทางศิลปะและหอศิลป์ต่างๆ ๑๐. การบูรณาการ ๑. บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอ รายงาน ๒. บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ได้แก่ การค้นคว้างานศิลปะจาก เว็บไซต์ต่างๆ บันทึกหลังการสอน ๑. ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ๒. ปัญหา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน (...............................................) วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............
  • 7. ๗ ๔. ข้อเสนอแนะรองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………….………. …………………………………………………………………………………………………….……………. ………………………………………………………………………………………………………….………. ………………………………………………………………………………………………………..…………. ……………………………………………………………………………………………………..……………. ลงชื่อ............................................................... ( นางสาวโสภา ขาเจริญ ) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ วิชา ทัศนศิลป์ ๔-๖ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ หลักการทัศนศิลป์ เวลา ๘ ชั่วโมง ๑. เป้าหมายการเรียนรู้ ๕. นาทัศนธาตุต่างๆ มาสร้างสรรค์ผลงานศิลปะตามความคิดจินตนาการของตนเองได้อย่างเหมาะสม ๖. มีทักษะพื้นฐานในการวาดภาพสัดส่วนมนุษย์ ๗. นาความรู้ ความเข้าใจในบริเวณว่างมาใช้สร้างสรรค์ผลงานได้อย่างเหมาะสม ๘. มีทักษะในการนาทัศนธาตุต่างๆ มาจัดองค์ประกอบศิลป์ได้อย่างสวยงามและเหมาะสม ๙. นาความรู้ ความเข้าใจรูปแบบการสื่อความหมาย ผสานความคิดและจินตนาการของตนเอง ถ่ายทอดผลงานทัศนศิลป์ไทย สากล ตามความถนัดและสนใจ ๒. สาระสาคัญ ทัศนธาตุเป็นส่วนประกอบสาคัญต่างๆ ที่ประกอบกันเป็นงานทัศนศิลป์ ซึ่งสามารถมองเห็นได้ ซึ่ง ได้แก่ จุด เส้น รูปร่าง รูปทรง สี น้าหนักอ่อน-แก่ สัดส่วน พื้นผิว รูปและพื้น ที่ผสมผสานกันอย่าง กลมกลืนและเหมาะสม การสร้างสรรค์ผลงานทางศิลปะเพื่อให้เกิดคุณค่าทางความงาม ควรยึดหลักการ จัดองค์ประกอบศิลป์ และการสื่อความหมายด้วยงานทัศนศิลป์ ๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด มาตรฐาน ศ ๑.๑ : สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะ อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
  • 8. ๘ ๓. ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ มฐ. ศ ๑.๑ ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ ๑. วิเคราะห์การใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมายในรูปแบบต่างๆ ๔. มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์และกระบวนการที่สูงขึ้นในการสร้างงานทัศนศิลป์ ๖. ออกแบบงานทัศนศิลป์ได้เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่ ๑๐. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ไทย สากล โดยศึกษาจากแนวคิดและวิธีการสร้างงานของศิลปินที่ ตนชื่นชอบ ๔. สาระการเรียนรู้ ๑. ทัศนธาตุ ๒. การจัดองค์ประกอบศิลป์ ๓. การสื่อความหมายด้วยงานทัศนศิลป์ ๕. จุดประสงค์การเรียนรู้ K (Knowledge) ความรู้ความเข้าใจ P (Practice) การฝึกปฏิบัติ A (Attitude) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ C(capacity) สมรรถนะสาคัญ ๑. อธิบายทัศนธาตุได้ ๒. อธิบายการจัด องค์ประกอบศิลป์ได้ ๗. อธิบายการสื่อ ความหมายด้วยงาน ทัศนศิลป์ได้ ๑. กิจกรรมเรื่อง ทัศนธาตุ สร้างสรรค์ ๒. กิจกรรมเรื่อง ทัศนธาตุและ รูปแบบจากธรรมชาติ ๓. กิจกรรมเรื่อง วาดภาพสัดส่วน มนุษย์ ๔. กิจกรรมเรื่อง กาหนดบริเวณ ว่าง ๕. กิจกรรมเรื่อง จัดองค์ประกอบ ศิลป์ด้วยทัศนธาตุ ๖. กิจกรรมเรื่อง สื่อความคิด จินตนาการ ความประทับใจ ด้วยทัศนศิลป์ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซื่อสัตย์สุจริต ๓. มีวินัย ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการทางาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ ๑. ความสามารถใน การสื่อสาร ๒. ความสามารถใน การคิด ๓. ความสามารถใน การแก้ปัญหา ๔. ความสามารถใน การใช้ทักษะชีวิต ๕. ความสามารถใน
  • 9. ๙ การใช้เทคโนโลยี ๖. การวัดและประเมินผล ๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล ๑) ใบงาน ๒) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๓) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๔) แบบสังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน ๕) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒. วิธีวัดผล ๑) ตรวจใบงาน ๒) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๓) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๔) สังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน ๕) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล ๑) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐ ๒) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐ ๓) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง ๔) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตาม สภาพจริง ๕) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ การประเมินตามสภาพจริง ๗. หลักฐาน/ผลงาน ๑. ผลการทาใบงาน
  • 10. ๑๐ ๒. ผลการสร้างสรรค์ผลงาน ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑-๒ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๑) ครูให้นักเรียนดูภาพงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ด้วยจุด เส้น รูปร่าง รูปทรงและสี ให้เห็นผลงาน ศิลปะในรูปแบบต่างๆ และสนทนากับนักเรียนเพื่อเชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับทัศนธาตุ รูปร่าง รูปทรงและสี ขั้นสอน ๒) ครูอธิบายให้นักเรียนทราบว่า จุด เส้น รูปร่าง รูปทรงและสีเป็นทัศนธาตุพื้นฐาน ในการ สร้างสรรค์งานด้านศิลปะ ๓) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า ในหัวข้อดังนี้  จุด เส้น  รูปร่าง รูปทรง  ทาใบงานที่ ๒.๑ กิจกรรม เรื่องทัศนธาตุสร้างสรรค์ และใบงานที่ ๒.๒ กิจกรรม เรื่องทัศน ธาตุและรูปแบบจากธรรมชาติ ๔) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษา เรื่องจุด เส้น รูปร่าง รูปทรง และผลการทากิจกรรม โดยครูช่วยเสริมเพิ่มเติมให้สมบูรณ์ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๕) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุปและให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงานสรุปความรู้ที่ได้รับ และนัดหมายให้นักเรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์มาทากิจกรรมในชั่วโมงต่อไป ชั่วโมงที่ ๓-๔ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๖) ครูนาภาพงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ด้วย สัดส่วน พื้นผิว รูปและพื้น และบริเวณว่าง ให้ นักเรียนดู ขั้นสอน ๗) ครูอธิบายความหมายของ สัดส่วน พื้นผิว รูปและพื้น และบริเวณว่างที่มีอิทธิพลต่อการ สร้างสรรค์งานศิลปะ ๘) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า หัวข้อดังนี้  สัดส่วน
  • 11. ๑๑  พื้นผิว  รูปและพื้น  บริเวณว่าง  ทาใบงานที่ ๒.๓ กิจกรรม เรื่องวาดภาพสัดส่วนมนุษย์ และใบงานที่ ๒.๔ กิจกรรม เรื่องกาหนดบริเวณว่าง ๙) นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอที่หน้าชั้นเรียน และให้นักเรียนทุกคนร่วมกันแสดงความ คิดเห็นหาข้อสรุปที่ตรงกัน โดยมีครูคอยให้ความรู้เสริมเพิ่มเติมให้สมบูรณ์ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๑๐) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุปและให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงาน สรุปความรู้ที่ได้รับ และนัดหมายให้นักเรียนเตรียมวัสดุ อุปกรณ์มาทากิจกรรมในชั่วโมงต่อไป
  • 12. ๑๒ ชั่วโมงที่ ๕-๖ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๑๑) ครูนาภาพงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์การจัดองค์ประกอบศิลป์ด้วยทัศนธาตุ ให้นักเรียนดู ขั้นสอน ๑๒) ครูอธิบายหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ด้วยทัศนธาตุ ให้นักเรียนเปรียบเทียบถึงความแตกต่าง ๑๓) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้าหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ หัวข้อดังนี้  หลักของความเป็นเอกภาพ  หลักของความสมดุล  หลักการสร้างความน่าสนใจ  ทาใบงานที่ ๒.๕ กิจกรรม เรื่องจัดองค์ประกอบศิลป์ด้วยทัศนธาตุ ๑๔) นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษาและผลการทากิจกรรมโดยครูช่วยอธิบายเสริม เพิ่มเติมให้สมบูรณ์ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๑๕) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุปและให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงานสรุปความรู้ที่ได้รับ และ นัดหมายให้นักเรียนเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างงานศิลปะในชั่วโมงต่อไป ชั่วโมงที่ ๗-๘ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๑๖) ครูนาภาพการสื่อความหมายด้วยงานทัศนศิลป์ รูปแบบต่างๆ ให้นักเรียนดู ขั้นสอน ๑๗) ครูอธิบายการสื่อความหมายด้วยงานทัศนศิลป์รูปแบบต่างๆ เพื่อให้นักเรียนเห็นความแตกต่าง ๑๘) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้าการสื่อความหมายด้วยงานทัศนศิลป์ หัวข้อดังนี้  ความหมายของการสื่อ  วิธีการสื่อความหมาย  รูปแบบการสื่อความหมาย  ทาใบงานที่ ๒.๖ กิจกรรม เรื่องสื่อความคิด จินตนาการ ความประทับใจด้วยงานทัศนศิลป์
  • 13. ๑๓ ๑๙) นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษา และผลการทากิจกรรม โดยครูช่วยอธิบาย เสริมเพิ่มเติมให้สมบูรณ์ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๒๐) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุปและให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม เขียนรายงานสรุปความรู้ที่ได้รับ และ นัดหมายให้นักเรียนเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างงานศิลปะในชั่วโมงต่อไป ๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ทัศนศิลป์ ๔-๖ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์ ๒. ตัวอย่างภาพงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ด้วยทัศนธาตุรูปแบบต่างๆ ๓. สื่อเว็บไซต์ทางศิลปะ ๔. สถาบันทางศิลปะและหอศิลป์ต่างๆ ๑๐. การบูรณาการ ๑. บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอ รายงาน ๒. บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ได้แก่ การค้นคว้างานศิลปะจาก เว็บไซต์ต่างๆ
  • 14. ๑๔ บันทึกหลังการสอน ๑. ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ๒. ปัญหา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน (...............................................) วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............ ๔. ข้อเสนอแนะรองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………….………. …………………………………………………………………………………………………….……………. ………………………………………………………………………………………………………….………. ………………………………………………………………………………………………………..…………. ……………………………………………………………………………………………………..……………. ลงชื่อ............................................................... ( นางสาวโสภา ขาเจริญ )
  • 15. ๑๕ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ วิชา ทัศนศิลป์ ๔-๖ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ ตามรอยศิลปิน เวลา ๔ ชั่วโมง ๑. เป้าหมายการเรียนรู้ ๑๐.มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาหลักการ หรือแนวทางในการสร้างงานของศิลปินมาประยุกต์ใช้ สร้างสรรค์ผลงานของตนเองได้อย่างเหมาะสม ๑๑.มีความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์จุดมุ่งหมาย แนวทางการสร้างงาน การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเนื้อหาในการสร้างงานของศิลปิน ๑๒.สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางของศิลปินได้อย่างสวยงาม ๒. สาระสาคัญ ศิลปิน คือ ผู้สร้างงานศิลปะโดยการถ่ายทอดความคิด ความรู้สึกที่มีต่อธรรมชาติ สังคม สิ่งแวดล้อม ออกมาเป็นผลงานศิลปะที่มีรูปแบบสวยงามตามความถนัด ประสบการณ์หรือลักษณะเฉพาะตัวของ ศิลปินแต่ละคน จึงทาให้เกิดผลงานศิลปะในรูปแบบที่หลากหลาย ซึ่งมีทั้งศิลปินของไทยและศิลปิน ต่างประเทศที่มีผลงานสร้างสรรค์แตกต่างกันตามความคิดของศิลปิน ๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด มาตรฐาน ศ ๑.๑ : สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องาน ศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
  • 16. ๑๖ ๓. ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ มฐ. ศ ๑.๑ ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ ๑. วิเคราะห์การใช้ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสื่อความหมายในรูปแบบต่างๆ ๒. บรรยายจุดประสงค์และเนื้อหาของงานทัศนศิลป์ โดยใช้ศัพท์ทางทัศนศิลป์ ๓. วิเคราะห์การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์และเทคนิคของศิลปินในการแสดงออกทางทัศนศิลป์ ๔. มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์และกระบวนการที่สูงขึ้นในการสร้างงานทัศนศิลป์ ๖. ออกแบบงานทัศนศิลป์ได้เหมาะสมกับโอกาสและสถานที่ ๗. วิเคราะห์และอธิบายจุดมุ่งหมายของศิลปินในการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เทคนิคและเนื้อหา เพื่อสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ๑๐. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ไทย สากล โดยศึกษาจากแนวคิดและวิธีการสร้างงานของศิลปินที่ ตนชื่นชอบ ๔. สาระการเรียนรู้ ๑. ศิลปินคือใคร ๒. ศิลปินที่รู้จัก ๓. สร้างงานตามรอยศิลปิน ๕. จุดประสงค์การเรียนรู้
  • 17. ๑๗ K (Knowledge) ความรู้ความเข้าใจ P (Practice) การฝึกปฏิบัติ A (Attitude) คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ C(capacity) สมรรถนะสาคัญ ๘. อธิบายความหมายของ คาว่าศิลปินได้ ๙. อธิบายและบอกศิลปินที่ รู้จักได้ ๑๐. อธิบายขั้นตอนการ สร้างงานตามรอย ศิลปินได้ ๗. กิจกรรม เรื่องสร้างสรรค์งาน ทัศนศิลป์ ๘. กิจกรรมเรื่องโครงงานศึกษา ชีวประวัติ และแนวทางการ สร้างสรรค์ผลงานของศิลปินที่ ชื่นชอบ ๙. กิจกรรม เรื่องสร้างงานตามรอย ศิลปิน ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซื่อสัตย์สุจริต ๓. มีวินัย ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการทางาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ ๑. ความสามารถในการ สื่อสาร ๒. ความสามารถในการ คิด ๓. ความสามารถในการ แก้ปัญหา ๔. ความสามารถในการ ใช้ทักษะชีวิต ๕. ความสามารถในการ ใช้เทคโนโลยี ๖. การวัดและประเมินผล ๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล ๑) ใบงาน ๒) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๓) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๔) แบบสังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน ๕) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒. วิธีวัดผล ๑) ตรวจใบงาน ๒) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๓) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๔) สังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน
  • 18. ๑๘ ๕) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล ๑) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐ ๒) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐ ๓) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง ๔) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตาม สภาพจริง ๕) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ การประเมินตามสภาพจริง ๗. หลักฐาน/ผลงาน ๑. ผลการทาใบงาน ๒. ผลการสร้างสรรค์ผลงาน ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑-๒ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๑) ครูให้นักเรียนดูภาพผลงานการสร้างสรรค์ของศิลปินรูปแบบต่าง ๆ เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนได้ เห็นผลงานศิลปะในรูปแบบต่าง ๆ และสนทนากับนักเรียนเพื่อเชื่อมโยงความรู้กับ ตามรอย ศิลปิน ขั้นสอน ๒) ครูอธิบายให้นักเรียนทราบว่า ศิลปินของไทยและศิลปินต่างประเทศมีการสร้างสรรค์งานที่ แตกต่างกัน ตามความคิด จินตนาการของแต่ละคน ๓) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า ในหัวข้อดังนี้  ศิลปินคือใคร  ศิลปินที่รู้จัก
  • 19. ๑๙  ศิลปินไทย  ศิลปินต่างประเทศ  ทาใบงานที่ ๓.๑ กิจกรรม เรื่องสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์  ทาใบงานที่ ๓.๒ กิจกรรม เรื่องโครงงานศึกษาชีวประวัติและแนวทางการสร้างสรรค์ผลงานของ ศิลปินที่ชื่นชอบ ๔) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษา เรื่องศิลปินคือใคร ศิลปินที่รู้จัก และผลการทากิจกรรม โดยครูช่วยเสริมเพิ่มเติมให้สมบูรณ์ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๕) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุปและให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงานสรุปความรู้ที่ได้รับ และนัดหมายให้นักเรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์มาทากิจกรรมในชั่วโมงต่อไป ชั่วโมงที่ ๓-๔ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๖) ครูนาภาพตัวอย่างผลงานการสร้างสรรค์ของศิลปินรูปแบบต่าง ๆ ให้นักเรียนดู ขั้นสอน ๗) ครูอธิบายแนวคิด เทคนิค และวิธีการสร้างสรรค์งานของศิลปินแต่ละคน เพื่อให้นักเรียนเห็น ความแตกต่าง ๘) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาแนวคิด เทคนิค และวิธีการสร้างงาน พร้อมทาใบงานที่ ๓.๓ กิจกรรมเรื่องสร้างงานตามรอยศิลปิน ๙) นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอที่หน้าชั้นเรียน และให้นักเรียนทุกคนร่วมกันแสดงความ คิดเห็นหาข้อสรุปที่ตรงกัน โดยมีครูคอยให้ความรู้เสริมเพิ่มเติมให้สมบูรณ์ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๑๐) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุปและให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงาน สรุปความรู้ที่ได้รับ และ แนะนาให้นักเรียน ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมผลงานของศิลปินจากสื่อเว็บไซต์ทางศิลปะ ๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ทัศนศิลป์ ๔-๖ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์ ๒. ตัวอย่างภาพงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ด้วยทัศนธาตุรูปแบบต่างๆ ๓. สื่อเว็บไซต์ทางศิลปะ ๔. สถาบันทางศิลปะและหอศิลป์ต่างๆ ๑๐. การบูรณาการ
  • 20. ๒๐ ๑. บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอ รายงาน ๒. บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ได้แก่ การค้นคว้างานศิลปะจาก เว็บไซต์ต่างๆ
  • 21. ๒๑ บันทึกหลังการสอน ๑. ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ๒. ปัญหา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน (...............................................) วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............ ๔. ข้อเสนอแนะรองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………….………. …………………………………………………………………………………………………….……………. ………………………………………………………………………………………………………….………. ………………………………………………………………………………………………………..…………. ……………………………………………………………………………………………………..……………. ลงชื่อ............................................................... ( นางสาวโสภา ขาเจริญ )
  • 22. ๒๒ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ วิชา ทัศนศิลป์ ๔-๖ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๔ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ เวลา ๘ ชั่วโมง ๑. เป้าหมายการเรียนรู้ มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์และกระบวนการสร้างสรรค์งานจิตรกรรม วาดภาพ ระบายสี ภาพล้อเลียนหรือการ์ตูน สร้างสรรค์งานประติมากรรมรูปปั้นลอยตัว และสร้างงานภาพพิมพ์ ๒. สาระสาคัญ การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ จะมีรูปแบบ วัสดุ อุปกรณ์ เทคนิค วิธีการสร้างที่แตกต่างกัน มีวิวัฒนาการสร้างสรรค์จากอดีตที่ใช้เครื่องมือแบบง่าย ๆ จนถึงการใช้สื่อและเครื่องมือที่สมบูรณ์แบบ ซึ่งเป็นผลจากการพัฒนาทางเทคโนโลยี ซึ่งกรรมวิธีและวัสดุ อุปกรณ์แต่ละชนิด จะเป็นตัวกาหนด ลักษณะรูปแบบของงานทัศนศิลป์ที่แตกต่างกันออกไป ๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด มาตรฐาน ศ ๑.๑ : สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องาน ศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน ๓. ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ มฐ. ศ ๑.๑ ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ ๔. มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์และกระบวนการที่สูงขึ้นในการสร้างงานทัศนศิลป์ ๑๑. วาดภาพ ระบายสี เป็นภาพล้อเลียนหรือการ์ตูน เพื่อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพสังคม ในปัจจุบัน ๔. สาระการเรียนรู้
  • 23. ๒๓ ๑ วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างงานทัศนศิลป์แขนงต่างๆอย่างพอเพียงและประหยัด ๒ วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างสรรค์งานจิตรกรรม ๓ วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างสรรค์งานประติมากรรม ๔ วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างสรรค์งานภาพพิมพ์ ๕. จุดประสงค์การเรียนรู้ K (Knowledge) ความรู้ความเข้าใจ P (Practice) การฝึกปฏิบัติ A (Attitude) คุณลักษณะอันพึงประสงค์ C(capacity) สมรรถนะสาคัญ ๑. อธิบายการใช้วัสดุ อุปกรณ์ และ กระบวนการสร้างงาน จิตรกรรมได้ ๒. อธิบายการใช้วัสดุ อุปกรณ์และ กระบวนการสร้างงาน ประติมากรรมได้ ๓. อธิบายการใช้วัสดุ อุปกรณ์ และ กระบวนการสร้างงาน ภาพพิมพ์ได้ ๑.กิจกรรม เรื่องกุหลาบแสนสวย ๒.กิจกรรม เรื่องวาดภาพการ์ตูน ๓.กิจกรรม เรื่องวาดภาพล้อเลียน ๔.กิจกรรม เรื่องปั้นรูปลอยตัว ตามจินตนาการ ๕.กิจกรรม เรื่องภาพพิมพ์แกะไม้ (woodcut) ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซื่อสัตย์สุจริต ๓. มีวินัย ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการทางาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ ๑. ความสามารถใน การสื่อสาร ๒. ความสามารถใน การคิด ๓. ความสามารถใน การแก้ปัญหา ๔. ความสามารถใน การใช้ทักษะชีวิต ๕. ความสามารถใน การใช้เทคโนโลยี ๖. การวัดและประเมินผล ๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล ๑) ใบงาน
  • 24. ๒๔ ๒) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๓) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๔) แบบสังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน ๕) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒. วิธีวัดผล ๑) ตรวจใบงาน ๒) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๓) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคลเลือกวัสดุอย่างประหยัดพอเพียง ๔) สังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน ๕) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล ๑) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐ ๒) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐ ๓) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง ๔) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตาม สภาพจริง ๕) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ การประเมินตามสภาพจริง ๗. หลักฐาน/ผลงาน ๑. ผลการทาใบงาน ๒. ผลการสร้างสรรค์งานศิลปะ ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑-๒ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
  • 25. ๒๕ ๑) ครูให้นักเรียนดูวัสดุอุปกรณ์ในการสร้างงานจิตรกรรม และตัวอย่างการวาดภาพด้วยวัสดุ อุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนได้เห็นผลงานศิลปะในรูปแบบต่าง ๆ และสนทนากับ นักเรียนเพื่อเชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ ขั้นสอน ๒) ครูอธิบายให้นักเรียนทราบว่า ผลงานการวาดภาพ ระบายสี หรืองานจิตรกรรมมีความแตกต่างกัน อยู่ที่การใช้วัสดุอุปกรณ์ ๓) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า ในหัวข้อดังนี้  วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างงานจิตรกรรม  วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างงานภาพวาด  วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างงานภาพเขียน  ทาใบงานที่ ๔.๑ กิจกรรม เรื่องกุหลาบแสนสวย ๔) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษา เรื่องวัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างงานจิตรกรรมและผลการ ทากิจกรรม โดยครูช่วยเสริมเพิ่มเติมให้สมบูรณ์ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๕) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุปและให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงานสรุปความรู้ที่ได้รับ และนัดหมายให้นักเรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์มาทากิจกรรมการวาดภาพการ์ตูนและ วาดภาพล้อเลียนในชั่วโมงต่อไป ชั่วโมงที่ ๓-๔ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๖) ครูนาภาพตัวอย่างการวาดภาพการ์ตูน และภาพล้อเลียนให้นักเรียนดู ขั้นสอน ๗) ครูอธิบายความหมายของภาพการ์ตูน ภาพล้อเลียน มีความแตกต่างในการสร้างสรรค์ และ เนื้อหารูปแบบ ๘) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า ในหัวข้อดังนี้  ภาพการ์ตูน และเทคนิคการเขียนภาพการ์ตูน  ภาพล้อเลียน และเทคนิคการเขียนภาพล้อเลียน  ทาใบงานที่ ๔.๒ กิจกรรม เรื่องวาดภาพการ์ตูน
  • 26. ๒๖  ทาใบงานที่ ๔.๓ กิจกรรม เรื่องวาดภาพล้อเลียน ๙) นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอที่หน้าชั้นเรียน และให้นักเรียนทุกคนร่วมกันแสดงความ คิดเห็นหาข้อสรุปที่ตรงกัน โดยมีครูคอยให้ความรู้เสริมเพิ่มเติมให้สมบูรณ์ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๑๐) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุปและให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงาน สรุปความรู้ที่ได้รับ และนัดหมายให้นักเรียนเตรียมวัสดุ อุปกรณ์มาทากิจกรรมการปั้นรูปลอยตัวในชั่วโมงต่อไป ชั่วโมงที่ ๕-๖ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๑๑) ครูนาตัวอย่างผลงานการปั้นรูปลอยตัว และวัสดุ อุปกรณ์ในการปั้นให้นักเรียนดู ขั้นสอน ๑๒) ครูอธิบายวิธีการใช้วัสดุ อุปกรณ์ และขั้นตอนในการสร้างงานประติมากรรม ๑๓) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า ในหัวข้อดังนี้  วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างงานประติมากรรม  กลวิธีในการสร้างงานประติมากรรม  ทาใบงานที่ ๔.๔ กิจกรรมเรื่อง ปั้นรูปลอยตัวตามจินตนาการ ๑๔) นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษาและผลการทากิจกรรมโดยครูช่วยอธิบายเสริม เพิ่มเติมให้สมบูรณ์ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๑๕) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุป และให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงานสรุปความรู้ที่ได้รับ และนัดหมายให้นักเรียนเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างงานภาพพิมพ์ในชั่วโมงต่อไป ชั่วโมงที่ ๗-๘ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๑๖) ครูนาตัวอย่างผลงานการสร้างสรรค์ภาพพิมพ์ และวัสดุอุปกรณ์ในการสร้างภาพพิมพ์ให้ นักเรียนดู ขั้นสอน ๑๗) ครูอธิบายวิธีการใช้วัสดุ อุปกรณ์ และขั้นตอนในการสร้างงานภาพพิมพ์ ๑๘) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า ในหัวข้อดังนี้
  • 27. ๒๗  วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างงานภาพพิมพ์  กลวิธีในการสร้างงานภาพพิมพ์  ทาใบงานที่ ๔.๕ กิจกรรม เรื่องภาพพิมพ์แกะไม้ (woodcut) ๑๙) นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษาและผลการทากิจกรรม โดยครูช่วยอธิบายเสริม เพิ่มเติมให้สมบูรณ์ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๒๐) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุป และให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงานสรุปความรู้ที่ได้รับและ แนะนาให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเรื่องการสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์จากสื่อเว็บไซต์ทาง ศิลปะ ๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ทัศนศิลป์ ๔-๖ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์ ๒. ตัวอย่างภาพผลงานทางด้านจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ ๓. สื่อเว็บไซต์ทางศิลปะ ๔. สถาบันทางศิลปะและหอศิลป์ต่างๆ ๑๐. การบูรณาการ ๑. บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอ รายงาน ๒. บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ได้แก่ การค้นคว้างานศิลปะจาก เว็บไซต์ต่างๆ บันทึกหลังการสอน ๑. ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ๒. ปัญหา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………….
  • 28. ๒๘ ……………………………………………………………………………………………………. ๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน (...............................................) วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............ ๔. ข้อเสนอแนะรองผู้อานวยการฝ่ายวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………….………. …………………………………………………………………………………………………….……………. ………………………………………………………………………………………………………….………. ลงชื่อ............................................................... ( นางสาวโสภา ขาเจริญ ) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ วิชา ทัศนศิลป์ ๔-๖ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ การออกแบบ เวลา ๖ ชั่วโมง ๑. เป้าหมายการเรียนรู้ นาความรู้ ความเข้าใจ หลักการออกแบบและการจัดองค์ประกอบศิลป์มาประยุกต์ใช้ตามความคิด สร้างสรรค์ในการออกแบบตัวอักษร ออกแบบสัญลักษณ์ สื่อความหมาย ออกแบบโปสเตอร์โฆษณาและ นาเทคโนโลยีมาใช้ในการออกแบบได้อย่างเหมาะสม ๒. สาระสาคัญ การออกแบบ หมายถึง กระบวนการใช้ความคิดในการสร้างสรรค์สิ่งต่างๆ หรือปรับปรุงดัดแปลงสิ่ง ที่มีอยู่แล้วให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น โดยเลือกเอาทัศนธาตุและหลักการจัดองค์ประกอบของการ ออกแบบมาร่วมกัน เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์ทางความงามและประโยชน์ใช้สอย ๓. มาตรฐานและตัวชี้วัด มาตรฐาน ศ ๑.๑ : สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์
  • 29. ๒๙ วิพากษ์ วิจารณ์ คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องาน ศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน มฐ. ศ ๑.๑ ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ ๔. มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์และกระบวนการที่สูงขึ้นในการสร้างงานทัศนศิลป์ ๕. สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ด้วยเทคโนโลยีต่างๆ โดยเน้นหลักการออกแบบและการจัด องค์ประกอบศิลป์ ๖. ออกแบบงานทัศนศิลป์ได้เหมาะกับโอกาสและสถานที่ ๙. จัดกลุ่มงานทัศนศิลป์เพื่อสะท้อนพัฒนาการและความก้าวหน้าของตนเอง ๑๑. วาดภาพ ระบายสี เป็นภาพล้อเลียนหรือการ์ตูน เพื่อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพสังคม ในปัจจุบัน ๔. สาระการเรียนรู้ ๔. ความรู้พื้นฐานงานออกแบบ ๕. ปัจจัยในการออกแบบ ๖. หลักการออกแบบ ๗. การใช้เทคโนโลยีในการออกแบบ ๕. จุดประสงค์การเรียนรู้ K (Knowledge) ความรู้ความเข้าใจ P (Practice) การฝึกปฏิบัติ A (Attitude) คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ C(capacity) สมรรถนะสาคัญ
  • 30. ๓๐ ๔. อธิบายความรู้พื้นฐาน ในการออกแบบได้ ๕. อธิบายปัจจัยในการ ออกแบบได้ ๖. อธิบายหลักการ ออกแบบได้ ๗. อธิบายขั้นตอนการใช้ เทคโนโลยีในการ ออกแบบได้ ๑. กิจกรรม เรื่องลวดลาย ลีลาอักษร ๒. กิจกรรม เรื่องแฟ้มสวย สะสมผลงาน ๓. กิจกรรม เรื่องความรัก ความสามัคคี ๔. กิจกรรม เรื่องสานึกรักชาติ ๕. กิจรรม เรื่องโปสเตอร์จาก Photoshop ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซื่อสัตย์สุจริต ๓. มีวินัย ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการทางาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ ๑. ความสามารถใน การสื่อสาร ๒. ความสามารถใน การคิด ๓. ความสามารถใน การแก้ปัญหา ๔. ความสามารถใน การใช้ทักษะชีวิต ๕. ความสามารถใน การใช้เทคโนโลยี ๖. การวัดและประเมินผล ๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล ๑) ใบงาน ๒) แบบประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๓) แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๔) แบบสังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน ๕) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒. วิธีวัดผล ๑) ตรวจใบงาน ๒) สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ๓) สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๔) สังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน ๕) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๓. เกณฑ์การวัดและประเมินผล ๑) การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ การนาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
  • 31. ๓๑ ๒) การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ต้องผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐ ๓) การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง ๔) การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะสาคัญของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับการประเมินตาม สภาพจริง ๕) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ การประเมินตามสภาพจริง ๗. หลักฐาน/ผลงาน ๑. ผลการทาใบงาน ๒. ผลการสร้างสรรค์ศิลปะ ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑-๒ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๑) ครูให้นักเรียนดูภาพตัวอย่างการออกแบบประเภทต่างๆ เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนได้เห็นผลงาน ศิลปะในรูปแบบต่างๆ และสนทนากับนักเรียนเพื่อเชื่อมโยงความรู้เกี่ยวกับเรื่องการออกแบบ ขั้นสอน ๒) ครูอธิบายให้นักเรียนทราบว่า การออกแบบเป็นความสามารถทางความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ใน การสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ เพื่อให้ได้รูปร่าง รูปทรงของสิ่งของเครื่องใช้ มีความสัมพันธ์กันระหว่าง ความงามกับประโยชน์ใช้สอย ๓) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า ในหัวข้อดังนี้  ความหมายของการออกแบบ  การออกแบบตัวอักษร  ความสาคัญของการออกแบบ  ทาใบงานที่ ๕.๑ กิจกรรม เรื่องลวดลาย ลีลาอักษร  ประเภทของการออกแบบ  ทาใบงานที่ ๕.๒ กิจกรรม เรื่องแฟ้มสวยสะสมผลงาน ๔) แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษา เรื่องความรู้พื้นฐานงานออกแบบและผลการทากิจกรรม โดยครูช่วยเสริมเพิ่มเติมให้สมบูรณ์ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๕) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุปและให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงานสรุปความรู้ที่ได้รับ และนัดหมายให้นักเรียนเตรียมวัสดุอุปกรณ์มาทากิจกรรมในชั่วโมงต่อไป
  • 32. ๓๒ ชั่วโมงที่ ๓-๔ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๖) ครูนาภาพตัวอย่างการออกแบบสัญลักษณ์สื่อความหมาย ให้นักเรียนดู ขั้นสอน ๗) ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์การออกแบบสัญลักษณ์ สื่อความหมายรูปแบบต่างๆ เพื่อให้ เห็นแนวทางการสร้างสรรค์งานออกแบบ ๘) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๓-๕ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า ในหัวข้อดังนี้  ปัจจัยในการออกแบบ  การออกแบบสัญลักษณ์สื่อความหมาย  หลักการออกแบบ  ทาใบงานที่ ๕.๓ กิจกรรม เรื่องความรัก ความสามัคคี  ทาใบงานที่ ๕.๔ กิจกรรม เรื่องสานึกรักชาติ ๙) นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอที่หน้าชั้นเรียน และให้นักเรียนทุกคนร่วมกันแสดงความ คิดเห็นหาข้อสรุปที่ตรงกัน โดยมีครูคอยให้ความรู้เสริมเพิ่มเติมให้สมบูรณ์ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๑๐) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุปและให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงาน สรุปความรู้ที่ได้รับ และนัดหมายให้นักเรียนเตรียมตัวเข้าเรียนในห้องคอมพิวเตอร์ในชั่วโมงต่อไป ชั่วโมงที่ ๕-๖ ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน ๑๑) ครูนาตัวอย่างภาพผลงานการออกแบบโปสเตอร์โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ให้นักเรียนดู ขั้นสอน ๑๒) ครูอธิบายขั้นตอนการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ในการสร้างงานออกแบบโปสเตอร์โดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop ๑๓) แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ ๒-๓ คน ร่วมกันศึกษาค้นคว้า การใช้เทคโนโลยีในการออกแบบ หัวข้อดังนี้  ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกราฟิก  การสร้างโปสเตอร์สไตล์กราฟิกโดยใช้โปรแกรม Adobe Photoshop  ทาใบงานที่ ๕.๕ กิจกรรม เรื่องโปสเตอร์จาก Photoshop
  • 33. ๓๓ ๑๔) นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอผลการศึกษาและผลการทากิจกรรมโดยครูช่วยอธิบายเสริม เพิ่มเติมให้สมบูรณ์ ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๑๕) ครูและนักเรียนร่วมกันบรรยายสรุป และให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงานสรุปความรู้ที่ได้รับ และแนะนาให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม เรื่องการสร้างสรรค์งานออกแบบด้วยโปรแกรม ต่างๆ จากสื่อเว็บไซต์ทางศิลปะ ๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ทัศนศิลป์ ๔-๖ ของสานักพิมพ์เอมพันธ์ ๒. ตัวอย่างการออกแบบตัวอักษร สัญลักษณ์ สื่อความหมายและโปสเตอร์จาก Photoshop ๓. สื่อเว็บไซต์ทางศิลปะ ๔. สถาบันทางศิลปะและหอศิลป์ต่างๆ ๑๐. การบูรณาการ ๑. บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียนรายงาน ทักษะการนาเสนอ รายงาน ๒. บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ได้แก่ การค้นคว้าการ ออกแบบโปสเตอร์ด้วยโปรแกรม Photoshop